Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_2 (1)

THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_2 (1)

Published by hiyeeding, 2020-05-21 12:46:52

Description: THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_2 (1)

Search

Read the Text Version

หนงั สอื คูมอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม เลม ๑ ตอนกลาง หนงั สอื คมู อื แนวทางการจดั การเรียนการสอน แบบเรยี นเร็วใหม เลม ๑ ตอนกลาง สถาบนั ภาษาไทย สํานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอน แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง สถาบนั ภาษาไทย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ลิขสทิ ธิ์ของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๘-๕๗๔๖-๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๕๓๔๓ สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ดำเนินการจัดทำต้นฉบับ ISBN 978-616-372-264-5 พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำนวนพิมพ ์ ๓๕,๐๐๐ เลม่ พิมพท์ ่ี โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั ๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เล็งเห็นความสำคัญของ การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย ใหน้ กั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ อา่ นออกเขยี นได ้ เพ่ือเป็นรากฐานการเรียนรู้อ่ืนๆ ในระดับที่สูงข้ึน โดยเน้นการฝึกทักษะการอ่านการเขียน ให้นักเรียนทุกคนมีพ้ืนฐานการอ่านการเขียนท่ีดี ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จึงจัดพิมพ์หนังสือ แบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ให้เป็นหนงั สือสง่ เสรมิ ฝกึ ทกั ษะ การอ่านการเขียนภาษาไทยอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ แจกใหแ้ กโ่ รงเรียนในสงั กัดท่วั ประเทศ เพอื่ ใหก้ ารใชห้ นงั สอื แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจัดทำหนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ แบ่งเป็นตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย เพ่ือเป็นแนวทางให้ครูผู้สอน ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบกับหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ท่ีพิมพ์แจกนั้น ท้ังตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ใช้ต้นฉบบั เดมิ จึงมคี ำ ประโยค หรอื ข้อความเปน็ ภาษาท่ีแตกตา่ ง จากภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน หนังสือนี้จะอธิบายส่วนท่ีแตกต่างให้ครูเข้าใจสภาพการใช้ภาษา ท่ีปรากฏในหนังสือ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนได้อย่างดียิ่งข้ึน โดยฉบบั ตอนกลางนมี้ เี นอ้ื หาแบง่ เปน็ บทที่ ๑๗ ถงึ บทท่ี ๒๔ ตามเนอื้ หาของแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง มตี วั อยา่ งแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครสู ามารถปรบั ประยกุ ต ์ ใหส้ อดคล้องกบั บทฝกึ แตล่ ะบท ขอขอบคณุ ผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องที่รว่ มกันดำเนินงานจดั ทำหนังสือค่มู อื น้ี และหากม ี ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ และพฒั นา โปรดแจง้ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เพ่ือทราบและดำเนินการต่อไป (นายกมล รอดคล้าย) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗



สารบัญ หนา้ คำนำ บทท่ี ๑๗ ๑ บทท่ี ๑๘ ๙ บทที่ ๑๙ บทท่ี ๒๐ ๑๙ บทที่ ๒๑ ๒๙ บทท่ี ๒๒ ๔๑ บทท่ี ๒๓ ๕๑ บทท่ี ๒๔ ๖๓ คณะผ้จู ัดทำ ๖๙ ๘๑

บทที่ ๑๗ ๑. เน้อื หา ๑.๑ คำที่ใช้ ห นำ ไมม่ ีตัวสะกด ๑.๒ การผันวรรณยกุ ตค์ ำทม่ี พี ยัญชนะใช้ ห นำ ๒. แนวทางการจดั กจิ กรรม ๒.๑ อา่ นคำพยญั ชนะทมี่ ี ห นำ ไมม่ ตี วั สะกด ควรใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี ง หง- (หงอ) ก่อน แล้วจึงค่อยประสมสระ โดยอ่านจากข้างบนมาข้างล่างเป็นแถวๆ ก่อน จากนั้น จงึ คอ่ ยให้นกั เรียนอา่ นจากซา้ ยไปขวา ตัวอยา่ งกิจกรรม คำช้แี จง ให้นกั เรียนอา่ นออกเสยี งคำพยัญชนะที่มี ห นำ ไมม่ ตี วั สะกด ดังนี้ ๑. ใหอ้ ่านจากขา้ งบนลงมาขา้ งล่าง ๒. ใหอ้ ่านจากซา้ ยไปขวา อา่ นจากซา้ ยไปขวา -ะ -า - ี - ู แ- -อ เ-อื ไ- อ่านจาก หง- หงะ หงา หงี หงู แหง หงอ เหงือ ไหง ขา้ งบน หน- หนะ หนา หนี หนู แหน หนอ เหนือ ไหน ลงมา หม- หมะ หมา หมี หมู แหม หมอ เหมือ ไหม ข้างล่าง หย- หยะ หยา หย ี หย ู แหย หยอ เหยือ ไหย หร- หระ หรา หรี หรู แหร หรอ เหรอื ไหร หล- หละ หลา หล ี หลู แหล หลอ เหลือ ไหล หว- หวะ หวา หว ี หว ู แหว หวอ เหวือ ไหว หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

ตัวอย่างการอ่าน การอา่ นจากขา้ งบนลงมาขา้ งล่าง หงะ หนะ หมะ หยะ หระ หละ หวะ ตวั อยา่ งการอ่านสะกดคำ หงะ อา่ นสะกดคำว่า หอ - งอ - อะ - หงะ หนะ อ่านสะกดคำวา่ หอ - นอ - อะ - หนะ หมะ อา่ นสะกดคำวา่ หอ - มอ - อะ - หมะ หยะ อ่านสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - หยะ หระ อา่ นสะกดคำวา่ หอ - รอ - อะ - หระ หละ อ่านสะกดคำวา่ หอ - ลอ - อะ - หละ หวะ อา่ นสะกดคำวา่ หอ - วอ - อะ - หวะ การอา่ นจากซ้ายไปขวา หงะ หงา หงี หงู แหง หงอ เหงือ ไหง ตัวอยา่ งการอา่ นสะกดคำ หงะ อ่านสะกดคำว่า หอ - งอ - อะ - หงะ หงา อ่านสะกดคำว่า หอ - งอ - อา - หงา หงี อ่านสะกดคำวา่ หอ - งอ - อี - หง ี หง ู อ่านสะกดคำว่า หอ - งอ - อู - หง ู แหง อา่ นสะกดคำวา่ หอ - งอ - แอ - แหง หงอ อา่ นสะกดคำว่า หอ - งอ - ออ - หงอ เหงือ อ่านสะกดคำวา่ หอ - งอ - เอือ - เหงือ ไหง อา่ นสะกดคำวา่ หอ - งอ - ไอ - ไหง  หนังสอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

๒.๒ ฝึกผันวรรณยุกต์คำที่มีพยัญชนะใช้ ห นำ ไม่มีตัวสะกด ตามแผนภูม ิ ท่กี ำหนดจนคล่องกอ่ น ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านผันเสียงวรรณยุกต์คำพยัญชนะที่ใช้ ห นำ ไม่มี ตัวสะกด ทีละคำ ่ ้ ข่า ขา้ ขา หวา่ หวา้ หวา หน่ ี หน ้ี หน ี หมู ่ หมู ้ หมู เหม่ เหม้ เหม แหง่ แหง ้ แหง โหล่ โหล้ โหล หมอ่ หมอ้ หมอ เหยอื่ เหยอ้ื เหยอื เหม่อ เหมอ้ เหมอ ใหม ่ ใหม ้ ใหม ไหว่ ไหว ้ ไหว เหลา่ เหลา้ เหลา หนงั สือค่มู ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

ตัวอย่างการอา่ น ๑. การอา่ นแบบสะกดคำ ขา อ่านผนั วรรณยุกตว์ า่ ขอ - อา - ขา ข่า อ่านผนั วรรณยุกตว์ ่า ขอ - อา - ขา - ขา - ไมเ้ อก - ข่า ข้า อ่านผนั วรรณยุกต์ว่า ขอ - อา - ขา - ขา - ไม้โท - ขา้ หวา อา่ นผนั วรรณยุกตว์ า่ หอ - วอ - อา - หวา หวา่ อา่ นผนั วรรณยกุ ต์วา่ หอ - วอ - อา - หวา - หวา - ไมเ้อก - หวา่ หว้า อา่ นผนั วรรณยกุ ต์ว่า หอ - วอ - อา - หวา - หวา - ไมโ้ ท - หวา้ ๒. การอา่ นแบบผนั ไล่เสยี ง ขา ขา่ ข้า หวา หวา่ หวา้ ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้แี จง ให้นักเรียนอ่านคำต่อไปนี้ ๑. อ่านพร้อมกนั ทั้งชั้นเรยี น ๒. อา่ นตามแถวทนี่ ง่ั แถวละคำ ๓. อ่านทลี ะคน หม้อขา้ ว ขวดโหล หลอ่ น้ำ ไปไหน จอกแหน เหนอะหนะ แนน่ หนา ตำหน ิ น้อยหนา่ ดักหนู นี่แหละ ยังเหลอื สึกหรอ มหี รือ บหุ งา บ่าไหล่ เหงอ่ื ไหล ผ้าไหม เกา่ ใหม ่ เหลาไม ้ พอเหมาะ เลีย้ งหมา วา้ เหว่ ดเุ หวา่ ดีหมี หนีเสอื หมอยา หาเหยอ่ื เหนือใต้ หนา้ ต่าง รบั เหมา หนอ่ ไม ้ ไหวว้ าน ลูกหว้า ดุแหว  หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

ตัวอย่างกิจกรรมท่ี ๓ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนอ่านเรอ่ื ง “หนา้ ทีช่ ว่ ยเหลือพ่อแม”่ หน้าที่ช่วยเหลือพอ่ แม ่ เด็กชายใหม่ รกั หมู่ เป็นเดก็ ดี ตืน่ นอนแตเ่ ช้าๆ ทกุ วนั พอลุกขึ้นเขากจ็ ัดและ ปดั ทนี่ อนใหเ้ รยี บรอ้ ย แลว้ จงึ ไปลา้ งหนา้ ลา้ งตา รบี มาทำหนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื พอ่ แม่ เชน่ เชด็ ถเู รอื น เป็นต้น แล้วก็อาบน้ำหวีผมจนสะอาดเรียบร้อย จึงมากินข้าว อ่ิมแล้วรีบแต่งตัว เม่ือไหว ้ พ่อแม่แล้ว ก็รีบกระวีกระวาดไปโรงเรียน ให้ทันเวลาโรงเรียนเข้า เพ่ือไม่ให้เสียเวลาเรียน เมอื่ เขา้ หอ้ งเรยี น กต็ งั้ ใจฟงั คำสอน ฟงั แลว้ กค็ ดิ ดใู หเ้ ขา้ ใจ ถา้ ยงั ไมเ่ ขา้ ใจกไ็ ตถ่ าม เมอื่ เขา้ ใจแลว้ กจ็ ดจำไว้ใหแ้ มน่ ยำ เมอ่ื เวลาเดก็ ชายใหม่ รกั หมู่ เลกิ จากโรงเรยี นมาถงึ บา้ น เขากเ็ ขา้ ไปไหวพ้ อ่ แม ่ แลว้ ถอดเสอ้ื กางเกงออกผง่ึ แดด รบี ไปอาบนำ้ ใชส้ บถู่ เู หงอื่ ซงึ่ ไหลเหนอะหนะทห่ี นา้ บา่ ไหล่ และตามร่างกายท่ัวไปจนสะอาดดีแล้ว ก็เช็ดตัว หวีผม สวมเส้ือกางเกงชุดใหม่แล้ว เขาจงึ รบี ไปชว่ ยพอ่ แมพ่ น่ี อ้ งทำงาน เอาขา้ วปนกบั ไข่ ใหน้ กกนิ และใหเ้ ปด็ ไก่ หมา และหม ู ที่เลี้ยงไว้ กินข้าวและรำจนอิ่ม ช่วยตักน้ำ รดน้ำต้นไม้ รดผัก น่าชมเชยย่ิงนัก นอกจากนี้ ยังช่วยทำงานในบ้านอีก เป็นต้นว่า เปิดปิดหน้าต่างต่างๆ และถ้าเห็นสิ่งใดชำรุด หรือสึกหรอ ก็ช่วยกันซ่อมแซมขึ้นใช้ใหม่ พ่อแม่ของเขาช่างรอบคอบดีนัก ดูแลและฝึกหัด ทำงานแต่พอเหมาะแก่กำลัง เพ่ืออบรมให้เป็นคนเอาใจใส่ต่องาน ถ้ามีเวลาว่างก็เล่นกับ พ่ีๆ น้องๆ ท่ีลานบ้านหรือในเหย้าเรือน สุดแท้แต่ท่ีไหนจะเหมาะและสะดวก เข้าเล่นกัน อย่างเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย นา่ ชมเชย เมอื่ อาบนำ้ แลว้ กเ็ ขา้ ไปนงั่ รว่ มสำรบั กนิ ขา้ วกบั พอ่ แม่ และพๆี่ นอ้ งๆ กนิ อมิ่ หนำแลว้ เขาก็ช่วยกันล้างถ้วยชาม จนกระท่ังหม้อข้าว ก็ขัดถูสะอาด นา่ ดู นา่ ใช้ หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

เวลาค่ำ ก่อนเขา้ นอน เขากอ็ า่ น คดั เขียน ท่องบ่น และดูวชิ าต่างๆ ทเี่ ล่าเรยี น มาเพ่ือฝึกฝนตนเองในเวลาว่าง ถ้าไม่เข้าใจ หรือสงสัยที่ไหน เขาก็ไต่ถามนายหร่ำ รักหมู่ พ่ีชายของเขา เมื่อเขาจะนอนก็ถูฟันบ้วนปากจนสะอาด แล้วไหว้และระลึกถึงผู้ที่ได้เล้ียงดู ตนมา และผูท้ ่ที ำดีให้แกบ่ า้ นเกดิ เมอื งนอนของตน นกั เรยี นรนุ่ เลก็ ๆ ถา้ เปน็ คนดี เชน่ เดก็ ชายใหม่ รกั หมู่ นแ่ี หละ ไมม่ ที ตี่ ำหนิ แตถ่ า้ เด็กคนใด ไม่เอาใจใส่ต่อหน้าที่อันดีงามเหล่านี้แล้ว ก็น่าอับอายและขายหน้ามาก เด็กๆ รุ่นเดียวกัน นา่ จะจดจำ เอาไว้เป็นที่ยึดถือ แล้วเร่ิมฝึกฝนตน ทำตัวให้ดีเช่นเขาบ้าง ตั้งแต่ บดั นเ้ี ปน็ ตน้ ไป ตอ่ ไปเบอื้ งหนา้ จะไดด้ ี ทงั้ จะไดเ้ ปน็ กำลงั แกบ่ า้ นเกดิ เมอื งนอนอนั เปน็ ทร่ี กั ยง่ิ เราต้องตืน่ ขน้ึ ลา้ งหน้าเวลาเช้า ฟันผมเผ้าพงึ ชำระให้สะอาด เราจงทำหน้าทก่ี ระวกี ระวาด ไมต่ ้องคาดคน้ั เตอื นเรอ่ื งเรอื นชาน แล้วรบี ไปใหท้ ันโรงเรยี นเชา้ เลิกแล้วเราบ่ายหน้ามุ่งมาบา้ น ชว่ ยพ่อแมเ่ ก็บงำและทำงาน ยามวา่ งอ่านคดั เขียนเล่าเรยี นเอย  หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

๓. คำศพั ท์ ความหมายของคำศพั ท์ คำศัพท์ ความหมาย หลอ่ นำ้ เอานำ้ ใสภ่ าชนะเพอื่ รองรับสง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ บุหงา - ดอกไม ้ - ดอกไม้ชนดิ ตา่ งๆ มี มะลิ กระดงั งา กหุ ลาบ เปน็ ต้น เหย้าเรือน บา้ นเรือน ๔. ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ การฝกึ หัดอ่าน หัดผันวรรยกุ ตค์ ำท่ีพยัญชนะใช้ ห นำ จะพบกบั คำท่ไี ม่ม ี ความหมายหลายๆ คำ เช่น หมะ หยะ หรี แหร ครูไม่จำเป็นต้องสอนให้รู้ความหมาย แต่เน้นให้รู้จักการประสมอกั ษรและผนั วรรณยุกต์เปน็ สำคญั ๔.๒ การสอนอ่านคำในแบบฝึกหัดแตล่ ะคำ หากเปน็ คำทม่ี ีความหมาย ไม่ควร ให้อา่ นออกเสยี งเพียงอยา่ งเดยี ว แตค่ วรคำนงึ ถึงความหมายของคำด้วย เชน่ ถูฟนั บ้วนปาก หมายถงึ แปรงฟนั บว้ นปาก บา่ ยหนา้ หมายถึง มุ่งหนา้ เกบ็ งำ หมายถึง อดออม ๔.๓ เสยี ง ห นำ จะมพี ื้นเสียงเปน็ เสยี งจัตวา ๔.๔ การอ่านเรื่อง “หน้าท่ีช่วยเหลือพ่อแม่” เมื่อนักเรียนอ่านจบ ครูอาจ ตง้ั คำถามเพื่อให้นักเรียนเกิดคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ เช่น หนา้ ทีข่ องลูกท่ีดีมอี ะไรบ้าง หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

บทท่ี ๑๘ ๑. เนอื้ หา ๑.๑ พยญั ชนะท่ีใช้ ห นำ มตี วั สะกด ๑.๒ การผันวรรณยุกตค์ ำทมี่ ีพยัญชนะใช้ ห นำ มีตัวสะกด ๑.๓ พยญั ชนะ อ นำ แทน ห ๒. แนวทางการจดั กจิ กรรม ๒.๑ การอ่านคำพยญั ชนะที่มี ห นำ มตี วั สะกด ควรใหน้ ักเรียนอ่านออกเสียง หง- (หงอ) กอ่ น แลว้ จงึ คอ่ ยประสมสระ โดยอา่ นจากซา้ ยไปขวาเปน็ แถวๆ กอ่ น แลว้ จงึ ใหอ้ า่ น ประสมกบั สระอนื่ ๆ ตวั อย่างกิจกรรม คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอา่ นออกเสียงคำพยญั ชนะท่มี ี ห นำ มีตัวสะกด โดยอา่ นจาก ซ้ายไปขวา หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

อ่านจากซ้ายไปขวา หง- หน- หม- หย- หร- หล- หว- ง น ม ย ว ก ด บ หยะ หยงั หยนั หยัม หยัย - หยกั หยดั หยบั หลา หลาง หลาน หลาม หลาย หลาว หลาก หลาด หลาบ หย ิ หยิง หยิน หยมิ หยยิ หยวิ หยิก หยิด หยิบ หรี หรงี หรนี หรมี หรยี หรีว หรีก หรดี หรีบ หมึ หมึง หมึน หมมึ หมึย หมวึ หมกึ หมึด หมึบ หลื หลงึ หลนื หลมื หลืย หลืว หลกื หลดื หลืบ หลู หลูง หลูน หลมู หลยู หลวู หลกู หลูด หลบู หย ู หยูง หยูน หยมู หยูย หยูว หยูก หยูด หยบู เหนะ เหนง็ เหน็น เหนม็ เหนย็ เหนว็ เหนก็ เหน็ด เหน็บ เหล เหลง เหลน เหลม เหลย เหลว เหลก เหลด เหลบ แหว แหวง แหวน แหวม แหวย แหวว แหวก แหวด แหวบ โหละ หลง หลน หลม หลย หลว หลก หลด หลบ โหม โหมง โหมน โหมม โหมย โหมว โหมก โหมด โหมบ หมอ หมอง หมอน หมอม - หมอว หมอก หมอด หมอบ หนัว หนวง หนวน หนวม หนวย หนวว หนวก หนวด หนวบ เหนีย เหนยี ง เหนียน เหนยี ม เหนียย เหนียว เหนียก เหนยี ด เหนียบ เหลือ เหลือง เหลือน เหลือม เหลือย เหลอื ว เหลอื ก เหลือด เหลอื บ 10 หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตวั อย่างการอา่ น การอ่านจากซ้ายไปขวา หยัง หยนั หยมั หยยั หยัก หยัด หยบั ตัวอยา่ งการอา่ นสะกดคำ หยัง อา่ นสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - งอ - หยงั หยัน อ่านสะกดคำวา่ หอ - ยอ - อะ - นอ - หยนั หยมั อา่ นสะกดคำวา่ หอ - ยอ - อะ - มอ - หยมั หยยั อา่ นสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - ยอ - หยัย หยกั อา่ นสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - กอ - หยกั หยัด อา่ นสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - ดอ - หยดั หยบั อา่ นสะกดคำว่า หอ - ยอ - อะ - บอ - หยบั หยัก หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 11

๒.๒ ฝึกผันคำที่มีพยัญชนะใช้ ห นำ มีตัวสะกด ตามแผนภูมิท่ีกำหนด จนคลอ่ งกอ่ น ตวั อย่างกจิ กรรมท่ี ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนฝึกอ่านผันเสียงวรรณยุกต์คำพยัญชนะท่ีใช้ ห นำ มีตัวสะกด ทีละคำ ่ ้ ขนั ขน่ั ขั้น หมัน หมัน่ หมั้น หวาน หวา่ น หวา้ น หมิน หมน่ิ หมิ้น หนงึ หนง่ึ หนึ้ง หมืน หมื่น หมน้ื หนยุ หนยุ่ หนุย้ เหงง เหงง่ เหงง้ แหวง แหวง่ แหวง้ หลน หลน่ หล้น โหมง โหมง่ โหมง้ หมอน หมอ่ น หม้อน หนวย หน่วย หน้วย เหนียว เหน่ยี ว เหน้ยี ว เหลือม เหลือ่ ม เหลอ้ื ม 12 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตวั อย่างการอ่าน ๑. การอ่านแบบสะกดคำ ขัน อา่ นผันวรรณยกุ ตว์ า่ ขอ - อะ - นอ - ขนั ขนั่ อา่ นผันวรรณยกุ ต์วา่ ขอ - อะ - นอ - ขนั - ขนั - ไมเ้ อก - ขนั่ ขนั้ อ่านผันวรรณยุกตว์ ่า ขอ - อะ - นอ - ขนั - ขนั - ไมโ้ ท - ขนั้ หมนั อ่านผนั วรรณยกุ ต์วา่ หอ - มอ - อะ - นอ - หมนั หมนั่ อา่ นผันวรรณยกุ ตว์ า่ หอ-มอ-อะ-นอ-หมนั -หมนั -ไมเ้อก-หมนั่ หม้นั อ่านผันวรรณยุกตว์ า่ หอ-มอ-อะ-นอ-หมนั -หมนั -ไมโ้ท-หมนั้ ๒. การอ่านแบบผันไลเ่ สยี ง ขนั ข่ัน ขั้น หมัน หมน่ั หมน้ั ๒.๓ คำทใี่ ช้ อ นำแทน ห มีอยู่ ๔ คำ ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่ อยา่ ง และ อยาก ตวั อย่างกิจกรรม คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นฝกึ อา่ นคำที่ใช้ อ นำแทน ห มอี ยู่ ๔ คำ ไดแ้ ก่ อย่า อยู่ อย่าง และ อยาก อย่า อ่านสะกดคำว่า ออ - ยอ - อา - หยา - หยา - ไมเ้ อก - อย่า อย ู่ อา่ นสะกดคำว่า ออ - ยอ - อู - หยู - หยู - ไมเ้ อก - อย ู่ อยา่ ง อ่านสะกดคำวา่ ออ - ยอ - อา - หยา - หยา - งอ - หยาง - หยาง - ไม้เอก - อยา่ ง อยาก อ่านสะกดคำว่า ออ - ยอ - อา - หยา - หยา - กอ - อยาก หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 13

๒.๔ การฝกึ อ่านบอ่ ยๆ จะทำใหน้ ักเรียนสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งแลคลอ่ งแคล่ว ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำช้แี จง ให้นกั เรียนอา่ นคำตอ่ ไปน้ี ๑. อ่านพร้อมกนั ท้งั ช้นั เรยี น ๒. อ่านตามแถวที่นัง่ แถวละคำ ๓. อา่ นทีละคน หมวกสาน หว่านข้าว หน้าหนาว หมอกหนา กหุ ลาบ ปลาหลด หมดจด งูเหลือม หลักแหลม อยา่ งไร ใบหนาด อย่บู ้าน ลูกหลาน อยากร ู้ หม่ันเรียน ข้าวหลาม ขดุ หลมุ ทองเหลอื ง ตกหลน่ ยีห่ รา่ ปาหนนั ของเหลว หลกี ทาง อย่าเทีย่ ว ทองหยิบ ทองหยอด แปง้ หยาบ ลดหยอ่ น หยากไย ่ เล็บเหย่ียว หย่ังน้ำ หน้าววั ตวั หนอน ผักหนาม หนองน้ำ ตวั ไหม ใบหมอ่ น หงอนไก่ ลูกหวา้ ปลาหมึก หนักแนน่ หนุม่ สาว หมูหยอง ทองหลาง เชือกหวาย จดหมาย ห่อหมก นกหวดี นำ้ หมกึ พยบั หมอก เขม็ หมดุ ปลาหมอ เหมอื งแร ่ โลกหมนุ แมน้ เหมอื น เดอื นหงาย หมายมั่น ลูกไหน เหลก็ ไหล แหลนหลาว ขา้ วเหนียว ผักหนอก นอ้ ยโหนง่ เหนยี วแนน่ หว้ ยหนอง ของหวาน 14 หนังสือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๒ คำช้แี จง ให้นักเรยี นอา่ นเรอื่ ง “นายอยู่ อยยู่ ืน น่งั อา่ นหนงั สือ” นายอยู่ อยยู่ นื นง่ั อ่านหนังสอื หนา้ หนาวคนื หนง่ึ เปน็ เวลาเดอื นหงาย นายอยู่ อยยู่ นื เจา้ ของบา้ นนง่ั อา่ นหนงั สอื อยู่ท่ีหน้าเรือนปั้นหยาสองชั้น มีแมวสีหม่นหมอบอยู่ข้างๆ ตัวหน่ึง ในห้องน้ัน มองด ู สะอาดตา เป็นระเบียบเรียบร้อยทั่วไป ตามเพดานหรือฝา ก็ไม่มีหยากไย่จับ สิ่งของ ท้งั หมด จดั เปน็ หมวดหมู่ หยบิ กง็ ่าย หายก็รู้ ดูกง็ ามตา เช่น หนังสือ หรอื สง่ิ หนงึ่ ส่งิ ใดก็ดี วางอยทู่ ไ่ี หน เมอื่ หยิบเอาไปใช้แล้วกน็ ำมาวางไวท้ ี่ตามเดมิ นายอยู่ อยู่ยืน น้ีเป็นคนดี มีใจคอหนักแน่น ไม่หว่ันหวาดต่ออะไรทั้งส้ิน แกเป็นคนหมั่น อยากรู้อยากเรียน สิ่งที่น่ารู้น่าเรียน ด้วยแกรู้ว่า ตัวแกเป็นหน่วยหน่ึงของ บ้านเมือง ต้องตัง้ ตวั ไวใ้ หด้ ี ไม่เหลวไหล จะได้เป็นตัวอยา่ งทีด่ ีแก่ลกู หลาน ซ่ึงจะเตบิ โตเปน็ หนุ่มสาวต่อไปข้างหน้า ทุกๆ คืน เช่นคืนนี้ แกมักออกมาน่ังหน้าเรือน ส่ังสอนลูกหลาน คำสอนของแกน้ัน ล้วนแตด่ ีๆ มีอย่มู ากมายหลายอยา่ ง เชน่ ๑. จงรกั และรสู้ กึ ระลกึ ถงึ พอ่ แมท่ ไ่ี ดเ้ ลย้ี งดอู มุ้ ชมู าตง้ั แตเ่ ลก็ จนโต อยา่ งไมม่ ผี หู้ นงึ่ ผ้ใู ดเหมอื นเลย ๒. จงเป็นคนว่านอนสอนง่าย เชื่อถ้อยฟังคำของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย โดยนบั ถือและบูชา ๓. จงทำตวั ใหม้ กี ริ ยิ าวาจาเรยี บรอ้ ย ออ่ นโยนออ่ นหวาน เปน็ ทนี่ า่ รกั นา่ เอน็ ดู นา่ นิยมชมชนื่ ของคนทัง้ หลาย ๔. จงมีใจคอเยอื กเย็น หนักแน่น และอดทน รูจ้ ักสะกดใจ เหนีย่ วรงั้ ใจ ขม่ ใจ ตนเอง ไมเ่ ปน็ คนใจน้อย ไมฉ่ ุนง่าย ไมง่ อน ไม่ปากบอน หนงั สอื ค่มู ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 15

๕. จงเปน็ คนใจดี เออ้ื เฟอื้ เผอื่ แผ่ โอบออ้ มอารแี กค่ นทงั้ หลาย รกั กนั อยา่ งพนี่ อ้ ง ไม่ถอื เขาถือเรา ๖. จงเป็นคนรอบคอบ หม่ันระมัดระวัง เมื่อจะทำอะไร ก็ต้องคิดดูข้างหน้า ขา้ งหลงั ใหร้ อบคอบถีถ่ ้วนเสียก่อน แล้วจึงคอ่ ยพดู คอ่ ยทำ ๗. จงมีหวังในสิ่งที่ดี คือ คิดดี ทำดี หมั่นเล่าเรียนหนังสือ หมั่นหาวิชาโดย ไมท่ ้อถอย และตง้ั ใจทำงานให้ดี ทำมาหากินใหเ้ ปน็ หลกั แหล่งม่ันคง ๘. จงหลีกเล่ียงจากส่ิงท่ีชั่ว ไม่หมกมุ่นในส่ิงท่ีชั่ว ไม่เล่นการพนัน ไม่สูบบุหรี่ ไมด่ ่ืมเหล้า และรูจ้ กั เก็บหอมรอมริบ ผสมเลก็ ผสมน้อย ไว้ใช้เมือ่ จำเปน็ ๙. จงเปน็ คนซื่อ ให้เป็นที่เชื่อถือไวว้ างใจของคนท้งั หลาย นกั เรยี นทง้ั หลาย ถงึ แมว้ า่ จะไมใ่ ชล่ กู หลานของแก กช็ า่ งเถดิ แตจ่ งจดจำไว้ และ ใหร้ สู้ กึ วา่ ถ้อยคำของนายอยู่ อยู่ยืน ที่สอนลูกหลาน ตามท่ีว่ามาแล้วย่อๆ นั้น เป็นสิ่งท่ีด ี แท้ๆ และจงเร่ิมต้นฝึกฝนตามนั้นทุกๆ ข้อ ตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้นไป ถ้าเล่าเรียนดีและทำตัว ดีแล้ว เมื่อเติบโตข้นึ จะได้ตงั้ ตนเปน็ หลักแหลง่ เปน็ คนดตี ่อไป 16 หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตัวอย่างกิจกรรมท่ี ๓ คำช้ีแจง ให้นักเรยี นอ่านเร่อื ง “เตือนใจเดก็ ” ตอ่ ไปน้ี ๑. อา่ นพร้อมกนั ท้ังชัน้ เรยี น ๒. อา่ นตามแถวที่นง่ั แถวละวรรค ๓. อ่านทีละคน คนละวรรค เตอื นใจเด็ก เราต้องปองฝกึ ฝน ตนใหต้ นเป็นคนดี โดยขอ้ ยอ่ ย่อม ี ท่นี า่ จำจงคำนงึ หน่งึ นน้ั คอื หม่นั นกึ นอ้ มรู้สึกระลึกถงึ พ่อแม่และเราพึง รักลกึ ซ้งึ สดุ วันตาย สอง ใหไ้ ด้ใจโอนออ่ น หวังวา่ นอนสอนงา่ ยดาย ฟงั เช่อื ผู้เช่อื สาย เช่นยายย่าปตู่ าตน สาม จำทำให้ผ้ ู รักเอ็นดทู กุ หมูช่ น ชมเหน็ ว่าเป็นคน มีกิรยิ าวาจาดี สี่ น้มี ีใจหนัก เยอื กเยน็ นักรจู้ กั มี ยบั ยั้งร้ังไวท้ ี ไม่ใจน้อยคอยแตฉ่ นุ หา้ ให้มีใจเผือ่ - แผเ่ อื้อเฟอื้ ทางเจอื จนุ กอบเกื้อเอ้ืออุดหนนุ เนื่องโนม้ นำเหน่ียวน้ำใจ หก หรอื คอื รอบคอบ ระมัดรอบระวังไว กอ่ นจะทำอะไร ให้คิดดจู นร้ดู ี เจ็ด นี้ใหม้ ีหวงั ในส่งิ ด่ังตั้งใจม ี มุ่งไว้ไม่หน่ายหน ี ทำเตม็ ที่มิหวาดหวน่ั แปด จะละหลบชัว่ หา่ งจากตัวพัวพัน ส่ิงเลน่ เป็นพนัน หลีกแมน่ มั่นหมั่นเกบ็ ออม เก้า ใหใ้ ส่ใจคอื เราตอ้ งซือ่ ช่ือถงึ หอม คนชมนิยมยอม วางใจยอ่ มนอบน้อมเอย หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 17

๓. คำศพั ท์ ความหมายของคำศัพท ์ คำศัพท ์ ความหมาย ปลาหลด ปลานำ้ จืด ลำตวั ยาว แบน หวั แหลม ทา้ ยแหลม ใบหนาด ใบไมช้ นดิ หน่ึงเปน็ พุ่มขนาดเลก็ มีใบใหญ่ มีขน กล่นิ ฉนุ ใชท้ ำยาได ้ ยีห่ รา่ เครื่องเทศชนดิ หน่งึ ปาหนนั ชือ่ เรียกต้นเตย มขี อบใบและกาบหมุ้ ดอกมีหนาม ดอกมกี ลน่ิ หอม หยง่ั น้ำ วัดระดับน้ำ ลกู ไหน ผลไมช้ นดิ หนึง่ ผักหนอก บัวบก ๔. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การฝกึ หดั อา่ นพยญั ชนะทมี่ ี ห นำ จะพบกบั คำทไี่ มม่ คี วามหมายหลายๆ คำ เช่น หยมั หยยู หรนี เหนีย เหนียย แตเ่ นน้ ใหร้ ู้จกั การอา่ นคำท่ีมี ห นำ เปน็ สำคัญ ๔.๒ การสอนอ่านคำในแบบฝึกหัดแต่ละคำ ไม่ควรให้อ่านออกเสียงเพียง อยา่ งเดยี ว แตค่ วรคำนงึ ถงึ ความหมาย และการนำคำไปใชแ้ ตง่ ประโยค สำหรบั เรอ่ื ง “เตอื นใจเดก็ ” เมื่อนักเรียนอ่านจบ ครูอาจตั้งคำถามเพื่อให้นักเรียนฝึกปฏิบัติจนเกิดเป็นคุณลักษณะ ทพ่ี ึงประสงค์ เชน่ - ประพฤตติ นเปน็ คนด ี - ว่านอนสอนงา่ ย - กิรยิ าวาจาเรียบร้อย - กตญั ญตู อ่ ผูม้ ีพระคณุ - มีจติ ใจหนักแนน่ - มใี จเมตตากรณุ า - คิดกอ่ นทำ 18 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

บทท่ี ๑๙ ๑. เน้อื หา ๑.๑ คำอกั ษรสูงนำอกั ษรเด่ียว ได้แก่ ขง- ขน- ขม- ขย- ฉง- ฉน- ฉม- ฉล- ฉว- ถง- ถน- ถล- ถว- ผง- ผน- ผย- ผว- ฝร- สง- สน- สม- สย- สร- สล- สว- ไมม่ ีตวั สะกด ๑.๒ คำอกั ษรกลางนำอกั ษรเดย่ี ว ไดแ้ ก ่ กน- จม- จร- ตน- ตล- อง- อน- อร- อล- ไมม่ ตี ัวสะกด ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ การออกเสียงอกั ษรสงู ท่ีเป็นตวั นำใหอ้ อกเสียง อะ กึ่งเสยี ง อักษรต่ำท่ีเปน็ ตัวตามให้ออกเสยี งเหมอื นมี ห นำ เชน่ ขง- ออกเสยี งว่า ขะ - หงอ สำหรับการออกเสียงอ่านอักษรกลางนำ ให้อ่านตามแนวทางตามที่ กำหนดในหนงั สือเรียน เช่น กน- ออกเสียงวา่ กะ - นอ ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสียงดังตอ่ ไปน้ี ขง- ออกเสยี งวา่ ขะ - หงอ ขน- ออกเสยี งว่า ขะ - หนอ ขม- ออกเสียงว่า ขะ - หมอ ขย- ออกเสยี งว่า ขะ - หยอ ฉง- ออกเสยี งวา่ ฉะ - หงอ ฉน- ออกเสยี งวา่ ฉะ - หนอ ฉม- ออกเสยี งวา่ ฉะ - หมอ ขนม ฉล- ออกเสยี งว่า ฉะ - หลอ ฉว- ออกเสยี งว่า ฉะ - หวอ ถง- ออกเสยี งว่า ถะ - หงอ หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 19

ถน- ออกเสียงว่า ถะ - หนอ ถล- ออกเสียงว่า ถะ - หลอ ถว- ออกเสียงวา่ ถะ - หวอ ผง- ออกเสียงว่า ผะ - หงอ ผน- ออกเสียงว่า ผะ - หนอ ผย- ออกเสียงว่า ผะ - หยอ ผว- ออกเสียงว่า ผะ - หวอ ฝร- ออกเสียงว่า ฝะ - หรอ สง- ออกเสยี งว่า สะ - หงอ สน- ออกเสียงวา่ สะ - หนอ สม- ออกเสยี งว่า สะ - หมอ สย- ออกเสยี งวา่ สะ - หยอ สร- ออกเสยี งวา่ สะ - หรอ สล- ออกเสยี งวา่ สะ - หลอ สว- ออกเสยี งว่า สะ - หวอ ตัวอย่างกิจกรรมที่ ๒ คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเสยี งดงั ตอ่ ไปน้ี กน- ออกเสยี งว่า กะ - นอ จม- ออกเสยี งวา่ จะ - มอ จร- ออกเสยี งว่า จะ - รอ ตน- ออกเสียงว่า ตะ - นอ ตล- ออกเสียงว่า ตะ - ลอ อง- ออกเสยี งวา่ อะ - งอ อน- ออกเสยี งว่า อะ - นอ อร- ออกเสยี งว่า อะ - รอ อล- ออกเสยี งว่า อะ - ลอ 20 หนังสือค่มู ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นออกเสียงคำดังน ี้ ๑. ใหอ้ ่านจากขา้ งบนลงมาข้างลา่ ง ๒. ใหอ้ า่ นจากซ้ายไปขวา อ่านจากซา้ ยไปขวา -ะ -า -ุ -ู -อ -ำ ไ- เ-า ขะ ขา ข ุ ข ู ขอ ขำ ไข เขา ข- ขยะ ขยา ขยุ ขย ู ขยอ ขยำ ไขย เขยา ฉละ ฉลา ฉล ุ ฉล ู ฉลอ ฉลำ ไฉล เฉลา อขข่าล ้าา้ นงงงมลจบาา่าน งก ขย- ถละ ถลา ถลุ ถลู ถลอ ถลำ ไถล เถลา ฉล- ผวะ ผวา ผว ุ ผว ู ผวอ ผวำ ไผว เผวา ถล- สมะ สมา สม ุ สมู สมอ สมำ ไสม เสมา ผว- สระ สรา สร ุ สร ู สรอ สรำ ไสร เสรา สม- ตะ ตา ตุ ตู ตอ ตำ ไต เตา ตนะ ตนา ตนุ ตน ู ตนอ ตนำ ไตน เตนา สร- ต- ตน- ตัวอย่างการอา่ น การอ่านจากขา้ งบนลงมาข้างล่าง ขะ ขยะ ฉละ ถละ ผวะ สมะ สระ ตัวอยา่ งการอ่านสะกดคำ ขะ อ่านสะกดคำว่า ขอ - อะ - ขะ ขยะ อา่ นสะกดคำว่า ขะ - หยอ - อะ - ขะ - หยะ อา่ นว่า ขะ - หยะ ฉละ อ่านสะกดคำวา่ ฉะ - หลอ - อะ - ฉะ - หละ อา่ นว่า ฉะ - หละ ถละ อ่านสะกดคำว่า ถะ - หลอ - อะ - ถะ - หละ อ่านว่า ถะ - หละ ผวะ อ่านสะกดคำว่า ผะ - หวอ - อะ - ผะ - หวะ อ่านว่า ผะ - หวะ สมะ อา่ นสะกดคำว่า สะ - หมอ - อะ - สะ - หมะ อา่ นวา่ สะ - หมะ สระ อ่านสะกดคำวา่ สะ - หรอ - อะ - สะ - หระ อ่านวา่ สะ - หระ หนังสือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 21

การอา่ นจากซา้ ยไปขวา ขยะ ขยา ขยุ ขยู ขยอ ขยำ ไขย เขยา ตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคำ ขยะ อ่านสะกดคำวา่ ขะ - หยอ - อะ - ขะ - หยะ อ่านว่า ขะ - หยะ ขยา อ่านสะกดคำว่า ขะ - หยอ - อา - ขะ - หยา อา่ นว่า ขะ - หยา ขย ุ อา่ นสะกดคำวา่ ขะ - หยอ - อุ - ขะ - หย ุ อ่านวา่ ขะ - หย ุ ขย ู อ่านสะกดคำวา่ ขะ - หยอ - อู - ขะ - หย ู อา่ นว่า ขะ - หย ู ขยอ อ่านสะกดคำว่า ขะ - หยอ - ออ - ขะ - หยอ อ่านวา่ ขะ - หยอ ขยำ อา่ นสะกดคำวา่ ขะ - หยอ - อำ - ขะ - หยำ อ่านว่า ขะ - หยำ ไขย อ่านสะกดคำวา่ ขะ - หยอ - ไอ - ขะ - ไหย อ่านวา่ ขะ - ไหย เขยา อา่ นสะกดคำว่า ขะ - หยอ - เอา - ขะ - เหยา อา่ นว่า ขะ - เหยา ๒.๒ การฝึกผันอักษรสูงนำอักษรเดี่ยว และอักษรกลางนำอักษรเด่ียวให้ฝึกผัน วรรณยกุ ตพ์ ยญั ชนะต้นตามแผนภมู ทิ ีก่ ำหนด ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำช้แี จง ให้นักเรียนฝึกผันวรรณยุกต์คำอักษรสูงนำอักษรเดี่ยว และอักษรกลางนำ อกั ษรเดยี่ ว อกั ษรสูง ่ ้ สา สา่ ส้า สงา สงา่ สง้า ขยี ขยี ่ ขยี ้ เฉลีย เฉล่ีย เฉลี้ย ขยำ ขย่ำ ขย้ำ เขมา เขม่า เขมา้ เขยา เขยา่ เขยา้ 22 หนังสอื ค่มู ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตัวอยา่ งการอา่ น ๑. การอา่ นแบบสะกดคำ สงา อ่านผันวรรณยุกตว์ ่า สะ - หงอ - อา - สะ - หงา สง่า อ่านผนั วรรณยกุ ตว์ ่า สะ - หงอ - อา - สะ - หงา - สะ - หงา - ไม้เอก - สะ - หงา่ สง้า อ่านผันวรรณยกุ ตว์ า่ สะ - หงอ - อา - สะ - หงา - สะ - หงา - ไม้โท - สะ - หง้า ๒. การอ่านแบบผันไลเ่ สยี ง สงา สงา่ สง้า ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นอา่ นคำตอ่ ไปน้ี ๑. อา่ นพร้อมกนั ท้ังชน้ั เรยี น ๒. อา่ นตามแถวทน่ี ั่ง แถวละคำ ๓. อ่านทีละคน ทอดสมอ กอสละ เทขยะ เสียสละ ชา่ งสนะ แลไสว อย่าไถล ปไ่ี ฉน ดอกโสน เสียงเสนาะ นำเสนอ สมำ่ เสมอ ใบสมอ ปแู สม เขมา่ ไฟ ใบสม ี ฟืนแสม สมอเรอื ลายฉลุ ปฉี ลู แฉละเน้ือ รายเฉลย่ี โฉมเสลา สีสลัว บินถลา ผวาตน่ื เต่าตนุ ขยำแป้ง เขมาโกรย สงั ขยา มา้ เขยา่ ผยบั เผยอ ขยำขยี ้ อยา่ ถลีถลำ หนังสือค่มู ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 23

ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอา่ นเรือ่ ง “หมน่ั ทำเสมอ ย่อมไดเ้ งินทองเสมอ” หม่นั ทำเสมอ ย่อมไดเ้ งินทองเสมอ นายเสนอ เสยี งเสนาะ รา่ งกายแขง็ แรง มที า่ ทางสงา่ ผา่ เผย นา่ รกั นา่ นบั ถอื ตงั้ บา้ นเรอื นอยู่ริมทะเล ติดต่อกับป่าแสม มีทิวไม้เขียวชอุ่มแลดูไสว มีท้ังนกและลิง ค่าง ส่งเสียงร้องฟังเสนาะวังเวงจับใจ รั้วบ้านของแกล้อมด้วยต้นไม้มีหนาม คือ กอไผ่ สละ ระกำ เปน็ ต้น บา้ นเรอื นของแกสะอาดเรียบร้อยดี จนชั้นตามฝาหรือเพดาน ก็ไม่มเี ขมา่ ไฟ เพราะแกคอยเอาใจใส่ดูแลอยู่เสมอๆ ขยะต่างๆ แกก็เอาไปเทใส่หลุมเสีย เพ่ือไม่ให้ หมกั หมม เลอะเทอะหรอื ขนึ้ ราเหมน็ ทง้ั จะไดใ้ ชเ้ ปน็ ปยุ๋ ตอ่ ไปอกี ดว้ ย แกเปน็ คนชา่ งคดิ ชา่ งทำ ถา้ แกเหน็ วา่ ของในดนิ สนิ ในนำ้ สงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ในทอ้ งถน่ิ ทแ่ี กอยจู่ ะทำใหเ้ กดิ เปน็ เงนิ เปน็ ทอง ไดแ้ ลว้ แกกต็ งั้ หนา้ อดทนกดั ฟนั ทำอยา่ งอาบเหงอื่ ตา่ งนำ้ มงุ่ หมายแตจ่ ะใหแ้ ลว้ อยา่ งดงี าม ไม่เถลไถล แกเป็นคนหมั่นมาก ชอบไปเที่ยวหาใบสมอ ใบสมี แลว้ นำไปสง่ ทร่ี า้ นจำหนา่ ย ยาบ้าง ไปตัดไม้แสมมาทอนเป็นฟืนขายบ้าง ไปเที่ยวจับปูแสม แล้วเอามาดองเป็นปูเค็ม ขายบา้ ง ไปเทยี่ วหาไขเ่ ตา่ ตนุ ทเ่ี รยี กวา่ ไขจ่ ะละเมด็ มาขายบา้ ง จนชน้ั สวะทจี่ ะใชเ้ ปน็ เชอ้ื ไฟ หงุ ขา้ วต้มแกงกนิ ได้ กเ็ ลือกเก็บมาผง่ึ แดดไว ้ เงินทองท่ีแกหามาได้น้ัน แกก็แบ่งเฉล่ียออกเป็นส่วนๆ เก็บไว้เป็นทุนบ้าง ใช้จ่ายในสิ่งท่ีจำเป็นบ้าง ยินดีสละเงินบำรุงแผ่นดิน คือ ให้เป็นกำลังแก่บ้านเมืองบ้าง แกเป็นคนละเอียดถี่ถ้วน และเห็นของทุกอย่างมีค่า ถ้าพอจะนำมาดัดแปลงได้ก็ไม่ทิ้ง ให้เสยี เปลา่ เราจะเหน็ ได้วา่ นายเสนอ เสียงเสนาะ เป็นคนรจู้ ักหนา้ ทขี่ องตนดี คอื รู้จกั หาเงินในทางทชี่ อบ ทำตามหลักที่ว่า หมน่ั ทำเสมอ ย่อมไดเ้ งินทองเสมอ เพราะเงนิ นั้นได้ มาด้วยการทำงาน และไม่ใช่เพียงแต่รู้จักทำเท่านั้น แกยังรู้จักเก็บ รู้จักใช้จ่ายเฉพาะส่ิงท่ี จำเป็นอีกด้วย ในไม่ช้า แกก็เป็นคนม่ังมีเงินทองมากมาย เราต้องสำนึกตัวว่า คนทุกคน จำเป็นอย่างย่ิงที่ต้องทำมาหากินเลี้ยงตัวเอง และผู้ที่จะมั่งมีเงินทองนั้นต้องหมั่นทำงาน อาบเหงื่อต่างน้ำมาก่อน เอากำลังกายเข้าแลกเงิน ไม่ย่อท้อหรือหวาดหวั่นต่องานเลย เด็กๆ ท้ังหลาย พึงจดจำเยี่ยงอย่างอันดีงามนี้ไว้ เมื่อเติบโตขึ้นควรจะร่วมใจร่วมกำลัง ช่วยกันคิดทำสิ่งท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินของตนให้เกิดเป็นสินค้าขายได้เป็นเงินเป็นทองข้ึน จะได้ เปน็ กำลงั แก่ตนและบ้านเกิดเมืองนอนอนั เปน็ ที่รักยง่ิ ของตนต่อไป 24 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

สมัยน้ีคนไทยต้องตื่นตัว ต้องพยายามทำมาหากินทุกๆ ด้าน อย่ายอมให้ ชาติอ่ืนมาแย่งการทำมาหากินของเรา เราต้องช่วยตัวเราเอง เราต้องเพาะปลูก เราต้อง เล้ียงสัตว์ เราต้องรู้จักทำสิ่งของใช้เอง เราต้องรู้จักค้าขาย เงินทองก็จะหมุนเวียนอยู่ใน หมูค่ นไทย ความม่ังคั่งก็จะเปน็ ของไทย ชาตไิ ทยจึงจะเจริญ ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๔ คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นอา่ นเร่อื ง “ชว่ ยตวั และช่วยชาต”ิ ตอ่ ไปนี้ ๑. อา่ นพร้อมกันทัง้ ช้นั เรียน ๒. อา่ นตามแถวทน่ี ่งั แถวละวรรค ๓. อ่านทลี ะคน คนละวรรค ช่วยตัวและชว่ ยชาต ิ เราเกิดมาทง้ั ทมี ตี าห ู มอื เทา้ คอู่ ย่ดู ว้ ยไดช้ ว่ ยเหลือ ต้องหาเงินทำทนุ ไว้จนุ เจอื เลยี้ งตวั เพอื่ ยั่งยนื สฝู้ ืนทน เอากำลังกายาฝา่ ลำบาก ถงึ งานยากก็ไมเ่ ลอื กเสลอื กสลน ทหี่ มั่นเรยี นเพียรพากไม่ยากจน ไดเ้ ปน็ พลเมอื งดีมีปัญญา โง่หรอื ฉลาดอาจม่ังมีเหมือนกนั หมด ถา้ แมน้ อดทนสเู้ พ่อื กหู้ นา้ ไม่งอมอื งอเทา้ เข้าตำรา ก็จะพาชาตไิ ทยให้รงุ่ เรือง หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 25

๓. คำศัพท์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท ์ คำศัพท ์ ความหมาย กอสละ กอของสละ (สละ : ชือ่ ไมพ้ มุ่ อยใู่ นตระกูลปาล์ม คลา้ ยระกำ มักขึ้นเปน็ กอ) ช่างสนะ ช่างเสอ้ื (ชา่ งตัดเสือ้ ) ปไ่ี ฉน ปี่ชนิดหนึง่ ขนาดเลก็ มาก ทำด้วยไมห้ รอื งา แบง่ ออกเปน็ ๒ ทอ่ น ถอดจากกนั ได้ ท่อนบนเรยี กว่า เลาปี่ ท่อนลา่ ง เรียกวา่ ลำโพง มีล้ินทำด้วยใบตาลผกู ตดิ กับปลายทอ่ ลมเลก็ ท่เี รียกว่า กำพวด ใบสมี ใบของต้นสมี (สมี : ชื่อไม้ล้มลุกชนดิ หนง่ึ ดอกสเี หลอื ง มีประสนี ำ้ ตาล ใบคลา้ ยใบโสน ใชท้ ำยา และใชใ้ นพิธีพลกี ณู ฑ์) ฟนื แสม ฟนื ทท่ี ำจากไมแ้ สม แฉละเนื้อ - เลาะเน้อื ออกจากกระดกู - แล่แลว้ แบะออก - เฉอื นเป็นชน้ิ ๆ - เชือด - ตดั แยกออกเป็นส่วนๆ สีสลวั สที ีไ่ ม่แจม่ (สลวั : ไม่แจม่ , สไี ม่กระจ่าง เชน่ ในห้องมแี สงสลวั มองเหน็ ไดร้ างๆ) เขมาโกรย ชือ่ ปลาชนิดหนึ่ง มีหลังดำ ถลีถลำ เถลอื กถลน (ลกุ ลน, ลนลาน, รีบรอ้ นจนขาดความระมัดระวงั ) ทอนเปน็ ฟืน ตดั ไมเ้ ปน็ ทอ่ นเพือ่ เอาไปใชท้ ำเปน็ ฟนื สวะ ต้นหญา้ ตน้ ผกั หรอื สงิ่ ตา่ งๆ ทลี่ อยเปน็ แพอยใู่ นนำ้ เสลือกสลน เถลอื กถลน (ลุกลน, ลนลาน, รีบรอ้ นจนขาดความระมัดระวัง) 26 หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

๓.๒ คำที่เขียนแตกตา่ งจากปัจจบุ นั คำทใ่ี ช้ในปัจจุบัน คำทใี่ ช้ในหนังสือแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ชำแหละเน้อื ตอนต้น แฉละเนือ้ ๔. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ การอ่านอักษรนำ หมายถึง การอ่านคำที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน ตวั หนา้ ใหอ้ อกเสยี งเหมือนประสมสระอะ ตัวหลังให้ออกเสียงประสมกับสระที่นำมาประสม โดยมีพ้ืนเสียง (ระดับเสียงวรรณยุกต์) อยู่ในระดับเดียวกันกับพยัญชนะตัวหน้า โดยก่อน ฝึกอ่านแจกลูกคำท่ีมีอักษรสูงนำ ครูควรให้นักเรียนนำคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง (ข) มาประสมสระเสียงสนั้ - ยาว ในบรรทดั แรกเสยี กอ่ น เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นฝกึ ออกเสยี งอา่ นวา่ อยใู่ น ระดับเสียงวรรณยุกต์ใด น่ันคือ เมื่อประสมสระเสียงส้ัน จะมีระดับเสียงวรรณยุกต์เอก เม่ือประสมสระเสียงยาว จะมีระดับเสียงวรรณยุกต์จัตวา ดังนั้น ครูควรชี้ให้นักเรียนเห็น แนวเทียบระดับเสียงวรรณยุกตไ์ ด้ดังน ี้ ขะ อ่านวา่ ขะ (ขะ เปน็ เสียงวรรณยุกตเ์ อก) ขยะ อ่านว่า ขะ - หยะ (หยะ เปน็ เสยี งวรรณยุกต์เอก) * หยะ มีระดบั เสยี งเดียวกนั กบั ขะ (พ้ืนเสียงเป็น เสยี งวรรณยกุ ต์เอก) ขา อ่านว่า ขา (ขา เป็นเสียงวรรณยกุ ต์จตั วา) ขยา อา่ นวา่ ขะ - หยา (หยา เป็นเสยี งวรรณยกุ ต์จัตวา) * หยา มีระดับเสยี งเดยี วกนั กบั ขา (พ้นื เสยี งเปน็ เสียงวรรณยุกต์จตั วา) -ะ -า - ุ - ู -อ -ำ ไ- เ-า ข- ขะ ขา ขุ ข ู ขอ ขำ ไข เขา ขย- ขยะ ขยา ขย ุ ขยู ขยอ ขยำ ไขย เขยา ฉล- ฉละ ฉลา ฉล ุ ฉล ู ฉลอ ฉลำ ไฉล เฉลา ถล- ถละ ถลา ถล ุ ถลู ถลอ ถลำ ไถล เถลา ผว- ผวะ ผวา ผวุ ผวู ผวอ ผวำ ไผว เผวา สม- สมะ สมา สมุ สม ู สมอ สมำ ไสม เสมา สร- สระ สรา สรุ สรู สรอ สรำ ไสร เสรา หนงั สือคู่มือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 27

๔.๒ คำทมี่ อี ักษรกลางนำ ใชว้ ิธกี ารฝกึ เช่นเดยี วกนั กบั คำทม่ี อี กั ษรสูงนำ แตค่ ำ อักษรกลางนำจะมีใช้ในภาษาไทยน้อย ครูอาจฝกึ เทา่ ทม่ี ีในหนงั สอื แบบเรยี นเร็วกไ็ ด้ ๔.๓ คำที่มีอักษรกลางนำ เมื่อเปรียบเทียบกับคำท่ีมีอักษรสูงนำ มีข้อ น่าสงั เกต เชน่ เดยี วกัน คือ ตุ อา่ นว่า ตุ (ตุ เปน็ เสียงวรรณยกุ ต์เอก) ตนุ อ่านว่า ตะ - หนุ (หนุ เป็นเสยี งวรรณยกุ ต์เอก) * หนุ มรี ะดับเสียงเดยี วกนั กับ ตุ (พนื้ เสยี งเปน็ เสียงวรรณยกุ ต์เอก) ต ู อา่ นวา่ ตู (ตู เปน็ เสยี งวรรณยกุ ต์สามัญ) ตนู อ่านว่า ตะ - นู (นู เป็นเสียงวรรณยุกต์สามญั ) * นู มีระดับเสียงเดียวกันกับ ตู (พ้ืนเสียงเป็น เสียงวรรณยุกต์สามญั ) ๔.๔ การสอนอ่านคำแต่ละคำในแบบฝึกหัด ไม่ควรให้อ่านออกเสียงเพียง อยา่ งเดยี ว แตค่ วรคำนงึ ถงึ ความหมายและการนำคำไปใชแ้ ตง่ ประโยค สำหรบั เรอื่ ง “หมนั่ ทำเสมอ ย่อมได้เงินทองเสมอ” และ “ช่วยตัวและช่วยชาติ” เมื่อนักเรียนอ่านจบครูอาจให้นักเรียน จับใจความสำคัญ หรอื ขอ้ คิดที่ได้รบั จากเรือ่ ง 28 หนังสือคู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

บทท่ี ๒๐ ๑. เนอ้ื หา ๑.๑ คำอักษรสงู นำอกั ษรเด่ยี ว ไดแ้ ก่ ขง- ขน- ขม- ขย- ฉง- ฉน- ฉม- ฉว- ถง- ถน- ถล- ผง- ผน- ผย- ผว- ฝร- สง- สน- สม- สร- สล- สว- มตี วั สะกด ๑.๒ คำอักษรกลางนำอกั ษรเดย่ี ว ไดแ้ ก่ กน- จม- ตน- ตล- อง- อน- อร- อล- มีตวั สะกด ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ ทบทวนการออกเสียงอักษรสูงท่ีเป็นตัวนำให้ออกเสียง อะ กึ่งเสียง อักษรตำ่ ทีเ่ ปน็ ตัวตามใหอ้ อกเสยี งเหมอื นมี ห นำ เชน่ ขง- ออกเสียงวา่ ขะ - หงอ สำหรับการออกเสียงอ่านอักษรกลางนำ ให้อ่านตามแนวทางตาม ทก่ี ำหนดในหนังสอื เรียน เช่น กน- ออกเสยี งวา่ กะ - นอ ตวั อยา่ งกิจกรรม คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเสยี งคำดังน้ ี ๑. ให้อา่ นจากข้างบนลงมาขา้ งล่าง ๒. ให้อา่ นจากซา้ ยไปขวา อา่ นจากซา้ ยไปขวา ง น ม ย ว ก ด บ สะ สงั สนั สมั สยั - สัก สัด สับ สละ สลงั สลัน สลมั สลัย - สลกั สลดั สลบั ขนา ขนาง ขนาน ขนาม ขนาย ขนาว ขนาก ขนาด ขนาบ ขยิ ขยงิ ขยนิ ขยิม ขยิย ขยวิ ขยิก ขยิด ขยบิ ฉลี ฉลีง ฉลีน ฉลมี ฉลีย ฉลีว ฉลีก ฉลดี ฉลบี หนังสือค่มู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 29

อ่านจากซา้ ยไปขวา ด บ ผน ึ ผนดึ ผนึบ สมุ ง น ม ย ว ก สมุด สมุบ เสมะ ผนงึ ผนนึ ผนึม ผนึย ผนึว ผนกึ เสม็ด เสม็บ เขน สมุง สมุน สมุม สมุย สมวุ สมกุ เขนด เขนบ แถล เสมง็ เสมน็ เสม็ม เสม็ย เสม็ว เสม็ก แถลด แถลบ โขนะ เขนง เขนน เขนม เขนย เขนว เขนก ขนด ขนบ โขม แถลง แถลน แถลม แถลย แถลว แถลก โขมด โขมบ ฉลอ ขนง ขนน ขนม ขนย ขวน ขนก ฉลอด ฉลอบ ขมัว โขมง โขมน โขมม โขมย โขมว โขมก ขมวด ขมวบ เสวยี ฉลอง ฉลอน ฉลอม ฉลอย ฉลอว ฉลอก เสวยี ด เสวียบ เสมอื ขมวง ขมวน ขมวม ขมวย ขมวว ขมวก เสมือด เสมือบ เฉลอ เสวยี ง เสวยี น เสวยี ม เสวียย เสวียว เสวียก เฉลดิ เฉลบิ ตา เสมือง เสมอื น เสมอื ม เสมอื ย เสมอื ว เสมอื ก ตาด ตาบ ตลา เฉลิง เฉลิน เฉลิม เฉลิย เฉลวิ เฉลิก ตลาด ตลาบ ตง ิ ตาง ตาน ตาม ตาย ตาว ตาก ตงิด ตงิบ จมู ตลาง ตลาน ตลาม ตลาย ตลาว ตลาก จมูด จมบู เอน ตงิง ตงิน ตงิม ตงิย ตงิว ตงิก เอนด เอนบ โกนะ จมงู จมนู จมูม จมยู จมวู จมกู กนด กนบ โตน เอนง เอนน เอนม เอนย เอนว เอนก โตนด โตนบ ตลอ กนง กนน กนม กนย กนว กนก ตลอด ตลอบ เตลอ โตนง โตนน โตนม โตนย โตนว โตนก เตลดิ เตลิบ ตลอง ตลอน ตลอม ตลอย ตลอว ตลอก เตลิง เตลนิ เตลมิ เตลย เตลิว เตลกิ 30 หนังสอื คูม่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตวั อย่างการอา่ น การอา่ นจากซ้ายไปขวา ขนา ขนาง ขนาน ขนาม ขนาย ขนาว ขนาก ขนาด ขนาบ ตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคำ ขนา อ่านว่า ขะ - หนา ขนาง อา่ นวา่ ขะ - หนาง ขนาน อ่านว่า ขะ - หนาน ขนาม อ่านวา่ ขะ - หนาม ขนาว อา่ นว่า ขะ - หนาว ขนาย อา่ นวา่ ขะ - หนาย ขนาก อ่านวา่ ขะ - หนาก ขนาด อ่านวา่ ขะ - หนาด ขนาบ อา่ นวา่ ขะ - หนาบ ๒.๒ ฝึกผันอักษรสูงนำอักษรเดี่ยว และอักษรกลางนำอักษรเดี่ยวตามแผนภูม ิ ที่กำหนด ตวั อยา่ งกจิ กรรม คำชแ้ี จง ให้นักเรียนฝึกผันวรรณยุกต์คำอักษรสูงนำอักษรเดี่ยว และอักษรกลางนำ อกั ษรเดย่ี ว หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 31

อกั ษรสูง ้ ฝัง ฝ้งั ฝรงั ่ ฝรัง้ สวาน ฝง่ั สวา้ น ขมิน ฝรั่ง ขม้นิ ถลึง สวา่ น ถลึง้ ขยมุ ขมน่ิ ขยุม้ เขมน ถลงึ่ เขม้น แฉลม ขยุ่ม แฉลม้ ถลม เขม่น ถล้ม โขยง แฉลม่ โขย้ง ขมอม ถล่ม ขม้อม เสลียง โขยง่ เสล้ียง เขยอื น ขมอ่ ม เขยอื้ น เสลี่ยง เขย่อื น 32 หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

อักษรกลาง ่ ้ ๊ ๋ องั อ่ัง อัง้ อ๊ัง อัง๋ อรงั อรง่ั อรงั้ อรั๊ง อรั๋ง อราม อร่าม อรา้ ม อรา๊ ม อร๋าม ตลิง ตลง่ิ ตล้งิ ตลง๊ิ ตลง๋ิ อนงึ อนง่ึ อนงึ้ อนึ๊ง อนง๋ึ องุน องนุ่ องุ้น องนุ๊ องนุ๋ เตลน เตล่น เตล้น เตลน๊ เตล๋น แอรม แอร่ม แอรม้ แอรม๊ แอร๋ม ตลม ตลม่ ตลม้ ตลม๊ ตลม๋ โตลง โตลง่ โตลง้ โตลง๊ โตล๋ง อรอย อร่อย อรอ้ ย อรอ๊ ย อร๋อย เตลียง เตล่ียง เตลี้ยง เตลี๊ยง เตลย๋ี ง เตลือน เตลื่อน เตลอื้ น เตลอื๊ น เตลอ๋ื น หนงั สือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 33

๒.๓ คำทม่ี อี กั ษรนำบางคำ เวลาอา่ นออกเสยี งใหอ้ า่ นอยา่ งเดยี วกบั คำเรยี งพยางค์ ตวั อย่างกจิ กรรม คำชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอ่านคำอักษรนำตอ่ ไปน้ ี พยายาม อ่านวา่ พะ - ยา - ยาม ทวี อา่ นวา่ ทะ - วี สตรี อ่านว่า สะ - ตร ี แสดง อ่านวา่ สะ - แดง เมลด็ อ่านว่า มะ - เล็ด แมลง อ่านว่า มะ - แลง 34 หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

๒.๔ การฝกึ อา่ นบอ่ ยๆ จะทำใหน้ กั เรยี นสามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งและคลอ่ งแคลว่ ตัวอย่างกิจกรรมท่ี ๑ คำชี้แจง ให้นกั เรียนอา่ นคำตอ่ ไปนี้ ๑. อ่านพรอ้ มกันทงั้ ชั้นเรียน ๒. อ่านตามแถวทน่ี ง่ั แถวละคำ ๓. อา่ นทีละคน แขนงไม้ ทาขมน้ิ ยาสมาน ทนั สมยั มันสมอง ข้ีขมวน ขมวดเชือก ถือฉมวก เสยี งโขมง ขะมกั เขม้น รจู มกู เสวียนหมอ้ สมุดพก ผนึกซอง สองสลงึ ผ้าโสรง่ ดอกสลดิ ใบสลอด แกะสลกั ไปตลาด รมิ ตล่ิง เอรด็ อร่อย ของแสลง เรือฉลอม งานเฉลิม แมลงวนั วันฉลอง เฉลียวฉลาด สนมิ เหลก็ ขยาบเรือ เขมด็ แขม ่ เมล็ดขา้ ว ขยนั เรยี น ต้นฝร่งั ฝาผนัง ตน้ ขนุน ขนมผงิ สวนสนาม ปลาสลาด ลมสลาตนั เรอื สลุบ หฉู ลาม ขมีขมนั ไขสว่าน ถกั สวิง ขมิ้นเครอื แสงสว่าง สีสวาด เงียบสงดั สงบเสง่ียม สงวนไว ้ แสวงหา ตลบั ยา ฉนวนน้ำ ปลาฉนาก พยายาม ขยบั ขยาย ดินถนำ รำเขนง สงั ขยา พยาบาล ตลาดนดั ถลงุ แร ่ ทนายความ อาขยาน ว่ิงตลบ ตลอดวัน ตาลโตนด เรือขนาน คันธน ู หน้าโฉนด จบั ฉลาก ปีฉล ู เผ่นผยอง เตม็ สวาบ ถอ้ ยแถลง พนมไพร ผกากรอง สุกสกาว หญ้าฝรน่ั ลอยโพยม เสวยี นหมอ้ หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 35

ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นอ่านเรอ่ื ง “โรงเรียนสมยั น”ี้ โรงเรียนสมยั นี ้ วันหน่ึง นายเฉลิม สุดเฉลียว กับลูกสาวได้ไปท่ีโรงเรียน อันงดงามทันสมัย แห่งหนึ่ง เพื่อจะรู้ระเบียบวิชาที่สอนอยู่ในโรงเรียนนั้น และอยากจะเห็นเด็กชายสลับ สุดเฉลียว หลานของเขาเล่าเรียนวิชาเป็นอย่างไรบ้าง เขาไปถึงโรงเรียนก็พอดีเป็นเวลา นกั เรียนหยดุ พกั เดก็ นกั เรียนกำลงั เล่นกันอยูใ่ นสนามอย่างสนกุ สนาน ท่ีริมสนามด้านหนึ่ง มแี ม่ค้านำของกนิ และขนมมาขาย นักเรียนตา่ งก็น่งั กินเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยน่าเอร็ดอร่อย เด็กชายสลับ สุดเฉลียว กินอ่ิมแล้ว เหลือบมาเห็นลุงกับพี่สาวเข้าจึงยกมือไหว้ พอคุยกัน ได้สักหน่อยก็ถึงเวลาเข้าห้องเรียน นักเรียนทุกช้ันต่างเดินแถวเข้าห้องเรียนอย่างเป็น ระเบียบเรียบร้อย ส่วนนักเรียนสตรีนั้น เรียนอยู่อีกแผนกหน่ึงต่างหาก ท่านผู้สอนได ้ ยินยอมให้นายเฉลิม สุดเฉลียว เข้าไปนั่งดูหลานของเขาเล่าเรียนในห้องเรียน ห้องเรียนนี้ เหมาะดี ฝาผนังทาสีเขียวอ่อนเย็นตาดี และมีแสงสว่างส่องเข้าข้างหลังทางซ้ายมือ ได้สะดวก นับว่าเหมาะดี นักเรียนน่ังสงบเสงี่ยม ต้ังใจเล่าเรียนกันอยู่อย่างเงียบสงัด นายเฉลิม สุดเฉลียว เห็นเด็กชายสลับหลานของเขาขยันขะมักเขม้นเล่าเรียนด ี ตอบคำถามกถ็ ูกตอ้ งและชดั เจนดี รูส้ กึ ยนิ ดีมาก ตอ่ จากนี้ ทา่ นผสู้ อนไดเ้ ออ้ื เฟอ้ื แนะนำใหเ้ ขาไปดวู ชิ าทำมาหากนิ แผนกตา่ งๆ มีทำนา ทำสวน ทำไร่ แผนกนี้ เขาไดเ้ หน็ นกั เรยี นกำลงั ฝกึ งาน เชน่ เพาะเมลด็ ตา่ งๆ บา้ ง จบั และทำลายแมลง ที่มากดั กินต้นไม้บา้ ง แล้วยังได้ไปดแู ผนกขุดเหมืองแร่ ปา่ ไม้ เลยี้ งววั หมู เป็ด ไก่ และอนื่ ๆ ตลอดจนถงึ แผนกชา่ งตา่ งๆ เชน่ ชา่ งแกะสลกั กท็ ำตลบั งา ชา่ งทอผา้ กท็ อผ้าตา่ งๆ ตลอดจนผา้ โสรง่ ช่างไม้ก็ใช้กบ สิ่ว สว่าน ไปตามชนิดของงาน ช่างเหล็ก ก็หัดตีเหล็กเป็นมีด เป็นเคียว เป็นฉมวก น่าดู น่าชมย่ิงนัก ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีนายเฉลิม สุดเฉลียว ได้ไปพบเห็น เวลาที่นักเรียนแผนกต่างๆ แสดงให้ดูนั้น เป็นที่พอใจมาก เขานึกชมในใจว่า โรงเรยี นนี้เป็นโรงเรยี นทันสมยั แท้ ทกุ ๆ ทอ้ งถ่นิ จำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ ง 36 หนงั สอื คูม่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง

จัดสอนวิชาทำมาหากิน ท่ีเหมาะและสะดวกแก่ท้องถ่ินของตน เม่ือเด็กเติบโตขึ้น จะได้ ยึดถือเป็นหลักสำหรับทำมาหากิน อย่างทันสมัยต่อไป เม่ือชาวไทยทุกคนรู้จักทำงาน ตามหลกั วชิ า และรว่ มใจกนั ทำดว้ ยความพยายาม อยา่ งขยนั ขนั แขง็ แลว้ ประเทศไทยจะมงั่ คงั่ เทยี มหนา้ ตา่ งประเทศ ชาวไทยทั้งหลาย กจ็ ะร้สู กึ อ่นุ ใจท่ัวหนา้ กนั เด็กนักเรียนทั้งหลาย เมื่ออ่านเร่ืองน้ีแล้วจงรู้สึกไว้แต่เด๋ียวนี้ว่า เมื่อตนเรียน วิชาเบ้ืองต้นรู้ดีพอแล้ว จำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเลือกเรียนวิชาทำมาหากิน ท่ีเหมาะและ สะดวกแก่ตนไว้ให้ได้ และต้องตัง้ ใจเรียนไว้ใหร้ ู้ดีด้วย เพื่อจะไดย้ ดึ ถอื เปน็ หลักสำหรบั ทำมา หากินเลี้ยงตนเองต่อไป จะได้เป็นกำลังแก่ตนและประเทศไทย อันเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ของเรา ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำชแี้ จง ให้นักเรียนอา่ นเรอื่ ง “ในวัยเดก็ ” ต่อไปน้ี ๑. อ่านพรอ้ มกนั ทง้ั ช้ันเรยี น ๒. อ่านตามแถวท่ีนง่ั แถวละวรรค ๓. อ่านทลี ะคน คนละวรรค ในวัยเดก็ ในวัยเดก็ เลก็ อยู่จงรูว้ า่ เรยี นวิชาชั้นตน้ จนจบสนิ้ แล้วเลอื กเรียนวิชาเชิงหากนิ ให้ถูกถิ่นถกู เวลาถูกท่าที เมอื่ เติบโตตอ่ ไปในข้างหน้า ต้องมุ่งหนา้ หากินตามถิ่นที่ รู้จกั ทำรจู้ กั ใชเ้ กบ็ ให้ด ี ยามแก่มเี จ็บไขไ้ ดใ้ ชเ้ อย หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง 37

๓. คำศพั ท์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท ์ คำศพั ท์ ความหมาย ขข้ี มวน หนอนของแมลงพวกดว้ งปีกแขง็ ที่กนิ ปลาแหง้ เนือ้ แห้ง และอาหารแหง้ อืน่ ๆ โดยทิง้ รอยใหเ้ หน็ เปน็ ขุยเลก็ ๆ ออกมา เรยี กว่า ขี้ขมวน เสยี งโขมง โขมง : ฟุง้ , เอด็ องึ เช่น คุยโขมง เสวยี นหมอ้ เสวียน : ของใช้ชนดิ หนึง่ ทำด้วยหญา้ หวายหรือฟาง ถักหรือมัด เปน็ วงกลม มักมหี ู ๒ ข้าง สำหรับหิว้ ใช้รองกน้ หมอ้ ทห่ี งุ ต้ม ด้วยเตาฟนื หรอื เตาถา่ น ใบสลอด สลอด : ชื่อไม้พุม่ ชนิดหนึง่ เมลด็ เปน็ พิษ เรอื ฉลอม เรือตอ่ ชนดิ หนึ่ง คลา้ ยเรือกระแชง หัวทา้ ยงอนเรยี ว กลางป่อง ตวั เรือเป็นเหลี่ยม กระดานขา้ งเรอื เป็นทบั เกล็ด นิยมใชต้ าม หัวเมอื งชายทะเลแถบปากอา่ ว สำหรบั บรรทุกสินคา้ หรอื หาปลา สมยั โบราณเวลาเกดิ ศกึ สงครามกจ็ ะถกู เกณฑไ์ ปใชใ้ นราชการทพั ดว้ ย อาจติดใบหรือไม่ก็ได้ ขยาบเรือ เคร่อื งกนั แดดและฝนทเี่ ลอ่ื นเข้าออกจากประทุนเรือได ้ เขมด็ แขม่ (กระเหมด็ กระแหม)่ ใชจ้ า่ ยอยา่ งระมดั ระวงั เพราะเกรงวา่ จะไมพ่ อใช ้ ปลาสลาด ช่อื ปลาน้ำจืดชนดิ หน่ึง รปู รา่ งคลา้ ยปลากราย หัว และลำตัว แบนขา้ งมาก ทอ้ งเปน็ สนั คม ปากตำ่ สนั หวั แอน่ ลงเลก็ นอ้ ย ครบี หลงั เดน่ แตม่ ขี นาดเลก็ เทา่ ๆ กนั กบั ครบี อก ครบี ทอ้ งเลก็ ครบี กน้ ยาวตอ่ เนอื่ งกับครบี หาง ซง่ึ เล็กและมขี อบกลม พ้ืนลำตัว สขี าวหลงั เทา ไมม่ ีจุดสีเด่นหรอื ลวดลายสีเข้มใดๆ ขนาดยาวเพียง ๓๕ เซนติเมตร ฉลาด หรอื ตอง ก็เรียก เรอื สลบุ เรอื ใบเดนิ ทะเลชนิดหน่งึ แบบชาวตะวันตก 38 หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

คำศพั ท์ ความหมาย ชอื่ ไม้เถาหลายชนิด บางชนดิ เรียก กำแพงเจด็ ชั้น ขมิ้นเครือ สวาด : ช่ือไมเ้ ถาเนอ้ื แขง็ ชนดิ หนง่ึ ลำตน้ มีหนาม ฝกั มีหนาม สีสวาด ละเอียด เมล็ดกลม เปลือกแขง็ สีเทาอมเขยี ว, สเี ทาอมเขียว อย่างสีเมลด็ สวาด เรยี กว่า สีสวาด, เรยี กแมวทม่ี ีสเี ชน่ นนั้ วา่ แมวสสี วาดวา่ เปน็ แมวไทยทชี่ าวตา่ งประเทศนยิ มเลย้ี งและมรี าคาแพง ช่ือปลาทะเลขนาดใหญ่ชนดิ หนึง่ เป็นปลากระดกู อ่อน มเี หงือก ปลาฉนาก ๕ คู่ อยูใ่ ต้ส่วนหวั บรเิ วณปลายสดุ ของหัวมแี ผน่ กระดกู ยืน่ ยาวมาก ขอบท้ัง ๒ ขา้ ง มีซก่ี ระดูกแขง็ คลา้ ยฟนั เรยี งหา่ งกนั อยา่ งสม่ำเสมอขา้ งละ ๑ แถวโดยตลอด ช่ือดินชนิดหน่งึ สีเหลืองอ่อน ใช้ทำยาไทย ดนิ ถนำ พิธีพราหมณ์มีการถอื เขนงนำ้ มนตร์รำถวายพระอศิ วร รำเขนง และประน้ำมนตร์ (เขนง : เขาสตั ว)์ สวาบ : สว่ นกายของคนและสัตวส์ เ่ี ทา้ อยูร่ ะหว่างชายโครงกับ เตม็ สวาบ สนั กระดูกตะโพก เปน็ สว่ นทไ่ี ม่มกี ระดกู ชอ่ื ปาลม์ ชนดิ หนง่ึ ใบใหญ่ ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ตน้ เพศผ ู้ ตาลโตนด ออกดอกเปน็ งวงคล้ายมะพรา้ ว ไม่มผี ล ตน้ เพศเมยี ออกดอก เป็นชอ่ เดย่ี วๆ ผลใหญ่กลมโตเปน็ ทะลาย นำ้ หวานทอ่ี อกจากงวง ของต้นเพศผู้ เรยี กว่า น้ำตาลสด ใชท้ ำน้ำตาลได้ ตอนหัวของ ผลออ่ น เรยี กวา่ หวั ตาล ตม้ แกงกนิ ได้ เม่อื เต้ายงั อ่อน เรยี กว่า ลอนตาล นิยมกินสดหรอื กินกับนำ้ เชอ่ื ม เนื้อในตาลออ่ นทเ่ี ฉาะ ออกมาจากเตา้ เรยี กวา่ ตาลเฉาะ จาวท่เี กิดจากเมล็ดแก ่ ท่งี อกแล้วเรยี กว่า จาวตาล เชื่อมกินได้ เรือที่ผกู หรือตรึงตดิ เรยี งคู่กันสำหรบั ข้ามฟาก, เรือที่จอดเทยี บท่า เรอื ขนาน สำหรบั รบั เสด็จข้ึนจากเรือพระท่นี งั่ , เรอื ที่ใชใ้ นการทำสังฆกรรม ในนา่ นนำ้ ซึง่ จอดขนานไปกบั ลำน้ำใหห้ ่างจากฝ่งั กว่าช่วั วักน้ำสาด หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 39

๔. ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ คำอักษรสูงนำที่ประสมกับสระแม่ ก กา บางตัว เม่ือมีตัวสะกดจะ เปลย่ี นรูป ลดรปู ดงั น ี้ ๑) คำทป่ี ระสมกบั สระ -ะ เมอ่ื มตี วั สะกดจะเปลยี่ นรปู เปน็ -ั (ไมห้ นั อากาศ) ตวั อย่างเช่น สละ มีตัวสะกดแม่กก แม่กด แม่กบ เปลี่ยนรูปเป็น สลัก สลัด สลบั ๒) คำท่ีประสมกับสระ เ-ะ เม่ือมีตัวสะกดจะเปลี่ยนรูปสระอะเป็น - ็ (ไมไ้ ตค่ ู้) ตัวอยา่ งเชน่ เขมะ มีตัวสะกดแม่กง แม่กน แม่กม เปล่ียนรูปเป็น เขม็ง เขมน็ เขมม็ ๓) คำทป่ี ระสมกบั สระ โ-ะ เมอ่ื มตี วั สะกดจะลดรปู (ไมม่ รี ปู ) ตวั อยา่ งเชน่ โฉงะ มตี วั สะกดแมก่ ง แมก่ น แมก่ ม เปลย่ี นรปู เปน็ ฉงง ฉงน ฉงม ๔) คำท่ีประสมกับสระ -ัว เมื่อมีตัวสะกด - ั (ไม้หันอากาศ) จะหายไป ตวั อยา่ งเชน่ สลวั มตี วั สะกดแม่เกย แม่กง แม่กด เปลีย่ นรูปเป็น สลวย สลวง สลวด ๕) คำทปี่ ระสมกบั สระ เ-อ เมอื่ มตี วั สะกดจะเปลย่ี นรปู เปน็ ๒ ลกั ษณะ คอื - ตัว อ เปล่ียนเปน็ สระ - ิ ตวั อย่างเชน่ เถลอ มีตัวสะกดแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกอว แม่กก แม่กด แม่กบ เปลี่ยนรูปเป็น เถลิง เถลิน เถลิม เถลิว เถลิก เถลดิ เถลิบ - ตวั อ หายไป ตัวอยา่ งเชน่ เขนอ มตี วั สะกดแม่เกย เปลย่ี นรปู เปน็ เขนย ๔.๒ การสอนอา่ นคำในแบบฝึกหดั แตล่ ะคำ ไมค่ วรใหอ้ ่านออกเสียงเพยี งอย่าง เดยี ว แตค่ วรคำนงึ ถงึ ความหมายและการนำคำไปใชแ้ ตง่ ประโยค สำหรบั เรอื่ ง “โรงเรยี นสมยั น”้ี และ “ในวัยเด็ก” เม่ือนักเรียนอ่านจบครูอาจให้นักเรียนจับใจความสำคัญหรือข้อคิดท่ีได้รับ จากเรอื่ ง ๔.๓ การสอนอา่ นเรอื่ ง “ในวยั เดก็ ” ควรสอนใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจเรอ่ื งฉนั ทลกั ษณ์ เพิ่มเตมิ 40 หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

บทท่ี ๒๑ ๑. เนื้อหา ๑.๑ พยัญชนะท่ีใช้กล้ำกับ ร ล หรอื ว ๑) การอา่ นออกเสียงพยัญชนะทีใ่ ช้กล้ำ ร ล ว (กร- กล- กว- ตร- ปร- ปล- ขร- ขล- ขว- ผล- คร- คล- คว- พร- พล-) ไม่มตี ัวสะกด ๒) การประสมพยัญชนะที่ใชก้ ล้ำกับ ร ล ว (กร- กล- กว- ตร- ปร- ปล- ขร- ขล- ขว- ผล- คร- คล- คว- พร- พล-) ไมม่ ตี วั สะกด กบั สระ -ะ -า - ี - ู -ั ว เ-อ -ำ ไ- เ-า ๑.๒ การผันคำทม่ี ีพยญั ชนะกล้ำกบั ร ล หรือ ว (กร- กล- กว- ตร- ปร- ปล- ขร- ขล- ขว- ผล- คร- คล- คว- พร- พล-) ไมม่ ีตวั สะกด ๒. แนวทางการจดั กิจกรรม ๒.๑ การอา่ นออกเสยี งพยญั ชนะทใ่ี ชก้ ลำ้ ร ล หรอื ว ใหอ้ อกเสยี งพยญั ชนะตน้ ทงั้ สอง กล้ำเป็นเสยี งเดยี วกนั ตัวอยา่ งกิจกรรม คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นออกเสยี งพยญั ชนะทใี่ ชก้ ลำ้ ร ล หรอื ว โดยใหอ้ อก เสยี งพยญั ชนะตน้ ทง้ั สองกล้ำเป็นเสียงเดียวกัน พยญั ชนะทใ่ี ชก้ ล้ำ ร พยญั ชนะท่ใี ช้กล้ำ ล พยัญชนะท่ใี ช้กล้ำ ว กร อ่านวา่ กรอ กล อ่านว่า กลอ กว อา่ นว่า กวอ ตร อา่ นว่า ตรอ ปล อา่ นวา่ ปลอ ขว อ่านว่า ขวอ ปร อ่านวา่ ปรอ ขล อา่ นว่า ขลอ คว อา่ นวา่ ควอ ขร อา่ นว่า ขรอ ผล อ่านวา่ ผลอ คร อา่ นว่า ครอ พร อ่านว่า พรอ หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 41

๒.๒ การอา่ นคำที่มีพยญั ชนะกลำ้ กับ ร ล หรือ ว ไม่มตี วั สะกด กบั สระ -ะ -า -ุ - ู ั-ว - ำ ไ- เ-า ใหฝ้ ึกอา่ นสะกดคำและอ่านเปน็ คำ และเปรยี บเทยี บเสยี งกบั คำที่ไม่ได้ ควบกล้ำ ตวั อยา่ งกิจกรรม คำช้แี จง ให้นักเรยี นอ่านออกเสียงคำต่อไปน ้ี ๑. ให้อา่ นจากขา้ งบนลงมาข้างลา่ ง ๒. ให้อ่านจากซ้ายไปขวา อ่านจากซ้ายไปขวา -ะ -า - ี -ู ั-ว เ-อ -ำ ไ- เ-า อกั ษรกลาง ก กะ กา กี ก ู กวั เกอ กำ ไก เกา กร- กระ กรา กร ี กร ู กรวั เกรอ กรำ ไกร เกรา ตร- ตระ ตรา ตร ี ตรู ตรัว เตรอ ตรำ ไตร เตรา ปร- ประ ปรา ปร ี ปร ู ปรัว เปรอ ปรำ ไปร เปรา กล- กละ กลา กลี กลู กลัว เกลอ กลำ ไกล เกลา อา่ นจ าก ปล- ปละ ปลา ปล ี ปลู ปลัว เปลอ ปลำ ไปล เปลา ขา้ งบ น อักษรสงู ลงม า ข ขะ ขา ข ี ข ู ขัว เขอ ขำ ไข เขา ขา้ งล า่ ง ขร- ขระ ขรา ขร ี ขรู ขรวั เขรอ ขรำ ไขร เขรา ขล- ขละ ขลา ขล ี ขล ู ขลัว เขลอ ขลำ ไขล เขลา ผล- ผละ ผลา ผลี ผลู ผลัว เผลอ ผลำ ไผล เผลา ขว- ขวะ ขวา ขวี ขว ู ขววั เขวอ ขวำ ไขว เขวา อกั ษรตำ่ ค คะ คา ค ี ค ู คัว เคอ คำ ไค เคา คร- คระ ครา ครี คร ู ครัว เครอ ครำ ไคร เครา พร- พระ พรา พรี พรู พรวั เพรอ พรำ ไพร เพรา คล- คละ คลา คล ี คลู คลวั เคลอ คลำ ไคล เคลา 42 หนงั สือคูม่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง

ตัวอยา่ งการอา่ น การอ่านจากขา้ งบนลงมาขา้ งลา่ ง กะ กระ ตระ ประ กละ ปละ ตัวอย่างการอา่ นสะกดคำ กะ อา่ นสะกดคำว่า กอ - อะ - กะ อา่ นว่า กะ กระ อ่านสะกดคำว่า กอ - รอ - อะ - กระ อ่านวา่ กระ ตระ อา่ นสะกดคำวา่ ตอ - รอ - อะ - ตระ อ่านว่า ตระ ประ อ่านสะกดคำวา่ ปอ - รอ - อะ - ประ อ่านวา่ ประ กละ อา่ นสะกดคำวา่ กอ - ลอ - อะ - กละ อา่ นว่า กละ ปละ อ่านสะกดคำว่า ปอ - ลอ - อะ - ปละ อา่ นว่า ปละ การอ่านจากซา้ ยไปขวา กระ กรา กรี กรู กรัว เกรอ กรำ ไกร เกรา ตวั อย่างการอา่ นสะกดคำ กระ อา่ นสะกดคำว่า กอ - รอ - อะ - กระ อ่านว่า กระ กรา อา่ นสะกดคำว่า กอ - รอ - อา - กรา อา่ นวา่ กรา กร ี อ่านสะกดคำว่า กอ - รอ – อี - กร ี อา่ นวา่ กร ี กร ู อ่านสะกดคำวา่ กอ - รอ - อู - กร ู อ่านว่า กร ู กรัว อ่านสะกดคำวา่ กอ - รอ - อัว - กรัว อา่ นว่า กรวั เกรอ อา่ นสะกดคำว่า กอ - รอ - เออ - เกรอ อ่านวา่ เกรอ กรำ อ่านสะกดคำวา่ กอ - รอ - อำ - กรำ อา่ นวา่ กรำ ไกร อ่านสะกดคำว่า กอ - รอ - ไอ - ไกร อ่านวา่ ไกร เกรา อา่ นสะกดคำว่า กอ - รอ - เอา - เกรา อ่านว่า เกรา หนังสือค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนกลาง 43

๒.๓ การอ่านผันวรรณยุกต์คำท่ีมีพยัญชนะอักษรกลางกล้ำกับ ร ล หรือ ว ใหฝ้ ึกอ่านเปน็ คำโดยเปรยี บเทยี บเสยี งกับคำท่ไี ม่ไดค้ วบกลำ้ ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำช้แี จง ให้นักเรียนฝึกอ่านผนั เสียงวรรณยุกตค์ ำอักษรกลางต่อไปน้ี อกั ษรกลาง ๋ กา๋ ่ ้ ๊ กร๋า กา กา่ ก้า กา๊ กลา๋ กรา กรา่ กรา้ กร๊า กว๋า กลา กลา่ กลา้ กลา๊ กลี๋ กวา กว่า กวา้ กว๊า ตร ู๋ กล ี กล ่ี กล้ ี กลี ๊ เตร ๋ ตร ู ตรู่ ตร ู้ ตร๊ ู แปร ๋ เตร เตร ่ เตร ้ เตร๊ โกล ๋ แปร แปร่ แปร ้ แปร๊ กล๋อ โกล โกล่ โกล ้ โกล ๊ กลั๋ว กลอ กล่อ กล้อ กลอ๊ เกลีย๋ กลัว กลว่ั กลวั้ กลวั๊ เกล๋อื เกลยี เกลี่ย เกลยี้ เกลย๊ี เกร๋อ เกลือ เกลอ่ื เกล้อื เกลอ๊ื ไกล๋ เกรอ เกรอ่ เกรอ้ เกรอ๊ เปลา๋ ไกล ไกล่ ไกล้ ไกล๊ กล๋ำ เปลา เปลา่ เปลา้ เปล๊า กลำ กลำ่ กลำ้ กลำ๊ 44 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนกลาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook