Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หมุนรอบตัวเอง

หมุนรอบตัวเอง

Published by sritalalaiwarin, 2018-05-04 05:32:42

Description: หมุนรอบตัวเอง

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุรยิ ะ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้  จาลองและอธิบายปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ จากโลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบ ดวงอาทติ ย์ และผลต่อสง่ิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดลอ้ มบนโลก  อธบิ ายการเกิด ขา้ งข้นึ ขา้ งแรม น้าขน้ึ นา้ ลง อุปราคา และผลตอ่ ส่ิงมชี ีวิต และสิ่งแวดล้อมบนโลก  สืบค้นและอธบิ ายองค์ประกอบในระบบสรุ ิยะ  สืบค้นและอธิบายพัฒนาการของแบบจาลองระบบสุริยะ

ปฎิสัมพนั ธใ์ นระบบสุริยะ - ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ จากโลกหมุนรอบตวั เอง - ปรากฏการณท์ เี่ กดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์- ปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นในระบบโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์ - ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะ - พัฒนาการของแบบจาลองระบบสรุ ยิ ะ

ในช่วง 350 ปกี ่อนครสิ ตกาล อริสโตเตลิ (Aristotle)นักปราชญ์ผูม้ ีชื่อเสียงของกรีกสอนวา่ ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจันทรเ์ ปน็ ทรงกลมท่ีสมบรู ณ์ (มผี วิ เรยี บ) ทงั้ ดาวฤกษ์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ ตา่ งเคลอ่ื นทรี่ อบโลกซง่ึ เปน็ ศนู ยก์ ลางของจกั รวาลอรสิ โตเติลสอนดว้ ยว่า ทกุ สรรพส่ิงตอ้ งเคลื่อนที่เข้าหาศูนยก์ ลางของโลก เน่อื งจาก “โลกเป็นศูนยก์ ลางของจกั รวาล” (Geocentric)

นิโคลัส โคเพอร์นิคสั (Nicolaus Copernicus)เป็นนักดาราศาสตรค์ นแรกที่ไดร้ บัการยอมรับในการเสนอแนวคดิ ทีว่ า่ดวงอาทิตย์เปน็ ศนู ย์กลางของระบบสุรยิ ะ และโลกเปน็ เพียงดาวเคราะห์ดวงหนงึ่ ทโี่ คจรรอบโลก ปัจจุบันเราทราบว่า การขน้ึ ตกของดวงอาทิตยไ์ มใ่ ชก่ ารเคลอ่ื นที่แท้จรงิ แตเ่ ปน็ การเคลือ่ นทีป่ รากฏ สง่ิ ที่เคลอ่ื นทีน่ ้ันแทจ้ รงิ แลว้ คือ โลก การข้นึ ตกของดวงอาทติ ย์เกิดการการทโี่ ลกหมุนรอบตัวเอง พร้อมกับโคจร ไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ โดยมีดวงอาทิตยเ์ ป็นศูนยก์ ลาง

1. ปรากฏการณท์ ่เี กิดจากโลกหมุนรอบตวั เอง1.1 การขึน้ ตกของ ดวงอาทติ ย์ 1.2 การขน้ึ ตกของ ดวงดาว 1.4 การกาหนดทิศ 1.3 การเกดิ กลางวนั และ กลางคนื

การเคล่ือนท่ีของโลก1. การหมุนรอบตัวเอง(Rotation) เปน็ การหมุนของโลกรอบแกนสมมติ โดยหมุนจากทศิ ตะวนั ตกไปทศิตะวนั ออก(หมุนทวนเขม็ นาฬกิ า) แกนสมมติจะช้ไี ปบนฟา้ ตรงจดุ เหนอื ข้ัวโลกเหนอืเรียกวา่ ขว้ั ฟ้าเหนือ และตรงจดุ เหนือขั้วโลกใตเ้ รียกวา่ ขว้ั ฟา้ ใต้

1.1 การข้ึนตกของ ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตยข์ ้ึนและตก ไมไ่ ดซ้ ้ารอยเดิมทกุ วนั โดยบางวนั ก็ข้ึนทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ และตกทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือ บางวนั ข้ึนทางทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ และตกทางทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ในรอบ 1 ปี มีเพยี ง 2 วนั เทา่ น้นั ที่ข้ึนทางทิศตะวนั ออกพอดี และตกทางทิศตะวนั ตกพอดี คือวนั ที่ 21 มีนาคมและวนั ที่ 23 กนั ยายน โดย 2 วนั น้ี กลางวนั กลางคืนมีเวลาเท่ากนั วนั ที่ดวงอาทิตยข์ ้ึนทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือมาก ท่ีสุดคือวนั ท่ี 22 มิถุนายน ในวนั น้ีเวลากลางวนั จะมากกวา่ กลางคืน ส่วนในวนั ท่ี 22 ธนั วาคม ดวงอาทิตยจ์ ะข้ึนทางทิศตะวนั ออกเฉียงใตม้ ากท่ีสุด และตกทางทิศตะวนั ตกเฉียงใตม้ ากที่สุด ช่วงเวลากลางคืนจะมากกวา่ กลางวนั ท่ีเรามองเห็นดวงอาทิตยข์ ้ึน และตกในลกั ษณะท่ีกล่าวมาแลว้ น้นั เป็นเพราะโลกต้งั แกนเอียง



1.2 การข้ึนตกของ ดวงดาว โลกกลม ๆ เมอื่ หมนุ รอบตัวเองจะหมุนรอบแกนที่ผ่านขั้วโลก เหนือและขว้ั โลกใต้ แกนทีผ่ า่ นขวั้ โลกเหนอื จะช้ี ไปยงั ขว้ั าเหนือซ่ึงมี ดาวเหนืออยูใ่ กล้ ๆ ดังนนั้ เม่อื โลกหมุนจากทิศตะวนั ตกไปทศิ ตะวนั ออก ดาวจงึ วนเป็นวงกลม รอบดาวเหนือในเวลากลางคนื หลงั จากท่ดี วงอาทติ ย์ลบั ขอบ าแล้ว เราจะเหนดาวบางดวงชัดเจนแตบ่ างดวงกไมช่ ดั เจน แต่ในเวลากลางวันเราจะไมเ่ หนดวงดาวเน่อื งจากแสงของดวงอาทติ ยม์ ีความสว่างมากจงึ ทาใหม้ องไม่เหนดวงดาว

คาถามหน้า 4 ดวงจนั ทร์ขึน้ และตกทางทศิ ใด การข้นึ ตกของดวงดาวมีละกษณะเหมอื นกนั หรอื แตกต่างจากการ ขึ้นตกของดวงอาทิตย์อย่างไร

1.3 การเกดิ กลางวันและกลางคนื การเกดิ กลางวันและกลางคนื (Day and Night) เมือ่ โลกหมุนรอบตวั เองด้านทีห่ ันหนา้ เขา้ หาดวงอาทติ ย์จะทาให้ เกิดกลางวันสว่ นด้านที่หนั หลงั ให้ดวงอาทติ ยจ์ ะเป็นเวลากลางคืน ในขณะทีโ่ ลกหมนุ รอบตวั เองจากทศิ ตะวันตกไป ยงั ทิศตะวันออก จะทาให้เราเหนดวงอาทติ ยข์ นึ้ มาจากขอบ าทางด้านทศิ ตะวันออก และตกทางขอบ าด้าน ทิศตะวนั ตกเสมอ

1.4 การกาหนดทศิ เสน้ ขอบ าเป็นเสน้ วงกลม ล้อมรอบตวั ในแนวราบ เมอื่ สงั เกตการเคล่ือนทข่ี องดวงอาทติ ย์ในเวลาเชา้ จะเหนดวงอาทิตยโ์ ผลข่ ้ึนมาจากขอบ าด้านหนง่ึ เรยี กวา่ และดวงอาทติ ย์ จะเคลอ่ื นทีข่ นึ้ สงู ทีส่ ดุ ในเวลาประมาณเทยี่ งวนั จากนนั้ ดวงอาทิตยจ์ ะเคลื่อนตา่ ลง กระทงั่ ตกลบั ขอบ าอีกดา้ นหนึ่งเรียกวา่ การขนึ้ และตก ของดวงอาทิตย์ เกิดจากการหมุนรอบตวั เองของโลกตามแกนเหนือ และแกนใต้ ดงั นน้ั การกาหนดทิศทางบนโลก จงึ แบง่ ออกเปน็ 4 ทิศหลัก คอื ทิศตะวันออก (East) ทิศตะวนั ตก (West) ทศิ เหนอื (North) และทิศใต้ (South) โดยทศิ ทง้ั สม่ี คี วามสมั พนั ์กันดงั นี้

การหมนุ รอบตัวเองของโลกทาใหเ้ กิดปรากฏการณ์หลายอย่างดงั ที่กล่าวมา ลว้ นแตส่ ่งผลตอ่ การดาเนินชีวติ ของส่ิงมีชวี ติ ทัง้ ส้นิ

คาถาม หน้า 6การหมุนรอบตัวเองของโลกส่งผลตอ่ การดารงชีวิต ของสิง่ มีชีวิตอยา่ งไรบ้าง นอกจากโลกหมนุ รอบตวั เองแลว้ โลกมีการเคลื่อนทแ่ี บบใดอกี บา้ ง

ทรงกลมฟา้

การโคจรรอบดวงอาทิตย(์ Revolution)

การโคจรรอบดวงอาทิตย(์ Revolution) คาถาม หนา้ 8โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ ในลกั ษณะท่ีแกนโลกเอยี งทาใหเ้ กิดปรากฏการณใ์ ด



ฤดูกาลฤดูกาล (Seasons) เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตยโ์ ดยที่แกนของโลกเอียง 23.5° ในฤดูรอ้ นโลกเอยี งขัว้ เหนอื เข้าหา ดวงอาทติ ย์ ทาให้ซกี โลกเหนอื กลายเป็นฤดรู ้อน และซกีโลกใตก้ ลายเป็นฤดหู นาว หกเดอื นต่อมาโลกโคจรไปอยอู่ กี ด้านหนึ่งของวงโคจร โลกเอียงข้วั ใตเ้ ข้าหาดวงอาทติ ย์ (แกนของโลกเอียง 23.5° คงท่ีตลอดปี) ทาใหซ้ กี โลกใต้ กลายเป็นฤดรู อ้ น และซีกโลกเหนอื กลายเป็นฤดหู นาว

ฤดกู าล

การโคจรรอบดฤวดงอูกาทลิตย(์ Revolution)

ฤดูกาล1. วสนั ตวิษุวตั (วะ-สนั -ตะ-ว-ิ สุ-วดั ) (Vernal Equinox) ตรงกบั วนั ที่ 21 ม.ี ค. เป็ นวนั ท่ีดวงอาทิตยข์ ้ ึนทางทิศตะวนั ออกและตกทางทิศตะวนั ตกพอดี สง่ ผลใหช้ ่วงเวลากลางวนั เทา่ กบั กลางคืนพอดี นับเป็ นวนั ท่ีประเทศทางซีกโลกเหนือเขา้ ยา่ งสู่ฤดูใบไมผ้ ลิ ส่วนซีกโลกใตเ้ ขา้ สู่ฤดูใบไมร้ ่วง 2. ครีษมายนั (ครี-สะ-มา-ยนั ) (Summer Solstice) ตรงกบั วนั ที่ 21 มิ.ย.หรือ 22 มิ.ย. เป็ นวนั ที่ดวงอาทิตย์ข้ ึน ทางทิศตะวนั ออกเฉียงไปทางเหนือมากท่ีสุด และตกทางทิศตะวนั ตกเฉียงไปทางเหนือมากท่ีสุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวนั ยาวท่ีสุดในรอบปี สาหรบั ประเทศทางซีกโลกเหนือ นับเป็ นวนั ที่ยา่ งเขา้ สูฤ่ ดูรอ้ น ส่วนประเทศทางซีกโลกใตช้ ว่ งกลางวนั จะส้นั ที่สุดในรอบปี นับเป็ นวนั ท่ียา่ งเขา้ สูฤ่ ดูหนาว 3. ศารทวษิ ุวตั (สาด-ทะ-ว-ิ สุ-วดั ) (Autumnal Equinox) ตรงกบั วนั ที่ 23 ก.ย. เป็ นวนั ท่ีดวงอาทิตยข์ ้ ึนทางทิศตะวนั ออกและตกทางทิศตะวนั ตกพอดี สง่ ผลใหช้ ่วงเวลากลางวนั เทา่ กบั กลางคืนพอดี นับเป็ นวนั ที่ประเทศทางซีกโลกเหนือเขา้ ยา่ งสู่ฤดูใบไมร้ ว่ ง ส่วนซีกโลกใตเ้ ขา้ สู่ฤดูใบไมผ้ ลิ4. เหมายนั (เห-มา-ยนั ) (Winter Solstice) ตรงกบั วนั ท่ี 21 ธ.ค.หรือ 22 ธ.ค. เป็ นวนั ที่ดวงอาทิตยข์ ้ ึนทางทิศตะวนั ออกเฉียงไปทางใตม้ ากท่ีสุด และตกทางทิศตะวนั ตกเฉียงไปทางใตม้ ากท่ีสุด ส่งผลใหช้ ว่ งเวลากลางวนั ส้นัท่ีสุดและกลางคืนยาวท่ีสุดในรอบปี หรือท่ีคนไทยเรียกวา่ “ตะวนั ออ้ มขา้ ว” สาหรบั ประเทศทางซีกโลกเหนือนับเป็ นวนั ท่ียา่ งเขา้ สู่ฤดูหนาว ส่วนประเทศทางซีกโลกใต้ ช่วงกลางวนั จะยาวที่สุดในรอบปี นับเป็ นวนั ที่ยา่ งเขา้ สู่ฤดูรอ้ น

การโคจรรอบดวงอาทิตย(์ Revolution)

ฤดกู าลในประเทศไทย ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ขนาบดว้ ยมหาสมทุ รอนิ เดียกับทะเลจนี ใต้ จึงตกอยูใ่ นอทิ ธิพลของลมมรสมุ(Monsoon) ทาใหป้ ระเทศไทยมี 3 ฤดู ดงั น้ี◾ฤดูร้อน: ตัง้ แตเ่ ดือนมีนาคม ถึงกลางเดอื นพฤษภาคม◾ฤดฝู น: ตง้ั แต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึงปลายเดอื นตุลาคม◾ฤดูหนาว: ตั้งแต่ปลายเดอื นตลุ าคม ถึงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์

การโคจรรอบดวงอาทติ ย(์ Revolution) คาถาม หน้า 13โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ในลักษณะท่ีแกนโลกเอียงทาใหเ้ กิดปรากฏการณใ์ ด

การหมนุ รอบตวั เองของโลก ทาใหเ้ กดิ กลางวนั กลางคนืการโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ ทาใหเ้ วลาและฤดูกาลผ่านไปโลกโคจรรอบดวงอาทิตยห์ นึ่งรอบ กินเวลา 1 ปีขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ จากทิศตะวนั ตกไปทาง ทิศตะวนั ออกน้ันเมอ่ื เราสงั เกตดูการเคลื่อนท่ีของดวงอาทิตย์ เราจะเหน็ ดวงอาทิตยเ์ คล่ือนท่ีไปตามกลุม่ ดาวกลุ่มตา่ ง ๆ กลางทอ้ งฟ้าเสน้ ทางท่ี ดวงอาทิตยป์ รากฏโคจรไปบนทอ้ งฟ้าผ่านกลุม่ ดาวตา่ ง ๆ ในรอบปี หน่ึงน้ัน เรียกวา่ เสน้ อิคลิพติค (Ecliptic) เสน้ น้ ีพาดจากขอบฟ้าทิศตะวนั ออก ผ่านกลางฟ้าเหนือ ศีรษะไป ทางขอบฟ้าทิศตะวนั ตกบรรดาดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และ ดวงนพเคราะห์ ตา่ งก็เคล่ือนที่ในแนวแถบเสน้Ecliptic น้ ีท้งั ส้ ิน



จกั ราศี (Zodiac)

คาถาม1. จงอธิบายการกาเนิดและววิ ฒั นาการของโลก2. เสน้ แบ่งเขตวนั อยทู่ ่ีใด3. จงอธิบายความหมายของ A.M. และ P.M.4. กลุม่ ดาวจกั ราศีคืออะไร5. ถา้ ที่รฐั วอชงิ ตงั ดีซี เป็ นเวลา 12.00 น. สถานที่ต่อไปน้ ีตรงกบั เวลาใด กรุงลอนดอน กรุงมอสโคว์ กรุงเทพมหานคร

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์การเกิดขา้ งข้ ึน – ขา้ งแรม เกดิ ข้ นึ เน่ืองจากดวงจนั ทร์ ซึ่งไมม่ ีแสงสวา่ งในตวั เองเคล่ือนท่ีรอบโลก ทาใหส้ ่วนสวา่ ง ข้ ึนไดร้ บั แสงจากดวงอาทิตยห์ นั มาทางโลกไมเ่ ท่ากนั ในแต่ละวนั

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์ การเกิดน้าข้ ึน - น้าลงโลกและดวงจนั ทรม์ แี รงดึงดูดระหวา่ งกนั น้าซึ่งเป็ นของเหลวท่ีไหลไดง้ ่ายจะเคล่ือนที่ไปดว้ ย

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์ การเกิดอปุ ราคาอุปราคาแปลวา่ มดื มวั ลง มี 2 อยา่ งคือจนั ทรุปราคาและสุริยุปราคา เป็ นปรากฏการณท์ ่ีเกยี่ วกบั เงา เงาของโลกและดวงจนั ทรม์ ี 2 ชนิดคือ - เงามดื (umbra) เป็ นบริเวณท่ีแสงอาทิตยส์ ่องไมถ่ ึง - เงามวั (penumbra) เป็ นบริเวณที่ยงั มแี สงอาทิตยส์ ่องไปถึงบา้ ง

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์จนั ทรุปราคา สุริยุปราคาจนั ทรุปราคา เกิดจากการท่ีดวงจนั ทรเ์ คล่ือนที่เขา้ ไปอยใู่ นเงาของโลกโดยท่ีโลกอยู่ระหว่างดวงอาทิตยก์ บั ดวงจนั ทร์ สุริยุปราคา เป็ นปรากฏการณท์ ี่ดวงจนั ทร์ โคจรมาอย่บู นระนาบทางโคจรของโลกรอบดวง อาทิตย์ ดวงจนั ทรจ์ ะไปอยู่ระหวา่ งโลกกบั ดวง อาทิตย์ ดงั น้ันดวงจนั ทรจ์ ึงทอดเงามายงั โลก

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์จนั ทรุปราคาเตม็ ดวง แบ่งออกไดเ้ ป็ น 5 ระดบั ดงั น้ ีระดบั 0 ดวงจนั ทรม์ ืดจนแทบมองไม่เหน็ระดบั 1 ดวงจนั ทรม์ ืด เหน็ เป็ นสีเทาหรือสีน้าตาลแต่มองไม่เห็นรายละเอยี ดระดบั 2 ลกั ษณะพ้ นื ผิวของดวงจนั ทร์ระดบั 3 ดวงจนั ทรม์ ีสีแดงเขม้ บริเวณดา้ นในของเงามืด และมีสีเหลืองสว่างระดบั 4 บริเวณดา้ นนอกของเงามืด ดวงจนั ทรม์ ีสีแดงอฐิ และมีสีเหลืองสว่างบริเวณขอบของเงามืด ดวงจนั ทรส์ ว่างสีทองแดงหรือสีสม้ ดา้ นขอบของเงาสว่างมาก

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์ จนั ทรุปราคาจนั ทรุปราคาเตม็ ดวง (ระดบั 4) จนั ทรุปราคาบางส่วน (ราว 1 ใน 5) ใน กรุงเทพฯ เมื่อ 8 ก.ย. 2549 เวลา 01.25 น.

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์

ภาพชุดสุรยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง 21 มิถนุ ายน 2544ปรากฏการณแ์ หวนเพชร โดยมีคอโรนาส่องแสงสลวั ๆ อยูร่ อบๆ ตวั ดวงดา้ นบนที่เป็ นสีชมพู คือ โพรมิเนนซห์ รือเปลวสุริยะบรรยากาศช้นั นอกของดวงอาทิตยท์ ี่เรียกวา่ \"คอโรนา\"ปรากฏใหเ้ ห็นดว้ ยตาเปล่า เม่ือดวงจนั ทรบ์ ดบงั ดวงอาทิตยไ์ วท้ ้งั ดวงในช่วงท่ีดวงอาทิตยม์ ีปฏิกิริยารุนแรงสงู สุด



ปรากฏการณเ์ อิรธ์ ชายน์ (Earth shine) วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2551 น้ ี จะมปี รากฏการณพ์ ระจนั ทรย์ ้ มิ เรียกวา่ \"เอิรธ์ ชายน\"์ เอิรธ์ ชายน์ คอื ปรากฏการณ์ แสงอาทิตยท์ ่ีส่องมายงั โลก สะทอ้ นไปยงั ดวงจนั ทร์ทาใหด้ วงจนั ทรข์ ้ นึ 3 คา่ ท่ีตอ้ งเหน็ เป็ นเส้ ียว กลบั เหน็ เป็ นเต็มดวงสามารถถ่ายภาพไดด้ ว้ ยกลอ้ งถ่ายภาพทุกชนิด สามารถมองไดด้ ว้ ยตาเปล่า ต้งั แต่เวลา17.40 น. ถึง 20.30 น. โดยจะเหน็ ดาวพฤหสั บดี และดาวศุกร์ มาอยู่ ใกลก้ นั และมีดวงจนั ทรม์ าอยู่ใกลเ้ คยี งดว้ ย ดาวศกุ รอ์ ยเู่ คียงกบั ดาวพฤหสั บดี มองใกลก้ นั เพียง 2 องศาในระยะบนทอ้ งฟ้าและจะมีดวงจนั ทรข์ ้ นึ 3คา่ อยู่ ขา้ งล่างดาวท้งั สองดวง ห่างดาว เพยี ง 2 องศาในระยะทอ้ งฟ้าเช่นกนั เม่ือมองข้ นึ ไปแลว้ ปรากฏการณน์ ้ ี มองภาพของดาวคแู่ ละดวงจนั ทรบ์ นทอ้ งฟ้าจะดูเหมือนหนา้ คนกาลงั ย้ มิ

ภาพคดั ลอกจาก (วภิ ู รุโจปการ , เอกภพเพื่อความเขา้ ใจในจกั รวาล , 2547 , หนา้ 187)





Earth shine คอื ปรากฏการณแ์ สงอาทิตยท์ ่ีสอ่ งมายงั โลกและสะทอ้ นไปยงั ดวงจนั ทรท์ าใหด้ วงจนั ทรใ์ นวนั ข้ นึ ๓ คา่ ท่ีจะตอ้ งมองเหน็ เป็ นจนั ทรเ์ ส้ ียว แตก่ ลบัมองเห็นเป็ นจนั ทรเ์ ต็มดวง ซ่ึงสวยงามมากน้ัน

ปรากฏการณ์ \"perigee-syzygy\"ปรากฏการณ์ \"perigee-syzygy\" เราเรียกซเู ปอรม์ นูคาวา่ \"perigee\" เปน็ จดุ ที่ดวงจันทรอ์ ยใู่ กล้โลกท่ีสุดในวงโคจร \"syzygy\" เปน็ จันทรเ์ พญหรือจนั ทร์ดบัโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทติ ย์ทงั้ หมดเรยี งตัวอยู่ในแนวเดียวกัน โดยดวงจนั ทร์อยู่ในระยะใกล้โลกทส่ี ุด

ดวงจนั ทรม์ ีระยะหา่ งจากโลกไมเ่ ท่ากนั ในแต่ละคนื เพราะไมไ่ ดโ้ คจรรอบโลกเป็ นวงกลมทาใหแ้ ตล่ ะเดือน จะมชี ว่ งที่ดวงจนั ทรโ์ คจรเขา้ ใกลโ้ ลกมากที่สุด หรือท่ีเรียกวา่Perigee ในระยะหา่ งประมาณ 363,104 กิโลเมตรและชว่ งท่ีดวงจนั ทรโ์ คจรหา่ งโลกมากท่ีสุด หรือ Apogee อยทู่ ี่ระยะหา่ งประมาณ 405,696 กิโลเมตรแตช่ ว่ งเวลาท่ีมนั โคจรเขา้ ใกลโ้ ลกมากที่สุด และยงั เป็ นดวงจนั ทรเ์ ต็มดวงดว้ ยจะมีใหเ้ ห็น 2-3 ปี ตอ่ 1 คร้งั เท่าน้ัน

ปรากฏการณ์ พระจนั ทรย์ ้ มิ \" ระหวา่ งวนั ที่ 19-21 มิถุนายน 2558ดาวศุกรแ์ ละดาวพฤหสั บดีอยหู่ า่ งกนั เพยี ง 6 องศา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook