Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

วรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

Published by Jin Tana, 2020-10-21 13:35:43

Description: วรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

วรรณกรรมท'องถิ่น เรื่อง วรรณกรรมทอ' งถ่ินภาคเหนือ จัดทำโดย นางสาวเกวลิน รักญาติ เลขที่ 4 แผนกการจัดการ นางสาวจินตนา วงษสE นอง เลขที่ 6 แผนกการจัดการ นางสาวณัฐพร ศรแี ยม' เลขท่ี 8 แผนกการจัดการ เสนอ อาจารยEปรีดณี ัฐ นครแพง รายงานน้เี ปนM สNวนหนึ่งของ การเรียน ทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ภาคเรยี นที่ 1 ปTการศึกษา 2563 วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการทNองเท่ยี วกรุงเทพ

สารบัญ ข เร่ือง หน'า คำนำ ก สารบัญ ข วรรณกรรมพ้ืนบา3 นท3องถิน่ ภาคเหนือ 1 วรรณกรรมโคลง 1 ความหมายของเพลงกลAอมเด็ก 1 ลกั ษณะของเพลงกลAอมเดก็ 2 วรรณกรรมค่ำวธรรม 2 วรรณกรรมค่ำวซอ 2 วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด 3 เพลงประกอบกำรละเลAนของภาคเหนอื 3 ตวั อย่ำงเพลงประกอบกำรละเลนA ภาคเหนือ 4 ตำนานของภาคเหนอื 4 บรรณานุกรม 6 ภาคผนวก 7

ก บทนำ วรรณกรรมพนื้ บ3านภาคเหนือสAวนใหญเA ปนR เรอ่ื งทม่ี าจาก ปUญญาสชาดกพนื้ บา3 นได3นำเนื้อหา มาจากชาดกเรือ่ งน้ีมาประพันธXด3วยฉันทลักษณXของทอ3 งถน่ิ เชนA โคลง คAาวธรรม คAาวซอ เปRนต3น วรรณกรรมพ้นื บ3านภาคเหนือมี ๔ ประเภทคือ วรรณกรรมโคลง วรรณกรรมคาA วธรรม วรรณกรรม คาA วซอ และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด แตลA ะรปู แบบมรี ายละเอยี ดทสี่ วยงาม

1 วรรณกรรมทอ' งถิน่ ภาคเหนือ วรรณกรรมพื้นบ3านภาคเหนือ วรรณกรรมพนื้ บา3 นภาคเหนอื สAวนใหญAเปนR เรอื่ งที่มาจาก ปUญญาสชาดกพนื้ บา3 นได3นำเน้อื หามา จากชาดกเร่ืองนีม้ าประพนั ธXดว3 ยฉันทลักษณขX องท3องถ่ิน เชนA โคลง คAาวธรรม คAาวซอ เปนR ต3น วรรณกรรมพื้นบา3 นภาคเหนือมี ๔ ประเภทคอื วรรณกรรมโคลง วรรณกรรมคAาวธรรม วรรณกรรม คาA วซอ และวรรณกรรมเบ็ดเตล็ด แตAละรูปแบบมรี ายละเอียดดังน้ี ๑. วรรณกรรมโคลง โคลง หรือเรยี กตามสำเนียงท3องถนิ่ ภาคเหนอื วาA กะโลง เปRนฉันทลักษณXที่เจรญิ รุAงเรอื งในสมัย ราชวงศมX งั รายตอนปลาย กวีสมัยอยุธยาไดน3 ำรูปแบบโคลงของภาคเหนอื มาประพนั ธเX ปนR โคลงสอง โคลงสามและโคลงส่ี ตวั อยAางวรรณกรรมโคลงของภาคเหนือที่ร3ูจักกันแพรหA ลาย เชนA โคลงพรหมทตั โคลงเจา3 วทิ ูรสอนหลาน โคลงพระลอสอนโลกโคลงปทมุ สงกา เปRนต3น ความหมายของเพลงกลอA มเด็ก เพลงกลอA มเดก็ เปนR วัฒนธรรมทอ3 งถ่นิ อยาA งหนงึ่ ทส่ี ะทอ3 นให3เห็นความเชอ่ื คาA นยิ มของคนใน ทอ3 งถ่นิ ตAาง ๆ คนทุกชาติทุกภาษาในโลกมบี ทเพลงกลอA มเดก็ ดว3 ยกนั ท้งั น้นั สันนษิ ฐานวAาเพลงกลอA ม เดก็ มีววิ ัฒนาการจากการเลาA นทิ าน ให3เดก็ ฟงU กAอนนอน ดงั นัน้ เพลงกลอA มเดก็ บางเพลงจงึ มีลกั ษณะ เนอ้ื รอ3 งที่เปRนเรื่องเปRนราว เชAน จันทรโครพ ไชยเชษฐX พระรถเสนเปนR ต3น การทตี่ 3องมีเพลงกลอA มเด็ก ก็เพือ่ ให3เดก็ เกดิ ความเพลิดเพลนิ หลับงAาย เกดิ ความอบอุนA ใจ

2 ลกั ษณะของเพลงกลอA มเด็ก ลกั ษณะของเพลงกลอA มเด็ก ลกั ษณะกลอนของเพลงกลAอมเด็กจะเปนR กลอนชาวบา3 น ไมมA ีแบบ แผนแนAนอน เพียงแตมA ีสมั ผัสคลอ3 งจองกนั บา3 งถ3อยคำทใี่ ชใ3 นบางครง้ั อาจไมมA คี วามหมาย เนื้อเรอื่ ง เกีย่ วกบั ธรรมชาตสิ ิง่ แวดล3อมเรอ่ื งราวตาA ง ๆท่ีเกีย่ วกบั ชวี ิต ความเปนR อยูA สะทอ3 นใหเ3 ห็นความรัก ความหAวงใยของแมAทมี่ ตี อA ลกู สั่งสอน เสียดสีสงั คม เปRนต3น คณุ คAาและประโยชนขX องเพลงกลAอมเดก็ ๑. เปนR บทร3อยกรองส้ันๆ มีคำคลอ3 งจองตอA เนอ่ื งกนั ไป ๒. มฉี ันทลักษณไX มAแนนA อน ๓. ใช3คำงAายๆส้นั หรอื ยาวก็ได3 ๔. มีจังหวะในการรอ3 งและทำนองทเี่ รียบงาA ย สนกุ สนานจดจำได3งาA ยและยังมปี ระโยชนXอื่น - ชักชวนให3เด็กนอนหลับ - เนอ้ื ความแสดงถงึ ความรกั ความหAวงใย ความหวงแหนของแมทA ่มี ีตAอลกู - แสดงความรักความหAวงใย - กลาA วถงึ สิ่งแวดล3อม - เลAาเปนR นทิ านและวรรณคดี - ลอ3 เลยี นและเสียดสสี งั คม - ความรเู3 กี่ยวกบั การดูแลเดก็ - เปนR คติ คำสอน ๒. วรรณกรรมคาA วธรรม คาA วธรรม หรอื ธรรมคาA ว คอื วรรณกรรมท่ีประพันธXตามแนวชาดกฉันทลักษณXของคAาวธรรม สวA นใหญA เปนR รAายยาว แทรกคาถาภาษาบาลีภกิ ษจุ ะนำคAาวธรรมมาเทศนใX นอบุ าสกอุบาสกิ าฟงU ในวนั อุโบสถศลี คAาวธรรมจงึ จัดเปนR วรรณกรรมศาสนา ตวั อยAางวรรณกรรมคAาวธรรม เชนA พรหมจักร บัวรม บัวเรยี ว มหาวงศXแตงออA น จำปาส่ีตน3 แสงเมืองหลงถำ้ สุพรหมโมขะ หงสผX าคำ วณั ณพราหมณเX ปRนต3น ๓. วรรณกรรมคAาวซอ คาA วซอ เปRนคำประพันธXภาคเหนือรปู แบบหนง่ึ นยิ มนำมาอาA นในทป่ี ระชมุ ชน เรียกวาA เลAาคาA ว หรอื ใสคA Aาวเน้อื เร่อื งเปRนนิทานพ้นื บา3 น เปนR ที่นยิ มของชาวบ3าน เพราะไดฟ3 งU เสยี ง ไพเราะจากผูอ3 Aานและไดร3 บั ความเพลิดเพลนิ จากเน้อื เร่ืองนิทาน การอAานคาA วนิยมในงานข้นึ บ3านใหมA งานแตงA งาน บวชลกู แกว3 (บวชเณร) และงานปอยเขา3 สังขX (งานทำบญุ อุทศิ สวA นกุศลแกผA ล3ู Aวงลับ ตวั อยาA งวรรณกรรมคาA วซอท่สี ำคญั เชนA วรรณพราหมณX หงสหX ิน จำปาสี่ต3นบำระวงศหX งสอX ำมาตยX เจ3าสุวัตรนางบัวคำ เปRนตน3

3 ๔. วรรณกรรมเบด็ เตลด็ วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด คือ วรรณกรรมขนาดสนั้ เชAน คำอบู3 าA วอ3สู าวคำเรียกขวัญ หรือ คำฮอ3 ง ขวญั จอk ย ซอ คำปUนพรคำอ3บู Aาวอ3สู าว หรอื คำเครือ คำหยอกสาว เปนR คำสนทนาเก้ียวพาราสีของ หนมAุ สาวชาวบ3านลานนาในอดตี คำเรียกขวัญ คอื คำฮอ3 งขวัญ คอื บทสวดสAขู วญั ในพิธกี รรม เชนA ทำ ขวญั บAาวสาว ทำขวัญควายจอk ย เปRนการขับลำนำโดยไมAมีดนตรีบรรเลงประกอบ หรอื บางครงั้ อาจมี ดนตรคี ลอตาม เชนA สะลอ3 พณิ เปยml ะ เนื้อหาเปRนการครำ่ ครวญถงึ ความรกั ระหวาA งชายหนมAุ กบั หญงิ สาวซอเปนR การขบั ร3องเพลงโตต3 อบระหวAางชายกบั หญิง ผ3ขู บั ร3องเรยี กวาA ชาA งซอ การขับร3องจะมีดนตรี บรรเลงประกอบ เชนA ปln ซงึ สะล3อนยิ มฟงU ในงานพิธกี รรมตAางๆ และนำนทิ านพน้ื บา3 นตอนใดตอนหนง่ึ มาซอเชนA ซอพระลอ ซอน3อยไจยาคำปUนพร หรือ คำปนUo ปอน เปRนคำใหพ3 รของชาวบา3 นลา3 นนามคี วาม ไพเราะคล3องจองใหแ3 งAคดิ รวมทั้งความเปRนสิริมงคล เพลงประกอบการละเลAนของภาคเหนอื ประเภทของการละเลนA เนื่องจากการละเลนA ของไทยเรานัน้ มมี ากมายจนนกึ ไมAถึง (กรมพลศกึ ษารวบรวมไว3ไดถ3 ึง 1,200 ชนดิ ) แตพA อจะแบงA ครAาว ๆ ไดเ3 ปRน 2 ประเภท ใหญA ๆ คือ การละเลAนกลางแจง3 และ การละเลนA ในรมA และในแตAละประเภทก็ยังแบAงยAอยอีกเปนR การละเลนA ท่ีมีบทรอ3 งประกอบ กบั ทไี่ มAมี บทร3องประกอบการละเลนA กลางแจง3 ทีม่ บี ทรอ3 งประกอบได3แกA โพงพาง เสือไลหA มAู อา3 ยเขอ3 3ายโขง ซAอนหาหรือโปงr แปะ เอาเถดิ มอญซAอนผา3 รรี ขี า3 วสาร ทมี่ คี ำโตต3 อบ เชAน งกู ันหาง แมAนาคพระโขนง มะลอ็ กกkอกแกก็ เขยAงเกง็ กอย ทไี่ มAมบี ทร3องประกอบ ได3แกA ลอ3 ตkอก หยอดหลมุ บอ3 หุน3 ลกู ดงิ่ ลกู ขาA ง ลกู หิน เตยหรอื ตาลAอง ขา3 วหลามตัด ววั กระทิง ลูกชวA ง หวA งยาง เสือขา3 มหว3 ยเค่ียว เสอื ข3ามห3วยหมAู ต่ี จับ แตะหุAน ตาเขยงA ยงิ หนังสะตกิ๊ ปลาหมอ ตกกะทะ ตีลกู ลอ3 การเลนA วาA ว กระโดดเชอื กเด่ยี ว กระโดดเชอื กคูA กระโดดเชอื กหมAู รอA นรูป หลุมเมอื ง ทอดกะทะ หรอื หมุนนาtิกา ขีม่ า3 สAงเมือง กาฟกU ไขA ตโี ปuง ชักคะเยอA โปเลศิ จับขโมย สะบา3 นววั ขม่ี า3 ก3านกล3วย กระดานกระดก ว่งิ สามขา ว่ิงสวม กระสอบ วิ่งทน ยิงเปนR ก3านกลว3 ย การละเลนA ในรAมทมี่ บี ทรอ3 งประกอบ ได3แกA ข้ีตAกู ลางนา ซักส3าว โยก เยก แมงมุม จบั ปดู ำขยำปูนา จจี Aอเจยี๊ บ เด็กเอvยพาย จำ้ จ้ี ทไี่ มมA ีบทร3องประกอบ ไดแ3 กA ดีดเม็ด มะขามลงหลมุ อขี ีดอเี ขยี น อีตัก เสอื ตกถังนมววั หมากกนิ อม่ิ สีซอ หมากเกบ็ หมากตะเกยี บ ปUnน แปะ หวั กอ3 ย กำทาย ทายใบสน ตีไกA เปาu กบ ตีตบแผละ กดั ปลา นาtกิ าทางมะพรา3 ว กงจกั ร ตAอบา3 น พบั กระดาษ ฝนรปู จงู นางเจา3 ห3อง การเลนA เลียนแบบผู3ใหญAเชนA เลนA เปนR พอA เปนR แมA เลAนแตAงงาน เลนA หมอ3 ข3าวหม3อแกง แคะขนมครกเลนA ขายของ เลนA เขา3 ทรง ทายคำปริศนา นอกจากน้ันยงั มีทบรอ3 งเลนA

4 เชAน จนั ทรXเอvย จนั ทรXเจ3า ขอข3าวขอแกงแกง....และบทล3อเลยี น เชAน ผมจกุ คลกุ นำ้ ปลา เหน็ ขีห้ มานัง่ ไหวก3 ระจอk งหงAอง เปนR ต3น การละเลนA ท่เี ลAนกลางแจง3 หรอื ในรAมก็ไดท3 ไี่ มAมบี ทร3อง ได3แกA ลงิ ชงิ หลกั ขายแตงโม เกา3 อี้ดนตรี แขAงเรอื คน ดมดอกไมป3 xดตาตีหมอ3 ปดx ตาตAอหาง โฮกปmบl เปาu ยงิ ฉุบ ตัวอยAางเพลงประกอบการละเลนA ภาคเหนอื ปะเปมyx ใบพลู (จำ้ จี้) ของเดก็ เหนอื เปRนการละเลนA เพอื่ เสี่ยงทาย เลือกข3าง ผู3เลนA น่งั ลอ3 มวงกนั วางฝuามอื คว่ำลงบนพนื้ คนละมือ คนหนงึ่ ในวงจะร3องวAา “ปะเปxyมใบพลู คนใดมาจู เอากูออกกอA น” หรอื “จำปuุนจำปู ปวoU ใครมาดู เอากอู อกกAอน” หรือ “จำ้ จจี้ ำ้ อวด ลูกไปบวช สกึ ออกมาเฝยl ะอีหลา3 ทอ3 งปuอง” ตำนานของภาคเหนือ ตำนานเรอื่ งท3าวแสนปม พืน้ ทจ่ี ังหวัดกำแพงเพชรในปจU จุบนั นอกจากเคยเปRนทต่ี ง้ั ของเมอื งโบราณ เชนA ชากงั ราว นครชมุ ยงั มอี ีกเมอื งหนึง่ คือเมอื งไตรตรึงษX ช่ือเมอื งไตรตรงึ ษปX รากฏในศิลาจารกึ หลักที่ ๓๘ เรยี กวาA ศลิ าจารึก กลาA วไวว3 าA พระเจ3าไชยศิริเชยี งแสนหนพี มาA มาจากเชียงราย เปRนผส3ู รา3 งเมอื งไตรตรงึ ษX เมือ่ ประมาณ พ.ศ.๑๕๐๐ จากซากกำแพงเมอื งท่ยี ังปรากฏเห็น พบวาA ตวั เมอื งไตรตรึงษXเปRนรูปสเี่ หลยี่ ม ผืนผา3 ขนานกบั แมAนำ้ ปxง ขนาดกวา3 งประมาณ ๔๕๐ เมตรยาวประมาณ ๘๐๐ เมตร มีทางเขา3 สเูA มือง ๒ ทางภายในกำแพงเมอื งมโี บราณสถานทางศาสนาหลายแหAงวดั สำคัญในกำแพงเมอื งมี ๒ วดั คือวดั เจด็ ยอด และวัดพระปรางคXภายนอกกำแพงเมอื งทางด3านทิศใต3มีวดั ขนาดใหญAเรียกวAาวดั วงั พระธาตุ ทวี่ ัดน้ีมเี จดยี Xทรงไทยหรอื ทรงพุAมข3าวบิณฑเX ปนR เจดยี หX ลักรอบๆ มีเจดียรX ายท้งั ๕ ทิศ ขดุ คน3 ทาง โบราณคดีพบลกู ปดU หินสีภายในบรเิ วณวดั ตะเกยี งโบราณแบบโรมันและชน้ิ เครือ่ งเคลอื บลายคราม

5 ขนาดเล็กกระจายอยทAู ัว่ ไปทกุ วันน้เี มอื งไตรตรงึ ษXอยAูท่ีบ3านวังพระธาตุ ตำบลไตรตรงึ ษXอำเภอเมือง กำแพงเพชรนอกจากหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรXแล3ว ไตรตรึงษยX ังมีตำนานเลAาขาน ที่อิงกบั ประวตั ิศาสตรXถงึ กำเนิดของอาณาจักรอยุธยานน่ั คอื ตำนานเร่ือง 'ทา3 วแสนปม'เรื่องราวโดยยอA มีวาA เจ3า เมืองไตรตรงึ ษX มีพระธิดาผูท3 รงสริ โิ ฉม และท่ใี กล3เมอื งไตรตรึงษXนีม้ ชี ายคนหน่ึงซึง่ ราA งกายเตม็ ไปด3วย ปุuมปมชาวบ3านเรียกเขาวAา แสนปม มอี าชพี ปลกู ผัก มาวันหนึง่ เทวดาดลใจให3พระธิดานกึ อยากเสวย มะเขอื นางขา3 หลวงพบมะเขือในสวนของแสนปมลกู ใหญอA วบ จงึ ซื้อไปถวาย หลังจากพระราชธิดา เสวยมะเขอื ของแสนปมได3ไมAนานกเ็ กิดตั้งครรภXขึน้ ทา3 วไตรตรงึ ษรX ส3ู ึกอับอายขายหน3า พยายาม สอบถามอยาA งไรพระธดิ ากไ็ มAยอมบอกวAาใครคือพAอของเดก็ คร้ันเมือ่ พระกุมารเตบิ โตพอรูค3 วาม ท3าว ไตรตรึงษXจงึ ประกาศใหข3 นุ นางและเหลAาราษฎรท้งั หลายนำของกินเข3ามาในวงั หากพระกุมารยอมกนิ ของผู3ใดผน3ู ้นั จะได3เปนR เขยหลวง บรรดาผูช3 ายทุกคนพากนั มาเส่ยี งทายเปRนบดิ าของพระราชโอรส แตA พระราชโอรสไมAไดค3 ลานไปหาใครเลย เจ3าเมอื งจึงใหเ3 สนาไปตามแสนปมซ่งึ ยังไมไA ด3มาเสยี่ งทาย แสน ปมจึงมาเข3าเฝrา พรอ3 มทงั้ ถอื กอ3 นข3าวเยน็ มา ๑ กอ3 น เมื่อมาถึงจึงอธษิ ฐาน และยน่ื กอ3 นขา3 วเยน็ ให3 พระราชโอรสก็คลานเขา3 มาหาท3าวไตรตรงึ ษXทรงกริ้ว ทพ่ี ระธิดาไปได3กบั คนชน้ั ไพรAอัปลกั ษณจX ึงขับไลA ออกจากวัง แสนปมพาพระธดิ ากับพระกมุ ารเดนิ ทางเข3าไปหาท่ีอยูใA หมA ร3อนถงึ พระอนิ ทรXตอ3 งแปลง เปนR ลงิ นำกลองวเิ ศษมามอบให3 กลองน้อี ยากไดอ3 ะไรกต็ ีเอาตามได3ดงั สารพดั นกึ แสนปมอธิษฐานให3ปุuม ปมตามตวั หายไปแลว3 ตีกลองวเิ ศษ รAางกก็ ลับเปRนชายรปู งาม จงึ ตกี ลองขอบ3านเมืองขึ้นมาเมอื งหนง่ึ ให3ชื่อวาA เมืองเทพนครและสถาปนาตวั เองเปนR พระเจา3 แผAนดิน ทรงพระนามวาA ทา3 วแสนปมปกครอง ไพรAฟrาดว3 ยความสงบสขุ ทา3 วแสนปมใชท3 องคำมาทำเปRนอ(Aู เปล)ให3พระโอรส และต้ังช่อื พระโอรสวาA 'อทูA อง' ตอA มาพระเจ3าอทAู องจึงย3ายเมอื งมาสร3างกรุงศรีอยุธยา จากความเชอ่ื มโยงดังกลAาวทำใหน3 ัก ประวัตศิ าสตรบX างทาA น เรียกชื่อราชวงศXอูAทองอีกช่อื วาA ราชวงศเX ชยี งรายละเวน3 จากเรอื่ งราวในตำนาน ปจU จุบันแนวคดิ ท่ีวาA พระเจา3 อูทA องเปนR เชื้อสายราชวงศXเชยี งราย ยงั คงเปนR หน่ึงในหลายแนวคิดเรื่อง ท่มี าของพระองคX และก็ยงั ไมถA กู ตัดออกไปจงึ พอจะอนมุ านได3ทางหนง่ึ วาA เมืองไตรตรงึ ษXคือต3นทาง แหงA กรุงศรีอยุธยา

บรรณานุกรม 6 วรรณ กรรมถิ่นเหนอื เว็บไซตX https://hilight.kapook.com/view/80855


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook