Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักกสิกรรมธรรมชาติ

หลักกสิกรรมธรรมชาติ

Published by sarunya papl, 2021-09-15 04:13:22

Description: หลักกสิกรรมธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

กสกิ รรมธรรมชาติ กสกิ รรมธรรมชาติ ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง

 กสกิ รรม – เกษตรกรรม เกษตรกรรม หมายถงึ การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน การเพาะปลูกพชื ต่าง ๆ การปา่ ไม้ รวมทัง้ การเลยี้ งสตั ว์และ การประมงด้วย (agriculture) เปน็ แนวคดิ ตะวันตก (ทุนนยิ ม) ซึง่ ทำเพื่อใหไ้ ด้ผลผลิตสูงที่สดุ ในต้นทุนที่ตำ่ เพอ่ื ให้ ไดเ้ งินกำไรสงู ท่ีสดุ กสกิ รรม หมายถึงการทำไร่ไถนา (Farming) การเพาะปลูก เล้ยี งสัตว์ ท่ีไม่รวมถึงการประมงหรือปา่ ไม้ กสิ หมายถึง การไถ หว่าน จึงหมายถงึ ผ้ทู ำการปลกู ขา้ ว ที่พ่งึ ตนเอง พ่งึ ธรรมชาติ ไมท่ ำลาย และมีความ เคารพต่อธรรมชาติ เช่อื มเกิดมติ ทิ างความเชื่อและจิตวิญญาณเปน็ ท่ีมาแหง่ วถิ วี ัฒนธรรมไทย เช่น พิธีจรดพระ นังคัลแรกนาขวัญ ประเพณลี อยกระทง ประเพณีทำขวัญข้าว ทำขวญั ควาย ประเพณีการขอฝน เป็นต้น เกษตรสมยั ใหม่ ในตน้ ทนุ การทำการเกษตรสมัยใหม่ ซ่ึงเชอ่ื มโยงกบั แนวคิดตามแบบทุนนยิ ม ทีต่ อ้ งการผลกำไรสูงท่ีสุด ต่ำท่ีสุด สง่ ผลให้ มกี ารควบคุมปจั จยั การผลิต ในด้าน ต่าง ๆ 1.การดัดแปลงพันธกุ รรมพืชและสตั ว(์ พชื /สตั ว์เชิงเด่ียว) 2.ใช้เทคโนโลยแี ละเครื่องจักรในการผลิต 3.ใช้ปุ๋ย/ยาฆ่าแมลง/สารเคมี/และฮอรโ์ มน 4.ทำแบบครบวง จรเพื่อสร้างระบบผูกขาด 5.ใชก้ ลไกลการตลาดเปน็ ตวั ควบคมุ ราคา 6.เปลย่ี นการผลิตเปน็ เกษตรอุตสาหกรรม ผลกระทบต่อต่อเกษตรกร 1.สารพิษสะสมในตวั เกษตรกร(80%) 2.สุขภาพออ่ นแอเสี่ยงต่อการเป็นโรครา้ ยแรง 3.สดุ ท้ายหมดตวั จากการปว่ ยไข้ ผลกระทบต่อผบู้ ริโภค 1.บรโิ ภคอาหารมีสารพษิ และฮอร์โมนตกค้าง 2.เสย่ี งตอ่ โรคร้ายแรง

3.อายสุ นั้ ตายกอ่ นวยั อนั ควร  หลักกสิกรรมธรรมชาติ หัวใจสำคญั ของ... “หลักกสกิ รรมธรรมชาต”ิ มหี ลักปรัชญาพืน้ หลงั ของแนวคดิ คอื “เลี้ยงดนิ ใหด้ นิ เลี้ยงพืช” คาถาเล้ยี งดิน เล้ยี งดนิ ใหด้ ิน เลี้ยงพชื Feed the soil and let the soil feed the plant. เจ็มเดิย ออยเดยิ เจม็ ตะนัม เล่ียงเทะ๊ อึ๊ดเท๊ะ เลยี่ งละชวิ เลย้ี งแม่ธรณี ให้แมธ่ รณี เลยี้ งแมโ่ พสพ จากพระราชดำรัสในหลวง “อย่าปอกเปลือกเปลือยดิน” ถ้าจะ ทำให้ดนิ ดี “ให้ห่มดนิ ” เราจงึ ไม่เผา ไมท่ ำลายหน้าดิน ไมป่ อกเปลือกเปลอื ย ดนิ แต่จะนำเศษไม้ ใบหญ้า เศษฟาง มาหม่ ดนิ ไว้สร้างความ อบอุ่นให้ “แมธ่ รณี” ใสป่ ุย๋ หมกั แห้ง และรดดว้ ยนำ้ หมกั รสจดื อตั ราสว่ น 1 : 200 (เทคนิคแห้งชาม น้ำชาม) แลว้ ปล่อยใหจ้ ุลินทรยี ท์ ำหน้าท่ขี องมัน นัน่ คือ หลกั การ คนื ชีวิตให้แผ่นดิน เพราะดินมันตายแลว้ ดินตายหมายถึง ในดินไม่มีสิง่ มชี วี ติ หลงเหลือ ไมม่ จี ุลนิ ทรีย์ ไม่มีไสเ้ ดือน ไม่ มแี มลงเลก็ ๆ ผลเพราะการใช้สารเคมี ใชย้ าฆา่ แมลง ยา ฆา่ หญ้ามาอย่างหนัก สะสมเคมี สารพิษมายาวนาน จนดนิ ตายหมดสน้ิ เราจงึ ตอ้ ง “คืนชีวิตให้แผ่นดนิ ”

ผลจากการหม่ ดนิ ด้วยฟาง หรือเศษหญ้า ไอนำ้ ทร่ี ะเหยจากดนิ ในเวลากลางคืนจะขึ้นมาติดอยู่กบั เศษซาก ใบไม้ และฟางที่หม่ ไว้ กลายเปน็ น้ำ เป็นความชื้นทีเ่ พยี งพอ สำหรับพืชได้อยู่รอด แต่ต้องเปน็ พชื ที่เลีย้ งแบบ ธรรมชาติ ปลูกแบบธรรมชาติ ไม่ปรนเปรอด้วยน้ำ ด้วยปุย๋ จนอ่อนแอ หากนิ เองไมเ่ ปน็ รากพืชท่เี พาะปลกู แบบ ธรรมชาติ จะยาวและแข็งแรงต้องหาอาหารตอ้ งการเอาชวี ติ ตวั เองให้รอด พืชจึงแกร่งพอทจี่ ะรอดจากอากาศทแี่ หง้ แล้ง แปรปรวน แตเ่ ราตอ้ งช่วยคอื ช่วยปรับสภาพแวดลอ้ มท่เี ราทำลายลงไปจนหมดความสมดุล ใหก้ ลับส่คู วาม สมดุล โดยคืน จุลินทรียด์ ี ใหก้ ลบั สูพ่ นื้ ดนิ ซ่งึ จลุ นิ ทรียน์ ้นั กอ็ ยใู่ นน้ำหมกั ปุ๋ยหมกั ทีเ่ ราหมักจาก เศษใบไม้ และเติมหวั เช้ือจุลินทรยี ์ลงไป หรอื เก็บ จุลินทรยี ์ตามธรรมชาติมาเลยี้ งให้เพ่มิ จำนวน แล้ว จลุ นิ ทรยี ก์ จ็ ะไปทำหน้าท่ยี อ่ ยฟาง ยอ่ ยใบไม้ ซ่งึ เปน็ ปุ๋ยชนั้ ดีของพืช ปยุ๋ จึงมาจากเศษซากพืช ซากสตั ว์ ข้ี ววั ขี้ควาย ตา่ ง ๆ ท่เี ราใส่เขา้ ไป จากนน้ั จุลินทรยี ์ ปลายรากของตน้ ไม้แตล่ ะชนิดจะได้มาย่อยเอาไป เป็นอาหารตามความชอบของพชื แตล่ ะตน้ ในแต่ละ ชว่ งเวลา จะเตมิ ฮอรโ์ มนใหเ้ ขาในเวลาทพ่ี ชื ตัง้ ท้องก็ ได้ กเ็ หมือนเราบำรงุ ครรภก์ ต็ ้องเพิ่มอาหารดี ๆ นัน่ คอื หลักการทำกสกิ รรมธรรมชาติ ง่ายๆ แต่ตอ้ งรู้จัก ธรรมชาติ และให้อาหารพชื ที่เปน็ ธรรมชาติ จึง ปฏเิ สธปุ๋ยเคมี และยาฆา่ แมลงทุกชนดิ เพราะจะไป ฆ่าแมลงดี ๆทม่ี ากินแมลงตัวร้ายตายไปด้วย และ ปฏิเสธเคมีทม่ี าในรูปของกากขยะนำ้ มัน N P K ทุก ชนิด เพราะเราไม่จำเปน็ ต้องซ้ือ เราสรา้ งอาหารพืช ได้ดว้ ยตวั เอง ประหยดั พึ่งตนเองได้ ถา้ เราเรมิ่ ปลูก จากการเผา ทำลาย เราก็จะสลายอาหารพืชท่ีดีที่สดุ ไปด้วยไฟ ถ้าเราเรมิ่ ปลกู จากการฆา่ เราก็เรม่ิ ตน้ วงจร “ระบบ นเิ วศอาหาร” ดว้ ยการทำลายอย่างไมม่ ีท่สี นิ้ สุดถ้าเราเร่ิมปลูกจากการ “ให้” ใหจ้ ากใจเราเอง ให้กับธรรมชาติ ให้กับโลก เรากจ็ ะอยู่ในโลกนี้ไดอ้ ยา่ งย่ังยนื ถา้ ทกุ คนเรมิ่ จากตนเอง ดว้ ยการมีคุณธรรม อันเปน็ พ้นื ฐานของความ พอ เราก็จะมีเครอื ขา่ ย มเี พื่อน มมี ติ รทีค่ อยดแู ลกนั ไปตลอดชีวติ วงจรแห่งความเจริญจงึ เร่ิมต้นไดจ้ ากจุดเลก็ ๆใน ใจของเรา และแบ่งปนั ไปยังมิตรสหาย ทม่ี องเห็นความเชื่อมโยงของทุกสรรพสงิ่ บนโลกน้ี และเมตตาต่อกัน ตอ่ ๆ กนั ไป จากหลักกสกิ รรมธรรมชาต“ิ เลย้ี งดิน ใหด้ นิ เลีย้ งพืช” จึงสามารถสร้างแหลง่ อาหารเลยี้ งดผู ูค้ น และสร้าง แหลง่ พกั พงิ ด้วยใจของคนท่เี ต็มไปดว้ ยเมตตา และการให้ อันเปน็ แกน่ ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงทเี่ ชอื่ วา่ “Our Loss is Our Gain” ยิ่งใหไ้ ปยิง่ ได้มา เป็นฐานแหง่ ความความสขุ ท่ามกลางความแลง้ ร้อน โลภ ของ สงั คมท่ีมุ่งแข่งขนั อย่างทุกวนั นี้









กสิ กับ กสิกรรม-เกษตรกรรม คำว่ำ กสิกรรม กบั คำว่ำ เกษตรกรร จำกคำบำลวี ่ำ กสิกมฺม (อ่ำนว่ำ กะ-สิ-กมั ภำษำไทยคำว่ำ กสิกรรม เขียนคำว่ำ กรร หมำยถงึ กำรทำไร่ไถนำ ใช้ตรงกบั คำภำ ม่ิง) ส่วนคำว่ำ เกษตรกรรม มำจำกคำสัน ซ่ึงหมำยถึงนำกบั คำว่ำ กรฺม (อ่ำนว่ำ กมั เกษตรกรรม ใช้ตรงกบั คำภำษำองั กฤษว เช่อร์) หมำยถึง กำรใช้ประโยชน์จำกทดี่ นิ รวมท้งั กำรเลยี้ งสัตว์ และกำรประมงด้วย กสิกรรม คือ กำรเพำะปลกู เลยี้ งสัตว

บ เกษตร รม มีควำมหมำยต่ำงกนั คำว่ำ กสิกรรม มำ ม-มะ) ซ่ึงหมำยถงึ กำรเพำะปลูก, กำรไถ ใน รม ตำมแบบสันสกฤต คือ ก ไก่ ร หัน ม ม้ำ ำษำองั กฤษว่ำ farming (อ่ำนว่ำ ฟำร์ม- นสกฤตว่ำ เกษฺ ตฺร (อ่ำนว่ำ กะ-เสด-ตระ) ม -มะ) ซ่ึงหมำยถึงกำรกระทำ คำว่ำ ว่ำ agriculture (อ่ำนว่ำ อะ-กฺรี-คลั - น เช่นกำรเพำะปลกู พืชต่ำง ๆ กำรป่ ำไม้ ย ว์ ไม่รวมถงึ กำรประมงหรือป่ ำไม้

กสิ กบั กสิ ไถ - หว่าน จงึ หมาย พงึ่ ตนเอง พง่ึ ธ เคารพและนอบน้อมตอ่ ธร เกดิ มติ ทิ างความเช เป็ นทม่ี าแห

เกษตร ยถงึ ผู้ทาการปลูกขา้ ว ธรรมชาติ ไม่ทาลาย รรมชาติ ชอื่ และจติ วิญญาณ หง่ วถิ วี ัฒนธรรมไทย





กสิ กบั เกษ ดนิ เรียก แม่ธรณี นา้ เรียก แม่คงคา ฝน ข้าว เรียก แม่โพสพ ตน้ ไม้ มีรุกขะเทวดาเฝ้าอาศยั

ษตร เรียก พระพริ ุณ

วัฒนธรรมเกย่ี วก

กับการเพาะปลูก

กสิ กับ เกษตร Agriculture รวย (ทาเพอื่ เงนิ ) (มฐี านะด)ี เกษตร + ทุนนิยม = อนั จากดั สร้างส่วนตา่ งระหว่างต สูงสุด

บ เกษตร e แนวคดิ ตะวันตก(ทุนนิยม) (Zผ(ผู้ ผลผลิตสูงสุดในพนื้ ทแ่ี ละเวลา ตน้ ทนุ กบั ราคาขาย ใหไ้ ด้กาไร

เกษตรสม เกษตรนายทนุ ครบวง ปัจจัยการผลิต ดัดแปลงพันธุกรรมพชื และส ใช้เทคโนโล ทาแบบครบวงจรเพอื่ สร้างร ใชก้ ลไกลการตลาด เปล่ียนการผ

มัยใหม่ งจร เกษตรกรครบวงจน สัตว(์ พชื /สัตวเ์ ชิงเดย่ี ว) ลยแี ละเคร่ืองจกั รในการผลิต ป๋ ุย/ยา/สารเคมี/และฮอรโ์ มน ระบบผูกขาด ดเป็ นตัวควบคุมราคา ผลิตเป็ นเกษตรอุตสาหกรรม









ตลาดท่วั ไป หา้ งร้านใ บรรษัทขนาดใหญ ผูกขาดพนั ธุ์ อาหาร เ ร้านคา้ /บรรษัททอ้ งถนิ่ ไดก้ าไรจากสนิ เชอื่ อาหาร เวช เกษตรกร กู้เงนิ ลงแรง รับภา

ในเครือของบรรษัท ญ่ เวชภณั ฑ์ ชภณั ฑ์ พอ่ คา้ ย่อย รับซอื้ ผลผลติ าระเสย่ี ง

 ป แ เ ล ต แ

คุณภาพนา้ การขยายตัวของประชากรและเศรษฐกจิ ส่งผลให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงการใช้ ประโยชนท์ ด่ี นิ ไปสู่พนื้ ทเ่ี กษตร อุตสาหกรรม และทอี่ ยูอ่ าศัยมากขนึ้ ส่งผล ใหค้ ุณภาพแหล่งนา้ ผวิ ดนิ เสอื่ มโทรมลง ปี 51 คุณภาพนา้ แหล่งนา้ ผิวดนิ 22 % อยูใ่ นเกณฑด์ ี 54 % อยู่ในเกณฑพ์ อใช้ 24 % เสอ่ื มโทรม 0 % เสอื่ มโทรมมาก แหล่งนา้ ผวิ ดนิ ทเ่ี สอ่ื มโทรมมากคอื แม่นา้ เจ้าพระยาและท่าจนี ตอนล่าง สะแกกรัง ลพบุรี เพชรบุรีตอนล่าง และลาตะคอง ตอนล่าง ซง่ึ มคี วามหนาแน่นของประชากร และกิจกรรมทางเศรษฐกจิ

ไอน้ำ 875 ลบ. ไอน้า 100 ลบ.กม./วนั กม./วนั ฝนตก 755 ลบ.กม./วนั คายระเหย ผืนทะเล วฎั จ

รวมตัวเป็ นไอน้ำใน ฝนตก บรรยำกำศ 265 ลบ.กม./ วัน ไอน้าจากแผ่นดิน 165 ลบ.กม./วนั คายระเหย ผืนแผ่นดิน ซึมซับลงดนิ จกั รน้ำ (Hydrological cycle)













ชา้ งชนก หญ้าแพรก

กนั กตาย

ผลกระทบข้างเคยี งต ต่อเกษตรกร สารพษิ สะสมในตวั เกษตรก สุขภาพอ่อน สุด ตอ่ ผู้บริโภค บริโภคอาหารมสี าร เสี่ยงตอ่ โรค อาย

ต่อเกษตรกร/ผู้บริโภค กร(80%) นแอเสี่ยงตอ่ การเป็ นโรคร้ายแรง ดท้ายหมดตัวจากการป่ วยไข้ รพษิ และฮอรโ์ มนตกค้าง คร้ายแรง ยุสั้นตายก่อนวัยอนั ควร





สารพษิ ตกค ขา้ ว พบสารเทธ เนือ้ สัตว์ สารเร่งเนือ้ แดง ส และไฟโตเอสโตรเ

ค้างในอาหาร ธิลโบรไมด์ และฟอสฟิ น สารปฏิชีวนะ ฟอรม์ าลนี เจน

ผลกระทบดา้ นภมู ปิ ัญ ทาลายระบบการพงึ่ พาตนเองข ป๋ ุย/เมล็ดพ ทาลายภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ สมุนไพร วิถกี ารเพาะ การเลีย้ งสัต

ญญาและวถิ ที อ้ งถน่ิ ของเกษตรกร พันธุพ์ ชื /พนั ธุส์ ัตว์ ะปลูกพชื ตว์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook