Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore covid-19 กับวงการห้องสมุดโลก

covid-19 กับวงการห้องสมุดโลก

Published by WAHIDA MUSOR, 2022-01-12 13:21:38

Description: covid-19 กับวงการห้องสมุดโลก

Search

Read the Text Version

โควดิ -19 กับวงการห้องสมุดโลก ภาษาอังกฤษ | ภาษาฝรง่ั เศส | ภาษาสเปน | ภาษาจนี | ภาษารสั เซยี | ภาษาเยอรมัน | ภาษาอาหรบั ปรบั ปรงุ ลา่ สดุ : 19 พฤษภาคม 2563 ทรัพยากรหลักสำหรบั หอ้ งสมุดในการรับมือกับการระบาดของโคโรนา่ ไวรัส ข้อมูลและทรัพยากรขา้ งล่างนมี้ ไิ ด้พัฒนาขน้ึ บนพน้ื ฐานของความความสมบรู ณ์แบบ แต่จะมกี าร ปรับปรงุ อย่เู สมอ ข้อมูลและทรัพยากรตา่ ง ๆ เปน็ ข้อมูลท่ีเข้าถงึ ได้โดยสาธารณะ รวมถึงข้อมลู ท่สี ่งมา ทาง mailto:[email protected]. เรายินดีรบั ฟงั ขอ้ คิดเห็น ขอ้ มูลอ้างองิ คำแนะนำและการเสนอแนะ ข้อมลู ทถี่ กู ตอ้ ง กรุณาดูท่ีคำถามที่พบบอ่ ยในประเด็นที่เก่ยี วกบั IFLA โดยเฉพาะ ทรพั ยากรหลักสำหรบั หอ้ งสมุดในการรบั มือกับการระบาดของโคโรนา่ ไวรัส...........................................................1 ทำความเข้าใจไวรสั โควิด-19 และการแพร่ระบาด..................................................................................................2 อยทู่ ่บี ้านและท่ีทำงานอยา่ งปลอดภยั .....................................................................................................................7 การใหบ้ รกิ ารทางไกล.......................................................................................................................................... 13 การบรหิ ารการทำงานทางไกล............................................................................................................................. 20 การปรับเปล่ยี นบทบาทของทรัพยากรตา่ ง ๆ ของห้องสมุด ................................................................................. 21 การเปดิ ห้องสมุดอีกคร้งั ...................................................................................................................................... 22 ความเคลอ่ื นไหวของสมาคมวชิ าชพี หอสมุดแห่งชาติ และพันธมิตรของหอ้ งสมุด................................................ 33 การสื่อสารกบั ผู้ใชใ้ นภาษาต่าง ๆ ........................................................................................................................ 40 ประเดน็ ปญั หาต่อเน่ือง........................................................................................................................................ 41 กิจกรรมของ IFLA............................................................................................................................................... 42 [รูปภาพ] โควดิ -19 และหอ้ งสมุด: ถงุ มือและหน้ากาก

2 ทำความเขา้ ใจไวรสั โควิด-19 และการแพรร่ ะบาด ทรัพยากรสารสนเทศเก่ียวกับโรค โคโรนา่ ไวรสั เปน็ กลุ่มของไวรัส โดยท่ีโควดิ -19 หรอื โรคโคโรน่าไวรสั เปน็ โรคติดต่อที่มีสาเหตมุ าจากไวรสั โคโรนา่ ประเภทท่ีเพ่งิ ค้นพบ ตามท่ีองค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า ผตู้ ดิ เช้ือไวรสั โควดิ -19 ส่วนใหญ่จะมอี าการทางระบบทางเดินหายใจใน ระดับนอ้ ยถึงปานกลาง และจะฟ้ืนตวั ได้โดยไมจ่ ำเป็นต้องได้รับการรักษาเปน็ พิเศษ ผู้สงู อายแุ ละผ้ทู ีม่ ีปัญหาทาง สุขภาพ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลอื ด โรคเบาหวาน โรคทางเดินหายใจเรอ้ื รงั และมะเรง็ มีโอกาสที่จะมีอาการ รนุ แรง อาการโดยทั่วไป ไดแ้ ก่ ไข้ เหนอื่ ย และไอแห้ง อาการร่วมอื่น ๆ ได้แก่ หายใจสนั้ ปวดเมื่อย เจบ็ คอ นอกจากน้ี ผ้ปู ่วยบางรายอาจมีอาการทอ้ งเสีย คลื่นไสแ้ ละมีน้ำมูก วิธีการป้องกันและชะลอการแพรก่ ระจายของโรคท่ีดีทส่ี ุด คือ การมีความรอบรเู้ ก่ียวกบั ไวรัสโควิด-19 สาเหตุ อาการเจบ็ ป่วยและการแพรร่ ะบาดของเช้อื โรค ไวรัสโควิด-19 มักจะแพร่กระจายผา่ นฝอยละอองนำ้ ลายหรอื น้ำมูกเมื่อผู้ติดเช้อื ไอหรอื จาม หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเตมิ เก่ียวกบั ไวรัส ดูเพิ่มเติมที่หนา้ เว็บการวจิ ยั ขององค์การอนามัยโลก หรอื บทเรียน ออนไลนเ์ สรขี นาดใหญ่ (MOOC) เรื่องไวรสั ที่จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก คุณอาจจะตดิ ตามขอ้ มูลทเี่ ช่ือถือได้ ผา่ นโทรศพั ทม์ ือถือโดยการลงทะเบยี นรบั การแจ้งเตือนจากองค์การอนามัยโลกทางแอปพลิเคชัน WhatsApp ทรพั ยากรสารสนเทศเก่ียวกับการตดิ เชื้อลา่ สุด หนว่ ยงานของแตล่ ะประเทศทว่ั โลกกำลงั ดำเนนิ การรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกบั จำนวนผู้เขา้ รับการตรวจโรค การตดิ ต่อ และผลกระทบ คณุ ควรรับฟงั ข้อมลู จากหน่วยงานท่รี บั ผิดชอบในประเทศของคณุ เน่ืองจากมีข้อมลู ล่าสุด สำหรบั ข้อมูลในระดบั โลก องคก์ ารอนามยั โลกนำเสนอข้อมูลเก่ียวกบั สถานการณ์รายวัน ขอ้ มูลน้ีถกู นำไปใชใ้ นการ พฒั นาแดชบอร์ดการติดเชื้อขององค์การอนามยั โลก ศูนยว์ ิทยาการทางระบบและวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยจอห์น ฮอปกินส์ ได้นำเสนอขอ้ มลู สดในรปู แบบแผนท่ี โลก ซ่งึ รวมถงึ ตัวเลขจำนวนผูท้ ีห่ ายป่วย แผนที่ดังกล่าวถูกนำมาใช้ในการรายงานของสื่ออยเู่ ป็นประจำ [รูปภาพ] โควิด-19 และห้องสมุด: หนงั สือและแว่นตา

3 การปดิ ทำการห้องสมุดทวั่ โลก หอ้ งสมุดทั่วโลกกำลังเผชญิ ทางเลือกที่ยากลำบากในการพจิ าณาวา่ จะใหบ้ ริการอะไรได้บ้าง และใหบ้ รกิ ารอย่างไร ซงึ่ มีตง้ั แต่การกำหนดข้อจำกัดในการใชง้ านขน้ั ต่ำจนถึงการปดิ ทำการท้ังหมด เราตระหนกั ดวี ่า รฐั บาลเองก็มี แนวทางในการจัดการปญั หาทแ่ี ตกตา่ งกนั บางประเทศส่ังให้ปิดทำการห้องสมดุ ทกุ แห่ง บางประเทศกำหนดให้ ดำเนนิ การตามปกติ ในขณะท่ีบางประเทศให้ผ้บู ริหารห้องสมดุ เป็นผู้ตัดสินใจ การตดั สนิ ใจจะจำกดั การให้บรกิ ารหรือปดิ ห้องสมุดเปน็ เร่ืองยากและจำเป็นต้องมกี ารประเมนิ ความเสยี่ งดา้ นต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง เราตระหนกั ดวี ่า ขณะน้ีระบบห้องสมดุ ประชาชนท้ังหมดในประเทศและเขตแดนต่อไปนี้ต้องปดิ ทำการ: หม่เู กาะ อเมริกันซามัว หมู่เกาะเอแลนด์ แอลจีเรยี บังกลาเทศ เบอรม์ ิวดา ภูฏาน โบลิเวยี บอตสวานา บราซิล หมู่ เกาะเคยแ์ มน โคลอมเบีย คอสตาริกา อียปิ ต์ หมู่เกาะฟาโร ฝรั่งเศส เฟรนชพ์ อลินีเชยี เยอรมนี (มีความเปน็ ไปได้ ทจ่ี ะเปิดทำการต้ังแตว่ นั ที่ 20 เมษายน) กานา ยบิ รอลตาร์ กรซี กรีนแลนด์ กวั เดอลปู เกอรน์ ซี ฮังการี อนิ เดยี อินโดนีเซีย อิหร่าน ไอร์แลนด์ ไอล์ออฟแมน อิตาลี (มีแผนทจี่ ะเปดิ ทำการตั้งแต่วันท่ี 18 พฤษภาคม) เจอร์ซ่ี เคนยา ลตั เวีย ลกิ เตนสไตน์ ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มาเลเซยี มอลตา มาร์ตีนิก มอริเชยี ส มอลโดวา โมร็อกโก นามิ เบีย เนปาล นอรท์ มาซโิ ดเนีย นอรเ์ วย์ เปรู ฟลิ ิปปินส์ โปรตเุ กส รสั เซีย เซนตล์ ูเซีย เซนต์มารต์ นิ ซานมารินิโอ ซาอุดิอาระเบีย ซินต์มารเ์ ติน สิงคโปร์ ตองกา ตรินิแดดและโตเบโก ตรุ กี ยกู นั ดา ยเู ครน สหราชอาณาจกั ร และ หมเู่ กาะเวอร์จนิ ของสหรฐั ในขณะเดยี วกนั หอ้ งสมุดในออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยยี ม แคนาดา โครเอเชยี สาธารณรฐั เชก็ เดนมารก์ เอสโตเนีย ฟินแลนด์ เยอรมนี ฮ่องกง (ประเทศจนี ) ญีป่ นุ่ มาเกา๊ (ประเทศจีน) เนเธอรแ์ ลนด์ นวิ ซีแลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ สโลวะเกยี สโลวีเนีย สเปน สฟาลบาร์ และสวติ เซอรแ์ ลนดไ์ ดเ้ ร่ิมเปดิ ทำการอีกครั้งพร้อมดว้ ยมาตรการในการป้องกันทางสาธารณสุข นอกจากนี้กวา่ รอ้ ยละ 90 ของหน่วยงานทอ้ งถนิ่ ในสวีเดน ห้องสมดุ เปิดทำการ และอีก 85 เปอร์เซ็นตข์ องหนว่ ยงานท้องถ่ินขยายเวลาทำการ ในสหรัฐอเมริกา Ithaka S+R กำลังตดิ ตามการดำเนนิ การต่าง ๆ ของห้องสมุดวิจยั (ดูผลแบบสด) ขณะที่ใน ฝรั่งเศส กระทรวงวิจัยไดร้ วบรวมขอ้ มูลตวั อย่างจากห้องสมุดสถาบนั อดุ มศึกษา ในขณะเดียวกนั หอ้ งสมดุ โรงเรยี นใน 154 ประเทศไดร้ ับผลกระทบจากการปดิ ทำการของสถาบันการศึกษา ทั้งหมด ในขณะที่ประเทศอน่ื ๆ มบี างโรงเรียนปิดทำการ ตามข้อมลู ขององค์การการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และ วฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ห้องสมุดมหาวิทยาลัยก็ปดิ ทำการในหลายประเทศดว้ ยเช่นกัน

4 หอสมดุ แหง่ ชาติกป็ ิดให้บริการแกส่ าธารณะในแอลเบเนีย แอลจีเรยี อนั ดอร์รา แอนตกิ าและบาร์บูดา อารเ์ จนตนิ า ออสเตรเลีย ออสเตรยี อาเซอรไ์ บจาน บาฮามาส บงั กลาเทศ เบอรม์ วิ ดา เบลเยยี ม โบลิเวีย บอสเนียและเฮอร์เซโก วีนา บราซลิ บลั แกเรยี กาบูเวร์ดี แคนาดา ชิลี โคลอมเบยี หมู่เกาะคุ๊ก คอสตาริกา คิวบา ไซปรัส โคลอมเบยี โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอสโตเนีย หม่เู กาะฟจิ ิ ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส จอรเ์ จีย กรีซ กรนี แลนด์ กวั เตมาลา กนิ ี-บิสเซา สนั ตะสำนกั ฮังการี ไอซ์แลนด์ อนิ เดยี อินโดนีเซยี อิหร่าน ไอร์แลนด์ อิตาลี จาเมกา ญี่ปุ่น คาซคั สถาน เคนยา คีรก์ ีซ ลตั เวีย ลกิ เตนสไตน์ ลิทวั เนีย ลกั เซมเบิร์ก มาเลเซยี มัลดฟี ส์ มอลตา เมก็ ซโิ ก มอลโดวา โมนาโก มองโกเลีย โมร็อกโก นามิเบยี เนเธอรแ์ ลนด์ นวิ แคลิโดเนีย นิวซแี ลนด์ นอรท์ มาซิโดเนีย นอร์เวย์ ปานามา ปารากวยั เปรู ฟิลิปปินส์ โปแลนด์ โปรตุเกส กาตาร์ เกาหลี โรมาเนีย รัสเซีย สโลวะเกีย สโลวีเนยี แอฟริกาใต้ สเปน สวิตเซอรแ์ ลนด์ ไทย ตรนิ ิแดดและโตเบโก ตนู ิเซีย ตรุ กี ยูกันดา ยเู ครน สหราชอาณาจกั ร สหรฐั อเมริกา และ อรุ ุกวยั หอสมุดแหง่ ชาติในประเทศจนี โครเอเชีย สาธารณรัฐเชก็ เดนมารก์ เยอรมนี และเซอรเ์ บีย ได้กลับมาเปิด ทำการโดยมขี ้อจำกัด เรายนิ ดีรบั ข้อมลู ล่าสดุ เพ่ือนำมาปรับปรุงสารสนเทศนี้ โดยส่งขอ้ มลู มาท่ี mailto:[email protected] [รูปภาพ] โควิด-19 และห้องสมุด: กดพมิ พ์บนแปน้ พมิ พ์ การบรหิ ารแนวทางตา่ ง ๆ ตอ่ มาตรการข้อจำกัด ห้องสมดุ ในส่วนตา่ ง ๆ ของโลกกำลงั เผชญิ กับสถานการณท์ ี่แตกตา่ งกนั ตง้ั แต่การเปิดให้บริการเตม็ รปู แบบไป จนถงึ การปดิ ทำการโดยสนิ้ เชิง จากประสบการณ์ทวั่ โลก ห้องสมุดและบรรณารักษ์กำลงั พบตนอยใู่ นสถานการณ์ใดสถานการณห์ นึง่ ดังต่อไปนี้ การดำเนนิ การตามปกติ (มากกว่าหรอื น้อยกว่า): ในหลายประเทศการตดิ เช้ือไวรัสมจี ำนวนน้อย และรฐั บาลมิได้ มมี าตรการเฉพาะกจิ ใด ๆ อย่างไรก็ตาม ข้อแนะนำโดยท่ัวไปของสุขอนามัยทด่ี ียงั ต้องนำมาใช้ ในสถานการณ์น้ี หอ้ งสมดุ จะตอ้ งดำเนินการดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี • มีสบู่และน้ำอุ่นให้ใช้ • จัดเตรียมน้ำยาล้างมือ • ทำความสะอาดพื้นผิว รวมถงึ ของเล่นและคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด • เจา้ หนา้ ทีแ่ ละผูใ้ ช้ควรได้รับการสนบั สนุนใหไ้ ปพักรกั ษาตวั ถา้ รู้สึกไมส่ บาย แทนทีจ่ ะต้องเดินทางมาที่ ห้องสมุด

5 • จัดทำเว็บเพจรวบรวมลิงก์ที่เชอื่ มโยงไปยังขอ้ มูลทนี่ ่าเชอื่ ถือแก่ผ้ใู ชบ้ นเว็บไซต์ และสง่ เสริมความฉลาดรู้ ทางสือ่ เพอ่ื ใชร้ บั มือกบั ข้อมลู ออนไลนอ์ ันเปน็ เท็จท่ีอาจพบได้ มาตรการขอ้ จำกัดบางประการ: เม่ือมีการติดเชื้อมากขนึ้ และรัฐบาลเรม่ิ จะมมี าตรการจำกดั การจดั กจิ กรรมที่มี คนจำนวนมาก รวมทงั้ การสนับสนนุ เชงิ รกุ ให้ประชาชนมวี ธิ ีเพิม่ ข้ึนในการรักษาสขุ อนามยั ในสถานการณน์ ้ี ห้องสมุดจะตอ้ งดำเนินการดงั ตวั อย่างตอ่ ไปนี้ • การทบทวนการจัดกจิ กรรม เชน่ การอา่ นหนังสือเล่าเรื่อง หรอื การฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ัติการ โดยเฉพาะใน กลุ่มผู้ทีม่ ีความเสีย่ ง เช่น ผ้สู ูงอายุ เพิ่มความพยายามในการรกั ษาสขุ อนามยั รวมทั้งผ่านการทำความ สะอาดฆ่าเช้อื พน้ื ผิวท่มี ีความแขง็ ต่าง ๆ ถอดอุปกรณท์ ่เี พมิ่ ความเส่ียง เช่น ของเลน่ หรอื ชดุ หูฟังความจรงิ เสมือน (VR) ออกจากการยืมคนื • พิจารณาวา่ ควรปิดพ้นื ท่ีศึกษาคน้ ควา้ ในบรเิ วณทผ่ี ู้ใช้อาจใช้เวลาร่วมกบั ผูอ้ น่ื • จดั เตรียมมาตรการอน่ื ๆ ที่อาจตอ้ งนำมาใชต้ ่อไป เชน่ เตรียมความพร้อมให้เจา้ หน้าที่ทุกคนมีทักษะและ เคร่อื งที่พร้อมจะปฏิบัติงานทางไกล (ถา้ เปน็ ไปได้) และให้บรกิ ารในรูปแบบดิจิทลั ใหม้ ากท่ีสุดเทา่ ท่จี ะ เป็นไปได้ เปิดบรกิ ารให้นอ้ ยทสี่ ุด: ในหลายประเทศ ยังมกี ารใชม้ าตรการท่ีเข้มงวด และมีข้อจำกดั ทแี่ ขง็ กร้าวตอ่ การรวมตวั กันของคนหมู่มาก มีการแจ้งเตอื นพเิ ศษสำหรับกลุ่มผมู้ ีความเสย่ี ง และปดิ ใหบ้ ริการในภูมภิ าคทีไ่ ดร้ ับผลกระทบ มากที่สดุ ในสถานการณน์ ี้ หอ้ งสมุดจะตอ้ งดำเนนิ การดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี • ปิดบรกิ ารพื้นทีท่ ัง้ หมดและอาจเปิดให้เข้ามายืมและคืนหนงั สอื ทเ่ี คาน์เตอร์หรือผ่านตู้คืนหนงั สือเทา่ นัน้ ในบางประเทศมีการทดลองบรกิ ารไดร์ฟทรู (drive-through) เพ่อื รบั และคืนหนังสอื บางประเทศอนุญาต ให้เข้าพื้นทไ่ี ดเ้ ฉพาะผทู้ ี่จองล่วงหนา้ เทา่ นัน้ • นำนโยบายการกักบริเวณหนังสอื ท่ีได้รับคืนมาใชป้ ฏบิ ัติ (ดรู ายละเอียดเพิ่มเตมิ ดา้ นล่าง) • นำแผนในการให้บริการทางไกล ยกตัวอยา่ งเชน่ การยืมแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การเรยี นแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื การสนบั สนุนการสอนทางไกล • ทดสอบและสรุปมาตรการสำหรบั การปฏบิ ตั งิ านทางไกลของเจ้าหน้าที่ทกุ คนและอนญุ าตให้ผู้ทีส่ ามารถ ปฏบิ ตั งิ านทางไกลได้ดำเนินการไดท้ ันที

6 การปิดทำการเต็มรูปแบบ: เมอื่ มีการใช้มาตรการอย่างเข้มงวดทสี่ ุด ห้องสมุดทั้งท่ถี ูกบงั คับให้ปดิ หรอื ตัดสนิ ใจปิด ทำการเอง เมื่อพิจารณาจากความเสี่ยงท่ีอาจเกิดขึ้นกบั ผใู้ ช้บริการและเจา้ หนา้ ที่ ในสถานการณน์ ี้ หอ้ งสมุดจะต้อง ดำเนินการดังตัวอย่างต่อไปนี้ • จดั ใหเ้ จ้าหน้าทที่ ุกคนปฏิบัตงิ านจากทบ่ี ้านยกเวน้ ว่าจะมีความจำเป็นอย่างยง่ิ เม่ือเจ้าหน้าที่ต้องเข้ามาใน ที่ทำงาน จะตอ้ งทำให้มน่ั ใจไดว้ ่าเจา้ หนา้ ทีส่ ามารถปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบที่เก่ยี วข้องกับการเว้นระยะห่าง ทางสงั คมได้ • บรรณารักษ์อาจถูกปรบั เปล่ียนใหไ้ ปปฏิบตั งิ านในหนา้ ที่อืน่ ในส่วนงานอืน่ ภายในท้องที่ ยกตัวอยา่ งเชน่ การใช้ทักษะการจัดการสารสนเทศเพื่อชว่ ยสนับสนนุ บริการทางสาธารณสขุ และสังคม • สอ่ื สารกบั ผูใ้ ช้เก่ยี วกับโอกาสในการใช้ทรพั ยากรและบริการของห้องสมดุ อย่างต่อเน่ือง • จดั กิจกรรมเลา่ เรื่องทางดิจทิ ลั เท่าที่กฎหมายลิขสทิ ธิอ์ นุญาต • สง่ เสรมิ การใชห้ ้องสมดุ ดิจิทลั และเครื่องมืออื่น ๆ รวมไปถงึ อาจลงทนุ จัดหาหรือบอกรบั เนอื้ หา/สญั ญา อนุญาตเพ่ิมมากข้นึ • เวน้ การลงโทษการยืมหนังสอื ทางกายภาพและเพ่มิ จำนวนหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสท์ ่ีผใู้ ชย้ ืมออกได้ • ปรบั เปลยี่ นพ้ืนทแ่ี ละอุปกรณ์ทมี่ ใี นห้องสมดุ เพ่ือใชใ้ นกจิ กรรมอืน่ เช่น การผลติ ชดุ อุปกรณ์ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบุคคล • เสริมสร้างการตระหนักรู้เรอ่ื งช่องทางการใหบ้ รกิ ารทางดจิ ิทัล ทัง้ จากในหน้าแรกของเว็บไซต์ รวมไปถึง การตดิ ต้ังโปสเตอร์ไว้ตามบริเวณหนา้ ต่างของอาคารห้องสมดุ เตรียมการเปิดห้องสมดุ อีกคร้งั : ในหลายประเทศ มีการดำเนินการผ่อนคลายมาตรการอยา่ งน้อยเพียงบางสว่ น โดยห้องสมุดอาจเป็นส่วนหนึ่งในมาตรการนัน้ ไม่กำหนดระยะเวลาทแ่ี น่นอน และความปลอดภยั จะต้องเปน็ ส่ิงที่ สำคญั ทส่ี ุดเสมอ ในสถานการณเ์ ชน่ นี้ หอ้ งสมดุ จะตอ้ งดำเนินการต่อไปน้ี: • เรม่ิ วางแผนการทะยอยเปิดทำการเมื่อกฎระเบียบเอื้อต่อการดำเนนิ การ รวมไปถงึ เมื่ออาคารและ ทรพั ยากรของห้องสมดุ พร้อมใหท้ ำการไดอ้ ย่างปลอดภัย และม่กี ารปรับปรุงนโยบายหอ้ งสมดุ ทจี่ ำเปน็ • จำกดั จำนวนคนเขา้ ใชห้ ้องสมุดในช่วงเวลาเดยี วกนั และวางแผนวธิ กี ารบงั คบั ใช้แนวทางดังกลา่ ว รวมไป ถึงปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดสถานการณ์ที่ทำให้คนมารวมกนั ในระยะใกล้ชดิ ยกตวั อยา่ งเช่น การใชร้ ะบบเดนิ ทาง เดยี ว การจำกดั การใชเ้ ฟอรน์ ิเจอร์ การปดิ ห้องอ่านหนงั สอื การเลอ่ื นการจัดการกจิ กรรมตา่ ง ๆ และการ ปิดใหบ้ ริการห้องนำ้

7 • นำมาตรการในการทำความสะอาดเปน็ ประจำมาใช้ (รวมไปถึงการปิดทำการห้องสมดุ ช่ัวคราวเพ่ือทำ ความสะอาด) โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเนน้ ไปที่พืน้ ผิวท่ีไวรัสอาจมีชวี ติ อยไู่ ด้เป็นระยะเวลานาน (พลาสติก โลหะที่ไมใ่ ช่ทองแดง) หรอื อย่างน้อยเพิ่มความเข้มงวดในการทำความสะอาด • พฒั นาบรกิ ารกดปุ่มสั่งและมารบั (click-and-collect) และบริการไดร์ฟทรู เพื่อทำใหส้ ามารถเขา้ ถึง หนงั สือได้โดยปราศจากการสมั ผสั ระหว่างบุคคล • จัดให้เจ้าหนา้ ที่ไดร้ ับเครื่องมือและการฝึกอบรมทจี่ ำเปน็ สำหรับอยอู่ ย่างปลอดภัย รวมไปถงึ แนวทางใน การคดั กรอง (ถ้าจำเป็น) จำกัดการติดต่อสมั ผสั ให้มากทสี่ ุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และอนุญาตให้ปฏิบัติงาน จากที่บา้ นให้นานเทา่ ทีส่ ดุ เทา่ ที่จะเปน็ ไปได้ รวมไปถึงแจง้ ข้อมูลล่าสดุ อยู่เป็นประจำ • กำหนดให้ชัดเจนหากไมส่ ามารถเปิดทำการอยา่ งปลอดภัยได้ ไมเ่ ช่นนัน้ จะต้องม่นั ใจว่าผมู้ อี ำนาจในการ ตดั สินใจเขา้ ใจธรรมชาติของพ้ืนทีห่ อ้ งสมุด รวมไปถึงการใช้วิธเี ปดิ ให้บริการแบบค่อยเป็นคอ่ ยไปเม่ือทุก คนปลอดภัยเทา่ นน้ั • สง่ เสริมการใชบ้ ริการและทรัพยากรออนไลนอ์ ย่างต่อเน่ืองเพอื่ ลดจำนวนผทู้ ่ตี ้องการจะเขา้ ใช้พื้นท่ี ห้องสมดุ • สอ่ื สารเกยี่ วกบั กฎระเบยี บใหม่ให้ผใู้ ชท้ ราบอย่างชดั เจน ท้งั ทางออนไลน์และในบรเิ วณพ้ืนท่ีห้องสมุด และ แจง้ ข้อมูลลา่ สุดอยเู่ สมอ • จดั เตรยี มแผนในการกลับมาปิดพนื้ ท่ีอีกคร้ังในกรณีที่อตั ราผู้ติดเชอื้ เพ่ิมสูงข้นึ [รปู ภาพ] โควดิ -19 และห้องสมุด: การอย่บู า้ น อยู่ทบ่ี ้านและที่ทำงานอยา่ งปลอดภัย ดว้ ยเหตขุ า้ งต้น องคก์ ารอนามัยโลกแนะนำวา่ โดยทวั่ ไป ทุกคนควรรกั ษามารยาททเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ระบบทางเดิน หายใจ (ยกตวั อย่างเชน่ จามใสข่ ้อศอกท่พี บั หรือกระดาษทิชชูแล้วทง้ิ ทันที)่ ทุกคนควรล้างมือหรือใช้น้ำยาหรือเจล แอลกอฮอลลบ์ ่อยครงั้ และไม่เอามือไปสัมผัสใบหน้า รวมไปถงึ การรักษาระยะห่างกบั ผอู้ ่ืนท่ีมีอาการไอหรือจาม หลกี เลี่ยงพื้นท่ีท่ที ราบวา่ มีการพบผู้ตดิ เช้อื จำนวนมาก โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เมื่อคุณหรอื คนทีค่ ณุ อาศัยดว้ ยเป็น ผู้สูงอายุหรอื ไม่ก็เป็นผทู้ มี่ ีสขุ ภาพอ่อนแอ (เชน่ คุณหรือคนในบา้ นเปน็ โรคเบาหวาน โรคหัวใจ หรอื โรคปอด)

8 คนทม่ี ีอาการเพียงเล็กน้อยและยงั มสี ุขภาพดอี ยคู่ วรแยกตวั เองออกมาและตดิ ต่อผู้ให้บริการทางการแพทยห์ รือ ศนู ย์ข้อมลู โรคไวรสั โควิด-19 เพอ่ื รบั คำปรึกษาเก่ยี วกบั การตรวจและการรกั ษาต่อ คนท่ีมีอาการไข้ ไอ หรือหายใจ ขดั ควรตดิ ต่อแพทย์เพื่อขอรับบริการทางการแพทย์ เว็บไซตข์ ององค์การอนามยั โลกยังมขี ้อมูลอน่ื อีกมาก นอกจากนี้ กอ่ นทจ่ี ะนำเสนอข้อมลู ตอ่ ไปด้านลา่ งนี้ เราอยาก แนะนำใหห้ ้องสมดุ ขอคำปรกึ ษาจากหนว่ ยงานสาธารณสขุ ระดบั ประเทศและปฏิบัติตามข้อแนะนำที่มีอยู่แลว้ การดำเนินการกบั ทรพั ยากร คำถามสำคัญสำหรับหลายคนในห้องสมดุ มกั เปน็ เร่ืองเกี่ยวกับความเสีย่ งท่ีจะตดิ เช้อื ผา่ นการสมั ผสั วัสดุทีม่ ีโคโรน่า ไวรสั ปนเป้ือน ความเขา้ ใจของเราในประเด็นทีว่ ่าไวรัสมีการแพรก่ ระจายอย่างไรยังถอื ว่าอย่ใู นระยะเริม่ ต้น จงึ ยงั เปน็ ไปไม่ได้ที่จะให้คำแนะนำทแ่ี นน่ อน นอกเหนือไปจากคำแนะนำทั่วไปท่ีใหร้ ักษาความสะอาดของมอื และไม่ สมั ผัสกับใบหน้า มงี านวจิ ัยจำนวนหน่ึง (ในวารสาร New England Journal of Medicine และ Journal of Hospital Infection) เกีย่ วกับการอย่รู อดของไวรสั ทง้ั ในอากาศและบนพน้ื ผิวประเภทต่าง ๆ ดเู หมือนวา่ ไวรัสมีชีวิตอยูบ่ นพ้ืนผิวไดน้ าน กว่าบนพลาสตดิ และเหลก็ และมชี วี ติ สัน้ กว่าเมอื่ อยบู่ นกล่องกระดาษหรือทองแดง ถงึ แมว้ ่าการทดสอบเหล่าน้ีจะ เป็นการทดสอบในสภาพแวดลอ้ มในการทดลองและความเสีย่ งในการตดิ เชือ้ จะลดลงเม่ือเวลาผา่ นไป การสมั มนาทางเวบ็ (webinar) จัดโดยสถาบันบริการพิพิธภัณฑ์และห้องสมดุ (Institute of Museum and Library Services) ในสหรัฐอเมรกิ าเห็นด้วยกับผลวิจัยดงั กลา่ ว และแนะนำวา่ ความเสี่ยงจากการสมั ผัสกระดาษ ถอื วา่ อยู่ในระดบั ต่ำ แตก่ ารให้บรกิ ารท่ีต้องสัมผสั รุนแรงเป็นประจำเป็นการเพ่มิ ความเสี่ยงมากขนึ้ รัฐบาลประเทศ เนเธอร์แลนดย์ งั เสนอแนะวา่ โอกาสที่จะได้รับไวรสั จากพื้นผวิ กระดาษ เชน่ จดหมาย มนี ้อย เช่นเดยี วกนั กับ สถาบนั ประเมินความเส่ียงแห่งชาติออสเตรยี (Austrian Federal Institute for Risk Assessment) ท่ีระบวุ ่ายงั ไมพ่ บหลักฐานการติดเชอ้ื จากพน้ื ผวิ ประเด็นดงั กล่าวยังไดร้ ับการสนับสนุนจากทปี่ รึกษาหลักของห้องสมดุ ตา่ ง ๆ ในประเทศสวีเดน ภายนอกพน้ื ท่หี ้องสมุด เชน่ บริการไปรษณยี ์ ข้อควรระวงั ทั่วไปยังใช้ได้เม่ือตอ้ งดำเนนิ การกบั กระดาษและกล่อง กระดาษ มคี วามเปน็ ไปไดว้ า่ บนพนื้ ผวิ อืน่ ๆ เชน่ ลกู บดิ ประตู แปน้ พิมพ์ เมา้ สค์ อมพวิ เตอร์ ซีดี ดีวดี ี ของเลน่ หรือ ชดุ หูฟงั VR เปน็ ตน้ จะมีไวรัสมากกวา่ ดังน้ันจงึ ควรทำความสะอาดสิ่งเหลา่ นีเ้ ป็นประจำหรือย้ายออกจากบริเวณ การยมื คืน

9 อย่างไรกต็ าม เมื่อหนงั สือหรือช้ินสว่ นอปุ กรณ์ใด ๆ ถกู สัมผัสใกลช้ ดิ กับผู้ทีม่ ีอาการปว่ ย การรอหรือใช้วิธีการทำ ความสะอาดทปี่ ลอดภัยยังเป็นวิธกี ารทเ่ี หมาะสม ขอ้ เสนอแนะทว่ั ไปยังเป็นส่งิ ท่ีพึงปฏบิ ัติ ประเด็นดงั กลา่ วได้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาลฝร่ังเศส เพ่อื รับมอื กับความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทก่ี ำลงั ดำเนินอยใู่ ห้ดีทสี่ ดุ สถาบันบริการพิพิธภณั ฑ์และห้องสมุด (Institute of Museum and Library Services) ในสหรัฐอเมรกิ าจดั ตงั้ โครงการ REALM (Re-opening Archives, Libraries and Museums - การเปิดหอจดหมายเหตุ หอ้ งสมดุ และพิพธิ ภัณฑ์อีกคร้งั ) ซง่ึ เป็น พนั ธมิตรความร่วมมือกบั OCLC และสถาบัน Battelle เพอื่ สำรวจแนวทางการดำเนินการกบั วสั ดใุ ห้ปลอดภยั ซึง่ IFLA กใ็ หค้ วามร่วมมือด้วยเช่นกนั โครงการน้จี ะเขา้ ไปประเมนิ ความเสี่ยงท่ีมีต่อวัสดุและสารบริการสารสนเทศ โดยเฉพาะ เพือ่ ช่วยให้ห้องสมุดมที างเลือกในการตดั สินใจว่าจะเปดิ ทำการหรอื จะปดิ ให้บรกิ าร ในกรณีนี้ เราตระหนักดวี ่า ห้องสมุดบางแหง่ ไดก้ ำหนดให้มีช่วงระยะเวลาพักก่อนการดำเนนิ การใด ๆ กับหนงั สือที่ ไดร้ บั คืน ในขณะท่ีห้องสมดุ บางแหง่ ประกาศวา่ จะไมร่ ับคืนหนงั สอื จนกวา่ สถานการณ์จะกลับคนื สภู่ าวะปกติ ยกตวั อยา่ งเช่น องคก์ ร Public Health English ชี้แนะวา่ ความเส่ียงในการติดเชื้อไวรัสจากการสัมผสั กล่อง กระดาษหลังจาก 24 ช่ัวโมงและสัมผัสพลาสติกหลังจาก 72 ช่วั โมงอาจมีนอ้ ยมาก ๆ องค์กรไลบรารีส่ ไ์ อรแ์ ลนด์ (Libraries Ireland) พัฒนาข้อแนะนำทเ่ี สนอให้พักหนังสือ 72 ชว่ั โมง อย่างนอ้ ยใน กรณีของทรัพยากรท่ไี ดร้ บั คืนหรือทผ่ี า่ นการดำเนินการใด ๆ ตงั้ แตเ่ ร่ิมการปิดพ้ืนท่ี และเสนอแนะกระบวนการ ข้ันตอนสำหรับการจัดสง่ สมาคมหอ้ งสมุดและสารสนเทศแห่งออสเตรเลยี แนะนำว่า การพกั ทรัพยากรเปน็ ระยะเวลา 24 ชว่ั โมงนัน้ เพยี งพอแลว้ โดยอา้ งองิ ข้อแนะนำจากรฐั บาล รฐั บาลสาธารณรัฐเชกเสนอแนะว่าให้พกั ทรพั ยากร 48 ช่วั โมงจึงจะเพียงพอ ในขณะที่ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนด์ เนเธอรแ์ ลนด์ และเบลเย่ียม กำหนดให้ ระยะเวลาพักอยู่ท่ี 72 ช่วั โมง ส่วนฝรงั่ เศสแนะนำให้พักทรัพยากรท่ีมพี ลาสติกหมุ้ เคลือบอยเู่ ป็นระยะเวลา 10 วัน (72 ชัว่ โมงสำหรบั กระดาษ) ในบางประเทศ เช่น กระทรวงวัฒนธรรมของประเทศอติ าลี สมาคมห้องสมุดแควน้ อัน ดาลูซอิ า และหนว่ ยงานทางด้านสาธารณสขุ ประเทศสโลวีเนยี แนะนำให้พักหนังสือนานกว่าน้ัน ในหลายประเทศ เสนอแนะใหพ้ น้ื ที่ในการให้คำปรึกษาจะตอ้ งเปน็ พื้นที่ท่ที ำความสะอาดไดง้ ่าย สำหรบั วัสดุทหี่ ้มุ ด้วยพลาสตกิ เชน่ ดีวดี ี สมาคมหอ้ งสมุดและสารสนเทศแหง่ ออสเตรเลียและหนว่ ยงานอ่ืน ๆ แนะนำให้ทำความสะอาดดว้ ยการเชด็ แอลกอฮอลลซ์ งึ่ จะทำใหท้ รัพยากรเหล่าน้ันสามารถนำออกให้บริการยืมคนื ได้ทันที

10 สมาคมห้องสมุดเยอรมนั สนบั สนุนขอ้ แนะนำดงั กล่าว ในขณะท่ีสมาคมห้องสมุดออสเตรียแนะนำว่า ผใู้ ชห้ นงั สือไม่ ควรทำใหน้ ิว้ เปียกช้ืนก่อนการเปลย่ี นหน้า และยังเสนอแนะว่าให้ใช้น้ำยาทำความสะอาดทม่ี ีคา่ อลั คาไลน์ตำ่ ในการ ทำความสะอาดปกหนังสือ หน่ึงในคำแนะนำตา่ ง ๆ สำหรบั หอ้ งสมดุ ในสาธารณรฐั เชก คอื การกำหนดให้ ผปู้ ฏบิ ัตงิ านสวมถงุ มอื และหน้ากากเมอ่ื ดำเนินการกับหนงั สือและวสั ดุอุปกรณ์อนื่ ๆ ท่ีได้รบั คนื จากผใู้ ช้ ในขณะที่ สมาคมห้องสมดุ อิตาลี นอกเหนือจากข้อกำหนดข้างตน้ แล้วยังได้แนะนำให้มีการสอบถามผู้ใชด้ ้วยวา่ วัสดทุ ่คี ืนมา นนั้ ได้มกี ารสมั ผสั กบั ผทู้ ต่ี ดิ เช้ือไวรัสหรอื ไม่ ข้อแนะนำจำนวนหนงึ่ เสนอใหม้ ีชอ่ งทางเฉพาะสำหรบั การคนื ทรัพยากรที่มคี วามเสย่ี งที่จะปนเปอ้ื น เชน่ การ สง่ ผา่ นตู้คืนหนังสือ การคืนผ่านโต๊ะคนื หนังสือโดยเฉพาะ หรือวางตะกรา้ ตามจุดต่าง ๆ ในหอ้ งสมดุ สำหรับ ทรัพยากรทต่ี ้องการคำแนะนำเท่านัน้ ขอ้ แนะนำในโปแลนด์เสนอวา่ การคืนทรพั ยากรจะตอ้ งดำเนินการบนพื้นผิว ที่ทำความสะอาดได้งา่ ยหรอื บนกระดาษที่สามารถท้ิงได้ ในขณะที่หอ้ งสมุดแห่งชาตแิ ละมหาวิทยาลัยโครเอเชยี มี การจดั วางตะกร้าบริเวณทางเข้าสำหรบั คนื หนงั สอื ในขณะท่ีสมาคมห้องสมดุ ญ่ปี นุ่ แนะนำให้ใชโ้ ตะ๊ เพ่ือการน้ี โดยเฉพาะ สำหรับผู้ใช้ท่ีตอ้ งใช้งานวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา หอ้ งสมุดในประเทศเนเธอร์แลนด์แนะนำใหล้ ดความเสี่ยงและ ประเดน็ ปัญหาในการขนสง่ ด้วยการสนบั สนุนใหผ้ ู้ใช้นำวัสดอุ ุปกรณ์กลบั บา้ น (และนำกระดาษและปากกามาเอง) แทนทจ่ี ะท้ิงไวท้ หี่ ้องสมุด สำหรบั อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ มกั จะมคี วามเสีย่ งในการติดต่อง่ายกว่า แนวปฏิบตั จิ ำนวนมากเนน้ ไปที่การทำ ความสะอาดฆ่าเช้ืออุปกรณ์เหล่าน้ี ห้องสมดุ ในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์เสนอแนะให้ถอดเม้าส์และแป้นพิมพ์ออก หลังจากใชง้ านและคืนทจ่ี ดุ ศูนย์กลางเพื่อชว่ ยในกระบวนการทำความสะอาด ในประเทศอน่ื ๆ เช่น เมอื งเฮลซงิ บอรย์ ประเทศสวเี ดน และเมืองโทพีกา รัฐแคนซัส ประเทศสหรฐั อเมริกา วางแผนใหม้ เี จ้าหนา้ ที่ห้องสมุดไปทำ ความสะอาดฆ่าเชื้อเครื่องคอมพวิ เตอรภ์ ายหลงั การใช้งาน เมอ่ื ต้องดำเนินการกบั ทรพั ยากรที่เพิ่งจะรับคืน สมาคมห้องสมดุ และสารสนเทศแห่งออสเตรเลยี (ดูลิงก์ในหวั ข้อ การเปดิ หอ้ งสมดุ อีกครง้ั ) เสนอแนะให้ใช้ถุงมอื และทง้ิ ทันทีหลังเสรจ็ สิ้นการใชง้ าน อย่างไรกต็ าม มขี ้อเสนอแนะ จากบางแหลง่ ว่า ในบางกรณี การใช้ถงุ มืออาจทำให้วสั ดุเกิดความเสียหาย ดงั นัน้ การล้างมอื ใหส้ ะอาดจึงเป็น วิธีการทใ่ี ชไ้ ด้ ห้องสมุดแห่งชาตแิ ละมหาวิทยาลัยโครเอเชยี (ดูลงิ ก์ดา้ นล่าง) ระบุว่าการรบั นำสำเนาทรัพยากรท่ี จัดเกบ็ ตามกฎหมายควรดำเนินการดว้ ยความระมัดระวงั การแกะบรรจุภณั ฑ์ท่ีใชใ้ นการขนสง่ ควรทำดว้ ยความ ระมัดระวังและควรท้ิงบรรจภุ ณั ฑล์ งในถงั ขยะเฉพาะ

11 สถาบันสาธารณสุขแห่งชาติสโลวเี นยี (ดูการแปลในส่วนการเปิดหอ้ งสมุดอีกคร้ังดา้ นลา่ ง) ยังไดเ้ สนอวา่ ผู้อ่านที่ ได้รับวสั ดุท่ีบา้ นควรมีการกักกนั วสั ดดุ ังกล่าวหลายวนั ก่อนทีจ่ ะเปิดพสั ดุ และหากวัสดุไมไ่ ด้ทำจากกระดาษหรือ การด์ อาจทำความสะอาดหรือรอให้นานขนึ้ เมอื่ จะตอ้ งนำหนังสือมารวมกัน ความจำเปน็ ในการจัดเก็บหนงั สอื อาจก่อใหเ้ กิดปญั หาในเร่ืองการขนสง่ โดยเฉพาะ อย่างย่งิ สำหรับหนว่ ยงานขนาดเล็ก ข้อแนะนำจากประเทศฝรัง่ เศสช้วี ่า หากไมส่ ามารถจัดหาห้องเพ่อื ดำเนนิ การ เฉพาะกิจได้ ควรจดั พื้นที่บรเิ วณห้องสมดุ บางสว่ น (และไม่ให้บุคคลทัว่ ไปเข้าถงึ ได้) หรอื ใช้สถานท่จี ัดเก็บภายนอก ขอ้ แนะนำดังกลา่ วยังเสนอว่า ควรมกี ารจำกดั จำนวนเจา้ หนา้ ท่ีทีต่ ้องทำงานกับทรัพยากรดังกล่าว และจดั อปุ กรณ์ ปอ้ งกันอนั ตรายทเ่ี หมาะสมด้วย นอกจากนีป้ ระเดน็ การขนส่งโลจสิ ติกส์อาจเปน็ ปญั หาสำคัญอีกประการหน่ึง ขอ้ แนะนำในอเมริกามีการเสนอให้ใชก้ ารจัดเกบ็ แบบเคลอ่ื นท่ไี ดห้ ากสามารถทำได้ ในความพยายามทีจ่ ะฆา่ เช้อื โรคทีอ่ ยู่ในทรพั ยากร หอสมุดแห่งชาตขิ องจนี กำลงั ดำเนนิ การแยกและฆา่ เชือ้ โรคแบบ คงท่ี และมีการวางแผนทีจ่ ะจัดตงั้ ศูนย์กลางการรับคนื หนังสือและศนู ย์ทำความสะอาดฆ่าเช้อื โรคโดยใช้อุปกรณ์ฆ่า เชื้อโรคแบบรงั สอี ลั ตราไวโอเลต็ และโอโซน หอสมดุ แห่งชาตฮิ ังการีในนามสถาบันหอ้ งสมดุ ได้ทำการสำรวจประเดน็ ปัญหาดังกล่าว และชีใ้ หเ้ ห็นว่าการดแู ลรกั ษาควรใหค้ วามสนใจกบั มาตรการการทำความสะอาดฆ่าเชื้อที่ไม่ ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหาย ไมว่ ่าจะเป็นการใชเ้ จลแอลกอฮอลล์ (ดูการศกึ ษาของห้องสมดุ รัฐสภาสหรัฐอเมริกา) การ ใชโ้ อโซนและรังสีอลั ตราไวโอเลก็ ในบางกรณี หรอื การใชน้ ้ำยาฆา่ เชอ้ื ซ่งึ เป็นประเด็นทกี่ ล่าวถงึ จากศนู ย์อนรุ ักษ์ เอกสารตะวนั ออกเฉียงเหนอื (Northeast Document Conservation Centre) ในสหรฐั อเมรกิ าด้วย ในกรณี ดังกล่าว องค์การ อย่างเชน่ หอสมุดรฐั สภาอเมริกัน เสนอว่าเวลาเปน็ การฆา่ เช้ือทด่ี ี ในขณะเดียวกันอาจต้องมีการแยกขยะท่ีอาจมีการปนเป้ือนไว้หลายวนั กอ่ นเพอื่ ลดความเสี่ยงแก่ผู้อ่นื ตามที่ ข้อแนะนำในประเทศเอสโตเนียไดร้ ะบุได้ ศูนย์เทคโนโลยแี ละการฝึกอบรมดา้ นการสงวนรักษาแหง่ ชาติ (NCPTT) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดทำวิดีโอ เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส นอกจากนี้ยงั มที รัพยากรทเ่ี ปน็ ประโยชนอ์ น่ื ๆ อีกมากบน เว็บไซตข์ อง NCPTT ในหัวข้อทเี่ ก่ยี วข้องกบั การจัดการวัสดทุ างประวตั ิศาสตร์ ในขณะเดียวกนั มาตรการทางสขุ อนามยั เช่น การล้างมืออยา่ งพถิ ีพิถนั ดว้ ยสบู่และน้ำเปลา่ หลีกเล่ยี งการสมั ผสั ใบหนา้ และอยหู่ ่างไกลหากพบว่ามีอาการของโรคไวรสั โควดิ -19 ยังคงเปน็ แนวปฏิบัตพิ ้ืนฐานสำหรบั เจ้าหนา้ ท่ี

12 การเว้นระยะหา่ งทางสงั คม การตดิ ต่อระหวา่ งบุคคลอยา่ งใกล้ชดิ เป็นช่องทางหลักท่ีทำให้เกดิ การติดเช้ือไวรสั วิธีการรบั มือหลักท่ีใชม้ าอย่าง ตอ่ เนอื่ งคือการเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม - การรักษาระยะห่างที่ปลอดภัยระหวา่ งตวั บุคคลเพอื่ ชว่ ยลดความเสีย่ งใน การสง่ ต่อไวรัสจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง การไอ การจาม หรือแม้แต่การพูดคุยมักหมายรวมถึงการปล่อยฝอย ละอองท่ีมีอาจมีการติดเชื้อล่องลอยในอากาศ ระยะห่างท่ีแนะนำมีความแตกตา่ งกันไปตามประเทศต่าง ๆ แตจ่ ะไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร (3-4 ฟตุ ) และสว่ นใหญจ่ ะ แนะนำระยะหา่ งที่มากกวา่ นั้น แตก่ ารเว้นระยะหา่ งก็ไม่อาจเปน็ ไปได้เสมอไป ยกตวั อย่างเชน่ ในสหรัฐอเมรกิ า เรา พบว่ามหี อ้ งสมดุ เป็นผ้รู ้องขอให้ทางการส่งั ให้ปิดทำการหอ้ งสมุด เนือ่ งจากรสู้ ึกวา่ มคี วามเสย่ี งสงู เกนิ ไปสำหรบั ผใู้ ช้ และเจา้ หน้าท่ี ดูหวั ข้อ การเปิดทำการใหม่ของห้องสมุด ด้านลา่ งสำหรับข้อมลู เพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั การบังคับใช้มาตรการเวน้ ระยะหา่ งทางสังคมในห้องสมุด สำหรบั หอ้ งสมดุ ทีย่ ังไม่ไดเ้ ปิดทำการ หลายแหง่ ยังมกี ารให้บริการส่งหนงั สอื ให้แก่กลมุ่ เปราะบางทางสงั คมและ กลุ่มอืน่ ๆ ในขณะเดียวกนั กม็ ีมาตรการข้ันสงู ในการรักษาสุขอนามยั เราน่าจะเหน็ วา่ มาตรการเช่นน้จี ะยังคง ความสำคญั เม่ือห้องสมุดเปดิ ทำการอีกครั้ง ยกตวั อยา่ งเช่น หอ้ งสมุดวทิ ยาลัยแรดฟอร์ดในออสเตรเลียเปิดใหบ้ รกิ ารกดป่มุ ส่ังและมารับ (click-and-collect) หนงั สอื ในขณะท่ีห้องสมุดในย่านเลนโคฟ (ในประเทศออสเตรเลียเช่นกนั ) ห้องสมุดโกโดยครูซในอารเ์ จนตนิ า ห้องสมดุ ในกรุงเฮกของเนเธอร์แลนด์และหอ้ งสมุดประชาชนตา่ ง ๆ ในโปรตเุ กสให้บริการสง่ หนงั สอื และห้องสมดุ ทหี่ มู่เกาะสฟาลบาร์และห้องสมดุ ประชาชนกลางเมืองเวเรีย ประเทศกรซี มกี ารทำงานร่วมกับบรษิ ัทแทก็ ซใี่ นการ ใหบ้ ริการการเขา้ ถึงหนงั สอื ประมาณคร่งึ หนง่ึ ของหนว่ ยงานทอ้ งถ่ินในสวีเดนมีบริการสง่ และรบั คนื หนงั สือหลาย รปู แบบ และที่ห้องสมดุ รอสกิลด์ ประเทศเดนมาร์กมีบริการเชิงรกุ ท่ีติดต่อไปยังผู้ที่เคยใช้บริการจดั ส่งหนังสอื ถึง บ้าน เพ่ือตรวจสอบและสอบถามวา่ ตอ้ งการทจ่ี ะสงั่ จองทรัพยากรเพ่ิมเติมหรอื ไม่ เมื่อบริการนี้สามารถกลับมา ใหบ้ ริการได้อกี คร้งั ในขณะที่รัฐบาลของรฐั เวสเทริ น์ ออสเตรเลยี ออกประกาศแนะนำเกย่ี วกบั การขนสง่ ไปที่บ้าน อยา่ งปลอดภยั ดูเพิม่ เติม ข้อมูลจาก หวั ข้อสมาคมห้องสมุด ด้านลา่ ง ในบางสถานการณ์ ห้องสมุดไมไ่ ด้ปิดทำการแต่มกี ารบงั คบั ใช้กฎระเบยี บท่เี ข้มงวดมากข้ึนเพื่อลดความเสย่ี ง เช่น ในยา่ นตอนกลางของเมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษ มีการเปิดใหบ้ รกิ ารเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เพื่อชว่ ยเหลอื คนท่ี เข้าถึงอินเทอรเ์ นต็ ได้ไมด่ ีพอ

13 อย่างไรก็ตาม มบี างแหง่ ที่มีข้อกังวลในเรื่องความเสีย่ งท่เี ก่ียวข้องกบั การจดั สง่ หรือการใช้ตูค้ นื หนังสอื แบบปิด ไม่ ว่าในสถานการณ์ใด ๆ กต็ าม การคุ้มครองความเส่ียงท่ีมตี อ่ สขุ ภาพของผปู้ ฏบิ ัติงาน อาสาสมัคร และผูใ้ ชเ้ ป็นเร่ือง ท่ีสำคญั [รปู ภาพ] โควดิ -19 และห้องสมุด: ผ้หู ญิงกำลงั เขียน การใหบ้ ริการทางไกล ห้องสมดุ ทุกประเภททว่ั โลกกำลังทำงานอย่างหนกั เพื่อให้บริการการเข้าถึงคอลเลกชันและจดั บรกิ ารทางไกล หอ้ งสมดุ ทุกประเภทส่งเสรมิ บริการดิจิทัลของตน ยกตัวอยา่ งเช่น หอสมุดแหง่ ชาติฝรงั่ เศส (Bibliothèque nationale de France) จดั แสดงนิทรรศการแบบเสมอื น หอสมดุ แหง่ ชาตสิ เปนนำเสนอเนอื้ หาดจิ ิทัลทชี่ ่วย สนบั สนุนการศึกษา หอสมุดแห่งชาตโิ มรอ๊ กโกเปดิ ใหใ้ ช้หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสฟ์ รี และหอ้ งสมดุ ประชาชนแหง่ เมือง ออร์ฮูส ประเทศเดนมาร์ก ได้นำเนอ้ื หาดิจิทัลขึน้ แสดงบนหน้าแรกของเวบ็ ไซต์ ในขณะที่ห้องสมุดกรานบใี นรัฐควิ เบก ประเทศแคนาดานำเสนอเนื้อหาทเี่ น้นการเรียนรู้ทกั ษะใหม่ ๆ หอ้ งสมุดประชาชนแห่งนิวยอร์กจดั กิจกรรม ชมรมหนังสอื ออนไลน์ดว้ ยการพัฒนาแอปพลเิ คชัน SimplyE ห้องสมดุ อเล็กซานเดรยี ในอยี ิปต์ก็มีกจิ กรรมใน ลกั ษณะเดียวกนั ในการเตรียมการสำหรบั วันหนังสอื และลขิ สิทธิ์โลกเม่ือวันที่ 23 เมษายน มีการจัดแคมเปญจน์ #LetsReadTogether เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหค้ นทงั้ ประเทศอ่านหนังสอื ออนไลน์มากขนึ้ ท่ัวประเทศมาเลเซยี หอ้ งสมุดประชาชนไคเบร่าและนากรู ูในประเทศเคนย่า โดยความร่วมมอื กบั โครงการ Public Library Innovation Programme ของ EIFL (EIFL-PLIP) ไดส้ นับสนุนการสรา้ งและเผยแพร่เน้ือหาในภาษาท้องถิน่ ในหัวข้อที่เกยี่ วกับ โควิด-19 ผ่านสื่อสงั คม นอกจากนยี้ ังมีการแบง่ ปนั บทแนะนำหนังสอื อีกด้วย ในขณะที่องค์กร Ghana Library Authority (เป็นหนงึ่ ในพนั ธมิตรของโครงการ EIFL-PLIP) ก็กำลงั ส่งเสรมิ การเข้าถงึ เน้ือหาดจิ ิทัลไปพร้อมกบั สารสนเทศทางดา้ นสุขภาพที่สำคัญดว้ ยเชน่ กัน ห้องสมดุ ประชาชนโกทาในประเทศอินเดียก็เพ่ิมการใหบ้ ริการ ออนไลน์เช่นกนั มีการสง่ เสรมิ บริการบำบัดด้วยหนงั สอื (bibliotherapy) เพ่อื ช่วยผู้ใชใ้ นช่วงวกิ ฤตและได้รบั การ กล่าวถึงในส่อื ทอ้ งถนิ่ ห้องสมุดโรงเรยี นหลายแห่งกำลังทำงานอย่างหนักในการให้บริการทรพั ยากรในรูปแบบท่ชี ่วยให้ผปู้ กครอง สนับสนุนการเรียนของเดก็ ท่ีบา้ นได้ หอ้ งสมดุ อัลอับบาสโฮล่ไี ชรน์ (Al-Abbas Holy Shrine Library) ในประเทศ อิรักกำลังใหบ้ รกิ ารยืมทางไกลสำหรบั นกั วจิ ัยในการเขา้ ถึงทรัพยากรสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในขณะเดยี วกนั ห้องสมุดทางการแพทยห์ ลายแห่งกำลงั ให้ความสนใจอย่างมากเกี่ยวกับสารสนเทศทจ่ี ะนำมาใหบ้ ริการ ดังเช่น ห้องสมุดขององค์กร Health Agency ในเมืองเซาเปาลู ประเทศบราซลิ

14 หอ้ งสมดุ ประชาชนและห้องสมดุ โรงเรียนหลายแหง่ กำลังสง่ เสรมิ การอ่านหนังสือเล่าเรื่องออนไลน์ เฉพาะเรื่องท่ี สามารถหาทางออกทีเ่ ก่ยี วกับข้อกังวลทางลขิ สิทธไิ์ ด้ ยกตวั อยา่ งเช่น ในประเทศโปรตุเกสมีการจดั ทำช่องบน YouTube โดยเฉพาะ ในขณะทส่ี มาคมห้องสมดุ ในสหราชอาณาจักรอยา่ ง CILIP ได้เปิดให้บริการชนั้ หนงั สอื แหง่ ชาติ (National Shelf Service) ในเมืองเรดวู้ดซติ ้ีของสหรฐั อเมรกิ าและเมืองโมนาซในออสเตรเลีย มีการ จัดบริการอ่านหนังสือเล่าเรื่องสำหรบั ผู้ใช้ภาษาชนกลมุ่ นอ้ ยด้วย อกี หน่ึงตวั อยา่ ง คอื บรรณารกั ษ์คนหน่ึงจาก หอสมดุ แหง่ ชาติโปเซกาในประเทศเซอรเ์ บียใหบ้ รกิ ารการอ่านหนงั สอื เลา่ เร่อื งซึ่งไดร้ ับความสนใจจากสำนกั ขา่ ว ระดบั ประเทศอย่างมาก ความพยายามในการใหบ้ ริการลักษณะเดียวกันในประเทศกรซี ทำให้ห้องสมดุ เข้าถึงผ้ใู ช้ ไดม้ ากข้ึน และยงั สามารถดำเนนิ โครงการทางศิลปะไดด้ ว้ ย ห้องสมุดของมหาวิทยาลยั เอาโตโนมาแห่งเมก็ ซิโก (National Autonomous University) ในประเทศเมก็ ซโิ กจัดให้มีกจิ กรรมสงั สรรค์การอ่านแบบเสมือนเน่ืองในวัน เด็กโลก (ดทู ่นี ่ี และ ที่น)่ี นอกจากนย้ี งั มีความพยายามที่สำคญั ในการเพิ่มการเขา้ ถงึ หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ ยกตัวอย่างเชน่ การเพ่ิมจำนวน หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ใี่ ห้ยืมออกได้ในชว่ งเวลาหนึ่งๆ (ในประเทศเดนมาร์ก) มีการพัฒนาแอปพลเิ คชั่นสำหรบั เน้อื หาท่เี ขา้ ถึงได้ฟรี (ในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์) และการปรับงบประมาณเพื่อใชใ้ นการจัดซื้อเนื้อหาออนไลน์ อย่างไรก็ตาม ไมใ่ ช่วา่ ผใู้ ช้หอ้ งสมดุ ทกุ คนจะคุน้ เคยกบั เครอ่ื งมอื ดจิ ิทลั ห้องสมดุ หลายแห่งในเมืองอุเอสกา ประเทศ สเปนรบั มอื กับปญั หาน้ีด้วยการพฒั นาเครื่องมือในการฝกึ อบรมแบบใหม่สำหรับผใู้ ช้ เพื่อชว่ ยทำใหก้ ารใชบ้ รกิ ารใน รูปแบบนีเ้ ป็นไปไดม้ ากที่สุด บรกิ ารหลักอื่น ๆ เชน่ การให้ความช่วยเหลือประชาชนในการสมคั รรับสิทธปิ ระโยชน์ หรือการหางาน ดูจะย่งิ ทวี ความสำคัญมากขน้ึ เรือ่ ย ๆ ห้องสมดุ หลายแห่งในเขตไมอามเี ดด สหรฐั อเมรกิ าได้จัดเตรียมแบบฟอร์มสำหรับ ประชาชนทีต่ อ้ งการจะสมัครรับความชว่ ยเหลอื ในกรณีที่ตกงาน ในขณะท่หี ้องสมดุ ในเขตฮลิ สโ์ บโร (ใน สหรัฐอเมรกิ าเช่นกัน) ไดใ้ หบ้ รกิ ารในลักษณะเดียวกนั และยังอาจจะมบี ริการจดั ส่งเช่นเดียวกันกับบริการไดรฟ์ ทรู ด้วยเช่นกนั ห้องสมดุ ประชาชนลวิ าเดยี ในประเทศกรีซไดใ้ ห้บริการสนับสนุนการคน้ หางานทางออนไลน์โดยไม่คดิ ค่าใชจ้ ่าย เพ่ือชว่ ยให้ผูใ้ ช้ได้รับบรกิ ารเช่นเดิมถึงแม้จะมีข้อจำกดั จากมาตรการปิดพนื้ ท่ี ความพยายามแบบด้ังเดิมของห้องสมดุ ในการพัฒนาคอลเลกชันหนังสือและทรพั ยากรตา่ ง ๆ ในเร่อื งทีเ่ ก่ียวข้อง ยงั คงดำเนนิ ต่อไป โดยเนน้ ไปทีก่ ารจดั การความเครียดและความกงั วล รวมไปถึงการส่งเสรมิ สุขภาพจิตเชิงบวก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงที่หอสมดุ แพทย์แหง่ ชาติอเมริกนั ห้องสมุดในเมืองเฮลซงิ บอรย์ ประเทศสวีเดน ได้เชิญ ผู้เชยี่ วชาญดา้ นสาธารณสุขมาใหค้ วามรกู้ บั ผูใ้ ช้

15 หอ้ งสมดุ ในพ้นื ท่ีอื่น ๆ ไดจ้ ัดกิจกรรมเดมิ ในรูปแบบออนไลน์ รวมไปถึงการคดิ คน้ กจิ กรรมใหม่ ๆ ยกตวั อยา่ งเชน่ หอสมดุ รฐั สภาอเมริกัน ไดจ้ ดั กิจกรรมถอดข้อความมาราธอนแบบเสมือน (virtual transcribathon) เพ่ือสรา้ ง การมสี ่วนรว่ มของประชาชนแม้มีการเวน้ ระยะห่าง ในขณะทหี่ อสมดุ แห่งชาตนิ อร์เวย์ สนับสนนุ ผูใ้ ชใ้ ห้เขา้ ถงึ พอด คาสต์ในขณะที่ยังไมส่ ามารถจัดกจิ กรรมแบบตวั ต่อตวั ได้ หอสมดุ แห่งชาตเิ นเธอร์แลนด์ร่วมมือกับองคก์ รผูเ้ ขยี นใน การจัดบรกิ ารผ้แู ต่งบนหนา้ จอ นอกจากน้ยี ังมีโครงการท่ีระดมความรว่ มมือสาธารณะแบบคลาวด์ซอรส์ ซง่ิ (crowd-sourcing) จำนวนมากอยบู่ นนติ ยสาร Library Journal ห้องสมดุ ประชาชนเวกาลาคาโมชาในประเทศสเปนจัดกิจกรรมแข่งขนั ในรูปแบบยิมคาน่าท่ีมีธมี งานเกี่ยวกบั หนงั สือ เพื่อชว่ ยให้เดก็ ๆ ได้อา่ นหนงั สอื และชว่ ยผปู้ กครองในการสรา้ งความบันเทงิ ใหแ้ ก่เด็ก หอ้ งสมดุ ประชาชน เมอื งอาร์ลงิ ตนั ในสหรัฐอเมรกิ ากำลังทำงานกับเด็ก ๆ และศิลปนิ ในเมืองเพ่ือสร้างกจิ กรรม ‘quanranzines’ (คอล เลกชนั่ งานสรา้ งสรรคท์ ีบ่ ันทึกเรือ่ งราวเกย่ี วกับการกักตัว) บรรณารักษใ์ นเมอื งปเี ตอรท์ าวนช์ ปิ รฐั เพนซลิ วาเนยี สร้างห้องหลบหนดี ิจิทัลทมี่ ธี ีมเกีย่ วกับแฮรพี่ อตเตอร์ ห้องสมุดประชาชนเมืองออร์ฮสู จัดกิจกรรมตอบคำถาม เก่ยี วกบั เพลง การประกวดผลงานเขยี น ไปพร้อมกับการแต่งคำประพันธ์ออนไลน์ การให้ความช่วยเหลือในการทำ การบ้านออนไลน์ และการโต้วาทสี าธารณะออนไลน์ ห้องสมุดในโปรตุเกสก็มคี วามพยายามในลักษณะใกลเ้ คยี งกัน ในขณะที่ห้องสมดุ ในหมู่เกาะออร์กนีย์ ประเทศสก๊อตแลนด์จัดกจิ กรรมการประกวดตอ่ เลโก้ และท่ีห้องสมดุ ทเี อสส เตตเซน็ ทรัล (TS State Central Library) ในเมอื งจัณฑีครห์ ประเทศอินเดยี ไม่เพียงแต่มีชดุ รายการกจิ กรรมการ แขง่ ขันสำหรบั ผู้ใชเ้ ท่านัน้ แต่ยังมกี ารแบ่งปนั บทวิจารณืหนังสือและสารสนเทศอื่น ๆ บนส่อื สงั คมด้วย ในขณะท่ี หอ้ งสมุดตา่ ง ๆ ในเมืองซอลต์เลกซติ กี ำลังพัฒนาข้อแนะนำในการมีสว่ นร่วมกบั ชมุ ชนในวงกวา้ งในช่วงท่ีมีการปิด พน้ื ท่ี ห้องสมุดประชาชนบางแห่งได้พัฒนาวธิ ีการใหม่ ๆ ในการติดตอ่ กับบรรณารกั ษ์ทางไกลด้วย หอ้ งสมดุ ในเดนมาร์ก จดั บรกิ ารอา้ งอิงตอบคำถามจากบรรณารกั ษ์ออนไลน์ และหอ้ งสมุดในเมืองออร์ฮูสมีบริการอ้างองิ เฉพาะเด็ก หอ้ งสมดุ เฮลซิงบอรย์ในสวเี ดนเพมิ่ ฟงั กช์ นั่ แชทบนหน้าเวบ็ ไซต์เป็นคร้ังแรก ในทำนองเดยี วกัน ห้องสมุดสถาบนั อดุ มศึกษาหลายแหง่ มีความพยายามทจ่ี ะจดั ให้มีการเขา้ ถึงทางไกล ยกตวั อย่างเชน่ บริการขอยืมหนังสือออนไลน์ที่มหาวิทยาลัยอีสต์เวสต์ในบงั คลาเทศ การตดิ ตอ่ สื่อสารผา่ น ช่องทางดจิ ิทัลทห่ี ้องสมุดมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรแ์ ห่งโคลัมเบียและมหาวทิ ยาลัยเบรากรซุ ในประเทศเม็กซโิ ก หรอื มหาวิทยาลัยโรดส์ในแอฟรกิ าใต้จัดชวั่ โมงทส่ี ามารถติดต่อห้องสมุดได้ ห้องสมดุ ที่มหาวิทยาลัยมาลายากำลัง พัฒนาเครื่องมือในการชว่ ยคน้ หาทรพั ยากรและการค้นคนื หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ออนไลน์เกยี่ วกบั การระบาดของ

16 ไวรัสโควดิ -19 และเตรียมการจดั ทำโปสเตอร์เพื่ออธิบายการทำงานของเครื่องมอื เหล่านี้ ในขณะท่ีห้องสมดุ มหาวิทยาลยั อบั กู ปาปาเซยี ในประเทศอาร์เมเนยี ได้เพิ่มโอกาสในการติดต่อบรรณารักษ์ทางไกล เครือข่าย ห้องสมุดมหาวทิ ยาลัยอานาโตเลีย (ANKOS) ได้เน้นให้มีการแลกเปลี่ยนทรพั ยากรระหว่างหอ้ งสมดุ สมาชิกผา่ นเวบ็ ทา่ เดียวกนั เพ่ือเร่งใหเ้ กดิ การเข้าถงึ ทรพั ยากรเพื่อการวิจยั หอ้ งสมุดสถาบนั อดุ มศกึ ษาทั่วโลก ยกตวั อย่างเชน่ มหาวิทยาลัยอีสตเ์ วสต์ในบังคลาเทศกำลังรวบรวมสารสนเทศเก่ยี วกับแหลง่ ข้อมูลทส่ี ามารถเข้าถึงได้ฟรี ห้องสมุดบางแหง่ กำลงั หาวิธีการในการชว่ ยผทู้ อี่ าจจะใชท้ ่ียังไม่ได้สมคั รสมาชิก และยังไม่สามารถเดินทางมา ลงทะเบยี น ยกตวั อย่างเชน่ หอสมุดแห่งชาตเิ อสโตเนีย หาวิธีใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถึงหนงั สือได้โดยไม่ จำเป็นต้องเดนิ ทางมาตดิ ต่อ เชน่ เดยี วกบั ห้องสมดุ ประชาชนภายใต้การดูแลของกระทรวงวัฒนธรรมของตุรกี ในขณะที่หอสมดุ แหง่ ชาตโิ มร๊อกโกยงั คงให้บริการจารกึ ออนไลน์ ห้องสมดุ ตา่ ง ๆ ในออสเตรียและโครเอเชยี ได้ ขยายขอบเขตการเขา้ ถงึ การยืมทรัพยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกส์ใหแ้ กป่ ระชากรทัง้ หมด ในขณะทีห่ ้องสมดุ ใน อหิ รา่ นตกลงรว่ มกนั ทจี่ ะยอมรับทจ่ี ะใหบ้ ริการสมาชิกจากหอ้ งสมดุ อน่ื เพื่ออนญุ าตให้ประชาชนสามารถใช้ห้องสมุด ทใ่ี กลท้ ี่สดุ ได้ องค์กร Cultuurconnect ในเบลเยยี่ มร่วมมือกับห้องสมุดหลายแห่ง เปิดใหบ้ ริการเนอื้ หาใหผ้ ู้ใชท้ ่ียงั ไมล่ งทะเบียน เช่นเดียวกับองค์กร Booklist ในสหรฐั อเมริกาทเี่ ปิดใหเ้ ข้าถึงบทวจิ ารณ์หนงั สอื และทรัพยากรอน่ื ๆ ขององค์กร ในหลาย ๆ ประเทศ การให้บริการอินเทอร์เน็ต WiFi โดยไม่มคี ่าใชจ้ ่าย ถือวา่ เปน็ สว่ นสำคญั ของการให้บริการของ ห้องสมุด ในสหรัฐอเมริกา มีเสียงเรยี กรอ้ งให้ห้องสมดุ เปดิ เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ตไว้เพื่อให้ผใู้ ชเ้ ข้าถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ได้ จากรถยนต์ของเขาหากจำเป็น ห้องสมุดอ่นื กำลงั ใหบ้ ริการโปรแกรม Zoom เพื่อชว่ ยใหผ้ ใู้ ชห้ ้องสมดุ ตดิ ต่อกับ เพอื่ น ๆ ได้ บทบาทของห้องสมุดในฐานะผูร้ ักษาหลักฐานเชิงประวตั ิเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ได้ชดั ข้อเขยี นจาก Ithaka S+R มกี าร แนะนำโครงการตา่ ง ๆ ทร่ี วบรวมและสงวนรกั ษาทรัพยากรสารสนเทศทเ่ี กย่ี วกับการแพร่ระบาด ในขณะท่ี เครอื ข่ายสงวนรกั ษาอนิ เทอร์เนต็ นานาชาติ (International Internet Preservation Consortium) กำลงั พิจารณาการประสานความร่วมมอื ในการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ นอกจากน้ีมหาวิทยาลยั โคลมั เบีย (สหรฐั อเมริกา) และหอสมดุ แห่งชาติสเปนรเิ รมิ่ โครงการจดหมายเหตุ ในขณะท่ีห้องสมุดคงิ พอรต์ ในรัฐเทนเนสซี ห้องสมดุ เขตสปรงิ ค์ฟลิ ด์ในรฐั อลิ ลินอยด์ สหรฐั อเมริกา และหอ้ งสมุดรฐั วิคตอเรยี ประเทศออสเตรเลีย เชญิ ชวนให้ สมาชิกในชมุ ชนแบง่ ปันเร่ืองราวของตนเกย่ี วกบั โควิด-19 ห้องสมุดหลายแห่งในเมืองอุเอสกา ประเทศสเปน สนับสนนุ ให้เด็กเขยี นเรื่องราวเก่ียวกับประสบการณ์ของตน ซึง่ ชว่ ยใหเ้ ดก็ จดั การกับความรู้สึกกดดนั ไปในตวั ดว้ ย

17 ในทา้ ยทส่ี ุด บริการสนบั สนุนการวจิ ัยของห้องสมดุ ต่าง ๆ ในยงั คงดำเนนิ ต่อไป เชน่ ภาควชิ าสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั คูเวตเป็นผู้นำในการดำเนินโครงการวิจัยที่ศึกษาการแพร่กระจายของสารสนเทศบนสือ่ สงั คมเก่ียวกับ โควดิ -19 นอกเหนือจากบริการจำนวนมากทน่ี ำเสนอมาแลว้ นนั้ หอ้ งสมุดในหลายประเทศยังทำงานร่วมกับหนังสอื พิมพ์ สถานีวทิ ยุ และสือ่ ต่าง ๆ ในการสร้างการตระหนักรอู้ ีกดว้ ย กิจกรรมและบรกิ ารบางอยา่ งอาจไม่ดำเนนิ การได้ ยกตวั อย่างเช่น เจา้ หนา้ ทีไ่ มส่ ามารถเดินทางไปท่ที ำงานเพ่ือ ดำเนินกจิ กรรมทางดา้ นการสงวนรกั ษาได้ ในการรบั มือกบั สถานการณ์ดังกล่าว สถาบนั อนุรกั ษ์ทรพั ยากรทาง วฒั นธรรมของออสเตรเลีย (Australian Institute for the Conservation of Cultural Material) ได้จดั เตรยี ม เอกสารข้อแนะนำเชน่ เดียวกันกบั สมาคมหอ้ งสมุดดา้ นมรดกวัฒนธรรมของฝรัง่ เศส ทรัพยากรที่ให้บรกิ าร ห้องสมดุ หลายแหง่ พบวา่ ความสนใจในการใช้งานทรพั ยากรดจิ ทิ ัลเพม่ิ ขน้ึ อย่างมาก (ยกตวั อย่างเชน่ ในอังกฤษ) ซึง่ นำไปสหู่ ลายกรณีศกึ ษาทมี่ ีการปรบั เปลี่ยนลำดบั ความสำคัญของทเ่ี นน้ ทรัพยากรทอี่ ยูใ่ นรูปทางกายภาพไปสู่ ทรพั ยากรดิจทิ ลั ยกตัวอย่างเช่น หอ้ งสมุดในประเทศเดนมารก์ อนญุ าตให้ยืมหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในคราวเดยี วกนั ไดม้ ากขนึ้ การสำรวจของรัฐบาลฝรั่งเศสชใี้ ห้เห็นถงึ ความต้องการหนังสือทม่ี ากขน้ึ และนำไปสกู่ ารปรบั งบประมาณ อย่างไรกต็ ามความท้าทายยังติดอยทู่ ี่กลไกการป้องกันทางดิจทิ ลั และการจำกดั จำนวนผู้ยืมพรอ้ มกนั ในแต่ละครั้ง ของสำนักพิมพ์ นอกจากนีห้ ้องสมดุ หลายแหง่ ในนอรเ์ วยท์ ำงานร่วมกันเพื่อลดเวลาและความซับซอ้ นในการทำงาน โดยรวมทรพั ยากรและสารสนเทศให้อยู่บนเวบ็ ไซต์เดยี ว ความรว่ มมอื ในลกั ษณะดังกลา่ วยังเกดิ ในสาธารณรัฐเชก็ ด้วย กระน้ันความเปน็ ไปได้ในการใชท้ รพั ยากรออนไลน์ยังข้ึนอยู่กับเงอื่ นไขในการเขา้ ถงึ เป็นสำคัญ โชคดที ี่สำนักพิมพ์ และผ้จู ดั จำหนา่ ยหลายรายได้รเิ รม่ิ โครงการให้ความช่วยเหลือ สำหรบั เนอ้ื หาทางวิชาการ สำนักพิมพ์และผจู้ ดั จำหนา่ ยไดเ้ ปดิ ให้เขา้ ถึงสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับโรควิด-19 ไดอ้ ยา่ งเสรี บางรายช่วยใหเ้ ข้าถึงง่ายข้นึ ด้วยการ อนุญาตให้สามารถเขา้ ส่รู ะบบและเขา้ ถงึ ทรัพยากรไดจ้ ากบริเวณอ่นื ท่ีอยนู่ อกเหนือเครือข่ายทางการ นอกจากนย้ี ังมีความเคล่ือนไหวทีเ่ ปน็ มิตรจากสำนักพิมพ์แสวงหาผลกำไร เชน่ Macmillan และ Penguin Random House ทชี่ ว่ ยให้ห้องสมดุ ประชาชนสามารถจดั ซอ้ื และเขา้ ถึงหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ สท์ เี่ พื่อการยมื ได้ สะดวกยิ่งขึ้น และบรษิ ัท Audible ไดเ้ ปิดใหเ้ ข้าถงึ หนังสือเสยี งหลายร้อยรายการไดด้ ้วย อยา่ งไรกต็ าม การเปิดเสรี ให้กบั ทรัพยากรสารสนเทศทางวิชาการ โดยเฉพาะทรพั ยากรทเ่ี กีย่ วกบั โรควดิ -19 นั้นอาจไม่ใช่เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนโดย

18 สากลท่ัวไปดงั ท่ีมกี ารกล่าวอ้าง ดหู ัวข้อ หน่วยงานพันธมิตรของห้องสมุด ดา้ นล่างสำหรบั ข้อมูลเพ่ิมเติม โดยเฉพาะ ในสาขาวชิ าที่เกยี่ วกับห้องสมุด นอกเหนือจากตัวอย่างท่ีได้กลา่ งถงึ ในหวั ข้อ สมาคมวิชาชพี ด้านลา่ งแล้ว สถาบนั ENSSIB ในฝร่งั เศสได้เปดิ ใหเ้ ขา้ ถงึ ทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างเสรี ผู้ให้บรกิ ารสารสนเทศรายอื่น เช่น Internet Archive ได้นำทรพั ยากรสารสนเทศจำนวนมหาศาลให้บรกิ ารโดยมี ขอ้ จำกดั ในการเข้าถงึ บางประการ เพื่อสนบั สนนุ นักเรยี น นักศกึ ษา นกั วจิ ัย และบุคคลอ่ืน ๆ ในการเข้าถึง สารสนเทศในชว่ งเวลาท่ียากลำบากเช่นนี้ องค์กรความร่วมมอื เฮธทิ รสั ต์ (Hathi Trust) ก็อนุญาตให้ห้องสมดุ ต่าง ๆ ยมื สำเนาดิจิทัลของหนงั สอื ทหี่ อ้ งสมดุ สมาชกิ ครอบครองตวั เลม่ ฉบบั พมิ พ์ไปใช้งานได้ ถงึ แมว้ า่ จะยังไมส่ ามารถ ทำได้ทวั่ โลกเน่ืองจากกฎหมายลิขสทิ ธิ์ นอกจากนี้ ยงั มแี หลง่ ทรพั ยากรอีกเป็นจำนวนมากที่เปดิ ให้เข้าถงึ ทรพั ยากรทางการศึกษาได้ฟรี ตัวอย่างท่ี นา่ สนใจ คือ เวบ็ ไซต์ Open Education Resources (OER) Commons ซง่ึ เปดิ ให้สามารถเขา้ ถึงทรัพยากรที่ รวบรวมและดูแลจากทีมบรรณารักษ์ แผนกการศกึ ษาขององค์การยูเนสโกไดร้ วบรวมลิงกข์ องทรัพยากรสารสนเทศ ทางการศึกษาทเี่ ปน็ ประโยชน์ นอกจากน้ีในเว็บเพจจดหมายเหตุของยูเนสโกยังมีคอลเลกชนั การบันทกึ เสยี งจาก อดตี ดว้ ย อีกทง้ั หอสมุดแหง่ ชาตอิ นิ เดยี ยังได้พฒั นาเคร่ืองมือค้นหาสำหรับทรัพยากรสารสนเทศแบบเปดิ สำหรบั นกั วจิ ยั เด็กและวยั รนุ่ อีกด้วย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง มีทรัพยากรสำหรบั การสอนในเร่ืองความฉลาดร้ทู างส่ือและสารสนเทศในรูปออนไลนจ์ ำนวน มาก ซงึ่ นี่คอื ความเช่ียวชาญดง้ั เดิมท่เี ขม้ แขง็ ของห้องสมุดและเป็นทักษะทจ่ี ำเป็นอย่างยงิ่ ในสถานการณ์ปจั จบุ ัน อีกตวั อย่างหนึง่ คือ บทเรยี นออนไลน์เสรีขนาดใหญ่ (MOOC) ท่อี ย่บู นแพลตฟอร์ม Commonwealth of Learning ห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษาหลายแหง่ ได้เพิ่มบริการฝึกอบรมเกย่ี วกับความฉลาดรู้ทางสารสนเทศเพ่ือ ชว่ ยใหน้ กั ศึกษาสามารถศกึ ษาค้นควา้ ออนไลน์ได้ ห้องสมุดในรัฐฮาวาย เชน่ เดียวกบั เมืองเลฟิ แลนด์ รัฐโคโลราโด และเมืองอืน่ ๆ ในสหรัฐอเมริกาก็กำลงั ใหบ้ ริการบทเรยี นออนไลนห์ ลายรายการในเรอ่ื งความฉลาดรู้ทาง สารสนเทศทเ่ี กีย่ วข้องกบั การแพร่ระบาด ในขณะทีส่ ถาบนั การวิจยั ดา้ นหอ้ งสมดุ และสารสนเทศของมหาวทิ ยาลัย เอาโตโนมาแห่งเม็กซโิ กกำลงั จัดชดุ รายการสัมมนาบนเว็บเกีย่ วกบั ข้อมูลอนั เป็นเทจ็ ความท่วมทน้ ของสารสนเทศ การเขา้ ถึงข้อมูลอย่างเสรี และโควดิ -19 (ดูที่นี่ และท่ีนี่) และกำลังจดั ทำรายการทรัพยากรท่สี ามารถเข้าถงึ อย่าง เสรีเกยี่ วกับหวั ขอ้ ดังกล่าว นอกจากน้นั มหาวทิ ยาลยั อีสตเ์ วสต์ของบังคลาเทศไดเ้ ข้าร่วมในกิจกรรมในหวั ข้อ เดยี วกันนี้ด้วย

19 แมก้ ระนน้ั ประเด็นสำคญั ยงั อยู่ทก่ี ารทผี่ ู้ถือครองลขิ สทิ ธท์ิ ้ังหมดดำเนนิ การช่วยใหส้ ามารถเขา้ ถึงสารสนเทศเพือ่ การวิจัย การศึกษา และวฒั นธรรมสามารถดำเนินต่อไปได้อย่างดีทส่ี ุด ยกตัวอย่างเชน่ ในประเทศบราซลิ แนว ทางการดำเนินงานของผู้ถือครองลขิ สทิ ธ์ริ วมถึงการขาดกฎหมายลขิ สทิ ธ์ทิ ีเ่ หมาะสมส่งผลใหห้ อ้ งสมดุ ไมส่ ามารถ ใหบ้ รกิ ารแพลตฟอร์มหนังสือดจิ ิทัลได้ เวน้ เสียแต่เป็นหนังสือที่เป็นสมบตั ิสาธารณะ ในอนิ เดีย มีการเรียกร้องให้ หันมาสนใจกบั ความสามารถในการเขา้ ถึงได้มากขึ้น สมาคมและกลมุ่ ต่าง ๆ รวมไปถงึ ขา่ ยความร่วมมือสากลของเครือขา่ ยห้องสมดุ (International Coalition of Library Consortia) องค์กร LIBER และสมาคมผบู้ ริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยในฝร่ังเศสเสนอให้สำนกั พมิ พ์ อนญุ าตให้เข้าถงึ งานอันมีลขิ สิทธ์ไิ ด้ ในขณะท่ีบรรณารักษ์ในอิตาลหี ลายคนเสนอข้อเรยี กรอ้ งใหม้ ีมาตรการที่ เขม้ แข็งมากขึน้ ในการเปิดใหเ้ ข้าถึง ส่วนบรรณารักษใ์ นสเปนกไ็ ด้ออกมาเน้นย้ำความจำเป็นทีจ่ ะต้องขบั เคล่อื นไปสู่ การเปดิ ให้เข้าถึงอย่างเสรีใหเ้ ร็วย่ิงขนึ้ และองคก์ ร JISC ในสหราชอาณาจกั รได้ออกแนวปฏิบตั พิ นื้ ฐานบางประการ โดยหวงั ว่าสำนักพิมพ์และผ้จู ัดจำหนา่ ยทั้งหลายจะนำไปปฏิบตั ิ IFLA เองกเ็ ปน็ ผนู้ ำในความพยายามทจ่ี ะกระตุน้ ให้ องค์การทรัพยส์ ินทางปัญญาโลกเล็งเห็นวา่ กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญาทส่ี มดุลจะช่วยให้สง่ เสรมิ การเข้าถงึ ได้ อย่างไร สมาคมห้องสมดุ และกลมุ่ ต่าง ๆ ตา่ งกำลังทำงานเพ่ือทำให้เกดิ การเขา้ ถงึ ได้ดีขึน้ สมาคมห้องสมุดและสารสนเทศ แห่งออสเตรเลยี องค์กรไลบราร่ไี อรแ์ ลนด์ (Libraries Ireland) และสมาคมห้องสมดุ และสารสนเทศแหง่ นิวซแี ลนด์ได้เจรจาและตกลงกับสำนักพิมพ์ระดบั ชาตแิ ละผแู้ ต่ง ในการอนญุ าตให้ห้องสมดุ ประชาชนสามารถ นำเสนอบริการอ่านหนังสอื เลา่ เรื่องออนไลน์ไดโ้ ดยไมต่ ้องกังวลกบั การละเมิดลิขสิทธิ์ สำนักพมิ พใ์ นแคนาดาหลาย แหง่ ไดย้ กเว้นค่าบอกรบั ตามคำเรียกรอ้ งของหอ้ งสมุด นอกเหนือจากน้ีในสหรัฐอเมริกา แคนาดา (ครอบคลมุ ทัง้ การใชง้ านที่เป็นธรรมในวงกว้างและการอ่านหนังสือเล่า เรอื่ งออนไลน์) ออสเตรเลยี และสหราชอาณาจักร ได้มีการเสนอข้อแนะนำท่ีเปน็ ประโยชนว์ ่าอะไรเปน็ ส่ิงทีท่ ำได้ และทำไม่ได้ภายใต้กฎหมายลิขสทิ ธิ์ ประเทศฮงั การมี ีการเปลย่ี นแปลงกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เป็นประโยชน์ในการ อนญุ าตให้เข้าถึงทางดิจิทัลได้ ตัวอยา่ งสุดทา้ ย สมาคมห้องสมดุ อเมริกันประสบความสำเร็จในการโต้ย้งเพ่ือใหห้ ้องสมดุ ไดร้ ับการบรรจุไวใ้ นชดุ กระตุ้นเศรษฐกจิ ท่ีประกาศโดยรัฐบาล ทัง้ นเ้ี หตุผลหนง่ึ มาจากการที่ห้องสมดุ จะต้องเผชิญกบั ความจำเป็นในการ ลงทนุ กับเน้ือหาและบริการใหม่ ๆ เพ่ือสนับสนนุ ผูใ้ ช้ดว้ ย นอกจากนี้ ผู้ใหท้ นุ สำหรบั หอ้ งสมดุ บางราย เชน่ IMLS

20 ในสหรัฐอเมรกิ าอนุญาตใหผ้ ู้ได้รบั ทุนได้รบั ความยดื หยนุ่ เป็นพิเศษเทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปได้ในการดำเนินโครงการที่ได้รับ จดั สรรไปแลว้ เนือ่ งจากโควิด-19 การบริหารการทำงานทางไกล เนือ่ งจากทท่ี ำการสำนักงานของห้องสมุดและสมาคมห้องสมดุ ต่าง ๆ ตอ้ งปิดทำการลง ผู้ท่ีทำงานในวงการ ห้องสมุดทั้งหลายตอ้ งเผชิญกับความท้าทายในการบรหิ ารการทำงานทางไกลท่ีมปี ระสิทธิภาพ แน่นอนว่าสถานการณ์ที่ดีทสี่ ุดคอื ความสามารถทจ่ี ะวางแผนล่วงหน้าได้ และทำให้มัน่ ใจไดว้ ่าเจ้าหน้าทีท่ ุกคนจะ ได้รับเคร่ืองมือและการฝกึ อบรมท่ีจำเปน็ สำหรบั การทำงานทบี่ ้านท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั และสามารถ ติดต่อสอ่ื สารกนั ได้อย่างสะดวก เน่ืองจากหลายคนต้องตกอยูใ่ นสถานการณ์เดียวกัน ทำใหม้ ีทรัพยากรทส่ี ามารถ เข้าถงึ ไดบ้ นอินเทอร์เนต็ จำนวนมาก โดยเนือ้ หาสำคญั อยู่ท่ีการตดิ ต่อสอ่ื สารอยู่เป็นประจำและการรักษาสปิริตและ แรงจูงใจทด่ี เี อาไวใ้ หไ้ ด้ ถึงแม้ว่าจะยังไม่มคี วามแน่ชัดว่ามาตรการจะส้นิ สดุ ลงเมื่อไหร่ การมแี ผนการที่พร้อม สำหรับการจดั การกบั ผลกระทบในระยะยาวเปน็ ส่ิงพึงปฏิบัติ สมาคมวิชาชีพบางแห่ง เชน่ ในสหรัฐอเมริกา - ดกู ารสัมมนาทางเวบ็ ในหวั ข้อนโี้ ดยเฉพาะ - หรือในแถบลาตนิ อเมริกา สนับสนนุ ให้มกี ารแบ่งปันแนวความคิดในการทำงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมไปถึงผลสะทอ้ นเก่ยี วกับวธิ กี าร ใหบ้ รกิ ารผใู้ ช้ทด่ี ีทส่ี ุดโดยท่ัวไป องค์กรบลูชีลด์ออสเตรเลีย (Blue Shield Australia) เสนอแนวคิดท่ีเป็นประโยชน์ เกย่ี วกบั การดำเนินกิจกรรมอนุรกั ษอ์ ย่างต่อเนื่องในชว่ งท่ีมีการปดิ พน้ื ที่ ในขณะท่หี ้องสมุดอลั อบั บาสโฮลี่ไชร์นใน อริ ักมีการจัดทำวิดโี อ (ทน่ี ี่ และ ท่ีน)ี่ เพอื่ ชว่ ยให้เจ้าหน้าทเ่ี ข้าใจวิธกี ารทำงานจากบ้านท่ีดีทส่ี ดุ สมาคมห้องสมุดตา่ ง ๆ กก็ ำลังหาวถิ ที างในการท่ีทำงานเพื่อสนบั สนุนสมาชิกต่อไปดว้ ยเช่นกนั สมาคมห้องสมุด ลัตเวยี จดั การประชุมออนไลน์ พรอ้ มทัง้ จัดชุดรายการกจิ กรรมแบบเสมอื นและการรณรงคใ์ นสอ่ื สงั คม สมาคม หอ้ งสมดุ และสารสนเทศนิวซีแลนด์จดั ให้มีบริการเสมือนสำหรบั บรรณารักษ์ เช่นเดียวกนั กบั สมาคมห้องสมุดและ สารสนเทศแห่งออสเตรเลีย ห้องสมดุ อเล็กซานเดรียในอยี ปิ ต์ไดส้ ร้างชดุ รายการวดิ ีโอข้ึนมาเพ่ือให้ผปู้ ฏิบัตงิ าน สารสนเทศได้แลกเปล่ียนประสบการณ์กนั ENSSIB ในฝรงั่ เศสจดั ชุดรายการสมั มนาทางเว็บในหลายประเดน็ ที่เกย่ี วข้องกับผลกระทบของวิกฤตที่มีตอ่ ห้องสมุด (และมีการสรุปเป็นภาษาอังกฤษ) ในขณะที่องค์กร Public Libraries 2030 ในยุโรปกำลงั ทำงานร่วมกับ โรงเรียนบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เซาทแ์ คโลไรนา (สหรฐั อเมรกิ า) ในการแบ่งปัน ทรัพยากรการฝึกอบรมด้วย สมาคมห้องสมดุ เดนมาร์กมกี ารจดั บทเรยี นเกย่ี วกับการคดิ เชิงออกแบบสำหรับ

21 ห้องสมุด และสมาคมหอ้ งสมุดออสเตรยี ปรบั เปล่ยี นบริการพัฒนาวิชาชีพอยา่ งตอ่ เน่ีอง จากรปู แบบตวั ต่อตวั ไปสู่ การเรียนรูอ้ เิ ลก็ ทรอนิกส์ (อีเลริ ์นน่งิ ) หอสมุดแหง่ ชาติอนิ เดยี สนับสนนุ เจ้าหน้าทฝี่ กึ หดั ด้วยการจดั ชุดรายการ สมั มนาบนเว็บอย่างต่อเน่ือง ดูขอ้ มลู เพิ่มเติมทหี่ ัวข้อ สมาคมหอ้ งสมดุ ด้านลา่ ง การปรับเปล่ยี นบทบาทของทรัพยากรตา่ ง ๆ ของห้องสมดุ สำหรบั ห้องสมดุ ที่ปดิ ทำการและความต้องการในการใชบ้ รกิ ารลดลง เจ้าหน้าท่ีห้องสมุดได้เข้าไปมสี ว่ นร่วมในการ ปฏบิ ตั งิ านในบทบาทอื่น ยกตัวอย่างเช่น ในประเทศไอร์แลนด์ เจา้ หนา้ ทห่ี ้องสมุดเข้าไปช่วยสนับสนุนการติดตาม การตดิ ต่อของโรค (ในขณะท่ีบรรณารกั ษ์ในซานฟรานซสิ โกกไ็ ด้อาสาเขา้ ไปช่วยงานนเ้ี ช่นเดยี วกัน) และในเมอื งชี เนตส์ ประเทศเช็กเกยี เจา้ หน้าทไี่ ดป้ ฏิบตั ิงานในหนา้ ที่อ่ืนเปน็ การชวั่ คราว ในขณะเดยี วกนั เจ้าหนา้ ทท่ี หี่ ้องสมุด มหาวทิ ยาลัยทเู ลนได้เจ้าไปมีส่วนร่วมในการใหค้ ำแนะนำทางวิทยาศษสตร์ให้แก่องค์กรอนามัยโลก มีตวั อยา่ งของบรรณารักษ์ที่ย้ายไปช่วยงานทศี่ นู ย์กกั ตวั ต่าง ๆ ท่ัวประเทศองั กฤษ เพื่อทำให้คนท่ีอยูใ่ นกลมุ่ เส่ยี งสงู เหล่าน้สี ามารถติดต่อกบั โลกภายนอกได้ ซ่งึ สถานการณ์เช่นน้เี กดิ ขึ้นในเมอื งโอค๊ แลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์และ เมืองนิวมาร์เกต็ ประเทศแคนาดาเชน่ กัน นอกจากนี้บรรณารกั ษใ์ นที่อน่ื ๆ ยังได้อาสาช่วยในโครงการต่าง ๆ ของ ชุมชน หรอื ชว่ ยในการพฒั นาคณุ ภาพของบทความในวิกพิ เี ดียเกีย่ วกบั กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ยกตวั อย่างเชน่ ในประเทศ เม็กซิโก รายการเปล่ยี นแปลงหนา้ ทก่ี ารทำงานนอกเหนือจากนี้ สามารถดูได้จากเวบ็ ไซต์ Public Libraries News ในรัฐแคนซัสทก่ี ำลังเผชญิ กับสถานการณ์ทีป่ ระชาชนสูญเสียบา้ นเพิม่ มากขน้ึ ห้องสมดุ ได้นำเครือ่ งคอมพิวเตอร์ พกพาและจุดเขา้ ถงึ อินเทอร์เน็ตแบบไวไฟออกใหบ้ ริการแกท่ ่ีพักของคนไร้บา้ น ในขณะทหี่ อ้ งสมดุ ในเมืองโตเลโด รัฐโอไฮโอ ไดม้ อบยานพาหนะเพ่อื นำไปใช้งาน ห้องสมุดในเมอื งเอด็ มอนตัน ประเทศแคนาดามีการบรจิ าค เคร่อื งมือต่าง ๆ หอ้ งสมดุ รชิ แลนด์ รัฐเซาท์แคโลไรนา มกี ารแบง่ ปนั สถานทีที่ตัง้ น้ำยาลา้ งมือ ห้องสมดุ เซาทแ์ พซาดี นา ในรฐั โคโลราโดมกี ารต้งั ห้องนำ้ เคล่ือนทีแ่ ละสถานท่ีล้างมอื ในบริเวณท่ีจอดรถ ห้องสมุดรชิ แลนด์ก็กำลงั นำเสนอทรัพยากรหลกั เพื่อช่วยเหลอื คนท่ีกำลังตกงาน เชน่ เดยี วกนั กบั หอ้ งสมุดประชาชน เมอื งอนิ เดียแนโพลิส ห้องสมุดเขตเซนต์หลยุ ส์มีการแจกอาหารแบบไดร์ฟทรสู ำหรับเดก็ ในขณะท่ีห้องสมดุ ประชาชนเมืองซินซนิ แนติและห้องสมุดประชาชนบางแห่งในเมอื งโทรอนโตกท็ ำหนา้ ทเ่ี ป็นธนาคารอาหาร ห้องสมุดในเมอื งยารร์ าและเมืองโมนาช ออสเตรเลีย กำลังสนับสนนุ การส่งอาหารไปใหแ้ ก่ครอบครัวที่ด้อยโอกาส และคนท่ีประสบปญั หาไร้บา้ น

22 ในขณะที่ห้องสมุดโรงเรยี นในเมอื งโอคลาโฮมาซติ ี้มีการส่งหนังสอื ไปให้เดก็ ๆ หอ้ งสมุดมหาวิทยาลยั เพนซิลเว เนียสเตตแจกคอมพิวเตอร์พกพาและอุปกรณ์อน่ื ๆ ใหแ้ ก่นักศกึ ษาที่ไมส่ ามารถเรียนจากทบ่ี ้านไดห้ ากขาดอปุ กรณ์ เหล่านี้ เช่นเดียวกนั กบั หอ้ งสมดุ ของโรงเรยี นเทคนิคข้นั สูงด้านวิศวกรรมศาสตร์ UPM ในประเทศสเปน พ้ืนทีห่ ้องสมดุ และอุปกรณต์ ่าง ๆ ได้ถูกปรบั เปลีย่ นบทบาทดว้ ยเช่นกัน ห้องสมดุ ในเมอื งซานฟรานซสิ โกถกู ปรบั ให้ เปน็ สถานท่ีรับเล้ยี งเด็กสำหรบั บตุ รของเจ้าหน้าท่ีที่ทำงานสำคัญ ในขณะท่หี ้องสมดุ ลวู ซ์ ัก ในเมืองแองเคอเรจ รัฐ อะแลสกา ถกู ใช้เป็นศูนย์ประสานงานฉกุ เฉิน ในขณะท่ีห้องสมุดในเมืองสโปแคน รฐั ออริกอน กลายเปน็ ท่พี ัก สำหรบั คนไร้บ้าน และพ้ืนท่ีจอดรถของห้องสมดุ ในเมืองซานหลยุ ส์โอบสิ โป รฐั แคลิฟอรเ์ นีย เปดิ ให้ใชเ้ ปน็ พ้ืนท่ี ปลอดภยั สำหรบั คนทตี่ ้องใชช้ ีวติ ในรถ ตู้คนื หนงั สอื ในเมืองโอกแลนด์ รฐั แคลิฟอร์เนียถกู เปล่ยี นใช้เพอื่ รวบรวม หนา้ กากอนามัยท่เี หลือใช้ หอ้ งสมดุ ในเมืองแคนซสั ซติ ี้ก็ใช้เปน็ ศนู ยต์ รวจโรคโควิด-19 ในเทศมณฑลไคลเพดา ประเทศลิทัวเนยี หอสมุดแหง่ ชาติร่วมมือกับโรงเรียนด้านหนุ่ ยนต์ได้นำเคร่ืองพมิ พ์สามมิติ มาใช้ในการพิมพ์ชดุ อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายและอุปกรณ์อื่น ๆ เชน่ ที่จบั ประตู ห้องสมุดต่าง ๆ ในสหรฐั อเมริกา แคนาดา นิวซีแลนด์ ฝรงั่ เศส และโปรตเุ กสกำลงั ดำเนินการในลกั ษณะเดยี วกัน ในขณะที่มหาวิทยาลัยโคลมั เบีย อนุมัตใิ ห้ใครก็ตามท่ีมเี ครื่องพิมพส์ ามมิตินำข้อมูลออกแบบอุปกรณ์เหล่านี้ไปใชช้ ว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื แผนกสงวนรกั ษา ของห้องสมดุ ในอเมรกิ าหลายแห่งได้บรจิ าคอุปกรณท์ ี่มอี ยูเ่ พอ่ื ช่วยเหลือเชน่ เดยี วกัน เจ้าหน้าที่หอ้ งสมุด Valapattanam GP ในอินเดียรวบรวมหน้ากากอนามัยแบบผา้ ท่ีผลิตโดยคนในพนื้ ท่ีเพื่อแจกจา่ ยต่อไป แต่กระนนั้ ก็ไมไ่ ด้หมายความว่าห้องสมดุ จะท้งิ เร่ืองหนังสือไป! การบอกรบั บริการกล่องปรศิ นาของทรัพยากรใน หอ้ งสมดุ รฐั เวสเทิร์นออสเตรเลยี ได้รับความนยิ มอยา่ งล้นหลามภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว และหอ้ งสมุดเมือง แคนซสั ซิต้ีในสหรัฐอเมริกาได้มกี ารนำสง่ ถุงหนังสอื ไปยงั พ้ืนทีท่ ่ีขาดแคลน [รูปภาพ] โควิด-19 และหอ้ งสมุด: ชัน้ หนังสือในห้องสมุด การเปดิ ห้องสมุดอีกครง้ั ความเคลื่อนไหวในการเปิดห้องสมุดอกี ครงั้ ได้รับการบรรจุเป็นวาระมากขนึ้ เรอื่ ย ๆ เม่ือแต่ละประเทศมีการ พจิ ารณาผ่อนคลายมาตรการข้อจำกัดในวงกว้าง ในกรณีของโรงเรยี น หอ้ งสมุดยังคงปดิ ทำการถึงแมว้ ่าจะการเรยี น การสอนจะเร่ิมขึ้นแลว้ อกี คร้ัง (ดงั เชน่ กรณีของเมอื งลือกุมคลอสเตอร์ ประเทศเดนมารก์ ) เปน็ ทแี่ น่นอนวา่ การ ตดั สินใจท่ีจะเปดิ ใหบ้ รกิ ารอีกครง้ั จะขนึ้ อยู่กับการประเมนิ ความเสี่ยงในภาพรวมจากทางการ ขอ้ แนะนำของ สมาคมห้องสมุดญ่ปี นุ่ เสนอแนะใหใ้ ชก้ ระบวนการ 4 ข้นั ตอน ยกตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ความเสยี่ งจากพนื้ ผวิ

23 การติดต่อสื่อสารในระยะใกล้ชิดกับคนอ่ืน วิธกี ารในการใช้บรกิ ารห้องสมุด และข้อมลู เกี่ยวกับระดบั ในการตดิ เชอ้ื โดยท่ัวไปในภูมิภาค ผู้บริหารห้องสมดุ จะมีพื้นท่ใี ห้ตัดสินใจมากหรือน้อยเพยี งใด วา่ จะเปดิ ใหบ้ ริการอีกครั้งนั้น ขน้ึ อย่กู บั แนวทางการ ดำเนนิ งานของแต่ละประเทศ ในกรณีทีห่ ้องสมุดมอี สิ ระในการตดั สนิ ใจ การตดั สินใจท่มี ีขอ้ แนะนำและคำสัง่ ที่ เหมาะสมเปน็ สิง่ ท่สี ำคญั ในประเทศอ่ืนท่ีมกี ารใชเ้ ง่ือนไขท่ีเข้มงวดอย่างในประเทศเนเธอร์แลนด์ (ดลู ิงกด์ า้ นลา่ ง) การเปดิ ทำการอีกครั้งจะกระทำได้ก็ตอ่ เม่อื เป็นไปตามเงื่อนไขมาตรการของหน่วยงานทางการท่ีดูแลห้องสมดุ ที่ หอ้ งสมุดมิดโลเธยี น รฐั อิลลินอยส์ ข้อแนะนำแนวปฏิบัตมิ ีการกำหนดเงื่อนไขทีจ่ ะต้องดำเนนิ การก่อนการ เคล่ือนยา้ ยไปสมู่ าตรการข้นั ต่อไป ในขณะที่ห้องสมดุ โอ๊กปารก์ รัฐอลิ ลินอยส์ ได้กำหนดงานท่ีต้องทำในลักษณะ ใกลเ้ คยี งกนั ตัวอย่างสว่ นใหญ่ทมี่ จี นถึงปจั จุบนั เน้นวธิ กี ารดำเนนิ การเป็นข้ัน ไมว่ า่ จะเปน็ การพัฒนาบริการใหม่ กิจกรรมและ เปิดให้ใช้งานพื้นทห่ี ้องสมุดบางส่วนเม่อื สามารถกระทำได้อย่างปลอดภยั ห้องสมุดบางแห่งก็เช่อื มโยงการยกระดับ มาตรการจากขนั้ หน่ึง ๆ เข้ากับความคบื หนา้ ในการรับมือกับการระบาดในวงกวา้ ง ในขณะทห่ี ้องสมุดบางแห่งจะ ระมัดระวังกับการกำหนดระยะเวลา สมาคมห้องสมุดและสารสนเทศแหง่ ออสเตรเลยี ได้กำหนดไวว้ ่า (ดดู ้านลา่ ง) แนวทางทเ่ี ป็นประโยชนจ์ ะเร่ิมตงั้ แต่การประเมนิ ความเสีย่ ง หลังจากนัน้ พัฒนาแผน และหลงั จากนน้ั จงึ จะสามารถ กำหนดระยะเวลาในการเร่ิมเปดิ ให้บริการต่าง ๆ แตก่ ็อาจจะเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะพบว่าองค์กรพนั ธมติ รต่าง ๆ ยังไม่เปดิ ทำการซึง่ จะมีทำให้มีผลกระทบด้วยเชน่ กัน โดยท่ัวไป วงการห้องสมุดตา่ งออกมาเตือนถึงการเรง่ ให้เปดิ ใหบ้ รกิ ารพ้ืนท่ที างกายภาพอีกครงั้ นอกจากน้ี ดว้ ย ความไม่แนน่ อนของสถานการณ์ เปน็ ไปได้วา่ กฎเกณฑท์ ีเ่ ข้มงวดยงั จำเป็นท่จี ะตอ้ งนำมาใช้ และพงึ ระลกึ ถึงไว้ว่า อาจจะเปน็ ไปได้ที่จะตอ้ งกลับมาปดิ พน้ื ทอ่ี ีกครัง้ (ที่รัฐเวสต์เวอรจ์ เิ นีย แนะนำให้เจา้ หนา้ ท่ียงั คงทำงานจากทบ่ี ้าน สปั ดาหล์ ะหน่งึ วันเพื่อใหเ้ คยชินกับการทำงานทางไกล) ในตอนทา้ ยของหัวข้อนี้ คุณจะพบกับทางเลือกของแผน ตา่ ง ๆ ท่มี กี ารพัฒนาขน้ึ มาแล้ว การจำกดั จำนวนคนในห้องสมดุ ข้นั ตอนหนง่ึ ทีใ่ ช้ในการลดความเส่ยี งคือการลดจำนวนคนที่อย่ใู นหอ้ งสมุดในช่วงเวลาหนงึ่ ๆ ซึ่งจะช่วยให้การ รกั ษาการเวน้ ระยะห่างทางสังคมทำได้ง่ายข้นึ ในมาเก๊า (ประเทศจีน) หอ้ งสมุดประชาชนไดใ้ ชร้ ะบบจองต๋วั เพ่ือ จำกัดจำนวนคนในห้องสมุด ซึ่งเป็นวิธีเดยี วกันกับฮ่องกงในชว่ งของการเปิดใหบ้ รกิ ารอีกครัง้ เมื่อไม่นานมานี้

24 ชว่ งแรกของการเปิดทำการอีกคร้ังของหอสมดุ แห่งชาตเิ ซอรเ์ บียอนุญาตให้มีผู้เขา้ ไปในพื้นทน่ี ัง่ อ่านไดเ้ พยี ง 5 คน เท่านน้ั ระบบหอ้ งสมดุ ในเนเธอแลนด์แนะนำใหว้ างตะกร้าหรอื ถุง (ใชแ้ ทนตัว๋ เข้าห้องสมุดเพอื่ ชว่ ยการจำกดั จำนวนคนท่ี มากทสี่ ดุ ทจี่ ะเข้าใช้หอ้ งสมดุ ได้ - ดลู งิ ก์ด้านล่าง) หอ้ งสมุดอน่ื ๆ ก็มีคำแนะนำวธิ ีการตา่ งทีจ่ ะชว่ ยใหเ้ กิดการตดิ เชอื้ น้อยลง นอกจากนนั้ หอ้ งสมดุ เนเธอรแ์ ลนดเ์ สนอแนะว่า กลุ่มผ้ใู ชไ้ มเ่ กิน 2 คนสามารถเข้าใช้ห้องสมดุ ในชว่ งเวลา เดียวกนั ได้ ห้องสมดุ เอสโตเนยี เสนอแนะใหใ้ ชก้ ฎ 2+2 ซ่งึ หมายถงึ กลมุ่ ผใู้ ชห้ ้องสมดุ ไม่เกิน 2 คน รักษาระยะหา่ ง อย่างน้อย 2 เมตร ถึงแม้วา่ จะไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าจะมีจำนวนผทู้ ีต่ ้องการใชห้ อ้ งสมดุ เท่าใด (ตัง้ แต่ห้องสมดุ ในประเทศ ฟนิ แลนดท์ ีม่ ีจำนวนผู้ทีต่ อ้ งการใชน้ อ้ ยไปจนถงึ หอ้ งสมดุ ในเมอื งชสิ ุโอกะ/นูมาซใุ นประเทศญีป่ ุ่นทมี่ ีการใช้บริการ อย่างทว่ มท้นในระยะเวลาอย่างรวดเรว็ ) ห้องสมุดบางแห่งกำลังพจิ ารณาทางเลือกในการใหผ้ ใู้ ชจ้ องการเข้าใช้ บริการลว่ งหน้าเพื่อจดั การจำนวนคนที่จะเข้ามาในห้องสมุดในช่วงเวลาเดียวกัน แนวปฏบิ ัตนิ ไ้ี ดถ้ ูกนำไปใช้ที่ หอสมดุ แหง่ ชาตเิ ยอรมนั และหอสมุดแหง่ ชาตจิ ีน นอกจากนบ้ี ริการห้องสมุดอ่นื ๆ เช่น การพิมพเ์ อกสาร การ สแกน หรือการสนับสนุนอ่ืน ๆ กส็ ามารถใช้การนดั จองล่วงหนา้ ได้ ดงั ท่ีมกี ารเสนอจากห้องสมุดในรัฐเวสต์ เวอร์จเิ นยี เพ่ือเปิดโอกาสให้คนสามารถเขา้ ใช้ห้องสมุดได้จำนวนมากข้ึน สภาห้องสมุดแห่งสาธารณรัฐเชก็ ได้เสนอแนะ ทางเลอื กใหจ้ ำกัดเวลาการเข้าใช้งานในหอ้ งสมดุ ซ่ึงเปน็ ข้อเสนอทปี่ รากฏในขอ้ แนะนำอื่นดว้ ย ห้องสมุดในฮอ่ งกง (ประเทศจนี ) ก็กำลงั วางแผนที่จะเปิดห้องสมุดเป็นช่วงเวลาช่วงละไมเ่ กิน 1 ชั่วโมง (ตามดว้ ยการพักส้ันๆ) เพื่อ จำกัดการอยใู่ นพน้ื ท่ี หอ้ งสมุดในเมืองเซย่ี งไฮ้กจ็ ำกดั เวลาที่ 1 ชวั่ โมงเชน่ เดียวกัน มีการพจิ ารณาทางเลือกอน่ื ในเมืองชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมรกิ า ยกตัวอย่างเช่น การพจิ ารณาเปดิ ให้บริการนอก เวลาทำการเทา่ ท่จี ะเป็นไปได้ และสงวนบางช่วงเวลาเพอื่ ให้บริการแกผ่ ู้ใช้บางกลุ่มโดยเฉพาะ เชน่ ผ้สู ูงอายุ (แนวความคดิ น้ีกม็ ีการคดิ จะนำไปใช้ที่สาธารณรัฐเช็ก) ข้อแนะนำเป็นทางการของประเทศโปรตุเกสก็ให้ ความสำคญั กบั การชว่ ยเหลอื กลุม่ ดอ้ ยโอกาสเปน็ ลำดบั ต้น ๆ ด้วยเช่นกนั โดยเฉพาะการช่วยเหลอื กล่มุ ท่ไี ม่มี อนิ เทอร์เน็ตทบี่ ้าน ขอ้ แนะนำจากประเทศเบลเยี่ยมให้ความสนใจกับประเด็นทง้ั สองข้อน้ีเช่นกนั ในพน้ื ที่อ่นื หากอาคารห้องสมุดไม่ได้มีการออกแบบเพอื่ รองรับการเวน้ ระยะห่างทางสังคมได้ รัฐบาลเลอื กทีจ่ ะปิด ทำการห้องสมุดจนกว่าความเส่ียงในภาพรวมจะลดลง ยกตัวอย่างเชน่ หอสมุดแห่งชาตเิ นเธอรแ์ ลนด์เปดิ ใหบ้ ริการ กดปุม่ สง่ั และมารับ (click-and-collect) และบริการการทำสำเนาทรัพยากรสารสนเทศทม่ี ีคุณค่า วธิ เี ดียวกันนกี้ ็

25 ได้นำไปใชก้ บั หอ้ งสมุดเคลื่อนที่หรอื หอ้ งสมุดกลางท่ีมีผู้ใชห้ นาแนน่ ดงั ทีป่ รากฏในขอ้ แนะนำของประเทศฝรง่ั เศส และห้องสมดุ ประชาชนเมืองแวนคูเวอร์ ในประเทศเกาหลีใต้ หอ้ งสมดุ บางแหง่ ใช้ต้ฝู ากของตามทต่ี ่าง ๆ เพอ่ื ทำให้ ผู้ใชส้ ามารถเข้าถึงทรัพยากรไดโ้ ดยไม่ตอ้ งมกี ารติดต่อสัมผสั นอกจากน้ียังมีวิธีการอนื่ ๆ ท่ีชว่ ยลดความจำเป็นที่จะต้องเดนิ ทางมาห้องสมุด ยกตัวอยา่ งเชน่ ห้องสมุดในมาเกา๊ (ประเทศจนี ) พยายามทีจ่ ะลดความจำเป็นด้วยการยืดระยะเวลาการยืมออกไปและสนับสนนุ ให้คนใชบ้ รกิ าร ออนไลนใ์ ห้มากทสี่ ุดเท่าที่จะเปน็ ไปได้ (เชน่ เดียวกับห้องสมุดมหาวิทยาลัย) หอ้ งสมดุ ในฮ่องกง (ประเทศจีน) อนญุ าตให้ยืมทรัพยากรต่อได้โดยไมจ่ ำกัดจำนวนครั้งและห้องสมดุ สถาบันอดุ มศึกษาท่ีน่ันกย็ กเลิกค่าปรับ ห้องสมุดอ่ืน ๆ กำลงั วางแผนการให้บริการแบบดิจิทัล อย่างน้อยในช่วงเดือนทีก่ ำลังจะมาถึง เชน่ ห้องสมดุ ใน ประเทศฝรงั่ เศส ยังคงใหบ้ รกิ าร หรือกลับมาใหบ้ ริการส่งหนงั สอื หรือห้องสมุดในเมอื งเจนีวา ประเทศ สวติ เซอร์แลนดก์ ำหนดชว่ งเวลาเฉพาะท่ีผใู้ ช้เดินทางมาห้องสมุดเพื่อรบั หนังสือได้ ปญั หาหลกั ในปจั จบุ ันคือการคำนวณจำนวนผู้ใช้ที่สมควร ห้องสมดุ หลายแห่งพยายามปฏิบตั ติ ามข้อแนะนำสำหรับ ภาคค้าปลีก ถึงแม้วา่ ข้อแนะนำเหล่านั้นจะมีความหลากหลายก็ตาม ต้ังแต่ 20 ตารางเมตรต่อคนในไอรแ์ ลนด์ โปรตเุ กส และสโลวเี นีย 15 ตารางเมตรต่อคนในโปแลนด์และเบลเยี่ยม 10 ตารางเมตรต่อคนในสาธารณรฐั เชก็ และออสเตรเลยี 10 ตารางเมตรต่อคนสำหรบั ผู้ใหญ่และ 5 ตารางเมตรต่อคนสำหรบั เด็กในเนเธอร์แลนด์ และ 4 ตารางเมตรต่อคนในออสเตรเลยี และเอสโตเนยี การจำกัดความหนาแนน่ ของผใู้ ช้ มาตรการอกี ข้ันหน่งึ ท่ีใช้ในหลายพืน้ ทคี่ ือการจำกัดให้เข้าใช้เฉพาะบางสว่ นของห้องสมดุ ถึงแมว้ ่าในทางทฤษฎี หอ้ งสมุดจะมีพ้ืนที่เพียงพอสำหรับการเว้นระยะหา่ งทางสงั คม ประเดน็ ที่สำคญั ประการหนง่ึ คือ การใชพ้ ื้นที่บาง พืน้ ท่ีอาจมีความซบั ซ้อนยงุ่ ยาก ตามข้อแนะนำของสมาคมห้องสมดุ ในฝรั่งเศส ทฮ่ี ่องกงและมาเกา๊ (ประเทศจนี ) เชน่ เดมิ มีการจำกัดพน้ื ท่ีบางสว่ นไมไ่ ดเ้ ข้าใช้ (เช่น พน้ื ทอี่ า่ นหนังสือของเด็ก หอ้ งประชมุ และพน้ื ที่ศึกษาค้นคว้าสว่ นบคุ คล) สภาห้องสมุดสาธารณรัฐเชก็ แนะนำให้จำกัดบรกิ ารเหลือเพยี งการ ยมื เทา่ น้ันก่อนอย่างน้อยเปน็ ลำดับแรก ในขณะเดียวกัน หอ้ งสมุดในเนเธอร์แลนดก์ ำลังวางแผนทจ่ี ะเปิดพืน้ ท่ใี หแ้ ก่ กลุม่ เดก็ แต่เปน็ คนละชว่ งเวลากับทีเ่ ปิดให้ผใู้ ช้กล่มุ อืน่ มาใช้ และให้มจี ุดนดั พบกับผูป้ กครองภายนอก วธิ กี ารอน่ื ในการจำกดั เวลาของคนที่จะอยใู่ กล้ชดิ กันยังรวมไปถงึ การนำเฟอรน์ เิ จอร์ออกจากพ้ืนที่ (เพ่ือทำให้แน่ใจ วา่ ผ้ใู ชจ้ ะนงั่ ห่างกัน) หรือกำหนดเฟอร์นิเจอร์บางชิน้ ท่ีไม่สามารถใชง้ านได้ ดังตัวอย่างในเมอื งไทเป ในประเทศ สวีเดน มกี ารจดั ใหใ้ ช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพียงหนง่ึ เคร่ืองต่อคอมพิวเตอรส์ องเคร่ืองและยังจำกดั จำนวนเวลาในการ

26 ใชด้ ้วยเช่นกัน ห้องสมดุ อนื่ กระจายการจดั วางคอมพิวเตอร์ เชน่ ใช้พนื้ ท่สี ่วนต่าง ๆ ของอาคารในการจดั วาง คอมพวิ เตอร์ท่ีคาดวา่ จะมผี ู้ต้องการใช้งาน (อย่างเช่นทหี่ ้องสมดุ ในเมืองโทพกิ า มลรัฐแคนซัส) หรือสำรองเคร่ือง คอมพิวเตอรส์ ำหรับผใู้ ชท้ ี่ไม่มีอินเทอรเ์ นต็ ท่ีบา้ น (ดังเชน่ หอ้ งสมุดในเบลเย่ียม) วธิ ีอื่น ๆ ไดแ้ ก่ การปิดพื้นท่ใี นการพบปะสังสรรค์ (ตามข้อเสนอแนะในฝรง่ั เศส) มุมกาแฟ (ในออสเตรีย) มมุ เด็ก เลน่ (ทเ่ี นเธอรแ์ ลนด)์ หรือมีการปรับเปลยี่ นพ้ืนทเี่ พอื่ ไมใ่ ห้คนตอ้ งนงั่ หรือยืนหนั หนา้ เขา้ หากัน (ดงั เชน่ ที่ มหาวิทยาลัยมาเก๊า) นอกจากน้ียงั มกี ารใชร้ ะบบเดินทางเดียว (รวมไปถงึ การแยกทางเดินระหว่างเจ้าหน้าทแ่ี ละ ผ้ใู ช้ในโปรตเุ กส) การนำสง่ิ กีดขวางออก และสนับสนุนให้แยกทางเขา้ และทางออกเท่าท่ีจะเปน็ ไปไดด้ ังทปี่ รากฏใน ประเทศเยอรมนี มแี นวทางตา่ ง ๆ ในการเขา้ ถึงหนงั สอื บางแห่งเสนอแนะให้อนญุ าตและแนะนำว่าห้ามทุกคนแตะต้องหนงั สือที่มี ผู้ใช้ต้องการจะยืมอย่างแนน่ อน (ตามทปี่ รากฏในเนเธอร์แลนด)์ แผนการสว่ นใหญ่คือ ปดิ ไม่ให้เขา้ ถึงช้ันหนงั สือ เปน็ อันดบั แรก และอนญุ าตให้เฉพาะบรรณารักษ์เปน็ ผหู้ ยิบทรพั ยากรเท่านนั้ (ดังเช่นหอ้ งสมดุ ในสโลวเี นียและ โปรตเุ กส) [รปู ภาพ] โควิด-19 และห้องสมุด: การทำความสะอาดพน้ื ผิว การสง่ เสรมิ สุขอนามัย ในเรื่องที่เก่ียวข้องกบั การแพร่ระบาดทัง้ หมดน้ี ความสำคัญของการมีมาตรฐานทางสขุ อนามยั ข้ันสงู ถือเป็นประเด็น หลกั เชน่ การทำใหม้ นั่ ใจว่าเจา้ หนา้ ท่ีจะสามารถล้างมือได้บ่อย สามารถเข้าอุปกรณ์ป้องกันอันตราย เช่น ถุงมอื และหนา้ กากอนามัย และมนี ้ำยาลา้ งมือทีบ่ รเิ วณทางเข้า (รวมไปถึงใกลก้ ับอปุ กรณ์ต่าง ๆ เช่น เคร่อื งคอมพวิ เตอร์) โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง การให้เจ้าหนา้ ท่ีลา้ งมือเปน็ ประจำยังเป็นสง่ิ ที่เน้นยำ้ กันอย่างหนกั (ท้ังก่อนและหลงั การสมั ผสั กบั วสั ดุอปุ กรณ)์ รวมไปถึงการมีถงั ขยะสำหรบั ท้งิ กระดาษทิชชูและวัสดอุ นื่ ที่อาจมกี ารปนเปอ้ื นของเชื้อโรคดว้ ย ตามข้อแนะนำในแควน้ แอนดาลูซอิ า หนว่ ยงานอาจจำเป็นตอ้ งเพิ่มจำนวนพนักงานทำความสะอาดหรือขยายเวลา ทำงานพนักงานกล่มุ นีใ้ ห้มากข้นึ หอ้ งสมุดในมาเก๊า (ประเทศจีน) ไดเ้ ข้มงวดกฎระเบยี บให้ผู้ใช้ตอ้ งสวมหน้ากากอนามัยและมีการตรวจวัดอุณหภมู ิท่ี บริเวณทางเขา้ พรอ้ มทง้ั ใหผ้ ้ใู ชก้ รอกแบบฟอรม์ แสดงสถานะทางสุขภาพ (เป็นมาตรการท่ีกำลังพจิ ารณาใน สหรฐั อเมรกิ าเช่นกัน ซงึ่ มาตรการนจ้ี ำเป็นทจ่ี ะตอ้ งคำนงึ ถึงบรรทดั ฐานทางวฒั นธรรมดว้ ย) ผูใ้ ชห้ ้องสมดุ สถาบันอดุ มศกึ ษาหลายแหง่ ในฮอ่ งกง (ประเทศจีน) อาจต้องไดร้ ับการตรวจวัดอุณหภมู ิและจำเปน็ ต้องใสห่ นา้ กาก

27 อนามยั ดว้ ยเช่นกนั สว่ นท่ีอืน่ ขอ้ เสนอแนะจากสมาคมหอ้ งสมดุ ญี่ปุน่ สนบั สนนุ ใหผ้ ใู้ ช้ที่มีอาการป่วยใชบ้ ริการ ทางไกล รวมถึงผทู้ ่ีอาศัยอยู่กับผปู้ ่วยทมี่ อี าการของโรค หรือผทู้ เ่ี พิ่งเดินทางไปยงั บริเวณท่ีมคี วามเส่ยี งสูง หอ้ งสมุดบางแหง่ เพมิ่ ความพยายามในการส่งเสริมการใชง้ านระบบอัตโนมตั ิ เช่น เครือ่ งบริการตนเอง เพ่ือลดการ ติดต่อ หรอื จัดพืน้ ทเ่ี พ่ือเก็บคืนหนังสือโดยไม่มปี ฏิสมั พนั ธแ์ บบตวั ต่อตัว ดงั เชน่ ในออสเตรเลยี หรอื ผ่านบริการ ไดรฟ์ ทรูหรอื การรบั หนงั สอื โดยไมต่ ้องลงจากรถ (ดงั เช่นท่หี ้องสมดุ มหาวิทยาลยั แหง่ ชาตโิ ครเอเชีย) หอ้ งสมุด ประชาชนบลิ เลรกิ า รัฐแมสซาชูเซตส์ไดพ้ ฒั นาแบบปฏิบตั ิในลักษณะเดียวกนั และแบง่ ปันให้กบั ผู้ใชเ้ ช่นเดยี วกันกบั ทหี่ อ้ งสมุดประชาชนสแกปปูส รฐั ออริกอน สำหรับพนื้ ทท่ี ี่ไมส่ ามารถให้บริการแบบข้างตน้ ได้ ห้องสมดุ บางแหง่ มีการตดิ ตั้งฉากก้นั เพื่อปกป้องท้ังผใู้ ชแ้ ละ ผู้ปฏิบัติงานห้องสมดุ และสารสนเทศ นอกจากน้ีเม่ือจำเป็นจะตอ้ งมชี ำระเงินคา่ บริการ มีการแนะนำให้ใชช้ อ่ งทาง การชำระเงนิ ที่ไม่ต้องมีการสัมผสั ดงั เชน่ ในสวติ เซอรแ์ ลนด์ หรือการยกเว้นคา่ ใช้จ่าย เชน่ คา่ พมิ พเ์ อกสาร ไปเลย เจา้ หนา้ ทีใ่ ชป้ ากกาชี้จดุ ในการบอกตำแหน่งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผใู้ ชส้ ามารถใช้งานได้ในเมอื งเฮลซิงบอรย์ ประเทศสวีเดน ในขณะทห่ี ้องสมดุ ในโปรตเุ กสมีข้อแนะนำให้เปิดประตใู หม้ ากทีส่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะมากได้ เพ่ือหลกี เลยี่ ง ความจำเปน็ ในการเปิดประตูในแต่ละคร้ัง ข้ันตอนอน่ื ได้แก่ การปิดใชห้ อ้ งน้ำ (ดงั เชน่ ในสาธารณรฐั เชก็ ) การจำกัดการใช้งานห้องน้ำ รวมไปถงึ การเข้มงวด กับตารางทำความสะอาด การปิดทำการห้องสมุดทง้ั หมดเปน็ ระยะเวลาส้ัน ๆ ตลอดท้งั วนั เพื่อทำความสะอาด (เช่นในมาเกา๊ ประเทศจนี หรือที่ห้องสมดุ มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาติโครเอเชยี ) และการกำหนดตารางทำความสะอาด ทส่ี ม่ำเสมอโดยเฉพาะบนพ้นื ผวิ ท่ีมีการสมั ผสั อย่เู ปน็ ประจำ การตรวจตราพื้นผิวทีม่ ีความเส่ยี งสงู อาจเป็นส่งิ ทเี่ ป็น ประโยชน์ มาตรการดังกล่าวได้นำมาใชท้ หี่ อสมดุ แห่งชาตจิ ีน นอกจากน้หี ้องสมดุ บางแห่งอาจจำเป็นต้องจำกัดการ เขา้ ถึงทรพั ยากรทมี่ ักมีการสมั ผสั อยเู่ ป็นประจำ เชน่ นิตยสารหรอื หนังสือพิมพ์ หรอื ใหเ้ ข้าถงึ ได้เฉพาะผู้ใช้ท่ใี ส่ถุง มอื หรอื หน้ากากอนามัยเทา่ นั้น (ดงั เชน่ หอ้ งสมดุ บางแหง่ ในเอสโตเนีย) และอาจมีความจำเป็นทจี่ ะต้องฝกึ อบรม พนักงานทำความสะอาดเปน็ พิเศษ ตามข้อแนะนำในโปรตุเกส (ดูด้านล่าง) นอกจากนยี้ งั อาจมีความจำเป็นที่จะต้องใหห้ ้องสมุดมีแผนสำหรับการจดั การกับสถานการณเ์ มื่อมีผูแ้ สดงอาการ ไม่ ว่าจะเปน็ ความพร้อมในการเขา้ ถึงหมายเลขโทรศัพทห์ นว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง และการจดั พื้นท่ีท่สี ามารถใช้กักตวั ผู้ ตอ้ งสงสยั วา่ จะตดิ เช้ือตามขอ้ แนะนำในประเทศญ่ปี ุน่ และโปแลนด์ รวมถึงแจง้ ให้ทราบวา่ พ้นื ผิวใดอาจมกี าร ปนเป้อื น

28 ในการใชม้ าตรการทั้งหลายเหล่าน้ี การส่อื สารท่ีชัดเจนกบั ผู้ใชเ้ ป็นสิง่ ทีส่ ำคัญ เพ่ือทำให้มั่นใจได้วา่ ผู้ใชเ้ ข้าใจ กฎระเบยี บตา่ ง ๆ ท่ีวางไว้ สำหรบั ผใู้ ช้ท่ีคาดวา่ จะไม่สามารถเข้าใจกฎระเบยี บเหลา่ นี้ได้ เชน่ ในกลมุ่ เด็กหรือผมู้ ี ความบกพร่องทางสติปัญญา อาจจำเปน็ ทจ่ี ะต้องใชแ้ นวทางในการสือ่ สารทางอ่นื ๆ ดังท่ีกำหนดไว้ในขอ้ แนะนำ จากประเทศฝรัง่ เศส ประเดน็ ทน่ี อกเหนือจากน้ยี ังรวมไปถึงการสรา้ งความเขา้ ใจกับเจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐและผูเ้ ชยี่ วชาญเกี่ยวกบั งานของ หอ้ งสมุด และโดยเฉพาะอย่างยงิ่ การใหเ้ หน็ ว่าห้องสมุดมีการติดตอ่ สมั ผสั มากนอ้ ยเพียงใด เพอ่ื จะได้หลีกเลย่ี งข้อ สนั นิษฐานหรอื คำแนะนำทผ่ี ดิ พลาดดงั ท่ีเกิดขน้ึ มาแลว้ ในสหรัฐอเมริกา การรกั ษาความปลอดภยั แก่เจ้าหน้าท่ี เป็นที่แน่ชดั ว่า การทำให้เจ้าหน้าทีม่ ีสขุ ภาพทแี่ ข็งแรง สมบูรณ์ และรู้สึกสบายทีจ่ ะให้บริการเป็นสงิ่ สำคญั ลำดบั ต้น ๆ ทัง้ น้ีมาตรการดงั กล่าวยังอาจเปน็ ข้อผูกมัดทางกฎหมายด้วย วธิ ีการในการรกั ษาความปลอดภัยนรี้ วมถงึ มาตรการทางสุขอนามัยที่ได้กลา่ วมาแลว้ ข้างต้น (หอสมุดแห่งชาติโปแลนด์เสนอแนะว่า ไม่ควรมีห้องสมดุ ใดเปิดทำ การจนกวา่ บรรณารักษ์จะได้รับการดูแลและเตรยี มความพร้อมอย่างเหมาะสม) รวมไปถงึ การได้รับคำปรึกษาที่ ชดั เจน และคำแนะนำเกยี่ วกับการตัดสินใจและแผนการ ตลอดจนการได้รับการสรุปและเตือนอย่เู ป็นประจำ (ดังมี ตวั อยา่ งในเมืองรอสกลิ ด์ ประเทศเดนมาร์ก) หอสมุดแหง่ ชาติจนี มกี ารติดต่อส่ือสารกบั เจ้าหน้าทอ่ี ยูเ่ ปน็ ประจำ เพื่อตรวจสอบว่ายงั มีสขุ ภาพทแี่ ขง็ แรงและได้รบั การดูแลเป็นอย่างดี ในขณะทหี่ ้องสมดุ ในรฐั เวสต์เวอร์จิเนียให้ ความสำคัญกับสขุ ภาพจติ และการรับมือกับสถานการณ์ในการอยูร่ ่วมกับผูอ้ น่ื อกี ครั้ง การที่ห้องสมดุ เปดิ ทำการอีกครง้ั หลายแหง่ เปดิ เฉพาะเวลาทจี่ ำกัดทุกวัน และอนญุ าตให้เจา้ หนา้ ท่ที ำงานเปน็ กะ ได้ ตามข้อแนะนำจากสภาห้องสมดุ สาธารณรฐั เชก็ รวมถงึ การจำกดั การประชุมและการพักแบบเหลือ่ มเวลา (ดังมี การเสนอแนะในประเทศโปแลนด์) หอ้ งสมุดในเมืองเฮลซิงบอรย์ ประเทศสวีเดนก็มีการกำหนดเวลาเพื่อทำให้ บรรณารกั ษส์ ามารถหลีกเล่ยี งการเดินทางในชว่ งเวลาเรง่ ดว่ น และในประเทศโปรตุเกส กรรมการบริหารห้องสมดุ ไดแ้ นะนำให้บริหารเวลาทำงานเปน็ กะแบบเหลอื่ มกัน ในบางกรณี บรรณารักษ์ไดร้ ับอนุญาตให้เข้าทำงานก่อน หอ้ งสมดุ เปดิ ทำการแก่ประชาชน ดังเช่นกรณศี ึกษาของห้องสมดุ ในเมืองโคโลญจน์ ประเทศเยอรมนี เพือ่ จะทำให้ บรรณารักษส์ ามารถเตรยี มงานที่จำเป็นสำหรับการเปดิ ให้บริการอีกครั้งอยา่ งปลอดภยั และมปี ระสิทธิภาพ ซึง่ เปน็ แนวทางเดียวกนั กับทีห่ อ้ งสมุดมหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาติโครเอเชีย อยา่ งไรก็ตามหอสมดุ แหง่ ชาติจนี รวมไปถึงห้องสมดุ อน่ื ๆ ยังคงสนับสนนุ การทำงานจากทีบ่ า้ นใหม้ ากท่สี ดุ เท่าทจี่ ะ เป็นไปได้ เจา้ หนา้ ทจี่ ะถกู เรยี กใหเ้ ขา้ มาในพื้นทเ่ี ท่าทจี่ ำเป็นเทา่ น้นั และทำงานเปน็ กะเพ่ือลดการตดิ ต่อสมั ผัส และ

29 กำหนดดว้ ยว่าไมใ่ ห้บุคลากรจำนวนมากกว่าร้อยละ 25 เขา้ มาทำงานพร้อมกัน ข้อเสนอแนะในโครเอเชยี กำหนด วา่ หากเปน็ ไปได้ ให้แบ่งการทำงานเป็นสองกะและมีระยะเวลาพักระหว่างกะหนง่ึ ชั่วโมงเพอ่ื ทำความสะอาด ยกตวั อย่างในสวติ เซอร์แลนด์มกี ารเสนอแนะแบบอุดมคติว่า ในทที่ ำงานหนึ่ง ๆ จะมเี จ้าหนา้ ทน่ี ั่งทำงานเพียงหน่ึง คนเทา่ นัน้ ในขณะท่ีเมืองโคโลญจน์ ประเทศเยอรมนี อนุญาตใหม้ ีผู้ปฏบิ ัตงิ านในพ้นื ท่ีไม่เกินสองคน และมกี าร แปลงพ้นื ท่ีใช้งานรว่ มกันใหเ้ ป็นพืน้ ท่ที ำงานเพื่อทำให้มีพนื้ ที่ทำงานมากขน้ึ ห้องสมดุ ในเมืองโคโลญจนย์ งั กำลังหา วิธกี ารที่ทำให้ทีมทำงานสามารถทำงานหา่ งกนั ด้วยการใช้เครื่องมือในการประชมุ ดจิ ทิ ลั ในรฐั เวสเทริ ์นออสเตรเลีย มคี ำแนะนำให้เจา้ หน้าทใี่ ช้งานคอมพิวเตอร์เพยี งเคร่ืองเดียวตลอดระยะเวลาทำงานในกะ ประเทศต่าง ๆ มแี นวทางของตนเองในการวางมาตรการทางสาธารณสขุ ซ่ึงอาจจำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งมีเจา้ หนา้ ที่มา ปฏิบตั ิงาน ถึงแม้วา่ ขอ้ แนะนำโดยท่วั ไปคือไม่ต้องมาปฏบิ ตั ิงานหากพบวา่ มีอาการ ห้องสมุดมหาวิทยาลยั แห่งชาติ ของโครเอเชยี แนะนำว่าเจา้ หน้าทีท่ ุกคนควรวดั อุณหภูมขิ องตนเองทุกเช้า ก่อนเดนิ ทางมาทำงาน อยา่ งไรกต็ าม เปน็ ที่ปรากฏวา่ ในประเทศองั กฤษเปน็ ตน้ ห้องสมดุ หลายแห่งอาจจำเปน็ ต้องปฏิบตั ิงานดว้ ยจำนวน เจา้ หน้าที่ลดลงเปน็ ระยะเวลาหน่งึ เนอื่ งจากเจา้ หน้าท่ีมีภาระต้องดแู ลสมาชกิ ในครอบครัวทปี่ ่วย หรือกักตัวเอง อกี ท้ังเจ้าหน้าท่ีอาสาสมัครกอ็ าจไม่พรอ้ มท่ีจะกลบั มาทำงานเชน่ เดียวกัน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ถ้าเป็นผสู้ ูงอายุหรือมี ปญั หาสุขภาพอย่แู ล้ว จงึ อาจทำใหเ้ กดิ ความลา่ ช้าในการเปิดทำการห้องสมดุ ในบางประเทศ (ในรัฐเวสตเ์ วอร์จเิ นีย ก็มขี ้อแนะนำวา่ การเปิดห้องสมดุ ควรเป็นมาตรการผ่อนคลายลำดบั สดุ ท้าย) ดังนั้นจะเห็นได้วา่ ห้องสมดุ ในหลาย ประเทศเปดิ ทำการด้วยชว่ งเวลาเปิดทำการท่ีสั้นลงและยงั คงหาวธิ กี ารในการส่งเสรมิ สขุ อนามยั ทด่ี ีใหแ้ กเ่ จ้าหน้าที่ ในกรณีอนื่ ๆ ดังที่ได้กลา่ วมาแลว้ ในแคว้นแอนดาลูซดิ า ประเทศสเปน ห้องสมดุ ไม่สามารถเปดิ ทำการไดเ้ พยี ง เพราะไม่มเี จ้าหนา้ ท่เี พยี งพอทจ่ี ะเปิดทำการไดอ้ ย่างปลอดภยั นอกจากน้ยี ังมีประเด็นคำถามเก่ียวกบั โอกาสในการติดเชอื้ ผ่านระบบปรบั อากาศ องคก์ ารอนามัยโลกระบุว่า อาจ เปน็ ไปได้วา่ การตดิ เชอ้ื ผ่านระบบปรบั อากาศเปน็ การคุกคามอีกดา้ นหนงึ่ ประเด็นนี้ไดร้ ับการสนบั สนนุ ใน ขอ้ แนะนำของประเทศฝรัง่ เศสและอิตาลี ถึงแมว้ ่าข้อแนะนำของประเทศอติ าลจี ะกล่าวว่าการบำรงุ รกั ษา เครือ่ งปรับอากาศเป็นประจำอาจเป็นประโยชน์ ในขณะทใ่ี นสหรัฐอเมรกิ ามีการแนะนำให้เพิ่มการระบายอากาศ อีกตัวอย่างหน่ึง คือ ข้อแนะนำในโปแลนด์เสนอว่าควรระบายอากาศใหบ้ ่อยที่สดุ เท่าที่จะเปน็ ไปได้ ในขณะท่ี ข้อแนะนำของโปรตเุ กสเสนอวา่ การระบายอากาศเปน็ วิธีการที่เหมาะสมกว่าการใชเ้ คร่อื งปรับอากาศ (และเปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อมมากกวา่ ด้วย!)

30 ในภาพรวม ตามข้อแนะนำในโปรตุเกสระบวุ ่า วิธีการหลักที่จะทำใหเ้ จา้ หน้าทป่ี ลอดภยั คือ การทำใหเ้ จ้าหน้าท่ี ไดร้ ับข้อมูลอยูเ่ สมอ โดยเฉพาะเม่ือมกี ารเปลยี่ นแปลงข้อแนะนำ อีกทง้ั ยังเป็นเป็นวิธที ีช่ ่วยใหผ้ ใู้ ช้เคารพ กฎระเบยี บอีกดว้ ย การดำเนินการกบั ทรัพยากร กรุณาดหู ัวข้อดา้ นบน การสอื่ สารสาธารณะ ในสถานการณ์ท่ีไมแ่ น่นอนเช่นน้ี รวมไปถงึ ความซบั ซ้อนของกระบวนการในการผ่อนคลายมาตรการข้อจำกัดตา่ ง ๆ การวางแผนของห้องสมดุ จึงควรเน้นไปท่ีการส่อื สาร ตามข้อแนะนำที่กำหนดโดยสมาคมหอ้ งสมุดเยอรมัน (ดู ดา้ นลา่ ง) ข้อแนะนำของออสเตรเลยี ต้งั ข้อสังเกตวา่ ห้องสมุดอาจไดร้ ับคำถามจากผู้ใช้ทีไ่ ม่แนใ่ จว่าอะไรทีส่ ามารถ ทำได้หรือทำไมไ่ ดม้ ากกว่าปกติ กฎระเบยี บตา่ ง ๆ ที่กำหนดข้ึนใหม่เป็นสิง่ แรกที่ผใู้ ช้จะต้องเห็นเมือ่ เข้าไปทเี่ วบ็ ไซต์ของระบบห้องสมุดประชาชนใน มาเก๊า (จีน) ในขณะท่ีการให้บรกิ ารท่ยี นื่ ไปสูต่ วั ผใู้ ชเ้ ป็นหวั ขอ้ สำคัญทีป่ รากฎในรายการตรวจสอบ (checklist) ของห้องสมุดหลายแห่งในเยอรมนั หอ้ งสมุดอราพาโฮในสหรฐั อเมรกิ ากำลงั ดำเนินการสำรวจผู้ใช้เพ่อื กำหนดว่า บรกิ ารใดเปน็ บริการที่ผู้ใช้ตอ้ งการ เพ่ือทำใหผ้ ้ใู ชเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในกระบวนการดำเนนิ งาน ดา้ นลา่ งน้เี ปน็ ตัวอยา่ งของแผนการทพ่ี ัฒนาขน้ึ ในแตล่ ะประเทศ ออสเตรเลีย: สมาคมห้องสมุดและสารสนเทศแหง่ ออสเตรเลียจดั ทำรายการตรวจสอบที่เป็นประโยชน์ กำหนด ข้ันตอนต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั การสื่อสาร การเว้นระยะห่างทางสงั คม คำเตือนดา้ นความปลอดภยั การสนับสนุน เจา้ หนา้ ท่ี การสนับสนนุ และการดำเนนิ งานของชมุ ชน ออสเตรยี : สมาคมห้องสมุดไดพ้ ฒั นาข้อแนะนำเก่ียวกบั การเปดิ ทำการห้องสมดุ อีกครงั้ อย่างปลอดภยั โดยรวบรวม จากประสบการณแ์ ละแนวปฏิบัตสิ ากล เบลเย่ยี ม: สมาคมห้องสมุดเขตเฟลมิชสรา้ งเว็บเพจเกย่ี วกับการเปดิ ทำการหอ้ งสมดุ อีกครั้ง โดยพฒั นาจากข้อมูลท่ี เกยี่ วขอ้ งจากหลายแหล่งไปส่กู ารจดั ทำชดุ ข้อแนะนำ (ซงึ่ IFLA กำลงั จะแปลเร็ว ๆ น้)ี

31 โครเอเชยี : ห้องสมุดมหาวิทยาลยั แห่งชาติได้แบ่งปนั ข้อมลู ลา่ สดุ เกยี่ วกบั การจดั การในการเปิดทำการอีกครัง้ ซ่ึง รวมถึงลงิ กค์ ำแนะนำสำหรบั ห้องสมดุ อื่น ๆ (ซ่ึงเรากำลังดำเนินการแปลอย)ู่ IFLA ไดแ้ ปลเอกสารน้พี ร้อมกบั ข้อแนะนำก่อนหน้าท่ใี หค้ ำแนะนำเก่ยี วกบั การดำเนนิ การของหอ้ งสมดุ ในขณะทีย่ ังปดิ ทำการ สาธารณรฐั เช็ก: รฐั บาลออกข้อแนะนำเก่ียวกบั สุขอนามัยในการเปิดทำการหอ้ งสมดุ ในขณะที่สภาห้องสมุดได้ เสนอขอ้ แนะนำเก่ยี วกบั การให้เรม่ิ เปิดให้บรกิ ารโดยทีย่ ังคงรักษาความปลอดภยั ใหแ้ กเ่ จ้าหนา้ ที่ เอสโตเนีย: กระทรวงวฒั นธรรมไดแ้ จกข้อแนะนำ (แปลเป็นภาษาอังกฤษโดย IFLA) เกย่ี วกบั การเปิดทำการพืน้ ที่ หอ้ งสมุดอกี คร้ัง ห้องสมหุ ลายแห่งยังเปดิ ใหบ้ ริการรบั หนังสือโดยไมต่ ้องลงจากรถและบริการสง่ หนงั สอื รวมไปถึง การการรับมือกับสถานการณ์ท่มี เี จ้าหน้าทห่ี รือผูเ้ ย่ยี มชมที่ป่วย ฝร่ังเศส: สมาคมห้องสมุดตา่ ง ๆ ในฝร่งั เศสไดร้ ว่ มกันออกแถลงการณเ์ พ่ือเป็นการเตอื นรัฐบาลเกยี่ วกับการเปดิ ทำ การของห้องสมดุ ก่อนเวลาอนั ควร และจัดทำข้อเสนอแนะ (แปลเปน็ ภาษาอังกฤษโดย IFLA) ว่าบรกิ ารอะไร สามารถดำเนนิ การไดต้ ามระดับมาตรการการผอ่ นคลาย รวมถึงวิธีการลดความเสยี่ ง มีการจดั ทำอินโฟกราฟิกเพ่อื อธบิ ายข้นั ตอนต่าง ๆ เยอรมน:ี สมาคมห้องสมดุ จดั ทำรายการตรวจสอบที่ครอบคลมุ ขัน้ ตอนต่าง ๆ ทีห่ ้องสมุดสามารถดำเนินการได้ใน เรือ่ งสขุ อนามัยสว่ นตวั การจำกัดการติดตอ่ สัมผสั และการรับมอื กับสถานการณ์ท่ีคนจะมาอยใู่ กล้ชดิ กนั มากเกินไป วิธกี ารทปี่ ลอดภยั เมื่อให้บริการ การบรหิ ารจัดการของเจ้าหนา้ ที่ การดำเนนิ การกับทรัพยากร และการส่อื สาร เรา ไดแ้ ปลเอกสารนีเ้ ป็นภาษาองั กฤษแลว้ ดูเพม่ิ เติมจากเวบ็ เพจของสมาคมในหวั ข้อการเปดิ หอ้ งสมุดอกี คร้ัง ใน ขณะเดียวกัน หอสมดุ แห่งชาตเิ ยอรมนีเปดิ ทำการห้องอ่านหนังสอื อีกครงั้ สามารถอา่ นรายละเอียดเพมิ่ เติมเปน็ ภาษาองั กฤษได้ท่นี ี่ ฮอ่ งกง (ประเทศจนี ): สมาคมห้องสมดุ ฮ่องกงไดแ้ บ่งปนั ข้อมูลเกย่ี วกับแผนการเปิดห้องสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษาอกี ครงั้ ขอ้ มูลเก่ียวกับแผนสำหรับห้องสมุดประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้จากเว็บไซตข์ องห้องสมดุ ประชาชนฮ่องกง ฮังการี: สถาบนั ห้องสมุดฮังการีได้จัดทำเอกสารภาพรวมของความพยายามในการเปดิ ทำการอีกครง้ั จากทั่วโลก อหิ รา่ น: สมาพันธ์ห้องสมดุ ประชาชนอิหรา่ นจดั พิมพ์ข้อแนะนำสำหรบั หอ้ งสมุดทีก่ ำลงั จะเรมิ่ เปิดทำการ รวมถึง ขอ้ แนะนำเกยี่ วกับวิธีการทางเลือกในการใหบ้ ริการและดูแลเจา้ หนา้ ท่แี ละผู้ใช้ อติ าลี: สมาคมห้องสมุดอิตาลไี ด้ตีพิมพ์บทความปริทัศนว์ รรณกรรมและข้อแนะนำสำหรบั กฎระเบียบท่ีควรปฏบิ ัติ ตามเมื่อหอ้ งสมุดเปิดทำการอีกคร้ัง

32 ญี่ปุ่น: สมาคมห้องสมุดญี่ปนุ่ ออกประกาศขอ้ แนะนำเก่ียวกับการเปดิ ทำการอกี คร้งั โดยเน้นแนวทางในการ ประเมินความเสี่ยง การรกั ษาความปลอดภยั ของผู้ใช้และเจา้ หนา้ ท่ี บริการ กจิ กรรมและวิธกี ารในการจัดการกรณี ต่าง ๆ ทอี่ าจจะเกิดขน้ึ เมก็ ซิโก: ห้องสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษากลุ่มหนง่ึ จัดทำอินโฟกราฟิกครอบคลุมองคป์ ระกอบหลกั ของการดำเนนิ งาน หอ้ งสมดุ ให้ปลอดภยั ในชว่ งหลังโควิด-19 เนเธอรแ์ ลนด์: มกี ารจัดทำข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน (ครอบคลมุ การยืม การจดั กจิ กรรมกับเดก็ ที่มีอายใุ นชว่ ง ประถมศึกษา การรวมกล่มุ คนทมี่ ีจำนวนไม่เกนิ 10 คน และการใชค้ อมพิวเตอร์ เอกสารแปลโดย IFLA) และ รายการตรวจสอบ (แปลเป็นภาษาอังกฤษโดย IFLA) โปแลนด์: หอสมดุ แห่งชาติโปแลนด์ได้จัดเตรียมขอ้ แนะนำครอบคลุมความปลอดภัยของเจา้ หน้าที่ สขุ อนามยั ใน พืน้ ที่ และวธิ กี ารจัดการกับอาการปว่ ยของเจ้าหนา้ ท่ีและผใู้ ช้ โปรตุเกส: คณะกรรมการอำนวยการดา้ นหนงั สือ จดหมายเหตุ และหอ้ งสมดุ ไดจ้ ดั ทำข้อแนะนำสำหรับหอ้ งสมุด ประชาชนเป็นภาษาโปรตุเกส (แปลโดย IFLA) รวมไปถงึ ข้อเสนอแนะเกย่ี วกบั การจัดเจา้ หน้าท่ี สุขอนามัยและการ ให้บรกิ าร รวมทง้ั แนวทางในการเปิดทำการ 4 ระดบั เซอร์เบีย: หอสมุดแห่งชาติได้เริ่มเปิดทำการอีกคร้ัง และเผยแพร่รายงานเกี่ยวกับข้นั ตอนเร่มิ แรกในการส่งเสรมิ สุขอนามยั และการจำกัดการติดตอ่ สมั ผสั สโลวีเนีย: สถาบันสาธารณสุขแห่งชาติได้ตีพิมพ์แนวปฏบิ ัติสำหรับหอ้ งสมดุ รวมถงึ ข้อแนะนำเก่ียวกบั การเว้น ระยะห่างทางสงั คมและการดำเนนิ การกบั ทรัพยากร (แปลเปน็ ภาษาอังกฤษโดย IFLA) สเปน: ข้อแนะนำอย่างเปน็ ทางการของรัฐบาลกำหนดกฎระเบยี บสำหรับการเปิดทำการอกี ครั้ง รวมไปถึงวิธกี าร ทำความสะอาด สขุ อนามยั และการดำเนินงานโดยท่ัวไป สมาคมบรรณารกั ษแ์ หง่ แคว้นแอนดาลูซดิ าได้จดั ทำแบบ แผนขั้นตอนสำหรับการเปิดทำการหอ้ งสมดุ อีกคร้ัง รวมไปถึงข้อควรพิจารณาสำหรับเจา้ หน้าท่ี พน้ื ทีแ่ ละวสั ดุ สมาคมห้องสมุด หอจดหมายเหตุ และพิพธิ ภณั ฑส์ เปน (FESABID) ได้รวบรวมลิงกข์ องแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ เพื่อชว่ ย ให้หอ้ งสมดุ วางแผนในการเปิดทำการอกี ครั้ง และพฒั นาหลกั 10 ประการสำหรับการเปิดห้องสมดุ อกี ครงั้ โดย พฒั นาร่วมกบั กล่มุ พันธมิตรของห้องสมุด เครือขา่ ยห้องสมุดสถาบันอดุ มศึกษาสเปน (REBIUN) ไดพ้ ัฒนา ขอ้ แนะนำอยา่ งละเอยี ด (เป็นภาษาสเปน) สำหรับการเปดิ ทำการห้องสมุดสถาบนั อุดมศึกษาอกี คร้ัง

33 สวติ เซอร์แลนด:์ สมาคมหอ้ งสมดุ ได้พัฒนาข้อแนะนำพร้อมกบั สารสนเทศโดยท่วั ไปสนับสนุนข้อเสนอแนะทั้งหมด IFLA ไดแ้ ปลเอกสารเหล่าน้ีเป็นภาษาองั กฤษแล้ว สหรฐั อเมริกา: หอ้ งสมุดรฐั นิวเม็กซโิ กได้กำหนดแผนสำหรับข้นั ตอนการเปิดทำการ รวมถงึ ตารางและบล็อกท่ี ครอบคลุมจากรฐั ไอดาโฮท่ีดูว่าการผ่อนปรนข้อจำกัดในห้องสมดุ ระดบั ใดควรมีลักษณะอย่างไร พร้อมทั้งมแี นวคิด ที่เป็นประโยชน์หลายอยา่ ง ห้องสมดุ ประชาชนหลายแห่งในรฐั จอร์เจีย สหรัฐอเมริกาได้ตพี ิมพแ์ ผนตัวอยา่ งสำหรับ ห้องสมดุ ในการตดั สนิ ใจเกีย่ วกับการจัดเจา้ หน้าทแี ละการให้บริการในระดบั ตา่ ง ๆ ในการผอ่ นคลายข้อจำกดั ซึ่ง เปน็ วธิ กี ารเชน่ เดียวกันกบั ที่รัฐเวสต์เวอร์จเิ นียและรฐั อินดแี อนา หอ้ งสมุดแห่งรัฐมอนตานาไดแ้ บง่ ปนั ตัวอย่าง 3 รายการ (ดูท่ีน่ี ท่ีน่ี และท่ีน่ี) ผูป้ ระสานงานหอ้ งสมุดประชาชนในรฐั อะแลสกาได้กำหนดประเด็นในการนำเสนอ เชน่ เดยี วกับภาคีห้องสมดุ รัฐโคโลราโด คณะกรรมการธกิ ารหอ้ งสมดุ รฐั ไอดาโฮไดแ้ บ่งปันตัวอย่างแผนการเปดิ ทำ การอีกครง้ั ของห้องสมุดขนาดต่าง ๆ ซงึ่ อาจเป็นประโยชน์ ความเคลื่อนไหวของสมาคมวชิ าชพี หอสมุดแหง่ ชาติ และพนั ธมิตรของห้องสมดุ สมาคมและหนว่ ยงานทางการทด่ี แู ลงานหอ้ งสมดุ สมาคมห้องสมุดหลายแห่งต่างทำงานกันหนักเพื่อให้ขอ้ มลู แก่สมาชิกและชว่ ยเหลอื สมาชกิ ในเวลาทยี่ ากลำบาก สมาคมหลายแห่งไดจ้ ดั ทำเพจท่รี วบรวมแหลง่ ข้อมูลท่ีนา่ เชือ่ ถอื และข้อแนะนำต่าง ๆ ในระดบั ชาติ รวมถึง คำแนะนำอน่ื ๆ ในระดบั สากลหรือระดบั ภูมภิ าค และสง่ เสริมการตดิ ตอ่ สอื่ สารและการประสานงานกนั ระหวา่ ง ผู้บรหิ ารหอ้ งสมดุ เพ่ือแบ่งปนั ข้อคิดเห็นและแนวปฏิบัตติ า่ ง ๆ สำหรับทอ่ี ่นื ๆ กำลังให้การสนบั สนุนทเี่ ป็น ประโยชน์ในการวางแผน ท้งั การบริหารจดั การเจ้าหนา้ ที่และอาคารสถานท่ี และการพัฒนาบริการออนไลน์ต่าง ๆ ผา่ นรายการตรวจสอบและคอรส์ เรียนตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ดเู พม่ิ เติมได้ท่หี น้าเว็บของสมาคมต่าง ๆ ดงั นี้ ออสเตรเลยี : ห้องสมดุ ออสเตรเลยี ตอบสนองต่อโควดิ -19 สมาคมห้องสมดุ และสารสนเทศแแหง่ ประเทศ ออสเตรเลีย ไดจ้ ัดทำและเผยแพร่ประกาศการพฒั นาวิชาชพี ที่เข้าถงึ ได้ฟรีในช่วงเวลาวิกฤตเชน่ นด้ี ้วย ไดเ้ ผยแพร่ เพจท่รี วบรวมกจิ กรรมอย่างต่อเนอ่ื งระหว่างการระบาด และกำลงั จัดเตรียมทุนช่วยเหลอื สมาคมหอ้ งสมดุ และ สารสนเทศแแห่งประเทศออสเตรเลีย ยงั ได้จัดพิมพ์รายงานเบ้ืองตน้ เกี่ยวกับการรับมอื ของห้องสมุดต่อโควิด-19 สำหรบั การเปดิ ทำการอีกคร้งั สมาคมหอ้ งสมุดและสารสนเทศแห่งประเทศออสเตรเลีย ไดจ้ ัดโฆษณา

34 ประชาสัมพนั ธ์ \"เรากลับมาแลว้ \" เพ่ือกระตุ้นใหผ้ ูใ้ ชแ้ บ่งปันเรื่องราววา่ พวกเขาคิดถึงอะไรในขณะทห่ี ้องสมดุ ปิดทำ การ ออสเตรยี : สมาคมห้องสมุดกำลงั ให้ขอ้ มลู ทีส่ ำคัญแก่ห้องสมดุ ตา่ ง ๆ เกีย่ วกับกระบวนการสำหรับการเปิดทำการ อกี คร้ังอย่างปลอดภยั และการแบง่ ปันข้อแนะนำจากรัฐบาล รวมท้ังไดป้ รับเปลย่ี นรูปแบบกิจกรรมการสอนมาเป็น การเรียนการสอนออนไลน์ เบลเยี่ยม: ห้องสมุดและหอจดหมายเหตุควรปดิ ให้บริการ (ภาษาดัชต์) บราซลิ : องค์กร FEBAB ได้จัดทำเว็บเพจรวบรวมทรัพยากรเกีย่ วกบั โควิด-19 (เปน็ ภาษาโปรตเุ กส) ในขณะท่ี IBICT ไดร้ วบรวมแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ บนเว็บไซต์และเพิ่มเติมข้อมลู เกีย่ วกับโควิด-19 นำเสนอบนแผนท่ีประเทศใน รูปแบบเชงิ โต้ตอบ บัลแกเรีย: ทรพั ยากรสำหรบั บรรณารักษ์ในการตอบสนองโควดิ -19 (ภาษาบัลแกเรียน) โคลอมเบยี : สมาคมบรรณารักษ์โคลอมเบียไดจ้ ัดสัมมนาทางเว็บ (ภาษาสเปน โดยรว่ มกับ the IFLA LAC section) เร่อื งแนวทางสำหรับบรรณารกั ษ์ในการรบั มอื กับโควดิ -19 โครเอเชีย: สมาคมหอ้ งสมุดโครเอเชยี จดั ทำเวบ็ เพจโดยเฉพาะเพ่ือแสดงข้อมูลการบรกิ ารทางไกล แหลง่ ขอ้ มูล เกย่ี วกับโควดิ -19 สำหรบั หอ้ งสมุด และการเข้าถึงบรกิ ารประชุมเสมือนจรงิ และทรัพยากรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สาธารณรฐั เช็ก: สมาคมห้องสมุดสาธารณรฐั เช็กจัดทำเวบ็ เพจเพื่อใหข้ ้อมลู เกี่ยวกับคำแนะนำด้านสขุ ภาพ ขอ้ มลู ล่าสุดเกยี่ วกับการตอบสนองของหน่วยงานภาครฐั และแนวความคิดในการจดั การกับกฎหมายลิขสทิ ธิแ์ ละ กฎหมายคุ้มครองความเป็นส่วนตัวในช่วงท่เี กิดโรคระบาด ฝรงั่ เศส: สมาคมหอ้ งสมดุ ฝรัง่ เศสเผยแพร่เร่ืองราวเก่ียวกับบรกิ ารหอ้ งสมุดและขอ้ มลู ด้านสาธารณสขุ (ในภาษา ฝร่งั เศส) และมีการจัดอภปิ รายเก่ียวกับการจัดการบคุ ลากรในช่วงการระบาด สมาคมบรรณารกั ษห์ ้องสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษาฝร่งั เศส ได้ติดตามกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เกดิ ขนึ้ ในหอ้ งสมุดสถาบนั อุดมศกึ ษา เยอรมนี: มกี ารจดั ทำเวบ็ เพจเพอื่ ให้ขอ้ มลู เก่ียวกับห้องสมดุ และโควดิ -19 โดยสมาคมห้องสมดุ เยอรมัน (ใน ภาษาเยอรมนั ) ดูเพ่ิมเตมิ เว็บเพจในหัวขอ้ การให้บริการทางไกล และขา่ วประชาสมั พันธ์ท่ีสร้างแรงบนั ดาลใจในส่ือ ระดับชาตเิ ก่ยี วกบั บรกิ ารของหอ้ งสมุด

35 กานา: องคก์ รหอ้ งสมุดกานาสง่ เสริมให้มีการลงทะเบียนบัตรสมาชกิ หอ้ งสมุดดจิ ทิ ัล และเปิดให้ห้องสมดุ และผใู้ ช้ เข้าถึงทรัพยากรผ่านหน้าข้อมูลทรัพยากร เกาหลีใต:้ แถลงการณว์ ่าดว้ ยสถานการณโ์ คโรนา่ ไวรสั อิตาล:ี แหลง่ ข้อมูล \"ค้นหาสารสนเทศไดจ้ ากท่ีไหน\" (ในภาษาอิตาเลยี น) นำเสนอภาพรวมของกฎหมายตา่ ง ๆ ของประเทศ แหลง่ ข้อเสนอแนะ รวมไปถึงข้อเสนอเกี่ยวกบั วิธีการให้บรกิ าร ทค่ี ุ้มครองความเปน็ ส่วนตัวและ สขุ ภาพ เม็กซโิ ก: หอ้ งสมดุ วิทยาลยั แหง่ ชาติกำลงั จดั ชดุ กจิ กรรมแบบเสมอื นและการรณรงค์ผา่ นส่อื สงั คมเพ่อื ใหค้ นอยบู่ า้ น อีกทั้งยังนำเสนอประสบการณข์ องหอ้ งสมุดในเม็กซิโกในช่วงวกิ ฤต (รวมไปถงึ การจดั สัมมนาทางเว็บ) การส่งเสรมิ การอ่านทบี่ ้าน (มีการจัดสัมมนาทางเว็บเช่นเดียวกนั ) และการแบง่ ปนั ขอ้ มูลทรพั ยากรสารสนเทศ (เปน็ ภาษา สเปน) ในขณะเดยี วกันสมาคมห้องสมุดเม็กซโิ กออกจดหมายสนับสนนุ ผู้ปฏิบัติงานทางสาธารณสุขและผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ในห้องสมดุ ทางสาธารณสุขในชว่ งเวลาวิกฤต เนเธอรแ์ ลนด์: ห้องสมุดต่าง ๆ ในเนเธอรแ์ ลนด์สร้างเว็บเพจรวบรวมทรัพยากรและกิจกรรมสำหรบั สมาชกิ (สามารถอ่านบทแปลเปน็ ภาษาองั กฤษ) นวิ ซแี ลนด์: โคโรนา่ ไวรสั โควดิ -19 และภาคการบริการห้องสมุดและสารสนเทศในนิวซีแลนด์ ไนจเี รยี : สมาคมนกั ศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตรใ์ นไนจีเรยี จดั ชดุ รายการบรรยาย สำหรับสมาชิกเป็นระยะเวลาหลายวนั โปรตเุ กส: สมาคมหอ้ งสมดุ โปรตเุ กสจดั การฝกึ อบรมสัมมนาทางเวบ็ ที่สามารถเขา้ ถึงได้ออนไลน์ โดยไม่มคี า่ ใชจ้ า่ ย (เป็นภาษาโปรตเุ กส) เปอรโ์ ตริโก: สมาคมบรรณารักษแ์ ห่งเปอร์โตรโิ กจดั กจิ กรรมรณรงค์เกย่ี วกบั ข้อมลู เท็จเก่ียวกบั โควดิ -19 (เปน็ ภาษา สเปน) สเปน: เครือข่ายห้องสมุดสถาบนั อดุ มศกึ ษาจัดเตรียมเวบ็ เพจทรัพยากร (ในภาษาสเปน) สหราชอาณาจักร: บรกิ ารสารสนเทศเกย่ี วกับโคโรนา่ ไวรสั ของ CILIP นอกจากน้ี CILIP ยงั ได้เขยี นบันทกึ ร่วมกับ หนว่ ยงานอ่ืน ๆ ไปยังรฐั บาลใหผ้ ่อนปรนกฎหมายลขิ สิทธิ์ และจดั บรกิ ารชั้นหนังสือแห่งชาติ เป็นชุดวดิ ีโอบน YouTube รายวนั ทแ่ี นะนำหนังสอื สำหรบั เด็กและครอบครัว

36 สหรฐั อเมริกา: ชดุ เครอ่ื งมือเตรยี มความพร้อมรับมอื กับการระบาด ดูเพิ่มเติมทรัพยากรทรี่ วบรวมโดยสำนกั งาน โครงการสาธารณะของสมาคมหอ้ งสมุดอเมริกนั การสัมมนาทางเว็บในเรอ่ื งการให้บริการทางไกล และหนังสือ อเิ ลก็ ทรอนิกส์เก่ยี วกบั การเตรยี มการรับมือกับภยั พิบัติ ซงึ่ สามารถเขา้ ถงึ ได้โดยเสรี นอกจากนี้ยงั มีเวบ็ เพจข้อมูล ทรพั ยากรจัดเตรียมโดยสมาคมห้องสมุดกฎหมายอเมริกนั ผลการสำรวจการรบั มอื กับวิกฤตของหอ้ งสมดุ ประชาชน โดยสมาคมหอ้ งสมุดประชาชน และเว็บเพจน้ีทีเ่ กย่ี วกับการเตรียมรบั มือกบั การระบาดโดยสมาคมห้องสมุด โรงเรยี นอเมรกิ ัน นอกจากนสี้ มาคมห้องสมุดจีนยังดำเนินการร่วมกบั หอสมดุ แห่งชาติในการจัดกิจกรรมการเรียนรูอ้ อนไลน์ ในขณะที่ หอสมุดแหง่ ชาตลิ ัตเวียเปลย่ี นรปู แบบการจดั ประชุมเปน็ การจัดกิจกรรมออนไลน์ผนวกรวมกับการรณรงค์ทางสือ่ สงั คม หอสมุดแห่งชาติญ่ปี ุ่นติดตามและตีพิมพ์ความเคล่ือนไหวของสถานการณ์ ซ่ึงเป็นหนึ่งในกิจกรรมในการ สนบั สนนุ วชิ าชีพ เชน่ เดียวกันกบั องคก์ ร saveMLAK (องค์กรท่ีเนน้ ให้ความชว่ ยเหลือห้องสมดุ หอจดหมายเหตุ และพิพิธภณั ฑ์ในช่วงเวลาวิกฤต) สมาคมและหนว่ ยงานอ่นื ๆ ก็ต่นื ตัวด้วยเช่นกนั หน่วยงาน CLIR รวบรวมทรพั ยากรที่เกีย่ วกับโควิด-19 ในหนา้ พเิ ศษ ในขณะท่ีสมาคมห้องสมดุ การวจิ ัยมกี ารวิเคราะหว์ า่ หอ้ งสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษาและการวจิ ยั ในประเทศ สหรฐั อเมริกาและประเทศแคนาดากำลังดำเนนิ การอะไร สมาคมห้องสมุดและสารสนเทศแอฟรกิ ัน (AfLIA) กำลัง รวบรวมตวั อย่างของการดำเนินงานของหอ้ งสมุดในแอฟริกา และจดั ทำเวบ็ เพจเกยี่ วกับวิธีการรบั มือกบั สถานการณ์ของห้องสมุดรวมไปถึงหนา้ ขอ้ มลู ทรัพยากร เชน่ เดยี วกันกับ Infotecarios ในประเทศแถบลาติน อเมริกา (กำลงั ทำงานรว่ มกับสมาคมห้องสมุดโคลอมเบีย (ASCOLBI) นอกจากน้ีองค์กร LIBER เพ่ือห้องสมุด สถาบันอดุ มศึกษาในยุโรปและ EBLIDA ไดพ้ ัฒนารายการตรวจตรวจสอบการดำเนินการที่หอ้ งสมุดสมาชิกสามารถ นำไปใชไ้ ด้ องค์กร NAPLE ในยุโรปได้จัดทำรายงานอนั ทรงคณุ ค่านำเสนอสถานการณ์ของสมาชกิ ทงั้ 20 แหง่ ตั้งแตเ่ มื่อการแพรร่ ะบาดเรมิ่ ต้นและยงั อยู่ สมาคมผ้สู อนทางด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตรจ์ ดั พิมพ์ หนา้ ขอ้ มลู ทรพั ยากรบนเวบ็ ไซต์ขององค์กร และสมาพนั ธห์ อ้ งสมดุ สาธารณสขุ ศาสตรข์ องอินเดยี มีการจดั สัมมนา ทางเว็บเพ่ือมองถึงอนาคตของห้องสมดุ หลังโควดิ -19 ในขณะเดียวกันห้องสมดุ ประชาชนต่าง ๆ ในประเทศตรุ กี ภายใตก้ ารดแู ลของกรรมการบริหารหอ้ งสมดุ และ สิ่งพมิ พ์ ไดเ้ รง่ การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ประชาชนสามารถใช้งานห้องสมดุ ผ่านช่องทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เขา้ ถงึ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์หลายพนั รายการ แสดงความจำนงใหจ้ ัดหาหนังสือใหม่ และการดาวน์โหลดหนงั สือ เหล่านบี้ นอปุ กรณข์ องตนเอง มูลนิธกิ ารอา่ นแห่งเนเธอรแ์ ลนดจ์ ดั ทำเวบ็ เพจรวบรวมทรัพยากรและแนวความคิด

37 เก่ียวกบั วธิ กี ารสง่ เสรมิ ความฉลาดร้แู ละการอา่ นท่ีบ้าน รวมไปถึงจัดทำพอดคาสต์ จัดประชุมรว่ มกนั กบั นกั วาด สำหรับเดก็ และเปิดให้เข้าถึงหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสผ์ า่ นหอ้ งสมดุ ตา่ ง ๆ สถาบนั ห้องสมุดในฮังการีไดจ้ ัดทำเว็บเพจ ข้อมลู รวบรวมคำแนะนำในการทำความสะอาดฆา่ เชอื้ หนังสือ การจัดการกบั ลขิ สทิ ธ์ิ และแนวปฏบิ ตั สิ ากลทีด่ ี รวมถึงมกี ารแบ่งปันเรื่องราวจากทวั่ ประเทศและทวั่ โลกผา่ นหนา้ เว็บ libraries.hu ในขณะเดยี วกนั สมาคมสง่ เสริมบริการด้านเอกสารโรงเรียนในรัฐควเิ บกจัดมอบเคร่ืองมือใหก้ ับห้องสมุดสมาชิก นำไปใช้เพื่อช่วยใหห้ อ้ งสมุดอยูใ่ นแผนบรู ณาการของบรกิ ารเรยี นรูท้ างไกล ในขณะที่สถาบัน Every Library มกี าร กำหนดใหม้ ีการพูดคุยเป็นประจำรวมถงึ จดั ต้ังกองทนุ ฉกุ เฉินเพอ่ื ช่วยห้องสมุดทม่ี ีปัญหา หอสมดุ แห่งชาติ หอสมดุ แหง่ ชาตยิ งั คงมีบทบาทสำคัญในการเปดิ เนื้อหาใหเ้ ขา้ ถงึ ไดท้ ้ังในฐานะสถาบนั หลักของประเทศตนเองและ ในฐานะผู้นำของระบบหอ้ งสมุดในระดับชาติ ข้อมูลภาพรวมสามารถดูได้จากสารสนเทศทีร่ วบรวมจากการประชมุ ของผ้บู ริหารหอสมดุ แห่งชาติ ในประเทศจนี ห้องสมุดดิจิทัลแห่งชาติได้รบั การส่งเสริมเพือ่ รบั มือกับความต้องการที่เพม่ิ ข้นึ และมีการยกเลิก ค่าปรับสำหรบั ทรพั ยากรที่ยืมไปแต่ไม่สามารถนำมาคืนได้ รวมไปถงึ ให้ความช่วยเหลือหอ้ งสมดุ และบรรณารักษ์ จากทว่ั ประเทศ เปน็ ตน้ หอ้ งสมุดดิจิทัลแห่งชาติของประเทศเกาหลีกพ็ บว่ามีการใชง้ านทีเ่ พิม่ มากข้นึ เชน่ กนั บทบาทของทรัพยากรหอสมดุ แห่งชาตใิ นการสนับสนนุ ความพยายามในการต่อสกู้ บั การระบาดไดร้ ับการยอมรบั โดยหอสมุดแห่งชาติอังกฤษซ่ึงปรากฏอยู่ในหนา้ ข้อมลู ทรพั ยากรของหอสมุด หอสมดุ แห่งชาติบางแหง่ ประสบความสำเร็จในการต่อรองท่จี ะเปดิ ใหเ้ ข้าถึงเนอื้ หาที่เกบ็ รกั ษาตามกฎหมายในวง กว้างได้ ทั้งนี้ในนอรเ์ วย์สามารถให้เฉพาะนักวิจัยและโรงเรียนสามารถเข้าถึงได้ ในขณะที่สาธารณรัฐเชก็ ให้นกั วจิ ัย เข้าถงึ ได้เทา่ นนั้ (เช่นกันกับห้องสมุดมหาวิทยาลัย) ในขณะเดียวกันหอสมุดแห่งชาตอิ ารูบาเปดิ ใหเ้ ขา้ ถงึ หนงั สือ อิเลก็ ทรอนิกส์ในภาษาปาเปยี เมนโต (ภาษาท้องถ่ิน) เปน็ คร้ังแรก และเปิดให้บริการยืมหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ใน ภาษาดัทช์เปน็ ครั้งแรก นอกจากนีย้ ังได้ร่วมมอื กบั Internet Archive ในการนำเสนอหอสมุดแห่งชาติฉุกเฉิน เฉพาะเป็นคร้งั แรกอีกด้วย หอสมุดแห่งชาติอ่ืน ๆ มีการจดั กจิ กรรมในรูปแบบออนไลน์ ยกตวั อย่างเช่น หอ่ งสมดุ รัฐสภาอเมริกันได้จัดกิจกรรม ถอดข้อความมาราธอนแบบเสมือน (virtual transcribathon) เพือ่ ทำใหป้ ระชาชนที่อยู่ห่างไกลได้มีส่วนรว่ ม ในขณะท่หี อสมดุ แหง่ ชาตฝิ รง่ั เศสก็มีการจัดนิทรรศการแบบเสมอื นเช่นเดียวกนั หอสมุดแหง่ ชาติเอสโตเนยี พัฒนา วธิ ีการในการช่วยให้ผู้ใชเ้ ข้าถึงหนังสอื โดยไม่ต้องมีการติดต่อสมั ผัส (ส่งผลให้เกดิ ความต้องการท่ีมากขน้ึ ) ในขณะท่ี

38 หอสมดุ แห่งชาติสเปนกำลังส่งเสรมิ การใชง้ านเนื้อหาดิจทิ ัลเพอื่ ใช้ในการสนบั สนนุ การศกึ ษา เชน่ เดียวกันกับ หอสมดุ แหง่ ชาติฮงั การีทเ่ี จา้ หน้าทกี่ ำลังผลติ วิดโี อสอนการเตน้ และวทิ ยาศาสตรแ์ บบชาวบ้าน หอสมุดแหง่ ชาตินอรเ์ วย์กำลงั สนับสนุนใหผ้ ู้ใชเ้ ข้าถงึ พอดคาสต์ในชว่ งที่กิจกรรมแบบตวั ต่อตัวไม่สามารถ ดำเนนิ การได้ เช่นเดียวกันกับห้องสมดุ รฐั สภาอาร์เจนตินาท่ีมีการผลติ เนอ้ื หาใหมท่ ่ีมีความหลากหลาย หอสมุดแห่งชาติและหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลัยแหง่ โครเอเชียยงั คงใหบ้ รกิ ารคำปรกึ ษา บรกิ ารอ้างอิง และการเขา้ ถงึ ทรัพยากร รวมถึงการจดั นิทรรศการแบบเสมือน นอกจากน้ี ยังให้คำปรกึ ษาและข้อเสนอแนะกับห้องสมดุ ทกุ ประเภท ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากเหตุการณแ์ ผ่นดินไหว หอสมุดแหง่ ชาตอิ ินโดนเี ซยี ส่งเสริมการใช้แอปพลเิ คชนั ท่มี ี อยู่ และร่วมมือกับโครงการทำงานจากท่ีบ้านระดบั ชาติ เพื่อเสนอแนะวธิ กี ารหลีกเล่ียงผู้คนทจ่ี ำเปน็ ต้องเดินทางไป ทำงาน คณะกรรมการหอสมุดแห่งชาตสิ ิงคโปร์ไดน้ ำคอลเลกชันมาจดั เปน็ นิทรรศการเกี่ยวกบั โรคระบาดในอดตี หอสมุดแห่งชาตลิ กั เซมเบริ ์กแจกบัตรสมาชกิ หอ้ งสมุดผ่านทางอีเมลเปน็ ระยะเวลา 3 เดือนโดยไมต่ ้องมีการ ตรวจสอบบตั รสมาชิกจรงิ เพ่ือชว่ ยในการเข้าถงึ ทรพั ยากร ในขณะที่หอสมุดแห่งชาตโิ มรอ็ กโกยังดำเนนิ การ ใหบ้ ริการจารกึ ออนไลน์ไปพร้อมกับการออกเลขเรยี กประจำหนังสือ (ISBN) และบริการเกบ็ รกั ษาทรัพยากรตาม กฎหมาย หอสมุดแห่งชาตลิ ิทัวเนียกำลงั ทำงานรว่ มกับโรงเรยี นหนุ่ ยนต์ในการสนบั สนนุ การพิมพช์ ดุ อุปกรณ์ ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบคุ คลแบบสามมติ ใิ นห้องสมุดประชาชนท่วั ประเทศ หอสมุดแหง่ ชาติในประเทศอ่ืนกก็ ำลงั ดำเนินการสนับสนนุ การทำงานทว่ั ไปของห้องสมดุ ท่ัวประเทศ เช่น หอสมุด แหง่ ชาติศรลี งั กาจดั เตรยี มและแบ่งปนั ข้อแนะนำให้กบั ห้องสมุดทั่วประเทศ ในขณะท่ีหอสมดุ แห่งชาตสิ าธารณรฐั เช็กจดั ทำอนิ โฟกราฟิกในหัวข้อการดำเนนิ การกับทรัพยากรที่ได้รบั คืน กรรมการบรหิ ารห้องสมุดในโปรตุเกสมี ข้อมูลและรายการทรพั ยากรเตม็ หน้าเว็บไซต์ภายใตร้ ่มแฮชแท็ก #BibliotecaNaSuaCasa หอสมุดแห่งชาติอนิ เดีย มีการจดั สมั มนาทางเวบ็ สำหรับพนกั งานฝึกหัดและคนอน่ื ๆ ในวงการหอ้ งสมุด และมีการจดั ระบบทรัพยากร สารสนเทศดิจทิ ลั สำหรบั ผใู้ ช้ ขณะเดียวกนั หอสมุดแห่งชาติบางแหง่ ที่มหี น้าทใ่ี นการสนับสนุนการตดั สนิ ใจของรัฐสภายงั คงให้บริการจัดทำ เอกสารทางกฎหมายอธบิ ายข้อมูลในภาพรวมเกีย่ วกบั สถานการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ เช่นในประเทศอาร์เจนตินา ห้องสมุดที่ ใหบ้ รกิ ารแก่รฐั สภาโดยเฉพาะก็ทำงานเพอื่ สนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันดว้ ยเช่นกัน

39 หน่วยงานพันธมติ รของหอ้ งสมดุ มีความเคล่ือนไหวท่ีเปน็ มติ รจากทางสำนักพิมพ์ ผูจ้ ัดจำหน่ายและหน่วยงานอ่นื ทที่ ำงานร่วมกบั หอ้ งสมดุ ท่ีช่วยให้ เกิดการเขา้ ถงึ เน้ือหาถงึ แมว้ ่าอาคารห้องสมุดต้องถกู บงั คบั ให้ปิดทำการ ดงั ทป่ี รากฏในคำแถลงการณข์ องประธาน และเลขาธิการ IFLA น้นั IFLA หวงั วา่ ความเคล่อื นไหวเหล่านี้จะถูกนำไปใช้ทว่ั ไป ในขณะท่ยี ังทำงานรว่ มกนั เพ่ือ ทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้ การศกึ ษาคน้ คว้าวิจัย และการเข้าถึงทางวัฒนธรรมยงั คงดำเนนิ ต่อไปได้ กลไกหลักคอื การอนุญาตให้สามารถเข้าถงึ เน้ือหาไดจ้ ากทางไกล ซ่ึงโดยปกติมกั จะจำกดั เฉพาะผใู้ ชท้ ่อี ยู่ในพื้นที่ ใหบ้ รกิ ารเทา่ น้นั VitalSource ดำเนนิ การร่วมกบั สำนกั พิมพพ์ นั ธมิตรในการขยายขอบเขตการเข้าถงึ ทรัพยากร โดยใชเ้ พยี งทอี่ ยู่อเี มลในการเข้าระบบ เช่นเดียวกบั ProQuest ทใี่ หบ้ รกิ ารผ่านระบบ eBook Central และ Springer ขยายระยะเวลาการเข้าระบบ ส่วนสำนักพิมพ์ Emerald อนญุ าตให้สามารถเขา้ ถึงทางไกลได้ ในขณะที่ วารสาร Journal of the American Medical Association อนญุ าตให้สามารถเขา้ ถงึ เน้ือหาไดจ้ ากพน้ื นอกเขต ใหบ้ รกิ าร เชน่ เดียวกันกบั เว็บไซต์ ancestry.com สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยมชิ แิ กนอนุญาตให้ผูใ้ ช้ทว่ั ไป สามารถอ่าน (แต่ไม่สามารถดาวนโ์ หลด) เนอ้ื หาจำนวนมากของสำนักพิมพ์ได้ สำนกั พมิ พ์หนังสอื่ เดก็ เช่น Collins ในสหราชอาณาจกั รก็อนุญาตใหเ้ ข้าถงึ เน้ือหาท่ีเคยจำกดั เฉพาะการใชง้ านในพนื้ ท่ีบริการเท่านั้นเชน่ กัน นอกจากน้ี ยงั มีตัวอยา่ งทด่ี ใี นประเทศลัตเวยี และเคนยา พันธมติ รอ่ืนกเ็ ปดิ ใหเ้ ขา้ ถงึ เนื้อหาได้มากขึ้นหรอื ไม่เช่นนั้นก็มีการปรบั ลดราคาลง Project MUSE ประกาศวา่ ทรพั ยากรจากสำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลัย 9 แห่งสามารถเข้าถึงไดฟ้ รเี ปน็ ระยะเวลาหลายเดือน ในขณะทีส่ ำนักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยเคมบรดิ จ์เปิดให้เขา้ ถงึ ตำราเรยี นในรปู แบบ HTML และสำนักพิมพ์ของสมาคม Biochemistry Society เปิดใหเ้ ขา้ ถึงวารสารตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเสรจี นกวา่ จะมีการประกาศเปลี่ยนแปลง สำนักพิมพ์สองแห่งใน โรมาเนียดำเนนิ การร่วมกับมหาวิทยาลัยรัฐศาสตรแ์ ละการปกครองแห่งชาตติ กลงท่ีจะเปิดให้เขา้ ถึงหนังสอื ออนไลนไ์ ด้ฟรี สำนักพิมพ์ MacMillan ไดแ้ ขวนการจำกดั การเขา้ ถึงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใหม่ใหแ้ กห่ ้องสมดุ ประชาชนใน สหรัฐอเมริกา สำนักพมิ พ์ Penguin Random House มีการเสนอสว่ นลดพเิ ศษเฉพาะหอ้ งสมดุ ประชาชนและ ห้องสมดุ โรงเรียน Overdrive และ RB Books กข็ ยายจำนวนสำเนาของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสท์ ส่ี ามารถยมื ออกได้ ในชว่ งเวลาเดียวกัน ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าเช่นกนั บริษัท Booklist ซ่ึงมีสิ่งพมิ พ์ทรี่ วบรวมบทวิจารณห์ นังสือ และทรัพยากรอนื่ ท่ชี ่วยในการสอนและการสร้างการมสี ่วนรว่ มตา่ ง ๆ เกี่ยวกับหนงั สือ ไดเ้ ปิดใหท้ ุกคนสามารถ

40 เขา้ ถงึ เน้ือหาได้ ในการรับมือกบั ความท้าทายที่พบไดบ้ อ่ ย องค์กร Libraries Connected ในประเทศสหราช อาณาจักรจัดทำรายช่ือสำนักพมิ พ์ทอี่ นุญาตให้นำทรัพยากรไปใชใ้ นการเล่าเรื่องออนไลน์ได้ สำนักพิมพ์บางแห่งก็พร้อมทีจ่ ะรับมือกบั ข้อเท็จจริงท่วี า่ หอ้ งสมดุ บางแห่งอาจไม่สามารถชำระเงนิ ได้ในตอนน้ี ยกตวั อย่างเชน่ สำนกั พมิ พม์ หาวิทยาลัยบริสตอล IFLA ขอขอบคุณสำนักพิมพ์พันธมติ ร SAGE ทปี่ ระกาศมาตรการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการถอดหนา้ ปิดกนั้ เฉพาะผใู้ ช้ ที่บอกรบั ออกสำหรบั บทความหลายรายการ รวมถึงสร้างและให้ความรว่ มมือกบั มูลนิธิ Wellcome ในการ ประสานการออกแถลงการณ์เก่ยี วกับทรัพยากรท่ีเก่ียวกบั โควดิ -19 อีกทั้งยงั ส่งเสรมิ บทเรียนออนไลน์ทเ่ี ข้าถงึ ได้ฟรี ในหวั ข้อ \"จะไดร้ ับการตีพิมพ์ไดอ้ ย่างไร\" (How to Get Published) OCLC ในฐานะผ้สู นับสนนุ หลกั กม็ ีการจดั ทำ หนา้ ข้อมูลทรพั ยากรทเ่ี กย่ี วข้องเช่นกัน เช่นเดยี วกันกบั พนั ธมิตรอนื่ ๆ (เช่น สำนกั พมิ พ์ Emerald สำนักพมิ พ์ Frontiers สำนักพมิ พ์ Springer Nature สำนักพิมพ์ Elsevier สำนักพิมพแ์ ห่งมหาวทิ ยาลยั ออกซฟ์ อรด์ สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยเคมบรดิ จ์ สำนกั พมิ พ์ ZBW – Leibniz Information Centre for Economics สำนักพมิ พ์ ZB MED และสำนกั พมิ พแ์ หง่ สถาบัน เทคโนโลยแี ห่งแมสซาชูเซตส์) สำนักพิมพ์ SAGE ก็กำลงั ให้ความสำคัญและแบง่ ปนั กับทรพั ยากรเกยี่ วกับโควิด-19 และการจดั การกบั โรคระบาดในเวบ็ ไซต์ขนาดเลก็ ทำเนียบขาวก็มีความเคลอื่ นไหวครง้ั สำคญั ในการสนับสนนุ การ ทำเหมอื งข้อมลู และตวั บทเพื่อช่วยหาวิธกี ารแก้ไขปัญหา โดยแจกบทความจำนวน 29,000 บทความ เพ่ือนำไปใช้ ในการวเิ คราะห์ สำนกั พิมพ์ Emerald เร่งการสนบั สนุนให้เกิดการสร้างและแบ่งปันผลงานตพี ิมพ์ทีเ่ ก่ียวข้องกับการรบั มือกบั การ แพร่ระบาดของหอ้ งสมุดดว้ ยการจัดทำชดุ หนงั สอื และวางแผนท่จี ะตพี ิมพ์ฉบับเฉพาะประเด็นทีเ่ กี่ยวข้องอีกด้วย สดุ ท้ายน้ี OCLC พนั ธมิตรหลักของ IFLA มีการจดั ประชมุ ใหญ่ของชมุ ชนสมาชิก โดยเชิญบรรณารักษ์กวา่ พนั คนมา อยู่ในท่เี ดียวกนั เพื่อรว่ มแลกเปลยี่ นเรื่องราวและทำความเข้าใจความต้องการของวิชาชพี รว่ มกัน [รปู ภาพ] โควิด-19 และห้องสมุด: เกา้ อ้ใี นสวนสาธารณะทีไ่ ร้ผู้คน การสือ่ สารกับผู้ใช้ในภาษาตา่ ง ๆ แผนกบริการห้องสมดุ สำหรับประชาชนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของ IFLA กำลังทำงานรว่ มกับสมาคม หอ้ งสมุดและสารสนเทศแห่งออสเตรเลียในการแปลปา้ ยประกาศและขอ้ ความเพ่ือชว่ ยหอ้ งสมดุ ในการสอ่ื สารกับ

41 ชุมชนผ้ใู ชท้ ่ีมคี วามหลากหลายทางภาษา โดยเฉพาะที่เก่ยี วกบั การปิดทำการของห้องสมุดและการเข้าถึง สารสนเทศออนไลน์ ทรัพยากรเหล่านีม้ ีอยใู่ นรปู แบบไมโครซอฟทเ์ วิร์ด (MS Word) หอ้ งสมดุ ต่าง ๆ สามารถทจ่ี ะ ปรับหรอื นำเนอ้ื หาเหลา่ นไี้ ปใชใ้ นการตอบสนองความตอ้ งการของหน่วยงานของตนในการสือ่ สารกบั ชมุ ชนได้อย่าง เตม็ ที่ บทแปลเปน็ ภาษาอืน่ ๆ กำลงั อยู่ในระหวา่ งการพฒั นา ประเด็นปัญหาตอ่ เนื่อง IFLA ตระหนกั ดีวา่ การระบาดในคร้ังน้ีไดน้ ำมาซ่ึงปญั หาท่ีขยายวงกวา้ งมากขน้ึ และเราก็กำลงั ตดิ ตามสถานการณ์ อย่างใกลช้ ิด นอกเหนือจากประเด็นลิขสทิ ธิ์ท่ีไดก้ ล่าวมาขา้ งต้นแลว้ ยงั มีขอ้ กงั วลเก่ยี วกับผลกระทบของวิกฤตคร้ัง น้ตี อ่ หน่วยงานทางด้านวัฒนธรรม การศกึ ษา และการวจิ ัยในภาพรวม ความเปน็ ส่วนตัว และการคุ้มครองบรรทัด ฐานทางประชาธปิ ไตย เราติดตามประเดน็ เหล่าน้ีอย่างใกล้ชิดและจะแบ่งปันสารสนเทศและข้อคิดเห็นเม่ือมโี อกาส ที่เหมาะสม เราไดด้ ำเนนิ การเชงิ รกุ ในการเรียกร้องสนับสนนุ ประเดน็ ทเ่ี ก่ียวข้อง ไม่วา่ จะเป็นการเข้าไปมสี ่วนรว่ มในการ ชว่ ยเหลือในการรา่ งและรว่ มแถลงการณ์ขององคก์ รยูเนสโกว่าด้วยมรดกทางเอกสารและการแพรร่ ะบาดของโควดิ - 19 โดยเนน้ ยำ้ ศักยภาพของมรดกทางเอกสารที่มีต่อการปฏิบตั งิ านและการปลอบโยนของประชาชนในชว่ งเวลา เชน่ นี้ และเรียกร้องใหร้ ัฐบาลและหน่วยงานตา่ ง ๆ เหน็ ความศักยภาพเหลา่ นี้และสนับสนุนการดำเนนิ งานของ หนว่ ยงานของพวกเรา เราไดเ้ นน้ ยำ้ ประเดน็ ดังกลา่ วในแถลงการณ์ร่วมกบั สมาชิกของความรว่ มมือ Culture 2030 Goal ความสำคญั ของมรดกเหล่านี้ยังได้มีการเน้นในบลอ๊ กของเราเกี่ยวกบั บทบาทของมรดกวฒั นธรรมท่ีมตี ่อการ เล่าเรอื่ ง IFLA ยงั เปน็ ผู้นำในการเตรียมจดหมายเพ่ือส่งไปยงั ประธานกรรมการองค์การทรัพยส์ ินทางปญั ญาโลก เรยี กร้องให้ มีการดำเนนิ การเก่ียวกับกฎหมายและแนวปฏิบตั ทิ างลขิ สทิ ธทิ์ ่สี นบั สนุนการดำเนนิ งานของหอ้ งสมดุ ประเดน็ เหลา่ นเี้ ปน็ ความท้าทายท่ผี สมผสานระหวา่ งสถานการณป์ ัจจบุ ันและความเส่ยี งที่เกิดข้ึนจากความเข้มงวดของ กฎหมายปัจจบุ ันจนทำให้การรับมือกับสถานการณืเปน็ ได้ไปยากยิง่ ข้นึ ในกรณีของห้องสมุดตา่ ง ๆ ประเดน็ ที่ สำคญั ประการหนึง่ คือ การอนญุ าตให้ใชท้ รัพยากรท่ีอยู่ในรูปท่ไี มใ่ ช่ดจิ ิทัล แต่ไม่อนุญาตใหใ้ ช้กับทรัพยากรท่อี ยใู๋ น รปู ดจิ ิทัลได้ นอกจากนเี้ รายงั ได้เรมิ่ ต้นเขยี นบลอ๊ กทีช่ ีใ้ หเ้ ห็นถึงแนวโน้มตา่ ง ๆ ในภาพรวมที่อาจเปน็ ผลกระทบจากการโรค ระบาดจากมมุ มองทางนโยบายท่ีหลากหลาย และตามมาด้วยบทความช้นิ ตอ่ มาท่ีกล่างถึงประเด็นที่ควรไดร้ ับการ สนบั สนนุ โดยเฉพาะทั้งในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว

42 กจิ กรรมของ IFLA การดำเนินงานของ IFLA เพ่ือทำใหว้ งการห้องสมุดโลกเข้มแข็งและเป็นหนง่ึ เดียวยังคงดำเนินต่อไป มใิ ช่เพียง เพราะวา่ การแพร่ระบาดโควิด-19 แตเ่ ปน็ เพราะภารกจิ นนั้ เอง เรามุ่งมน่ั ที่จะรักษาแรงขับเคลอื่ นที่เกดิ ข้นึ ใน กระบวนการ Global Vision และการกอ่ ต้ังแผนกลยทุ ธ์ของเราเมอ่ื ปีท่ผี ่านมา และเชื่อเป็นอย่างยิง่ วา่ พนั ธกิจท่ีเรา กำหนดข้ึนมานัน้ ใชย้ งั คงมีความสำคัญเฉกเช่นเสมอมา ดังทีอ่ ธิบายไว้ในส่วนคำถามท่ีพบบ่อยเกี่ยวกับ IFLA และการระบาดของโควิด-19 เราทำงานกนั อย่างหนกั เพอื่ ทำ ให้ม่ันใจได้ว่าอาสาสมคั รและเจ้าหนา้ ท่ีของเรายังคงปฏิบตั งิ านทส่ี ำคัญน้ีต่อไปได้ และเราก็ได้พบเห็นการประชุมใน ระยะกลางทป่ี ระสบความสำเร็จในหนว่ ยบริการวิชาชพี ท่จี ดั ข้นึ เม่ือไม่ก่สี ัปดาห์ก่อน แผนกหอ้ งสมุดทางการแพทย์สาธารณสุขและชีววทิ ยาศาสตร์ รวมไปถึงชมรมผ้มู ีความสนใจพเิ ศษในเรื่องหลกั ฐาน เชิงประจักษ์ทางดา้ นสาธารณสุขและภยั พบิ ัติโลกไดจ้ ดั สมั มนาทางเว็บเมื่อวันที่ 23 เมษายนท่ีผา่ นมาในหัวข้อท่ี เก่ียวกบั ความเหลื่อมล้ำทางสาธารณสุขดิจิทัลในช่วงโควดิ -19 แผนกห้องสมุดสำหรบั เดก็ และวยั หนุ่มสาวจดั ทำ จดหมายข่าวข้นึ มาโดยเฉพาะ พูดถึงประสบการณแ์ ละการรับมือการแพร่ระบาดของห้องสมดุ สมาชิก นอกจากนี้ แผนกห้องสมุดทีใ่ ห้บริการแก่ประชาชนท่ีมคี วามหลากหลายทางวฒั นธรรมยงั ได้เชญิ ชวนใหม้ ีการส่งตวั อย่างวิธกี าร ที่หอ้ งสมุดย่ืนมอื ไปยงั ผ้ใู ชก้ ลุ่มต่าง ๆ เอกสารน้ีได้รวบรวมตวั อย่างจากประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลก และไม่เพียงแต่แสดงให้เหน็ วา่ ห้องสมุดตอบสนองกบั ความ ท้าทายเหล่านีอ้ ย่างไร แตย่ ังแสดงให้เห็นวา่ ห้องสมดุ ได้สรา้ งสรรค์นวตั กรรมใหม่ ๆ อยา่ งไรดว้ ย โดยเรมิ่ จากขอ้ มลู เหล่าน้ี เราได้เตรียมบทความและโพสต์เกย่ี วกบั วธิ ีการของวงการหอ้ งสมดุ ในสว่ นตา่ ง ๆ ของโลกในการรบั มือกับ สถานการณน์ ี้ เริม่ ดว้ ยงานเขียนเกย่ี วกับบรรณารักษ์ทางสาธารณสขุ สำหรับวันสาธารณสขุ โลก และบลอ๊ กจากแขก รบั เชญิ เล่าเก่ียวกบั สถานการณใ์ นห้องสมดุ เรอื นจำ ดังทีไ่ ด้กล่าวมาแลว้ ในหวั ขอ้ กอ่ นหน้านี้ เรายังไดใ้ ห้ความสำคญั กบั การเรยี กรอ้ งสนับสนุนการเปลยี่ นแปลงท่จี ำเป็นสำหรับหอ้ งสมดุ ท้ังในระยะส้นั และระยะยาว เราไดจ้ ดั ทำอนิ โฟ กราฟิกตอนพิเศษว่าด้วยเรือ่ งโควดิ -19 ในคอลมั น์ยอดนิยมของเราท่ชี ่อื วธิ ีการตรวจจับข่าวปลอม (How to Spot Fake News) ในขณะเดียวกับ แผนกบริการจดั สง่ เอกสารและการแลกเปล่ยี นทรพั ยากรได้พัฒนาบริการใหม่เพ่ือสนับสนุนการ แบ่งปนั ทรัพยากรข้ามพรมแดน ซ่ึงเป็นหนึ่งในวิธลี ดผลกระทบที่เกดิ ขึ้นจากการระบาดในครง้ั น้ี

43 แตท่ วา่ นเี่ ปน็ เพยี งการเรมิ่ ต้น เราหวงั ทจี่ ะนำเสนอบรกิ ารใหม่ ๆ ทนี่ ่าตนื่ เต้นและโอกาสที่จะสร้างเสริมวงการที่มี ความเขม้ แข็ง เพ่อื ชว่ ยเสริมสรา้ งสงั คมท่ีมคี วามฉลาดรู้ รอบรแู้ ละมีส่วนรว่ มต่อไปในอนาคต ด้วยความหวัง ดังกลา่ ว เรากำลงั ทำงานอย่างใกลช้ ิดกบั หน่วยบริการวิชาชีพ ซ่งึ เปน็ หนว่ ยงานมันสมองท่ีได้รบั ความไวว้ างใจใน วงการห้องสมดุ โลก ในการสร้างแรงบนั ดาลใจ สรา้ งการมีส่วนร่วม เบิกทาง รวมไปถึงเชอื่ มโยงวงการหอ้ งสมุดโลก เราหวังเป็นอยา่ งยิ่งทีจ่ ะแบ่งปันตอ่ ไปอีก คุณสามารถอา่ นขอ้ มลู ความเคล่อื นไหวนีใ้ นภาษาอติ าเลยี นและภาษาโปรตเุ กส (ฉบบั วันท่ี 7 เมษายน) หมายเหตุผูแ้ ปล: หากมขี ้อเสนอแนะ คำติ ชม เกย่ี วกับเอกสารแปลช้ินน้ี สามารถตดิ ต่อไดท้ ่ี [email protected] ขอ้ มูลสำหรับการอ้างองิ : International Federation of Library Associations and Institutions. (2020, May 19). COVID-19 and the Global Library Field (S. Choemprayong, C. Berpan, T. Chintakovid, S. Limwichitr, & W. Klungtanaboon, Trans.) https://www.ifla.org/covid-19-and-libraries


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook