Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน ตามรอยธรรม

พุทธวจน ตามรอยธรรม

Published by Noppadon Leuprasert, 2021-04-02 07:43:08

Description: วาเสฏฐะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้ พึงอยู่โดยชอบไซร้
พวกเธอแล มีชาติต่างกัน มีนามต่างกัน มีโคตรต่างกัน มีสกุลต่างกัน โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย.
ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่หวังเกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว

Search

Read the Text Version

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 8​ 3 เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ� หายใจเข้า”, ว่า “เราเป็น ผู้เห็นซึ่งความสลัดคืนอยู่เป็นประจำ� หายใจออก”. ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อบุคคลเจริญ ทำ�ให้มากซึ่ง อานาปานสติสมาธอิ ยู่อย่างนแ้ี ล ความหวนั่ ไหวโยกโคลง ของกาย หรอื ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของจติ กต็ าม ยอ่ ม มีข้นึ ไมไ่ ด้. .....ฯลฯ..... ภิกษทุ งั้ หลาย ! แมเ้ ราเองกเ็ หมือนกนั ในกาลก่อนแต่การตรสั รู้ ยงั ไมไ่ ด้ตรัสรู้ ยงั เปน็ โพธสิ ตั วอ์ ยู่ ย่อมอยู่ด้วยวิหารธรรม คอื อานาปานสตสิ มาธิ น้เี ป็นสว่ นมาก. เม่อื เราอยูด่ ้วยวหิ ารธรรมนเ้ี ป็นส่วนมาก กายกไ็ มล่ �ำ บาก ตากไ็ มล่ �ำ บาก และจิตของเราก็หลดุ พ้นจากอาสวะ เพราะไม่มอี ปุ าทาน.

8​ 4 พุทธวจน ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะฉะน้ันในเรื่องน้ี ถา้ ภิกษุ หวงั วา่ กายของเรากอ็ ยา่ ล�ำ บาก ตาของเรากอ็ ยา่ ล�ำ บากและ จติ ของเรากจ็ งหลดุ พน้ จากอาสวะ เพราะไมม่ อี ปุ าทานเถดิ ดงั นแ้ี ลว้ ; ภกิ ษนุ น้ั จงท�ำ ในใจ ซง่ึ อานาปานสตสิ มาธนิ ้ี ใหเ้ ปน็ อยา่ งด.ี มหาวาร. สํ. ๑๙/๓๙๙,๔๐๑/๑๓๒๔,๑๓๒๙.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 8​ 5 ๓๓ วิหารธรรมทท่ี รงอยูม่ ากตลอดพรรษา และทรงสรรเสริญมาก ภิกษทุ ้ังหลาย ! ถ้าพวกปริพพาชกเดียรถีย์อื่น จะพงึ ถามเธอทง้ั หลายอยา่ งนว้ี า่ “ทา่ นผมู้ อี ายุ ! พระสมณโคดม ทรงอยจู่ �ำ พรรษาสว่ นมาก ดว้ ยวหิ ารธรรมไหนเลา่ ?” ดงั น้ี. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! เมื่อพวกเธอถูกถามอย่างนี้แล้ว พงึ ตอบแกพ่ วกปริพพาชกเดยี รถยี ์อืน่ เหลา่ นน้ั อยา่ งน้วี ่า “ทา่ นผมู้ อี ายุ ! พระผมู้ พี ระภาคทรงอยจู่ �ำ พรรษาสว่ นมาก ดว้ ยวหิ ารธรรม คอื อานาปานสตสิ มาธิ แล” ดงั น.้ี ภกิ ษุท้งั หลาย ! ในกรณีนี้ เรานน้ั เปน็ ผู้มีสติ หายใจเขา้ , เราน้นั เปน็ ผ้มู สี ติ หายใจออก; เมอื่ หายใจเขา้ ยาว ก็รู้ชดั ว่า “เราหายใจเขา้ ยาว”, เมอื่ หายใจออกยาว ก็รชู้ ัดว่า “เราหายใจออกยาว”; ..... (แต่นี้ไปทรงแสดง อานาปานสติสมาธิไปจนจบ ดังมีใจความ ปรากฏใน “วิหารธรรมที่ทรงอยู่มากที่สุด ก่อนตรัสรู้” หน้าที่ ๗๙).

8​ 6 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เม่ือใครจะกล่าววิหารธรรมใดโดย ชอบ วา่ เปน็ อรยิ วหิ ารกด็ ี พรหมวหิ ารกด็ ี ตถาคตวหิ ารกด็ ี, เขาพงึ กลา่ วโดยชอบ ซ่งึ อานาปานสตสิ มาธินั้น วา่ เป็น อรยิ วหิ าร พรหมวิหาร ตถาคตวหิ าร. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ ใด ยงั เปน็ เสขะ มีวัตถปุ ระสงค์แห่งใจ อันยังไมบ่ รรลแุ ล้ว ปรารถนาอยู่ซง่ึ โยคกั เขมธรรมอนั ไมม่ ธี รรมอน่ื ยง่ิ กวา่ อย;ู่ อานาปานสต-ิ สมาธิ อันภิกษุเหลา่ นนั้ เจรญิ ท�ำ ให้มากแลว้ ยอ่ มเป็นไป เพื่อความสน้ิ ไปแห่งอาสวะทง้ั หลาย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ส่วนภิกษุทั้งหลายเหล่าใด เป็น อรหนั ตข์ ีณาสพ มพี รหมจรรยอ์ นั อยจู่ บแลว้ มกี จิ ควรท�ำ อนั กระท�ำ แลว้ มภี าระหนกั อนั ปลงลงแลว้ มปี ระโยชนต์ น อนั ตามบรรลแุ ลว้ มสี ญั โญชนใ์ นภพ อนั สน้ิ แลว้ หลดุ พน้ แล้ว เพราะรู้ดว้ ยปญั ญาโดยชอบ; อานาปานสตสิ มาธิ อนั ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั เจรญิ ท�ำ ใหม้ ากแลว้ กย็ งั เปน็ ไปเพอ่ื การอยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั ดว้ ย เพอ่ื สตสิ มั ปชญั ญะดว้ ย. มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๒-๔๑๓/๑๓๖๔-๑๓๖๗.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 8​ 7 ๓๔ ผ้ไู มป่ ระมาทในความตายแทจ้ ริง ภิกษุทั้งหลาย ! มรณสติ (การระลึกถึงความตาย) อัน บคุ คลเจริญ ท�ำ ให้มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มอี านิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญ มรณสติอยู่บ้างหรือ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู ตอบ และพระผมู้ พี ระภาคไดต้ รสั ตอ่ ไปวา่ ; ภิกษุทง้ั หลาย ! ภกิ ษพุ วกทเ่ี จรญิ มรณสตอิ ยา่ งนว้ี า่ “โอหนอ เราอาจจะมีชีวติ อยู่ไดเ้ พยี งวนั หนงึ่ คืนหนงึ่ ... ดงั นก้ี ด็ ,ี เราอาจมชี วี ติ อยไู่ ดเ้ พยี งชว่ั เวลากลางวนั ... ดงั น้ี ก็ด,ี เราอาจมีชีวิตอยู่ได้เพียงช่ัวขณะท่ีฉนั บณิ ฑบาตเสร็จ มื้อหนึ่ง... ดังนี้ก็ดี, เราอาจมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะ ท่ีฉันอาหารเสรจ็ เพยี ง ๔-๕ คำ� เราพึงใสใ่ จถงึ คำ�สอน ของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ เถดิ การปฏิบัติตามคำ�สัง่ สอน ควรทำ�ให้มากแลว้ หนอ” ดังนี้ก็ด,ี ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า ยังเป็นผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติเพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป.

8​ 8 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติ อยา่ งนี้วา่ “โอหนอ เราอาจจะมชี ีวติ อยไู่ ด้เพียงช่วั ขณะที่ ฉนั อาหารเสรจ็ เพยี งค�ำ เดยี ว” ดงั นก้ี ด็ ,ี วา่ “โอหนอ เราอาจ มีชีวติ อยไู่ ดเ้ พียงชั่วขณะทหี่ ายใจเข้า แลว้ หายใจออก หรอื ชว่ั ขณะหายใจออกแลว้ หายใจเข้า. เราพงึ ใส่ใจถึง คำ�สอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด, การปฏิบัติตาม คำ�สอนควรทำ�ให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี; ภกิ ษุเหลา่ น้ี เราเรยี กวา่ เป็นผู้ไม่ประมาทแลว้ , เป็นผ้เู จรญิ มรณสติเพือ่ ความสน้ิ อาสวะอย่างแทจ้ ริง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เพราะฉะนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอ ทงั้ หลายพึงสำ�เหนียกใจไว้วา่ “เราทั้งหลาย จักเป็นผู้ไม่ประมาทเป็นอยู่, จักเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะอย่างแท้จริง” ดังน้.ี ภกิ ษุท้ังหลาย ! เธอทั้งหลาย พึงสำ�เหนียกใจไว้ อย่างนี้แล. อฏฺก. อ.ํ ๒๓/๓๒๗/๑๗๐.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 8​ 9 ๓๕ ทางรอดส�ำ หรับภกิ ษไุ ข้ ภกิ ษุท้งั หลาย ! ภกิ ษุไข้ผมู้ กี �ำ ลงั น้อยรูปใด ไม่ละ จากธรรม ๕ อย่าง, เธอพึงหวังผลอันนไี้ ด้ คอื เธอจัก ท�ำ ใหแ้ จง้ เจโตวิมุตติ ปญั ญาวมิ ุตติ อนั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง ในปัจจุบนั เข้าถงึ แล้วแลอยู่ ตอ่ กาลไม่นานเลย. ธรรม ๕ อยา่ งอะไรบ้างเลา่ ? ๕ อย่างคือ :- (๑) เปน็ ผพู้ จิ ารณา เหน็ ความไมง่ ามในกายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ ; (๒) เปน็ ผู้ที่มีการกำ�หนดหมาย ความเป็นปฏิกลู ในอาหารอยู่เป็นประจ�ำ ; (๓) เป็นผู้ท่มี ีการก�ำ หนดหมาย ความไม่นา่ ยินดี ในโลกทั้งปวงอยเู่ ปน็ ประจ�ำ ; (๔) เป็นผู้ที่มีการก�ำ หนดหมาย ความไม่เท่ียงใน สงั ขารทัง้ ปวงอยู่เป็นประจ�ำ ; (๕) มสี ติอันตนเขา้ ไปตั้งไวด้ แี ล้วในกาย แล้วเห็น การเกดิ ดับ ในภายใน.

9​ 0 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษไุ ข้ผมู้ ีกำ�ลงั นอ้ ยรูปใด ไมล่ ะ จากธรรม ๕ อยา่ งเหล่าน้,ี เธอพงึ หวงั ผลอันน้ีได้ คอื เธอจกั ทำ�ให้แจ้งเจโตวมิ ตุ ติ ปัญญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะ มไิ ด้ เพราะความสน้ิ ไปแห่งอาสวะทัง้ หลาย ด้วยปญั ญา อนั ยง่ิ เองในปจั จบุ นั เขา้ ถงึ แลว้ แลอยู่ ตอ่ กาลไมน่ านเลย. ปญจฺ ก. อํ. ๒๒/๑๖๐/๑๒๑.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 9​ 1 ๓๖ เมอื่ “เธอ” ไมม่ ี ! พาหิยะ ! เมอื่ ใดเธอเหน็ รูปแล้ว สกั ว่าเห็น, ไดฟ้ ังเสยี งแล้ว ก็สักว่าฟัง, ไดด้ มกลนิ่ แลว้ ก็สกั ว่าดม, ได้ลม้ิ รสแล้ว กส็ กั วา่ ลิม้ , ได้สมั ผัสทางผวิ กายแลว้ ก็สกั วา่ สมั ผัส, ไดร้ แู้ จง้ ธรรมารมณ์ ก็สักวา่ ไดร้ ู้แจ้งแล้ว, เมอ่ื น้ัน “เธอ” จักไมม่ .ี เมอื่ ใด “เธอ” ไมม่ ,ี เมอ่ื นน้ั เธอกไ็ ม่ปรากฏในโลกน้ี, ไมป่ รากฏในโลกอน่ื , ไมป่ รากฏในระหวา่ งแห่งโลกทงั้ สอง, นน่ั แหละคือ ที่สดุ แห่งทกุ ข์. อ.ุ ขุ. ๒๕/๘๓/๔๙.

9​ 2 พุทธวจน ๓๗ ความดบั ทกุ ขม์ ี เพราะความดบั แหง่ นนั ทิ ปณุ ณะ ! รปู ทเ่ี หน็ ดว้ ยตากด็ ,ี เสยี งทฟ่ี งั ดว้ ยหกู ด็ ,ี กล่นิ ทดี่ มด้วยจมูกกด็ ,ี รสทลี่ ้ิมด้วยลิ้นก็ด,ี โผฏฐัพพะท่ี สัมผสั ดว้ ยกายกด็ ,ี ธรรมารมณท์ รี่ ู้แจง้ ดว้ ยใจกด็ ี อันเป็น ส่ิงที่นา่ ปรารถนา นา่ รักใคร่ น่าพอใจ เป็นท่ียวนตายวนใจ ให้รกั เปน็ ที่เขา้ ไปตั้งอาศัยอย่แู ห่งความใคร่ เป็นทีต่ ้งั แห่งความกำ�หนัดย้อมใจ มอี ย่;ู ภิกษยุ อ่ มไม่เพลิดเพลนิ ไม่พรำ�่ สรรเสรญิ ไมเ่ มาหมก ซ่ึงอารมณม์ ีรูปเป็นต้นนั้น. เมอ่ื ภกิ ษไุ ม่เพลดิ เพลนิ ไมพ่ รำ่�สรรเสริญ ไมเ่ มาหมก ซง่ึ อารมณ์ มีรูปเป็นต้นนั้นอยู่, นนั ทิ (ความเพลนิ ) ยอ่ มดับไป. ปณุ ณะ ! เรากลา่ ววา่ “ความดบั ไมม่ เี หลอื ของทกุ ข์ มไี ด้ เพราะความดบั ไมเ่ หลอื ของความเพลนิ ” ดงั นแ้ี ล. อุปริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๖.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 9​ 3 ๓๘ อาการดบั แหง่ ตณั หาในนามแหง่ นนั ทิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภิกษนุ นั้ เหน็ รปู ดว้ ยตาแลว้ ยอ่ ม ไมก่ �ำ หนดั ยนิ ดใี นรปู อนั มลี กั ษณะเปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความรกั ; ย่อมไม่ขัดเคืองในรูป อันมีลักษณะเป็นที่ตั้งแห่งความ เกลยี ดชัง; เป็นผู้อยู่ดว้ ยสติเปน็ ไปในกาย อันตนเข้าไป ตง้ั ไวแ้ ลว้ มจี ติ หาประมาณมไิ ดด้ ว้ ย ยอ่ มรชู้ ดั ตามเปน็ จรงิ ซง่ึ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ติ อนั เปน็ ธรรมทด่ี บั โดยไมเ่ หลอื แหง่ ธรรมอนั เป็นบาปอกศุ ลท้งั หลายดว้ ย. ภิกษุนนั้ เป็น ผู้ละเสียได้แล้ว ซึ่งความยินดีและความยินร้ายอย่างนี้ แล้ว, เสวยเวทนาใดๆ อันเป็นสขุ กต็ าม เปน็ ทุกขก์ ็ตาม ไมเ่ ปน็ ทกุ ขไ์ ม่เป็นสขุ กต็ าม, ยอ่ มไม่เพลิดเพลนิ ไมพ่ ร�่ำ สรรเสริญ ไมเ่ มาหมกอยู่ในเวทนานัน้ ๆ. เมื่อภิกษุนั้น ไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำ�สรรเสริญ ไมเ่ มาหมกอยใู่ นเวทนานน้ั ๆ, นนั ทิ (ความเพลนิ ) ในเวทนา ทั้งหลายเหล่านั้น ย่อมดับไป. เพราะความดับแหง่ นันทิ ของภกิ ษุนั้น จึงมีความดับแหง่ อุปาทาน; เพราะมีความ

9​ 4 พุทธวจน ดับแหง่ อปุ าทาน จงึ มีความดับแหง่ ภพ; เพราะมีความ ดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ; เพราะมีความดับ แห่งชาติ ชรามรณะโสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาส ทั้งหลาย จึงดับสิ้น ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นน้ี ยอ่ มมีด้วยอาการอย่างนี.้ (ในกรณแี หง่ การไดย้ นิ เสยี งดว้ ยหู ดมกลน่ิ ดว้ ยจมกู ลม้ิ รส ดว้ ยลน้ิ ถกู ตอ้ งสมั ผสั ทางผวิ หนงั ดว้ ยผวิ กาย และรแู้ จง้ ธรรมารมณ์ ดว้ ยใจ กไ็ ดต้ รสั ไวท้ �ำ นองเดยี วกนั ). ภิกษุทั้งหลาย ! เธอจงทรงธรรมะนี้ไว้ ในฐานะ ที่เป็นธรรมที่ทำ�ความหลุดพ้น เพราะความสิ้นไปแห่ง ตัณหา ซึ่งเรากล่าวไว้โดยสังเขป. มู. ม. ๑๒/๔๙๒/๔๕๘.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 9​ 5 ๓๙ ผู้แบกของหนัก ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! เราจกั แสดงของหนกั ผแู้ บกของหนกั และการแบกของหนัก แกพ่ วกเธอ, เธอท้งั หลายจงฟงั ข้อความนน้ั . ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! อะไรเล่าช่อื ว่าของหนัก ? ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! อุปาทานกั ขันธ์ทัง้ หา้ น้นั แหละ เรากลา่ ววา่ เปน็ ของหนกั . อุปาทานกั ขันธ์ท้งั ห้า เหลา่ ไหนเล่า ? คือ :- ขันธอ์ ันเปน็ ทต่ี ั้งแห่งความยดึ มัน่ คือ รูป, ขันธ์อนั เป็นท่ีตั้งแห่งความยึดมน่ั คอื เวทนา, ขนั ธ์อนั เปน็ ที่ตงั้ แหง่ ความยดึ มน่ั คอื สญั ญา, ขันธอ์ ันเปน็ ทต่ี ้ังแหง่ ความยดึ มนั่ คอื สังขาร, และขนั ธอ์ ันเปน็ ท่ตี งั้ แหง่ ความยึดมนั่ คือ วิญญาณ. ภิกษทุ ั้งหลาย ! นเี้ ราเรียกว่า ของหนัก.

9​ 6 พุทธวจน ภิกษุทั้งหลาย ! อะไรเลา่ ชือ่ ว่าผู้แบกของหนกั ? ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! บคุ คล (ตามสมมต)ิ นน้ั แหละ เรา เรยี กวา่ ผแู้ บกของหนกั เขามชี ่ืออย่างนี้ มโี คตรอยา่ งนนั้ ตามที่รู้กันอยู.่ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! น้ีเราเรียกวา่ ผ้แู บกของหนกั . ภิกษทุ งั้ หลาย ! อะไรเลา่ ชอ่ื วา่ การแบกของหนกั ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตัณหาอันใดที่ทำ�ให้มีการเกิดอีก อนั ประกอบดว้ ยความก�ำ หนดั เพราะอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ ซึ่งมีปกติทำ�ให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้นๆ ได้แก่ ตัณหาในกาม ตัณหาในความมีความเป็น ตัณหาใน ความไมม่ ไี มเ่ ป็น. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! น้เี ราเรยี กว่า การแบกของหนกั . ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๒/๔๙-๕๑.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 9​ 7 ๔๐ ดบั ตณั หา คือปลงภาระหนกั ลงได้ ภิกษทุ ้งั หลาย ! การปลงภาระหนกั ลงเสยี ได้ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความดับสนิทเพราะความจางคลายดบั ไป โดยไม่เหลอื ของตณั หาน้นั น่ันเทยี ว, ความละไปของตัณหาน้นั , ความสลัดกลับคนื ของตัณหาน้นั , ความหลดุ ออกไปของตณั หาน้ัน, และความไม่มีท่ีอาศัยอีกต่อไปของตัณหาน้ัน อนั ใด. ภิกษุทงั้ หลาย ! อนั นเี้ ราเรยี กวา่ การปลงภาระหนกั ลงเสยี ได้ ดงั น้ี.

9​ 8 พุทธวจน พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ได้ตรสั พทุ ธวจนน้ี ซึ่งเปน็ คำ�รอ้ ยกรองสืบต่อไป : “ขนั ธ์ท้งั ห้าเป็นของหนกั ! บุคคลนั้นแหละ เป็นผู้แบกของหนักพาไป. การแบกถือของหนัก เป็นความทุกข์ในโลก. การปลงภาระหนักเสียได้ เป็นความสุข. พระอริยเจ้า ปลงภาระหนักลงเสียแล้ว. ทั้งไม่หยิบฉวยเอาของหนักอันอื่นขึ้นมาอีก. กเ็ ป็นผู้ถอนตัณหาขนึ้ ไดก้ ระท่งั ราก (อวิชชา); เปน็ ผหู้ มดสง่ิ ปรารถนา ดบั สนทิ ไมม่ สี ว่ นเหลอื ” ดังน้.ี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๓๒/๕๒-๕๓.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 9​ 9 ๔๑ ตอ้ งทอ่ งเทย่ี วมาแลว้ เพราะไมร่ อู้ รยิ สจั ส่ี ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เพราะไม่รู้ถงึ เพราะไมแ่ ทงตลอด ซ่ึงอรยิ สจั สี่อย่าง เราและพวกเธอทัง้ หลาย จงึ ท่องเท่ียว ไปแลว้ ในสังสารวฏั ตลอดกาลยืดยาวนานถึงเพยี งน้ี. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! เพราะไมร่ ถู้ ึง เพราะไม่แทงตลอด ซงึ่ อริยสจั สอ่ี ยา่ งเหลา่ ไหนเลา่ ? ส่ีอย่างคอื :- อรยิ สจั คอื ทกุ ข,์ อริยสจั คอื เหตุให้เกิดทกุ ข์, อรยิ สจั คอื ความดับไมเ่ หลือแหง่ ทุกข,์ อริยสัจคอื ทางด�ำ เนนิ ให้ถึงความดบั ไมเ่ หลือแหง่ ทุกข.์ ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะไมร่ ถู้ ึง เพราะไมแ่ ทงตลอด ซึ่งอรยิ สัจส่ีประการเหลา่ นีแ้ ล, เราและพวกเธอทง้ั หลาย จึงได้ท่องเทีย่ วไปแลว้ ในสงั สารวัฏ ตลอดกาลยืดยาวนาน ถึงเพยี งน้.ี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๑/๑๖๙๘.

1​ 00 พุทธวจน ๔๒ ที่สุดแห่งการท่องเท่ียวของพระองค์ เมื่อเรายงั คน้ ไมพ่ บแสงสวา่ ง, มัวเสาะหานายช่างปลูกเรอื นอย่,ู ไดท้ อ่ งเทยี่ วไปในสังสารวฏั กลา่ วคือ ความเกดิ แลว้ เกดิ อีกเป็นอเนกชาติ. ความเกิด เปน็ ทุกข์ร่ำ�ไปทกุ ชาต.ิ แน่ะนายชา่ งผปู้ ลูกสร้างเรอื น ! เราร้จู ักเจา้ เสยี แล้ว, เจ้าจกั สรา้ งเรอื นใหเ้ รา ต่อไปอกี ไม่ได้, โครงเรอื นของเจา้ เราหกั เสยี ยับเยินหมดแล้ว. ยอดเรือน เราขยเ้ี สยี แลว้ . จติ ของเรา ถงึ ความเป็นธรรมชาติ ท่อี ารมณ์จะยแุ หย่ ย่ัวเย้า ไมไ่ ด้เสยี แลว้ มนั ได้ถงึ แล้ว ซ่งึ ความหมดอยากทุกอยา่ ง. ธ. ข.ุ ๒๕/๓๕/๒๑.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 01

1​ 02 พุทธวจน ๔๓ “ส่ิงน้ัน” หาพบในกายน้ี “แนะ่ เธอ ! ท่ีสุดโลกแหง่ ใด อนั สัตว์ไมเ่ กดิ ไมแ่ ก่ ไมต่ าย ไม่จตุ ิ ไม่อุบตั ;ิ เราไม่กลา่ วว่า ใครๆ อาจรู้ อาจเหน็ อาจถึงทีส่ ุดแหง่ โลกน้ัน ได้ดว้ ยการไป. “แน่ะเธอ ! ในรา่ งกายท่ียาวประมาณวาหน่ึง ท่ียังประกอบดว้ ยสญั ญาและใจน้ีเอง, เราไดบ้ ญั ญตั โิ ลก, เหตใุ หเ้ กดิ โลก, ความดับสนทิ ไม่เหลอื ของโลก, และทางดำ�เนินให้ถงึ ความดบั สนทิ ไม่เหลือ ของโลกไว้” ดงั นแี้ ล. จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๖๐/๔๕.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 03 ๔๔ ทรงมีความชราทางกายภาพ เหมือนคนท่ัวไป (ลำ�ดับนั้น พระอานนท์ผู้มีอายุ ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วลูบคลำ�ทั่วพระกายของผู้มีพระภาคอยู่ พลางกล่าวถ้อยคำ�นี้ว่า) “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ขอ้ นน้ี า่ อศั จรรย;์ ขอ้ นไ้ี มเ่ คยมมี ากอ่ น. ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! บดั นฉ้ี ววี รรณของพระผมู้ พี ระภาค ไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ ผดุ ผอ่ งเหมอื นแตก่ อ่ น และพระกายกเ็ หย่ี วยน่ หยอ่ นยาน มพี ระองค์ คอ้ มไปขา้ งหนา้ อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายกเ็ ปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื ไปหมด ทง้ั พระ จกั ษุ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กายะ”. อานนท์ ! น่ันต้องเป็นอยา่ งนัน้ คือ ความชรามี (ซ่อน) อยใู่ นความหนมุ่ , ความเจบ็ ไข้มี (ซ่อน) อยู่ในความไม่มโี รค, ความตายมี (ซอ่ น) อยใู่ นชีวิต; ฉวีวรรณจงึ ไมบ่ ริสุทธ์ิผุดผอ่ งเสยี แลว้ และกายก็เหี่ยวย่น หย่อนยาน ตัวคอ้ มไปข้างหนา้ อินทรยี ท์ งั้ หลายกเ็ ปล่ยี น เปน็ อย่างอ่นื ไปหมด ท้ังตา หู จมกู ลิ้น กาย ดังน้ี.

1​ 04 พุทธวจน พระผมู้ พี ระภาคครน้ั ตรสั ค�ำ นแ้ี ลว้ ไดต้ รสั ขอ้ ความน้ี (เปน็ ค�ำ กาพยก์ ลอน) อกี วา่ : โธเ่ อ๋ย ! ความแก่อนั ชัว่ ชา้ เอ๋ย ! ความแกอ่ นั ท�ำ ความน่าเกลียดเอย๋ ! กายทีน่ ่าพอใจ บัดน้กี ็ถกู ความแกย่ �่ำ ยีหมดแลว้ แมใ้ ครจะมีชีวิตอยตู่ งั้ ร้อยปี ทุกคนก็ยงั มคี วามตาย เปน็ ทไ่ี ปในเบอื้ งหนา้ ความตายไมย่ กเวน้ ให้แกใ่ ครๆ มันย�่ำ ยีหมดทกุ คน. มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๘๗/๙๖๒-๙๖๕.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 05 ๔๕ ทรงประกาศธรรม เนือ่ งด้วยการปลงอายุสงั ขาร ภิกษุทง้ั หลาย ! ธรรมเหล่าใดทีเ่ ราแสดงแล้ว ด้วย ปญั ญาอนั ยง่ิ ธรรมเหลา่ นน้ั พวกเธอพงึ เรยี นเอาใหด้ ี พงึ เสพให้ทวั่ พึงเจริญท�ำ ให้มาก โดยอาการทพี่ รหมจรรย์ (คือศาสนาน้ี) จกั มน่ั คง ตงั้ อย่ไู ด้ตลอดกาลนาน, ข้อนน้ั จักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่มหาชน เพื่อความสุข แก่มหาชน, เพื่ออนุเคราะห์โลก, เพื่อประโยชน์ เพื่อ ความเกอ้ื กลู เพือ่ ความสุขแก่เทวดาและมนษุ ยท์ ้งั หลาย. ภกิ ษุทั้งหลาย ! ธรรมเหลา่ ไหนเล่า ท่เี ราแสดงแลว้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยิง่ ฯลฯ, คือ :- สตปิ ฏั ฐานส ี่ สัมมัปธานสี่ อิทธบิ าทส่ี อินทรยี ์ห้า พละหา้ โพชฌงค์เจ็ด อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด.

1​ 06 พุทธวจน ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! บัดนี้เราจักเตอื นทา่ นทั้งหลายว่า : สงั ขารท้งั หลาย มคี วามเส่อื มเปน็ ธรรมดา พวกเธอจงให้ ถึงพรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาทเถดิ , การปรินิพพานของ ตถาคต จักมีในกาลไม่นานเลย ตถาคตจกั ปรินิพพาน โดยกาลล่วงไปแหง่ สามเดอื นน้ี. สัตวท์ ัง้ ปวง ทง้ั ทเี่ ป็นคนหนุ่มและคนแก,่ ท้ังท่ี เป็นคนพาล และบัณฑติ , ทัง้ ทม่ี ่งั มีและยากจน ล้วนแต่ มคี วามตาย เปน็ ท่ไี ปถงึ ในเบือ้ งหนา้ , เปรยี บเหมอื น ภาชนะดนิ ทชี่ า่ งหม้อป้ันแลว้ ทั้งเล็กและใหญ,่ ทง้ั ท่ีสุก แลว้ และยงั ดบิ ลว้ นแตม่ กี ารแตกท�ำ ลายเปน็ ทส่ี ดุ ฉนั ใด; ชวี ติ แหง่ สตั วท์ ง้ั หลาย กม็ คี วามตายเปน็ เบอ้ื งหนา้ ฉนั นน้ั . วยั ของเราแก่หง่อมแลว้ ชีวติ ของเราริบหรี่แลว้ เราจกั ละพวกเธอไป สรณะของตวั เองเราไดท้ �ำ ไวแ้ ลว้ . ภิกษทุ ้ังหลาย ! พวกเธอจงเปน็ ผ้ไู ม่ประมาท มสี ติ มศี ลี เปน็ อยา่ งดี มคี วามด�ำ รอิ นั ตง้ั ไวแ้ ลว้ ดว้ ยดี ตาม รกั ษาซง่ึ จติ ของตนเถดิ . ในธรรมวนิ ยั น้ี ภกิ ษใุ ดเปน็ ผู้ ไมป่ ระมาทแลว้ จกั ละชาตสิ งสาร ท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ มหา. ที. ๑๐/๑๔๐/๑๐๗-๑๐๘.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 07 ๔๖ ผใู้ ดเห็นธรรม ผ้นู น้ั เห็นเรา “อย่าเลย วกั กลิ ! ประโยชน์อะไรดว้ ยการเหน็ กายเนา่ นี.้ วักกลิ ! ผู้ใดเหน็ ธรรม ผนู้ น้ั เห็นเรา, ผ้ใู ดเหน็ เรา ผู้นน้ั เห็นธรรม. วักกลิ ! เพราะวา่ เมอ่ื เหน็ ธรรมอย ู่ กค็ อื เห็นเรา, เมื่อเห็นเราอยู่ ก็คือเหน็ ธรรม” ภิกษุท้ังหลาย ! แมภ้ ิกษจุ บั ชายสงั ฆาฏิ เดินตาม รอยเท้าเราไปข้างหลังๆ. แต่ถ้าเธอนั้น มากไปด้วย อภิชฌา มีกามราคะกล้า มีจิตพยาบาท มีความดำ�ริ แห่งใจเป็นไปในทางประทุษร้าย มีสติหลงลืม ไม่มี สัมปชัญญะ มจี ติ ไม่เป็นสมาธิ แกว่งไปแกว่งมา ไม่ สำ�รวมอนิ ทรยี ์ แล้วไซร้; ภิกษนุ น้ั ชอ่ื วา่ อยไู่ กลจากเรา แมเ้ รากอ็ ย่ไู กลจากภกิ ษนุ นั้ โดยแท.้

1​ 08 พุทธวจน ข้อนั้นเพราะเหตไุ รเลา่ ? ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ขอ้ น้ันเหตเุ พราะว่า ภกิ ษนุ น้ั ไมเ่ หน็ ธรรม เมอ่ื ไมเ่ หน็ ธรรม กช็ อ่ื วา่ ไมเ่ หน็ เรา. ภิกษทุ ั้งหลาย ! แม้ภิกษุนั้นจะอยู่ห่าง (จากเรา) ตงั้ ร้อยโยชน์ แต่ถา้ เธอน้นั ไม่มากไปด้วยอภชิ ฌา ไมม่ ี กามราคะกลา้ ไมม่ จี ติ พยาบาท ไมม่ คี วามดำ�ริแห่งใจ เปน็ ไปในทางประทษุ รา้ ย มสี ตติ ง้ั มน่ั มสี มั ปชญั ญะ มจี ติ เปน็ สมาธิ ถึงความเป็นเอกัคคตา (จติ มีอารมณอ์ ันเดยี ว) ส�ำ รวมอนิ ทรีย์ แล้วไซร;้ ภกิ ษนุ น้ั ช่ือว่าอยใู่ กลก้ บั เรา แมเ้ ราก็อยู่ใกลก้ บั ภิกษนุ นั้ โดยแท.้ ขอ้ นั้นเพราะเหตไุ รเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตวุ ่า ภกิ ษนุ ั้นเห็นธรรม เม่ือเหน็ ธรรม ก็ชอื่ วา่ เห็นเรา แล. ขนธฺ . สํ. ๑๗/๑๔๖/๒๑๖. อติ วิ ุ. ข.ุ ๒๕/๓๐๐/๒๗๒.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 09 ๔๗ ถงุ ธรรม ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ภิกษุในธรรมวินยั นี้ ยอ่ มเลา่ เรียน ปริยัตธิ รรม (นานาชนิด) คอื สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อทุ าน อติ ิวุตตกะ ชาตกะ อัพภตู ธัมมะ เวทลั ละ, แต่เธอไม่ใช้วันท้ังวันให้เปลืองไปด้วยการเรียนธรรม นน้ั ๆ ไมเ่ รดิ รา้ งจากการหลกี เรน้ , ตามประกอบซง่ึ ธรรม เป็นเครื่องสงบใจในภายในเนืองๆ. ภิกษุอย่างนี้แล ช่อื ว่า ธรรมวหิ ารี (ผอู้ ยู่ด้วยธรรม). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษผุ มู้ ากดว้ ยปรยิ ตั ิ เรากแ็ สดงแลว้ , ผู้มากด้วยการบัญญัติ เราก็แสดงแล้ว, ผู้มากด้วยการ สาธยาย เรากแ็ สดงแลว้ , ผมู้ ากดว้ ยการคดิ เรากแ็ สดงแลว้ , และธรรมวหิ ารี (ผอู้ ยดู่ ว้ ยธรรม) เรากแ็ สดงแลว้ ดว้ ยประการ ฉะน.้ี ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! กจิ อนั ใดทศ่ี าสดาผเู้ อน็ ดู แสวงหา ประโยชนเ์ กอ้ื กลู อาศยั ความเอน็ ดแู ลว้ จะพงึ ท�ำ แกส่ าวก ทง้ั หลาย, กจิ อนั นน้ั เราไดท้ �ำ แลว้ แกพ่ วกเธอทง้ั หลาย.

1​ 10 พุทธวจน ภิกษุทงั้ หลาย ! นัน่ โคนไม้ทง้ั หลาย นั่น เรือนวา่ งทั้งหลาย, ภกิ ษุทง้ั หลาย ! เธอทง้ั หลาย จงเพียรเผากเิ ลส, อย่าไดเ้ ปน็ ผูป้ ระมาท, เธอทงั้ หลาย อย่าเปน็ ผทู้ ่ีตอ้ งร้อนใจในภายหลังเลย, นแ่ี ล เปน็ วาจาเครอ่ื งพร�ำ่ สอนพวกเธอทง้ั หลายของเรา. ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๙๘/๗๓.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 11 ๔๘ การปรนิ พิ พานในปจั จุบนั ภิกษุ ! ถา้ ภิกษแุ สดงธรรม เพ่ือความเบื่อหนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชราและ มรณะ อยไู่ ซร;้ กเ็ ปน็ การสมควร เพอ่ื จะเรยี กภกิ ษนุ น้ั วา่ “ผูก้ ลา่ วซ่ึงธรรม (ธรรมถกึ )” ดงั น.้ี ถา้ ภกิ ษเุ ปน็ ผปู้ ฏิบัตแิ ลว้ เพอ่ื ความเบ่ือหน่าย เพื่อ ความคลายกำ�หนัด เพื่อความดับไม่เหลือแห่งชราและ มรณะ อยู่ไซร;้ ก็เปน็ การสมควร เพือ่ จะเรียกภกิ ษุนน้ั ว่า “ผู้ปฏิบตั ิแลว้ ซง่ึ ธรรมตามสมควรแกธ่ รรม” ดงั น.ี้ ถ้าภิกษุเปน็ ผ้หู ลดุ พ้นแลว้ เพราะความเบ่ือหน่าย เพราะความคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรา และมรณะ ด้วยความเป็นผู้ไม่ยดึ มั่นถอื มนั่ อยแู่ ล้วไซร;้ ก็เป็นการสมควรเพื่อจะเรียกภิกษุนั้นว่า “ผู้บรรลุแล้ว ซึ่งนิพพานในปัจจุบัน” ดังนี้. (ในกรณแี หง่ ชาติ ภพ อุปาทาน ตณั หา เวทนา ผสั สะ สฬายตนะ นามรปู วญิ ญาณ สงั ขาร และอวิชชา กม็ ขี อ้ ความที่ กลา่ วไวอ้ ยา่ งเดยี วกนั กบั ในกรณแี หง่ ชราและมรณะ ทก่ี ลา่ วไวข้ า้ งบนน)้ี . นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๒๒/๔๖.

1​ 12 พุทธวจน

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 13 ๔๙ ต้ังหน้าทำ�กแ็ ล้วกนั ภิกษุทั้งหลาย ! กิจของคหบดีชาวนา ทเ่ี ขาจะต้อง รบี ท�ำ มีสามอย่างเหลา่ น้.ี สามอย่างอะไรบา้ งเล่า ? สามอยา่ งคอื คหบดีชาวนา รีบๆ ไถคราดพ้นื ท่นี า ให้ดีเสยี ก่อน, ครน้ั แล้ว กร็ บี ๆ ปลูกพืช, ครน้ั แล้วกร็ ีบๆ ไขน�้ำ เขา้ บ้าง ไขน�้ำ ออกบา้ ง. ภกิ ษุทงั้ หลาย ! กิจของคหบดีชาวนา ที่เขาจะตอ้ ง รีบท�ำ มีสามอย่างเหล่าน้แี ล; แตว่ า่ คหบดชี าวนานน้ั ไมม่ ี ฤทธห์ิ รอื อานภุ าพ ทจ่ี ะบนั ดาลวา่ “ขา้ วของเรา จงงอกใน วนั น,้ี ตง้ั ทอ้ งพรงุ่ น,้ี สกุ มะรนื น”้ี ดังนไ้ี ดเ้ ลย, ทแี่ ท้ ยอ่ มมี เวลาท่ขี ้าวน้นั เปล่ียนแปรสภาพไปตามฤดกู าล ย่อมจะ งอกบ้าง ต้งั ท้องบ้าง สุกบา้ ง; ภิกษทุ ั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น : กจิ ของภกิ ษุ ทเ่ี ธอ จะต้องรบี ทำ� มสี ามอย่างเหล่าน้ี.

1​ 14 พุทธวจน สามอย่างอะไรบา้ งเล่า ? สามอย่างคอื :- การสมาทานการปฏบิ ตั ใิ นศลี อันย่งิ , การสมาทานการปฏบิ ัตใิ นจิตอันย่งิ , และการสมาทานการปฏบิ ตั ใิ นปญั ญาอนั ยง่ิ . ภิกษุทง้ั หลาย ! กิจของภิกษุ ที่เธอจะต้องรีบทำ� มีสามอยา่ งเหลา่ น้แี ล; แต่ว่าภิกษุนั้น ก็ไม่มีฤทธิ์หรืออานุภาพ ที่จะ บันดาลวา่ “จติ ของเรา จงหลุดพ้นจากอาสวะทง้ั หลาย เพราะไม่มอี ปุ าทานในวันนี้ หรือพร่งุ น้ี หรอื มะรืนน้”ี ดงั นไ้ี ดเ้ ลย, ทแ่ี ท้ ยอ่ มมเี วลาทเ่ี หมาะสม เมอ่ื ภกิ ษนุ น้ั ปฏิบัติไปแม้ในศีลอันยิ่ง, ปฏิบัติไปแม้ในจิตอันยิ่ง, และปฏิบัติไปแม้ในปัญญาอันยิ่ง จิตก็จะหลุดพ้นจาก อาสวะทั้งหลาย เพราะไม่มีอุปาทานได้เอง. ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๐๙/๕๓๒.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 15 ๕๐ ทรงเปน็ ผเู้ อน็ ดเู กอ้ื กลู แกส่ รรพสตั วท์ ง้ั ปวง “ขา้ แต่พระองค์ผ้เู จริญ ! พระผมู้ พี ระภาค ทรงเป็นผูเ้ อ็นดู เกือ้ กลู แก่สตั วท์ ้งั ปวง อยูม่ ใิ ชห่ รือ พระเจา้ ข้า ?”. คามณิ ! ถูกแลว้ , ตถาคตเปน็ ผ้เู อ็นดเู กื้อกูลแก่ สตั วท์ ง้ั ปวงอย.ู่ “ขา้ แตพ่ ระองค์ผู้เจรญิ ! ถา้ อย่างน้นั ทำ�ไมพระองค์ จงึ ทรงแสดงธรรมแกค่ นบางพวก โดยเอ้ือเฟอื้ , และแก่คนบางพวก โดยไมเ่ อื้อเฟื้อเลา่ พระเจา้ ขา้ ?” คามณิ ! ถ้าอย่างนั้น เราขอยอ้ นถามทา่ นในขอ้ นี้ ท่านจงตอบเราตามทค่ี วร. คามณิ ! ท่านจะส�ำ คัญความ ข้อนี้เป็นไฉน : ในถน่ิ แหง่ เราน้ี ชาวนาผคู้ หบดีคนหนง่ึ มีนาอยู่ ๓ แปลง แปลงหนง่ึ เป็นนาช้นั เลศิ , แปลงหน่งึ เปน็ นาปานกลาง, แปลงหนง่ึ เปน็ นาเลว มดี นิ เปน็ กอ้ นแขง็ มีรสเค็ม พืน้ ที่เลว. คามณิ ! ท่านจะสำ�คญั ความข้อนี้ ว่าอยา่ งไร : ชาวนาผคู้ หบดีนั้น เมื่อประสงคจ์ ะหวา่ นพืช เขาจะหวา่ นในนาแปลงไหนกอ่ น คอื วา่ แปลงทเ่ี ปน็ นาเลศิ ,

1​ 16 พุทธวจน นาปานกลาง, หรือว่านาเลว มดี ินเป็นกอ้ นแข็ง มีรสเค็ม พ้นื ทีเ่ ลวเลา่ ? “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ชาวนาคหบดผี ปู้ ระสงคจ์ ะหวา่ นพชื คนนน้ั ยอ่ มหวา่ นในนาเลศิ กอ่ น, แลว้ จงึ หวา่ นในนาปานกลาง, ส�ำ หรบั นาเลว ซง่ึ ดนิ เปน็ กอ้ นแขง็ มรี สเคม็ พน้ื ทเ่ี ลวนน้ั เขาก็ หวา่ นบา้ ง ไมห่ วา่ นบา้ ง เพราะเหตวุ า่ อยา่ งมากทส่ี ดุ กห็ วา่ นไว้ ใหโ้ คกนิ พระเจา้ ขา้ !” คามณิ ! นาเลิศนั้น เปรียบเหมือนภิกษุ ภกิ ษณุ ี ของเรา เราย่อมแสดงธรรม งดงามในเบือ้ งตน้ งดงาม ในท่ามกลาง งดงามในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์บรสิ ทุ ธ์ิ บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้งพยัญชนะ แก่ภิกษุ ภิกษุณีเหล่านั้น. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? คามณิ ! เพราะเหตุว่า ภิกษุ ภิกษุณีทั้งหลายเหล่านั้น มเี ราเปน็ ประทปี มเี ราเปน็ ทซ่ี อ่ นเรน้ มเี ราเปน็ ทต่ี า้ นทาน มเี ราเปน็ ทพ่ี งิ อาศยั อย.ู่ คามณิ ! นาปานกลางน้ัน เปรียบเหมือนอุบาสก อบุ าสิกาของเรา เราย่อมแสดงธรรม งดงามในเบอ้ื งตน้ งดงามในทา่ มกลาง งดงามในท่สี ดุ ประกาศพรหมจรรย์

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 17 บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง พร้อมทั้งอรรถะ พร้อมทั้ง พยญั ชนะ แกอ่ บุ าสก อบุ าสกิ าทง้ั หลายเหลา่ นน้ั . ขอ้ นน้ั เพราะเหตุไรเล่า ? คามณิ ! เพราะเหตวุ า่ ชนทงั้ หลายเหล่าน้ัน มเี รา เป็นประทีป มเี ราเปน็ ทซี่ ่อนเร้น มเี ราเป็นท่ตี ้านทาน มเี ราเป็นทพี่ ิงอาศัยอย.ู่ คามณิ ! นาเลว มดี ินเป็นกอ้ นแข็ง มีรสเค็ม พน้ื ทีเ่ ลวนั้น เปรียบเหมอื นสมณพราหมณ์ ปรพิ าชก ทั้งหลาย ผเู้ ป็นเดยี รถยี ์เหล่าอน่ื เราก็ยอ่ มแสดงธรรม งดงามในเบื้องต้น งดงามในทา่ มกลาง งดงามในท่ีสดุ ประกาศพรหมจรรยบ์ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ น้ิ เชงิ พรอ้ มทง้ั อรรถะ พร้อมทงั้ พยญั ชนะ แกช่ นทงั้ หลายเหล่าน้นั . ข้อนั้นเพราะเหตุไรเลา่ ? เพราะเหตวุ า่ ถงึ แมว้ า่ เขาจะเขา้ ใจธรรมทเ่ี ราแสดง สักบทเดียว นั่นกย็ งั เป็นไปเพื่อประโยชนเ์ กอื้ กลู และ ความสขุ แกช่ นทง้ั หลายเหลา่ นน้ั ตลอดกาลนาน. สฬา. สํ. ๑๘/๓๘๗/๖๐๓-๖๐๔.



ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 19 ๕๑ อานสิ งสแ์ หง่ การฟังธรรมเนอื งๆ ภกิ ษุทั้งหลาย ! อานสิ งส์ ๔ ประการแหง่ ธรรม ทงั้ หลายทบ่ี คุ คลฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขนึ้ ใจ แทงตลอด ดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ อนั บคุ คลพงึ หวงั ได้ อานิสงส์ ๔ ประการ อย่างไรเล่า ? (๑)  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มเลา่ เ รยี นธรรม คอื สตุ ตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อทุ าน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ ธรรมเหล่าน้ัน เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขน้ึ ใจ แทงตลอด ดว้ ยดดี ้วยความเห็น เธอมีสตหิ ลงลืม เม่อื กระท�ำกาละ ยอ่ มเขา้ ถงึ เทพนกิ ายหมใู่ ดหมหู่ นง่ึ บทแหง่ ธรรมทง้ั หลาย ยอ่ มปรากฏแกเ่ ธอผมู้ คี วามสขุ ในภพนนั้ สตบิ งั เกดิ ขนึ้ ชา้ แตส่ ตั วน์ น้ั ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษเรว็ พลนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เป็นอานิสงส์ประการท่ี  ๑ แ ห่งธรรมท้ังหลายทีบ่ คุ คลฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขนึ้ ใจ แทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น อันบุคคลพึงหวังได้.

1​ 20 พุทธวจน (๒)  ภกิ ษยุ อ่ มเลา่ เรยี นธรรม คอื สตุ ตะ ... เวทลั ละ ธรรมเหลา่ น้นั เป็นธรรมอนั ภิกษนุ นั้ ฟงั เนอื งๆ คล่องปาก ข้ึนใจ แทงตลอดด้วยดดี ว้ ยความเหน็ เธอมีสตหิ ลงลมื เ มื่อกระท�ำกาละ ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หน่ึง บทแหง่ ธรรมทงั้ หลาย ยอ่ มไมป่ รากฏแกเ่ ธอผมู้ คี วามสขุ อยใู่ นภพนน้ั เลย แตภ่ กิ ษผุ มู้ ฤี ทธิ์ ถงึ ความช�ำนาญแหง่ จติ แ สดงธรรมแกเ่ ทพบรษิ ทั เธอมคี วามปรวิ ติ กอยา่ งนว้ี า่ ในกาลกอ่ น เราไดป้ ระพฤตพิ รหมจรรยใ์ นธรรมวนิ ยั ใด นคี้ อื ธรรมวนิ ยั นนั้ สตบิ งั เกดิ ขน้ึ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ น้ั ยอ่ ม เปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษเรว็ พลนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุรุษผู้ฉลาดต่อเสียงกลอง เขาเดนิ ทางไกล พงึ ไดย้ นิ เสยี งกลอง เขาไมพ่ งึ มคี วามสงสยั ห รอื เคลอื บแคลงวา่ เสยี งกลองหรอื ไมใ่ ชห่ นอ ทแ่ี ทเ้ ขาพงึ ถงึ ความตกลงใจว่า เสียงกลองทีเดียว ฉันใด ภิกษุก็ฉันน้ัน เ หมือนกัน ย่อมเล่าเรียนธรรม คือ สุตตะ ... เวทัลละ ธ รรมเหลา่ นน้ั เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขน้ึ ใจ แทงตลอดดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ ... สตบิ งั เกดิ ขนึ้ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ น้ั ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษ เรว็ พลนั .

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 21 ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! น้ีเป็นอานิสงส์ประการท่ี  ๒ แ ห่งธรรมท้ังหลายท่ีภิกษุฟังเนืองๆ คล่องปาก ขึ้นใจ แทงตลอดดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ อนั บคุ คลพงึ หวงั ได.้ (๓)  ภกิ ษยุ อ่ มเลา่ เรยี นธรรม คอื สตุ ตะ ... เวทลั ละ ธ รรมเหลา่ นน้ั เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขึ้นใจ แทงตลอดดว้ ยดีดว้ ยความเหน็ เธอมสี ติหลงลมื เ มื่อกระท�ำกาละ   ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หน่ึง บทแหง่ ธรรมทง้ั หลาย ยอ่ มไมป่ รากฏแกเ่ ธอผมู้ คี วามสขุ อยใู่ นภพนน้ั เลย ทงั้ ภกิ ษผุ มู้ ฤี ทธถ์ิ งึ ความช�ำนาญแหง่ จติ กไ็ มไ่ ดแ้ สดงธรรมในเทพบรษิ ทั แตเ่ ทพบตุ รยอ่ มแสดง ธ รรมในเทพบรษิ ทั เธอมคี วามคดิ อยา่ งนวี้ า่ ในกาลกอ่ น เราไดป้ ระพฤตพิ รหมจรรยใ์ นธรรมวนิ ยั ใด นค้ี อื ธรรมวนิ ยั นนั้ เอง สตบิ งั เกดิ ขน้ึ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ นั้ ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลุ คณุ วเิ ศษเรว็ พลนั . ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! บุรุษผู้ฉลาดต่อเสียงสังข์  เขา เ ดนิ ทางไกลพงึ ไดฟ้ งั เสยี งสงั ขเ์ ขา้ เขาไมพ่ งึ มคี วามสงสยั ห รอื เคลอื บแคลงวา่ เสยี งสงั ขห์ รอื มใิ ชห่ นอ ทแี่ ทเ้ ขาพงึ ถงึ

1​ 22 พุทธวจน ความตกลงใจวา่ เสยี งสงั ขฉ์ นั ใด ภกิ ษกุ ฉ็ นั นนั้ เหมอื นกนั ยอ่ มเลา่ เรยี นธรรม คอื สตุ ตะ ... เวทลั ละ ธรรมเหลา่ นนั้ เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขน้ึ ใจ แทงตลอด ดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ ... สตบิ งั เกดิ ขน้ึ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ นั้ ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษเรว็ พลนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เป็นอานิสงส์ประการท่ี  ๓ แ หง่ ธรรมทง้ั หลายทภี่ กิ ษฟุ งั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขน้ึ ใจ แทงตลอดดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ อนั บคุ คลพงึ หวงั ได.้ (๔)  ภกิ ษยุ อ่ มเลา่ เรยี นธรรม คอื สตุ ตะ ... เวทลั ละ ธ รรมเหลา่ นน้ั เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขึ้นใจ  แทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น  เธอมีสติหลงลืม เ ม่ือกระท�ำกาละ   ย่อมเข้าถึงเทพนิกายหมู่ใดหมู่หน่ึง บ ทแหง่ ธรรมทง้ั หลาย ยอ่ มไมป่ รากฏแกเ่ ธอผมู้ คี วามสขุ อ ยใู่ นภพนนั้ เลย  แมภ้ กิ ษผุ มู้ ฤี ทธถิ์ งึ ความช�ำนาญแหง่ จติ ก็มิได้แสดงธรรมในเทพบริษัท   แม้เทพบุตรก็ไม่ได้ แ สดงธรรมในเทพบรษิ ทั   แตเ่ ทพบตุ รผเู้ กดิ กอ่ นเตอื น เ ทพบตุ รผเู้ กดิ ทหี ลงั วา่   “ทา่ นผนู้ ริ ทกุ ขย์ อ่ มระลกึ ไดห้ รอื

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 1​ 23 วา่ เราไดป้ ระพฤตพิ รหมจรรยใ์ นกาลกอ่ น” เธอกลา่ วอยา่ ง นวี้ า่ “เราระลกึ ไดท้ า่ นผนู้ ริ ทกุ ข์ เราระลกึ ไดท้ า่ นผนู้ ริ ทกุ ข”์ สตบิ งั เกดิ ขนึ้ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ นั้ ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษ เรว็ พลนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สหายสองคนเล่นฝุ่นด้วยกัน เขามาพบกนั บางครง้ั บางคราว ในทบ่ี างแหง่ สหายคนหนงึ่ พงึ กลา่ วกะสหายคนนน้ั อยา่ งนว้ี า่ “สหาย ทา่ นระลกึ กรรม แมน้ ไ้ี ดห้ รอื ” เขาพงึ กลา่ วอยา่ งนวี้ า่ “เราระลกึ ได้ เราระลกึ ได”้ ฉันใด ภกิ ษุกฉ็ ันนนั้ เหมือนกนั ย่อมเลา่ เรียนธรรม คอื สตุ ตะ ... เวทลั ละ ธรรมเหลา่ นน้ั เปน็ ธรรมอนั ภกิ ษนุ น้ั ฟงั เนืองๆ คลอ่ งปาก ขึน้ ใจ แทงตลอดดว้ ยดดี ว้ ยความเหน็ ... สตบิ งั เกดิ ขน้ึ ชา้ แตว่ า่ สตั วน์ น้ั ยอ่ มเปน็ ผบู้ รรลคุ ณุ วเิ ศษ เรว็ พลนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เป็นอานิสงส์ประการท่ี  ๔ แ หง่ ธรรมทง้ั หลายทภ่ี กิ ษฟุ งั เนอื งๆ  คลอ่ งปาก  ขน้ึ ใจ แทงตลอดดว้ ยดดี ้วยความเห็น อันบุคคลพงึ หวังได้.

1​ 24 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! น้ีแลอานิสงส์  ๔  ประการ แ หง่ ธรรมทงั้ หลายทภี่ กิ ษฟุ งั แลว้ เนอื งๆ คลอ่ งปาก ขนึ้ ใจ แทงตลอดด้วยดีดว้ ยความเหน็ อันบคุ คลพงึ หวงั ได้. จตกุ ฺก. อ.ํ ๒๑/๒๕๑/๑๙๑.





ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)

มูลนิธพิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนธิ ิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ ง่ึ ชดั เจน และม่นั คงในพทุ ธวจน เรมิ่ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนงึ่ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล ทเ่ี นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอ้ื ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทตี่ รงตาม พทุ ธบัญญัติตามท่ี ทรงรบั ส่ังแก่พระอรหนั ต์ ๖๐ รูปแรกทีป่ า อสิ ิปตนมฤคทายวนั ในการประกาศพระสทั ธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภ่ี กิ ษใุ นครงั้ พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชัดเจน ต่อความพรา่ เลอื นสบั สน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ท่มี อี ย่ใู นสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ทัง้ หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตุเดียวคือ การไมใ่ ชค้ �าของพระพุทธเจา้ เป็นตัวตัง้ ตน้ ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วนั่ ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพือ่ ความตง้ั มั่นแหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเปน็ หนึ่งเดียวของชาวพทุ ธ เมอ่ื กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเ่ี คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขนึ้ เรอ่ื ยๆ เกดิ เปน็ “กระแสพุทธวจน” ซึง่ เป็นพลงั เงยี บทีก่ า� ลงั จะกลายเป็น คลน่ื ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครงั้ พทุ ธกาล

ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน

ผูท้ ่สี นใจรับสือ่ ธรรมทเ่ี ปน็ พทุ ธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ ึกษาส่วนตวั หรอื นา� ไปแจกเปน็ ธรรมทาน แก่พ่อแมพ่ น่ี ้อง ญาติ หรอื เพอ่ื น สามารถมารับได้ฟรี ทีว่ ดั นาปาพง หรือตามทพี่ ระอาจารย์คกึ ฤทธ์ิได้รับนิมนต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ ส�าหรบั รายละเอียดกจิ ธรรมตา่ งๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพทุ ธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจา� นงทจี่ ะรับไปแจกเป็นธรรมทานในจา� นวนหลายสบิ ชุด ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงได้ที่ มูลนธิ ิพทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขท่ี ๒๙/๓ หมู่ท่ี ๗ ถนนเลยี บคลอง ๑๐ ฝัง่ ตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อ�าเภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๕-๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อีเมล์ : buddhakos@hotmail.com สนับสนนุ การเผยแผ่พทุ ธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บญั ชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ญั ชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐

ขอกราบขอบพระคณุ แด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าใหค้ �าปรึกษาในการจดั ทา� หนังสือเล่มน้ี ตดิ ตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ได้ที่ เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สือ และสอ่ื ธรรมะ บนอนิ เทอรเ์ น็ต • http://media.watnapahpong.org : ศนู ยบ์ รกิ ารมลั ติมเี ดยี วัดนาปาพง • http://www.buddha-net.com : เครอื ข่ายพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทียบเคยี งพทุ ธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซต์วัดนาปาพง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มลู นิธิพทุ ธวจน • http://www.ratana5.com : พุทธวจนสมาคม • http://www.buddhawajana-training.com : ศูนยป์ ฏิบตั พิ ทุ ธวจน • http://www.buddhawaj.org : ฐานขอ้ มูลพระสูตรออนไลน,์ เสียงอา่ นพทุ ธวจน • http://www.buddhaoat.org : กลมุ่ ผู้สนับสนุนการเผยแผพ่ ุทธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรับคอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏิบัติการ Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมไดท้ ่วี ดั นาปา พง ส�าหรบั โทรศัพท์เคล่อื นท่ีและแท็บเล็ต • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ดาวน์โหลดไดท้ ี่ Play Store โดยพมิ พ์ค�าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ตั กิ าร iOS (ส�าหรบั iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดได้ที่ App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวน์โหลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะส�าหรับโทรศัพท์เคลือ่ นที่และแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ดาวนโ์ หลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พทุ ธวจน หรือ buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (สา� หรบั iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ App Store โดยพมิ พ์ค�าว่า พุทธวจน หรอื buddhawajana วทิ ยุ • คลืน่ ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวันพระ เวลา ๑๗.๔๐ น.

บรรณานกุ รม พระไตรปิฎกฉบับสยามรฐั (บาลีสยามรัฐ) พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบบั หลวง (ไทยสยามรฐั ) หนงั สอื ธรรมโฆษณ์ ชดุ จากพระโอษฐ์ (ผลงานแปลพุทธวจน โดยทา่ นพุทธทาสภิกขใุ นนามกองต�าราคณะธรรมทาน) ร่วมสนับสนนุ การจดั ทา� โดย คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพทุ ธวจนหมวดธรรม), คณะศษิ ยว์ ดั นาปา พง, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มธรรมะสีขาว, กลุ่มพุทธบริษัทศากยบุตร, กลุ่มพุทธโอษฐ์, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเคร่ืองบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช ส�านักงานการศึกษาต่อเน่ือง, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (องครักษ์) ชมรมวิศวกรความรู้เพื่อสังคม, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, ชมรมธรรมปรีดา, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรช่ัน, บจก. ดาต้าโปรดักส์, บจก. 3M ประเทศไทย, บจก. บางไทรไฟเบอร์บอร์ด, บจก. เอ็นอีซี โทคิน อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย), บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. เมคเทค, บจก. ไดเวอร์ส เคมีคอลส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, บจก.สมสุข สหภัทรสตีลล์, บจก.ทองแป้น, บจก. สมาย คอนเทนเนอร์ อตุ สาหกรรม, บจก. อ.ี ซ.ี ท.ี ซสิ เตม็ , บจก. อ.ี ซ.ี ท.ี เอน็ จเิ นยี รงิ่ , บจก. อี.ซี.ที. ซัพพลาย, บจก. อี.ซี.ที อินเตอร์เนช่ันแนล, บจก. อี.ซี.ที. โปรเฟสช่ันแนล, บจก. คอร์โดมา อินเตอร์เนชั่นแนล, บมจ. ณุศาศิริ, หจก. อินเตอร์ คิด, สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค, ร้านต้นมะขามช่างทอง, ร้านเสบียงบุญ, บ้านเมตตาเรสซิเด้นท์, บ้านพุทธวัจน์