Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน ตามรอยธรรม

พุทธวจน ตามรอยธรรม

Published by Noppadon Leuprasert, 2021-04-02 07:43:08

Description: วาเสฏฐะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้ พึงอยู่โดยชอบไซร้
พวกเธอแล มีชาติต่างกัน มีนามต่างกัน มีโคตรต่างกัน มีสกุลต่างกัน โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย.
ออกบวชจากเรือนเป็นผู้ไม่หวังเกี่ยวข้องด้วยเรือนแล้ว

Search

Read the Text Version

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 3​ 3 ๑๕ ทรงสอนเฉพาะแต่เรื่องทกุ ข์ กับความดบั สนิทของทกุ ข์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ทง้ั ทเ่ี รามถี อ้ ยค�ำ อยา่ งน้ี มกี ารกลา่ ว อยา่ งน้ี สมณะและพราหมณบ์ างพวก ยงั กล่าวตเู่ ราดว้ ย คำ�เท็จเปลา่ ๆ ปลๆ้ี ไม่มีจริงใหเ้ ปน็ จริงวา่ “พระสมณโคดมเป็นคนจูงคนให้เดินผิดทางไปสู่ ความฉบิ หาย ยอ่ มบญั ญตั ลิ ทั ธคิ วามสญู เปลา่ ความวนิ าศ ความไม่มีของสัตว์ คน ตัวตน เราเขา ข้นึ สัง่ สอน” ดังน้ี. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สมณะและพราหมณบ์ างพวกเหลา่ นน้ั กล่าวตู่เราด้วยคำ�เท็จเปลา่ ๆ ปลๆี้ ไม่มีจริงให้เป็นจรงิ โดยประการทเ่ี ราไมไ่ ดก้ ลา่ ว หรอื จะกลา่ วอยา่ งนน้ั กห็ ามไิ ด.้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลกอ่ นกต็ าม ในกาลบดั นก้ี ต็ าม เราบญั ญัตสิ อนแต่เรือ่ งความทุกข์ และความดบั สนทิ ไมม่ ีเหลือของความทกุ ข์ เทา่ นัน้ .

3​ 4 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในการกลา่ วแตเ่ รอ่ื งความทกุ ข์ และ ความดับสนทิ ไมม่ ีเหลอื ของความทกุ ขเ์ ช่นน้ี แม้จะมีใคร มาด่าว่า ถากถาง กระทบกระเทียบ เสียดสี, ตถาคต กไ็ มม่ คี วามขนุ่ แคน้ โกรธเคอื ง เดอื ดรอ้ นใจ เพราะเหตนุ น้ั แตป่ ระการใด. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในเรอ่ื งเดยี วกนั นน้ั เอง แมจ้ ะมใี คร มาสักการะ เคารพ สรรเสริญ บูชา, ตถาคตก็ไม่มี ความรู้สกึ เพลิดเพลิน ช่นื ชม หรอื เคล้มิ ใจไปตาม. ถ้ามใี ครมาสกั การะ เคารพ สรรเสรญิ บชู า, ตถาคตยอ่ มมคี วามคดิ อยา่ งนว้ี า่ กอ่ นหนา้ นเ้ี รามคี วาม รสู้ กึ ตวั ทว่ั ถงึ อยา่ งไร บดั นเ้ี รากต็ อ้ งท�ำ ความรสู้ กึ ตวั ทว่ั ถึง อย่างนนั้ ดังน.ี้ ม.ู ม. ๑๒/๒๗๖/๒๘๖.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 3​ 5 ๑๖ ค�ำ ของพระองค์ ตรงเปน็ อนั เดยี วกนั หมด ภกิ ษุท้งั หลาย ! นับตั้งแต่ราตรี ที่ตถาคตได้ตรัสรู้ อนุตตรสัมมาสัมโพธญิ าณ จนกระทัง่ ถึงราตรี ทตี่ ถาคต ปรินพิ พานดว้ ยอนปุ าทิเสสนิพพานธาตุ, ตลอดเวลาระหวา่ งน้ัน ตถาคตไดก้ ลา่ วสอน พรำ่� สอน แสดงออกซง่ึ ถอ้ ยค�ำ ใด; ถอ้ ยค�ำ เหลา่ นน้ั ทง้ั หมด ย่อมเข้ากันได้โดยประการเดยี วท้ังส้ิน ไม่แย้งกันเป็น ประการอนื่ เลย. ภกิ ษุท้งั หลาย ! (อนง่ึ ) ตถาคตกล่าวอยา่ งใด ท�ำ อย่างนนั้ , ทำ�อย่างใด กลา่ วอย่างนน้ั . อติ วิ ุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.

3​ 6 พุทธวจน ๑๗ หลักทท่ี รงใชใ้ นการตรสั (๖ อยา่ ง) ราชกุมาร ! (๑) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันไม่จริง ไม่แท้ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ มไมก่ ล่าววาจานนั้ . (๒) ตถาคตรชู้ ัดซึ่งวาจาใด อนั จริง อนั แท้ แต่ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ มไมก่ ลา่ ววาจานั้น. (๓) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ อนั ประกอบดว้ ยประโยชน์ แต่ไม่เป็นที่รักทีพ่ ึงใจของผูอ้ ่นื ตถาคตยอ่ มเลือกใหเ้ หมาะกาลเพ่ือกล่าววาจาน้ัน. (๔) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันไม่จริง ไม่แท้ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ แตเ่ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ มไมก่ ล่าววาจานน้ั .

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 3​ 7 (๕) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ แตไ่ มป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ แมเ้ ปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ มไม่กลา่ ววาจานั้น. (๖) ตถาคตรู้ชัดซึ่งวาจาใด อันจริง อันแท้ อนั ประกอบดว้ ยประโยชน์ และเปน็ ทร่ี กั ทพ่ี งึ ใจของผอู้ น่ื ตถาคตยอ่ มเปน็ ผรู้ จู้ กั กาละทเ่ี หมาะสมเพอ่ื กลา่ ววาจานน้ั . ข้อนีเ้ พราะเหตุไรเลา่ ? ราชกมุ าร ! เพราะตถาคตมีความเอน็ ดใู นสตั วท์ งั้ หลาย. ม. ม. ๑๓/๙๑/๙๔.

3​ 8 พุทธวจน

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 3​ 9 ๑๘ สง่ิ ท่ตี รสั รูแ้ ต่ไม่ทรงนำ�มาสอน มมี ากกว่าทท่ี รงนำ�มาสอนมากนกั พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงก�ำ ใบไม้สีสปา ที่รว่ งอยตู่ ามพ้นื ดิน ขึ้นมาหนอ่ ยหนึง่ แลว้ ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลายวา่ : ภิกษทุ ้ังหลาย ! เธอทง้ั หลายเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร, ใบไม้ สสี ปาทเ่ี ราก�ำ ขน้ึ หนอ่ ยหนง่ึ นม้ี าก หรอื วา่ ใบไมส้ สี ปาทย่ี งั อยูบ่ นต้นเหลา่ น้นั มมี าก ? “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ใบไม้ท่พี ระผ้มู ีพระภาคทรงกำ�ข้นึ หนอ่ ยหนง่ึ นน้ั เปน็ ของนอ้ ย สว่ นใบไมท้ ย่ี งั อยบู่ นตน้ สสี ปาเหลา่ นน้ั ยอ่ มมมี าก”. ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ฉนั ใดก็ฉนั นน้ั ธรรมะสว่ นทเ่ี ราร้ยู งิ่ ดว้ ยปญั ญาอันย่ิง แลว้ ไม่กล่าวสอนน้นั มีมากกว่าส่วน ท่ีนำ�มาสอน. ภิกษทุ ้งั หลาย ! เหตุไรเลา่ เราจึงไมก่ ล่าว สอนธรรมะส่วนนั้นๆ ? ภิกษุทัง้ หลาย ! เพราะเหตวุ า่ ธรรมะสว่ นนน้ั ๆ ไม่ ประกอบอยดู่ ว้ ยประโยชน์ ไมเ่ ปน็ เงอ่ื นตน้ แหง่ พรหมจรรย์

4​ 0 พุทธวจน ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความหนา่ ย ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความดบั ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความสงบ ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื ความรยู้ ง่ิ ไมเ่ ปน็ เพอ่ื ความรพู้ รอ้ ม ไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื นพิ พาน, ฉะนน้ั เราจงึ ไมก่ ลา่ วสอน. ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรมะอะไรเล่า เป็นธรรมะที่เรา กล่าวสอน ? ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ธรรมะทีเ่ รากล่าวสอน คอื ขอ้ ทว่ี า่ ความทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งนๆ้ี , เหตเุ ปน็ ทเ่ี กดิ ของ ความทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งนๆ้ี , ความดบั สนทิ ของความทกุ ข์ เปน็ อยา่ งนๆ้ี , ขอ้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ถงึ ความดบั สนทิ ของความ ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งนๆ้ี . ภิกษุท้ังหลาย ! เพราะเหตุไรเล่า ธรรมะส่วนนเี้ รา จึงนำ�มากลา่ วสอน ? ภกิ ษุทงั้ หลาย ! เพราะวา่ ธรรมะสว่ นน้ี ประกอบอยู่ ด้วยประโยชน์ เป็นเง่ือนตน้ แหง่ พรหมจรรย์ เปน็ ไปเพ่อื ความหน่าย เปน็ ไปเพ่ือความคลายกำ�หนัด เป็นไปเพ่อื ความดับ เป็นไปเพื่อความสงบ เป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เป็นไปเพื่อความรู้พร้อม เป็นไปเพื่อนิพพาน, เพราะ เหตุนั้นแล เราจึงนำ�มากล่าวสอน. มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๘/๑๗๑๒.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 4​ 1 ๑๙ ถ้ามวั รอให้รู้เรอ่ื งทไ่ี มจ่ ำ�เป็นเสยี กอ่ น ก็ตายเปลา่ มาลงุ กย๎ บตุ ร ! เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ ผหู้ นง่ึ ถกู ลกู ศร อันกำ�ซาบด้วยยาพษิ อย่างแรงกล้า, มิตร อำ�มาตย์ ญาติ สายโลหติ จดั การเรยี กแพทยผ์ า่ ตดั ผชู้ �ำ นาญ. บรุ ษุ อยา่ งนน้ั กลา่ วอย่างนวี้ ่า ถ้าเรายงั ไม่รจู้ ักตวั บุรุษผยู้ ิงเรา วา่ เป็น กษัตริย์ พราหมณ์ เวสส์ ศูทร ชื่อไร โคตรไหน ฯลฯ, ธนูที่ใช้ยิงนั้นเป็นชนิดหน้าไม้หรือเกาทัณฑ์ ฯลฯ เสีย ก่อนแล้ว, เรายังไม่ต้องการจะถอนลูกศรอยู่เพียงนั้น. มาลงุ กย๎ บตุ ร ! เขาไมอ่ าจรขู้ อ้ ความทเ่ี ขาอยากรนู้ น้ั ไดเ้ ลย ตอ้ งตายเปน็ แท้ ! อุปมาน้ีฉนั ใด; อปุ ไมยก็ฉันนน้ั เหมือนกัน, บุคคล ผนู้ น้ั กลา่ ววา่ เราจกั ยงั ไมป่ ระพฤตพิ รหมจรรยใ์ นส�ำ นกั ของพระผูม้ ีพระภาคเจา้ จนกวา่ พระองค์จกั แกป้ ญั หา ทฏิ ฐสิ บิ ประการแกเ่ ราเสยี กอ่ น, และตถาคตกไ็ มพ่ ยากรณ์ ปญั หานน้ั แกเ่ ขา เขากต็ ายเปลา่ โดยแท้.

4​ 2 พุทธวจน มาลุงกย๎ บตุ ร ! ท่านจงรู้ซ่ึงส่ิงท่ีเราไม่พยากรณ์ไว้ โดยความเปน็ สง่ิ ทเ่ี ราไมพ่ ยากรณ,์ รซู้ ง่ึ สง่ิ ทเ่ี ราพยากรณไ์ ว้ โดยความเป็นสิง่ ท่ีเราพยากรณ์. อะไรเล่าทเ่ี ราไม่พยากรณ์ ? คือความเห็นสิบประการว่า โลกเที่ยง โลกไม่เทยี่ ง โลกมที ส่ี น้ิ สดุ โลกไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ ฯลฯ (เปน็ ตน้ ), เปน็ สง่ิ ทเ่ี รา ไม่พยากรณ.์ มาลุงกย๎ บตุ ร ! อะไรเลา่ ทเ่ี ราพยากรณ์ ? คอื สัจจะว่า “นเ้ี ปน็ ทกุ ข์, นเี้ ป็นเหตใุ ห้เกิดทุกข,์ นเ้ี ปน็ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข,์ และนเ้ี ปน็ ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข”์ ดงั น้ี : นเ้ี ปน็ สง่ิ ทเ่ี รา พยากรณ.์ เหตุใดเราจงึ พยากรณเ์ ลา่ ? เพราะสิ่งๆ นี้ ย่อมประกอบอยู่ด้วยประโยชน์ เป็นเงื่อนตน้ ของพรหมจรรย์ เป็นไปพร้อมเพื่อความ หนา่ ยทุกข์ ความคลายก�ำ หนัด ความดบั ความร�ำ งบั ความรยู้ ิง่ ความรพู้ รอ้ ม และนิพพาน. ม. ม. ๑๓/๑๔๖-๑๕๑/๑๔๙-๑๕๐,๑๕๒.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 4​ 3 ๒๐ ค�ำ สอนที่ทรงส่งั สอนบอ่ ยมาก “พระโคดมผู้เจริญ ! ทรงนำ�สาวกทั้งหลายไปอย่างไร ? อนง่ึ อนสุ าสนขี องพระโคดมผเู้ จรญิ ยอ่ มเปน็ ไปในสาวกทง้ั หลาย สว่ นมาก มสี ว่ นแหง่ การจ�ำ แนกอยา่ งไร ?”. อัคคิเวสสนะ ! เรายอ่ มน�ำ สาวกทง้ั หลายไปอยา่ งน,้ี อนง่ึ อนสุ าสนขี องเรา ยอ่ มเปน็ ไปในสาวกทง้ั หลาย สว่ นมาก มสี ว่ นแหง่ การจ�ำ แนกอยา่ งนว้ี า่ : “ภิกษทุ ั้งหลาย ! รปู ไม่เทยี่ ง เวทนาไมเ่ ทีย่ ง สัญญาไมเ่ ทย่ี ง สงั ขารไม่เท่ียง วญิ ญาณไม่เท่ยี ง. ภิกษุทงั้ หลาย ! รูปไมใ่ ช่ตวั ตน เวทนาไม่ใชต่ ัวตน สญั ญาไม่ใช่ตวั ตน สังขารไมใ่ ชต่ วั ตน วิญญาณไมใ่ ช่ตวั ตน. สงั ขารทัง้ หลายท้ังปวงไมเ่ ท่ยี ง; ธรรมทง้ั หลายท้ังปวงไม่ใช่ตัวตน” ดงั น้.ี

4​ 4 พุทธวจน อคั คเิ วสสนะ ! เรายอ่ มน�ำ สาวกทง้ั หลายไปอยา่ งน,้ี อนง่ึ อนสุ าสนขี องเรา ยอ่ มเปน็ ไปในสาวกทง้ั หลาย สว่ นมาก มสี ว่ นแหง่ การจ�ำ แนกอยา่ งน,้ี ดงั น.้ี มู. ม. ๑๒/๔๒๓/๓๙๖.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 4​ 5 ๒๑ ล�ำ ดับการหลุดพ้น เม่อื เห็นไตรลกั ษณ์ ภิกษุท้ังหลาย ! รปู เปน็ สง่ิ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง, สง่ิ ใดไม่เทีย่ ง สิ่งนั้นเป็นทุกข์, สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา, สง่ิ ใดเปน็ อนตั ตา สง่ิ นน้ั นน่ั ไมใ่ ชข่ องเรา (เนตํ มม) นน่ั ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา (เนโสหมสมฺ )ิ นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา (น เมโส อตฺตา) : เธอทั้งหลายพึงเห็นข้อนั้นด้วยปญั ญา โดยชอบ ตรงตามทเี่ ปน็ จรงิ อย่างนี้ ดว้ ยประการดังน้.ี (ในกรณีแหง่ เวทนา สญั ญา สังขาร และวิญญาณ ก็ตรัสอยา่ ง เดียวกันกับในกรณีแห่งรปู ทกุ ประการ). ภกิ ษุทง้ั หลาย ! เม่ือบุคคลเห็นข้อนั้นด้วยปัญญาโดยชอบตรงตาม ที่เป็นจริงอย่างนี,้ ปุพพนั ตานทุ ฏิ ฐ1ิ ทัง้ หลาย ยอ่ มไม่ม;ี เมอ่ื ปพุ พนั ตานทุ ฏิ ฐไิ มม่ ,ี อปรนั ตานทุ ฏิ ฐ2ิ ทง้ั หลาย ยอ่ มไมม่ ี; 1 ความเหน็ ทป่ี รารภขนั ธใ์ นเบอ้ื งตน้ หรอื ความเหน็ ทเ่ี ปน็ ไปในสว่ นของอดตี 2 ความเหน็ ทป่ี รารภขนั ธใ์ นเบอ้ื งปลาย หรอื ความเหน็ ทเ่ี ปน็ ไปในสว่ นของอนาคต

4​ 6 พุทธวจน เม่อื อปรนั ตานทุ ฏิ ฐไิ ม่ม,ี ความยดึ ม่นั ลบู คล�ำ อย่าง แรงกล้ายอ่ มไม่ม;ี เม่อื ความยดึ ม่ันลูบคลำ�อย่างแรงกล้าไม่มี, จิตย่อม จางคลายกำ�หนัดในรูป ในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ; ยอ่ มหลดุ พน้ จากอาสวะทง้ั หลาย เพราะไมม่ ี ความยึดม่ันถือมน่ั . เพราะจติ หลดุ พน้ แลว้ จติ จงึ ด�ำ รงอย;ู่ เพราะเปน็ จติ ทด่ี �ำ รงอยู่ จติ จงึ ยนิ ดรี า่ เรงิ ดว้ ยด;ี เพราะเปน็ จติ ทย่ี นิ ดรี า่ เรงิ ดว้ ยด ี จติ จงึ ไมห่ วาดสะดงุ้ ; เมอ่ื ไมห่ วาดสะดงุ้ ยอ่ มปรนิ พิ พานเฉพาะตน นน่ั เทยี ว. เธอนน้ั ย่อมรชู้ ดั วา่ “ชาติสนิ้ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยู่จบแล้ว, กิจทคี่ วรท�ำ ได้ท�ำ ส�ำ เร็จแลว้ , กิจอน่ื ทจี่ ะต้องท�ำ เพื่อความเป็นอย่างน้ี มไิ ด้มอี ีก” ดงั นี.้ ขนธฺ . สํ. ๑๗/๕๗/๙๓.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 4​ 7 ๒๒ ผ้ไู มเ่ ข้าไปหา ย่อมหลดุ พน้ ภิกษทุ ้งั หลาย ! ผู้เข้าไปหา เป็นผไู้ ม่หลดุ พ้น; ผไู้ ม่เข้าไปหา เปน็ ผูห้ ลดุ พน้ . ภกิ ษุทง้ั หลาย ! วิญญาณซ่ึงเข้าถือเอารูปต้ังอยู่ ก็ตงั้ อย่ไู ด,้ เป็นวิญญาณท่ีมีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ย์ได้; ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! วิญญาณซ่ึงเข้าถือเอาเวทนาตั้งอยู่ ก็ตั้งอยูไ่ ด,้ เป็นวิญญาณทีม่ ีเวทนาเปน็ อารมณ์ มเี วทนา เปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ย์ได้; ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! วิญญาณซ่งึ เข้าถือเอาสัญญาต้งั อยู่ ก็ต้ังอยไู่ ด,้ เป็นวญิ ญาณทม่ี สี ัญญาเป็นอารมณ์ มสี ัญญา

4​ 8 พุทธวจน เปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ย์ได้; ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! วิญญาณซึ่งเข้าถือเอาสังขารต้ังอยู่ กต็ งั้ อยไู่ ด้, เปน็ วิญญาณท่มี สี งั ขารเป็นอารมณ์ มีสังขาร เปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลยไ์ ด.้ ภกิ ษุท้ังหลาย ! ผใู้ ดจะพงึ กลา่ วอย่างนี้วา่ “เราจกั บัญญัติ ซึ่งการมา การไป การจตุ ิ การอุบัติ ความเจรญิ ความงอกงาม และความไพบูลยข์ องวญิ ญาณ โดยเว้น จากรูป เว้นจากเวทนา เว้นจากสัญญา และเว้นจาก สงั ขาร” ดังนี้นนั้ , นีไ่ มใ่ ช่ฐานะที่จกั มีได้เลย. ภิกษุทัง้ หลาย ! ถา้ ราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสญั ญาธาตุ ในสงั ขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เป็น สงิ่ ทภ่ี กิ ษลุ ะไดแ้ ลว้ ;

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 4​ 9 เพราะละราคะได้, อารมณส์ �ำ หรับวญิ ญาณกข็ าดลง, ทต่ี ง้ั ของวิญญาณกไ็ ม่มี, วญิ ญาณอนั ไมม่ ที ่ตี ั้งนั้นกไ็ มง่ อกงาม, หลุดพน้ ไปเพราะไมถ่ กู ปรงุ แตง่ , เพราะหลุดพ้นไปกต็ ัง้ มนั่ , เพราะตั้งมัน่ กย็ ินดีในตนเอง, เพราะยินดใี นตนเองกไ็ มห่ วนั่ ไหว, เมอ่ื ไมห่ ว่นั ไหว กป็ รินิพพานเฉพาะตน. ย่อมรชู้ ัดวา่ “ชาติส้ินแล้ว พรหมจรรยไ์ ด้อยจู่ บแลว้ , กิจทค่ี วรท�ำ ได้ท�ำ สำ�เรจ็ แล้ว, กิจอ่ืนทจี่ ะตอ้ งทำ� เพือ่ ความเป็นอย่างนี้ มไิ ดม้ ีอีก” ดังน.้ี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๖๖/๑๐๕.

5​ 0 พุทธวจน

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 5​ 1 ๒๓ มนษุ ยเ์ ปน็ อนั มาก ไดย้ ดึ ถอื เอาทพ่ี ง่ึ ผดิ ๆ มนุษย์ทั้งหลายเป็นอันมาก ถูกความกลัวคุกคาม เอาแล้ว ย่อมถือเอาภูเขาบ้าง ป่าไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์บ้าง สวนศกั ดส์ิ ทิ ธบิ์ า้ ง รุกขเจดียบ์ ้าง ว่าเปน็ ท่พี ึ่งของตนๆ : นัน่ ไม่ใชท่ ี่พ่งึ อันทำ�ความเกษมให้ไดเ้ ลย, นน่ั ไมใ่ ชท่ พ่ี ง่ึ อนั สงู สดุ ; ผใู้ ดถอื เอาสง่ิ นน้ั ๆ เปน็ ทพ่ี ง่ึ แลว้ ย่อมไมห่ ลุดพ้นไปจากทกุ ข์ทงั้ ปวงได.้ ส่วนผู้ใดที่ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งแล้ว เห็นอริยสัจทั้งสี่ด้วยปัญญาอันถูกต้อง คือเห็นทุกข์, เห็นเหตุเป็นเครื่องให้เกิดขึ้นของทุกข์, เห็นความก้าวล่วงเสยี ได้ซ่ึงทุกข,์ และเหน็ มรรคประกอบ ดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ ซง่ึ เปน็ เครอ่ื งใหถ้ งึ ความเขา้ ไป สงบร�ำ งบั แหง่ ทกุ ข์ : นน่ั แหละคอื ที่พ่งึ อนั เกษม, นนั่ คือท่ีพ่งึ อนั สูงสดุ , ผ้ใู ดถอื เอาท่พี ่ึงนน้ั แลว้ ยอ่ มหลุดพน้ ไปจากทุกข์ท้ังปวง ได้แท.้ ธ. ข.ุ ๒๕/๓๙/๒๔.

5​ 2 พุทธวจน ๒๔ จงเจรญิ สมาธิ จกั รูอ้ ริยสัจตามเป็นจริง ภิกษทุ ัง้ หลาย ! พวกเธอทง้ั หลาย จงเจรญิ สมาธเิ ถดิ . ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษผุ ้มู จี ิตเปน็ สมาธแิ ลว้ ยอ่ มรไู้ ด้ ตามเป็นจริง. รู้ไดต้ ามเปน็ จรงิ ซึ่งอะไรเล่า ? รู้ได้ตามเป็นจริง ซึ่งความจริงอันประเสริฐว่า “นี้เป็นทุกข์, นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์, นี้เป็นความดับ ไม่เหลือของทุกข์, และนี้เป็นทางดำ�เนินให้ถึงความดับ ไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกเธอทง้ั หลาย จงเจรญิ สมาธเิ ถดิ . ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ภิกษุผมู้ ีจิตเปน็ สมาธิแล้ว ยอ่ มรู้ ไดต้ ามเปน็ จรงิ . ภกิ ษุทัง้ หลาย ! เพราะเหตนุ ั้นในกรณีนี้ พวกเธอ พงึ ท�ำ ความเพยี รเพอ่ื ให้รตู้ ามเป็นจรงิ ว่า “นีเ้ ปน็ ทกุ ข,์ นเ้ี ปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ของทกุ ข,์ นเ้ี ปน็ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข,์ นเ้ี ปน็ ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข”์ ดงั นเ้ี ถดิ . มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๒๐/๑๖๕๔.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 5​ 3 ๒๕ ทรงมีหลักเกณฑก์ ารฝกึ ตามล�ำ ดับ (อย่างยอ่ ) พราหมณ์ ! ในธรรมวินัยนี้ เราสามารถบัญญัติ กฎเกณฑ์แห่งการศกึ ษาตามล�ำ ดบั การกระท�ำ ตามลำ�ดบั และการปฏิบัตติ ามล�ำ ดับไดเ้ หมอื นกนั . พราหมณ์ ! เปรียบเหมือนผู้ชำ�นาญการฝึกม้า ไดม้ า้ ชนดิ ทอ่ี าจฝกึ ไดม้ าแลว้ ในขน้ั แรกยอ่ มฝกึ ใหร้ จู้ กั การ รบั สวมบงั เหยี นกอ่ น แลว้ จงึ คอ่ ยฝกึ อยา่ งอน่ื ๆ ใหย้ ง่ิ ขน้ึ ไป ฉันใด; พราหมณเ์ อย ! ตถาคตครน้ั ไดบ้ รุ ษุ ทพ่ี อฝกึ ไดม้ าแลว้ ในข้ันแรกยอ่ มแนะน�ำ อยา่ งนกี้ อ่ นว่า “มาเถดิ ภิกษุ ! ท่านจงเป็นผ้มู ศี ีล ส�ำ รวมด้วยดี ในปาติโมกข์ ถึงพรอ้ มด้วยมรรยาทและโคจร มีปกตเิ ห็น เปน็ ภยั แมใ้ นโทษทเ่ี ลก็ นอ้ ย จงสมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบท ทง้ั หลายเถิด” ดังน้ี.

5​ 4 พุทธวจน พราหมณ์ ! ในกาลใด ภกิ ษุน้นั เปน็ ผมู้ ศี ีล (เช่นท่ี กลา่ วนัน้ ) ดีแล้ว ตถาคตยอ่ มแนะนำ�ให้ยิง่ ขึน้ ไปอกี ว่า “มาเถดิ ภกิ ษุ ! ท่านจงเป็นผู้สำ�รวมในอินทรีย์ ทงั้ หลาย : ได้เห็นรูปด้วยตาแลว้ จักไมถ่ อื เอาโดยนิมติ (คอื รวบถอื ทง้ั หมด วา่ งามหรอื ไมง่ ามแลว้ แตก่ รณ)ี จกั ไมถ่ อื เอา โดยอนพุ ยญั ชนะ (คอื แยกถอื เอาแตบ่ างสว่ น วา่ สว่ นใดงามหรอื ไมง่ ามแลว้ แตก่ รณ)ี , บาปอกศุ ล กลา่ วคอื อภชิ ฌาและโทมนสั มกั ไหลไปตามอารมณ์ เพราะการไมส่ ำ�รวมจกั ขุนทรีย์ใด เปน็ เหตุ เราจักสำ�รวมอินทรยี น์ ้ันไว้ เปน็ ผรู้ กั ษาส�ำ รวม จกั ขนุ ทรยี ์” ดังน.้ี (ในกรณี โสตินทรยี ์คอื หู ฆานนิ ทรียค์ ือจมูก ชิวหินทรียค์ ือลน้ิ กายนิ ทรยี ค์ อื กาย และมนินทรยี ์คอื ใจ กม็ ีข้อความนัยเดียวกัน). พราหมณ์ ! ในกาลใด ภกิ ษนุ น้ั เปน็ ผสู้ �ำ รวมอนิ ทรยี ์ (เช่นที่กล่าวนั้น) ดีแล้ว ตถาคตย่อมแนะนำ�ให้ยิ่งขึ้นไป อีกว่า “มาเถิดภิกษุ ! ท่านจงเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ อยเู่ สมอ จงพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ จงึ ฉนั ไมฉ่ นั เพอ่ื เลน่

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 5​ 5 เพอ่ื มวั เมา เพอ่ื ประดบั ตกแตง่ , แตฉ่ นั เพยี งเพอ่ื ใหก้ ายน้ี ตั้งอยู่ได้ เพื่อให้ชีวิตเป็นไป เพื่อป้องกันความลำ�บาก เพอ่ื อนเุ คราะหพ์ รหมจรรย,์ โดยคดิ วา่ เราจกั ก�ำ จดั เวทนาเกา่ (คอื หวิ ) เสยี แลว้ ไมท่ �ำ เวทนาใหม่ (คอื อม่ิ จนอดึ อดั ) ใหเ้ กดิ ขน้ึ , ความทอ่ี ายดุ �ำ เนนิ ไปได้ ความไมม่ โี ทษเพราะอาหาร และ ความอยผู่ าสกุ ส�ำ ราญ จกั มแี กเ่ รา” ดงั น.้ี พราหมณ์ ! ในกาลใด ภิกษนุ ั้น เป็นผู้รปู้ ระมาณ ในโภชนะ (เชน่ ทกี่ ล่าวนั้น) ดีแลว้ ตถาคตยอ่ มแนะน�ำ ใหย้ ง่ิ ขน้ึ ไปอีกวา่ “มาเถิดภิกษุ ! ท่านจงประกอบความเพียรใน ธรรมเปน็ เครอ่ื งตน่ื (ไมห่ ลบั ไมง่ ว่ ง ไมม่ นึ ชา). จงช�ำ ระจติ ใหห้ มดจดสน้ิ เชงิ จากอาวรณยิ ธรรมทง้ั หลาย ดว้ ยการเดนิ การนั่ง ตลอดวันยันค่ำ� ไปจนสิ้นยามแรกแห่งราตรี. ครั้นยามกลางแห่งราตรี สำ�เร็จการนอนอย่างราชสีห์ (คอื ตะแคงขวา เทา้ เหลอ่ื มเทา้ ) มสี ตสิ มั ปชญั ญะในการลกุ ขน้ึ . ครน้ั ถงึ ยามทา้ ยแหง่ ราตรี ลกุ ขน้ึ แลว้ ช�ำ ระจติ ใหห้ มดจด จากอาวรณยิ ธรรม ดว้ ยการเดนิ การนง่ั อกี ตอ่ ไป” ดงั น.้ี

5​ 6 พุทธวจน พราหมณ์ ! ในกาลใด ภิกษนุ นั้ เป็นผปู้ ระกอบ ความเพียรในธรรมเป็นเครอื่ งต่ืน (เช่นท่กี ล่าวนน้ั ) ดีแลว้ ตถาคตย่อมแนะนำ�ใหย้ ิ่งขึ้นไปอีกว่า “มาเถดิ ภิกษุ ! ทา่ นจงเป็นผปู้ ระกอบพรอ้ มด้วย สติสัมปชัญญะ รู้ตัวรอบคอบในการก้าวไปข้างหน้า การถอยกลบั ไปขา้ งหลงั , การแลดู การเหลยี วด,ู การคู้ การเหยยี ด, การทรงสงั ฆาฏิ บาตร จวี ร, การฉนั การดม่ื การเคี้ยว การลิ้ม, การถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ, การไป การหยุด, การน่ัง การนอน, การหลับ การตื่น, การพูด การนง่ิ ” ดังนี้. พราหมณ์ ! ในกาลใด ภกิ ษนุ นั้ เป็นผู้ประกอบดว้ ย สตสิ มั ปชญั ญะ (เชน่ ทก่ี ลา่ วนน้ั ) ดแี ลว้ ตถาคตยอ่ มแนะน�ำ ใหย้ งิ่ ขึ้นไปอกี ว่า “มาเถิดภิกษุ ! ท่านจงเสพเสนาสนะอันสงดั คือ ปา่ ละเมาะ โคนตน้ ไม้ ภเู ขา ซอกหว้ ย ทอ้ งถ�ำ้ ปา่ ชา้ ปา่ ชฏั ทแ่ี จง้ ลอมฟาง (อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ). ในกาลเปน็ ปจั ฉาภตั ต์ กลบั จากบณิ ฑบาตแลว้ นง่ั คบู้ ลั ลงั ก์ ตง้ั กายตรง ด�ำ รงสติ เฉพาะหนา้ ,

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 5​ 7 ละ อภชิ ฌาในโลก มจี ติ ปราศจากอภชิ ฌา คอยช�ำ ระจติ จากอภิชฌา; ละ พยาบาท มจี ติ ปราศจากพยาบาท เปน็ ผกู้ รณุ า มจี ติ หวงั ความเกอ้ื กลู ในสตั วท์ ง้ั หลาย คอยช�ำ ระจติ จากพยาบาท; ละ ถนี มทิ ธะ มุ่งอย่แู ตค่ วามสว่างในใจ มจี ิตปราศจาก ถีนมิทธะ มีสตสิ มั ปชัญญะ คอยชำ�ระจิตจากถนี มิทธะ; ละ อุทธจั จกกุ กจุ จะ ไม่ฟงุ้ ซา่ น มีจิตสงบอยภู่ ายใน คอยช�ำ ระจิตจากอทุ ธัจจกุกกุจจะ; ละ วิจิกิจฉา ขา้ มลว่ งวจิ ิกจิ ฉาเสียได้ ไม่ต้องกล่าววา่ ‘น่อี ะไร นอ่ี ย่างไร’ ในกุศลธรรมทั้งหลาย (เพราะความสงสยั ) คอยชำ�ระจติ จากวิจกิ จิ ฉา” ดงั น.ี้ ภิกษนุ นั้ ครั้นละนิวรณ์ห้าประการ อันเป็นเครื่อง เศรา้ หมองของจติ ทำ�ปญั ญาให้ถอยจากก�ำ ลงั เหลา่ นี้ จงึ บรรลุฌานท่ีหน่งึ มวี ติ กวจิ าร มีปีติและสุข อันเกดิ แตว่ เิ วก แล้วแลอยู่; เพราะสงบวิตกวิจารเสียได้ จึงบรรลุฌาน ทส่ี อง เปน็ เครอ่ื งผอ่ งใสแหง่ ใจในภายใน เปน็ ทเ่ี กดิ สมาธิ แหง่ ใจ ไมม่ ีวิตกไมม่ ีวิจาร มแี ตป่ ตี ิและสขุ อันเกิดแต่สมาธิ แลว้ แลอย่;ู เพราะความจางหายไปแหง่ ปีติ ยอ่ มอยอู่ เุ บกขา

5​ 8 พุทธวจน มสี ติสมั ปชญั ญะ เสวยสุขด้วยนามกาย บรรลฌุ านท่สี าม อนั เป็นฌานที่พระอริยเจ้ากล่าวว่าผไู้ ด้ฌานน้ี “เป็นผอู้ ยู่ อุเบกขา มสี ติ มกี ารอยูเ่ ป็นสขุ ” แล้วแลอยู่; และเพราะ ละสุขและทกุ ข์เสียได้ เพราะความดบั หายไปแหง่ โสมนัส และโทมนสั ในกาลกอ่ น จงึ ไดบ้ รรลฌุ านทส่ี ่ี อนั ไมท่ กุ ข์ ไมส่ ขุ มแี ตค่ วามทม่ี สี ตเิ ปน็ ธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธ์ิ เพราะอเุ บกขา แลว้ แลอย.ู่ พราหมณเ์ อย ! ภิกษุเหลา่ ใดท่ียงั เป็นเสขะ (คือยังต้องทำ�ต่อไป) ยัง ไม่บรรลุอรหตั ตผล ยงั ปรารถนานพิ พานอนั เป็นที่เกษม จากโยคะ ไมม่ อี น่ื ยง่ิ ไปกวา่ อย,ู่ ค�ำ สอนทก่ี ลา่ วมานแ้ี หละ เปน็ ค�ำ สอนส�ำ หรบั ภกิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ นน้ั . ส่วนภิกษุเหลา่ ใด เป็นอรหนั ตส์ ้ินอาสวะแลว้ จบ พรหมจรรยแ์ ลว้ ท�ำ กจิ ทต่ี อ้ งท�ำ ส�ำ เรจ็ แลว้ มภี าระอนั ปลงลง ไดแ้ ลว้ มปี ระโยชนต์ นอนั บรรลถุ งึ แลว้ มสี ญั โญชนใ์ นภพสน้ิ ไปรอบแลว้ หลดุ พน้ แลว้ เพราะรโู้ ดยชอบ, ธรรมทง้ั หลาย (ในค�ำ สอน) เหลา่ น้ี เปน็ ไปเพอ่ื ความอยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั และเพอ่ื สตสิ มั ปชญั ญะ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายเหลา่ นด้ี ว้ ย. อปุ ริ. ม. ๑๔/๘๒/๙๔.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 5​ 9 ๒๖ ทรงเป็นพเ่ี ลี้ยงใหแ้ กส่ าวก ชั่วระยะจ�ำ เปน็ ภิกษทุ ้งั หลาย ! เปรยี บเหมอื นเดก็ ทย่ี งั ออ่ น ยงั ไดแ้ ต่ นอนหงาย เม่อื พีเ่ ลีย้ งเผลอ ได้ควา้ ชน้ิ ไมห้ รือกระเบื้อง กลืนเขา้ ไป พี่เลี้ยงเห็นแลว้ กจ็ ะพยายามหาวธิ ีเอาออก โดยเร็ว. เมื่อเอาออกไม่ได้โดยงา่ ย ก็ประคองศีรษะเด็ก ดว้ ยมอื ซา้ ย งอนวิ้ มอื ขวาลว้ งลงไปเก่ียวขนึ้ มา แม้จะถึง โลหิตออกกต็ อ้ งท�ำ . ขอ้ น้เี พราะเหตุไรเลา่ ? เพราะเหตวุ า่ แมเ้ ดก็ นน้ั จะไดร้ บั ความเจบ็ ปวดกจ็ รงิ แตพ่ เ่ี ลย้ี งทห่ี วงั ความปลอดภยั แกเ่ ดก็ หวงั จะชว่ ยเหลอื เดก็ มคี วามเอน็ ดเู ดก็ กต็ อ้ งท�ำ เชน่ นน้ั เพราะความเอน็ ดนู น้ั เอง. ครั้นเด็กเติบโตขึ้น มีความรู้เดียงสาพอควรแล้ว พี่เลี้ยง ก็ปล่อยมือ ไม่จ้ำ�จี้จ้ำ�ไชในเด็กนั้นเกินไป ด้วยคิดว่า บัดนี้ เด็กคุ้มครองตัวเองได้แล้ว ไม่อาจจะไร้เดียงสา อีกแล้ว ดังนี้, ข้อนี้ฉันใด;

6​ 0 พุทธวจน ภิกษุท้งั หลาย ! ขอ้ นีก้ เ็ ช่นกัน : ตราบใดทภ่ี ิกษยุ ังมิไดท้ �ำ กิจในกุศลธรรมทง้ั หลาย อันตนจะต้องทำ�ด้วยศรัทธา ด้วยหิริ ด้วยโอตตัปปะ ด้วยวิริยะ และด้วยปัญญา, ตราบนั้นเรายังจะต้องตามคุ้มครองภกิ ษุนน้ั . แต่เม่ือใดภิกษุน้ันได้ทำ�กิจในกุศลธรรมท้ังหลาย อันตนจะต้องทำ�ด้วยศรัทธา ด้วยหิริ ด้วยโอตตัปปะ ด้วยวิริยะ ด้วยปัญญา สำ�เร็จแล้ว, เราก็หมดห่วงในภกิ ษนุ น้ั ด้วยคดิ ว่าบัดนี้ ภิกษุนี้ คุ้มครองตนเองไดแ้ ลว้ ไมอ่ าจจะประพฤติหละหลวมอีก ตอ่ ไปแลว้ ดังน.ี้ ปญฺจก. อํ. ๒๒/๖/๗.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 6​ 1 ๒๗ ทรงฆา่ ผทู้ ี่ไมร่ ับการฝกึ น่ีแน่ เกสิ ! ท่านเป็นคนเชี่ยวชาญการฝึกม้ามี ชอ่ื ดงั เราอยากทราบวา่ ทา่ นฝกึ มา้ ของทา่ นอยา่ งไรกนั ? “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ูเ้ จริญ ! ข้าพระองค์ย่อมฝึกม้าชนิดที่ พอฝึกได้ ด้วยวิธีละมุนละไมบ้าง, ด้วยวิธีรุนแรงบ้าง, ด้วยวิธี ทั้งละมุนละไมและรุนแรงรวมกันบ้าง (แล้วแต่ว่าม้านั้นเป็นม้า ที่มีนิสัยเช่นไร)”. เกสิ ! ถา้ มา้ ของทา่ นไมร่ บั การฝกึ ทง้ั ดว้ ยวธิ ลี ะมนุ ละไม ทง้ั ดว้ ยวธิ ที ร่ี นุ แรง และทง้ั ดว้ ยวธิ ที ล่ี ะมนุ ละไมและรนุ แรง รวมกนั เลา่ ทา่ นท�ำ อยา่ งไรกบั มา้ นน้ั ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ข้าพระองค์ย่อมฆ่าม้านั้นเสีย เพอ่ื มใิ หเ้ สยี ชอ่ื เสยี งแกส่ กลุ แหง่ อาจารยข์ องขา้ พระองค์ พระเจา้ ขา้ ! กพ็ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ เลา่ ยอ่ มเปน็ สารถี ฝกึ บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ ไมม่ ใี คร ยง่ิ ไปกวา่ , พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงฝกึ บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ ดว้ ยวธิ อี ยา่ งไร พระเจ้าขา้ ?”.

6​ 2 พุทธวจน เกสิ ! เรายอ่ มฝกึ บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ ดว้ ยวธิ ลี ะมนุ ละไมบา้ ง ดว้ ยวธิ รี นุ แรงบา้ ง ดว้ ยวธิ ที ง้ั ละมนุ ละไมและรนุ แรงรวมกนั บา้ ง เหมอื นกนั . เกสิ ! ในสามวธิ นี ้นั วิธฝี กึ ทล่ี ะมนุ ละไม คอื เราพร�ำ่ สอนเขาว่า กายสจุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี ผลของกายสุจริตเป็นอย่างน้ๆี , วจสี จุ ริตเปน็ อย่างนๆี้ ผลของวจีสุจริตเป็นอย่างน้ๆี , มโนสจุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี ผลของมโนสุจริตเป็นอย่างน้ๆี , เทวดาเปน็ อยา่ งนี้ๆ, มนุษย์เป็นอยา่ งนๆี้ ดงั น้ี. วิธีฝกึ ที่รนุ แรง คือเราพร�ำ่ บอกเขาว่า กายทจุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี ผลของกายทุจริตเป็นอย่างน้ๆี , วจที จุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี ผลของวจีทุจริตเป็นอย่างน้ีๆ, มโนทจุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี ผลของมโนทจุ รติ เปน็ อยา่ งนๆ้ี , นรกเปน็ อยา่ งนๆ้ี , ก�ำ เนดิ เดรจั ฉานเปน็ อยา่ งนๆ้ี , เปรตวสิ ยั เปน็ อยา่ งนๆ้ี .

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 6​ 3 วธิ ฝี กึ ท้งั ละมนุ ละไมและรนุ แรงรวมกนั นั้น คือเราพร่�ำ บอกพรำ่�สอนเขาว่า กายสจุ ริต-ผลของกายสุจรติ เป็นอย่างนๆ้ี , กายทจุ ริต-ผลของกายทุจรติ เปน็ อย่างนี้ๆ; วจสี จุ รติ -ผลของวจสี ุจรติ เป็นอยา่ งน้ีๆ, วจที จุ รติ -ผลของวจีทุจรติ เป็นอย่างน้ๆี ; มโนสจุ ริต-ผลของมโนสุจริตเป็นอย่างนี้ๆ, มโนทจุ ริต-ผลของมโนทุจรติ เปน็ อยา่ งนๆี้ ; เทวดาเปน็ อยา่ งน้ีๆ, มนษุ ย์เป็นอยา่ งนๆ้ี , นรกเปน็ อยา่ งนๆี้ , กำ�เนิดเดรัจฉานเป็นอยา่ งนีๆ้ , เปรตวิสัยเปน็ อย่างนๆ้ี . “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ถา้ บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ นน้ั ไมร่ บั การฝกึ ทง้ั ดว้ ยวธิ ลี ะมนุ ละไม ทง้ั ดว้ ยวธิ ที ร่ี นุ แรง และทง้ั ดว้ ยวธิ ที ล่ี ะมนุ ละไม และรนุ แรงรวมกนั เลา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จะทรงท�ำ อยา่ งไร ?”.

6​ 4 พุทธวจน เกสิ ! ถ้าบุรุษที่ควรฝึก ไม่ยอมรับการฝึกด้วยวิธี ทัง้ สามแลว้ เราก็ฆ่าเขาเสีย. “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! กป็ าณาตบิ าต ยอ่ มไมส่ มควรแก่ พระผมู้ พี ระภาคมใิ ชห่ รอื ? แลว้ พระผมู้ พี ระภาคกย็ งั ตรสั วา่ เกสิ ! เรากฆ็ า่ เขาเสยี ?”. เกสิเอย ! ปาณาติบาตย่อมไม่สมควรแก่เราจริง แตว่ า่ เมอ่ื บรุ ษุ ทค่ี วรฝกึ ไมย่ อมรบั การฝกึ ดว้ ยวธิ ที ง้ั สามแลว้ ตถาคตกไ็ มถ่ อื วา่ คนคนนน้ั เปน็ คนทค่ี วรวา่ กลา่ วสง่ั สอน อกี ตอ่ ไป; ถึงแมเ้ พอื่ นผูป้ ระพฤติพรหมจรรยร์ ่วมกัน ซง่ึ เปน็ ผรู้ ู้ กจ็ ะไมถ่ อื วา่ คนคนนน้ั เปน็ คนทค่ี วรวา่ กลา่ ว สง่ั สอนอกี ตอ่ ไปดว้ ย. เกสิ ! นี่แหละ คือวิธีฆ่าอย่างดีในวินัยของ พระอรยิ เจ้า, ไดแ้ ก่การทตี่ ถาคตและเพื่อนผปู้ ระพฤติ พรหมจรรย์ร่วมกัน พากันถือวา่ บุรุษนเี้ ป็นผ้ทู ่ีไม่ควร วา่ กล่าวสง่ั สอนอกี ต่อไป ดงั นี.้ จตกุ ฺก. อ.ํ ๒๑/๑๕๐/๑๑๑.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 6​ 5 ๒๘ ตถาคตเปน็ เพยี งผูบ้ อกทางเทา่ นั้น “ก็สาวกของพระโคดมผเู้ จริญ เมือ่ พระโคดมได้กล่าวสอน พร�ำ่ สอนอยอู่ ย่างน้ี ทุกๆ องค์ไดบ้ รรลุนพิ พาน อนั เปน็ ผลส�ำ เรจ็ ถึงที่สุดอย่างยิ่ง หรือว่าบางองค์ไม่ได้บรรลุ ?” พราหมณ์ คณกโมคคัลลานะ ทูลถาม. พราหมณ์ ! สาวกของเรา แมเ้ รากลา่ วสอน พร�ำ่ สอน อย่อู ย่างนี้ นอ้ ยพวกทีไ่ ดบ้ รรลุนิพพาน อันเป็นผลสำ�เร็จ ถึงทส่ี ุดอยา่ งยงิ่ , บางพวกไมไ่ ด้บรรลุ. “พระโคดมผเู้ จรญิ ! อะไรเลา่ เปน็ เหตุ อะไรเลา่ เปน็ ปจั จยั , ทีพ่ ระนิพพาน ก็ยงั ต้ังอยู่, หนทางเปน็ ที่ยงั สัตว์ใหถ้ งึ นพิ พาน ก็ ยงั ตงั้ อย่,ู พระโคดมผ้ชู กั ชวน (เพ่ือการด�ำ เนินไป) ก็ยงั ตง้ั อย,ู่ ทำ�ไมน้อยพวกท่บี รรลุ และบางพวกไมบ่ รรลุ ?”. พราหมณ์ ! เราจกั ย้อนถามทา่ นในเร่ืองนี้ ทา่ นจง ตอบตามควร, ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในหนทางไปสู่เมือง ราชคฤห์ มใิ ชห่ รอื , มบี รุ ษุ ผจู้ ะไปเมอื งราชคฤห์ เขา้ มาหา และกล่าวกบั ทา่ นวา่

6​ 6 พุทธวจน “ท่านผเู้ จริญ ! ข้าพเจ้าปรารถนาจะไปเมอื งราชคฤห์ ขอ ท่านจงบอกทางไปเมืองราชคฤห์ แกข่ ้าพเจา้ เถดิ ”. ท่านก็จะกลา่ วกะบรุ ษุ นน้ั ว่า “มาซิท่าน, ทางนี้ไปเมอื งราชคฤห์ ไปได้ครหู่ น่งึ จกั พบบา้ น ช่ือโน้น แล้วจักเห็นนิคมชือ่ โน้น จักเหน็ สวนและป่าอนั นา่ รืน่ รมย์ จกั เห็นภูมิภาคอนั นา่ รนื่ รมย์ สระโบกขรณอี ันน่าร่ืนรมย์ของเมอื ง ราชคฤห์” ดงั น.ี้ บรุ ษุ นัน้ อันท่านพร่�ำ บอก พร่ำ�ชีใ้ ห้อย่างนี้ ก็ยงั ถอื เอาทางผดิ กลบั หลงั ตรงขา้ มไป, ส่วนบรุ ษุ อกี คนหนงึ่ (อันทา่ นพร่ำ�บอกพร�่ำ ช้อี ย่างเดยี วกนั ) ไปถงึ เมืองราชคฤห์ได้ โดยสวสั ดี. พราหมณ์ ! อะไรเลา่ เปน็ เหตุ อะไรเลา่ เปน็ ปจั จยั , ที่เมืองราชคฤห์ ก็ยังตั้งอยู่, หนทางสำ�หรับไปเมือง ราชคฤห์ กย็ งั ตง้ั อย,ู่ ทา่ นผชู้ บ้ี อก กย็ งั ตง้ั อย,ู่ แตท่ �ำ ไม บรุ ษุ ผหู้ นง่ึ กลบั หลงั ไปผดิ ทาง, สว่ นบรุ ษุ ผหู้ นง่ึ ไปถงึ เมอื ง ราชคฤหโ์ ดยสวสั ดี ? “พระโคดมผเู้ จรญิ ! ในเรอ่ื งนข้ี า้ พเจา้ จกั ท�ำ อยา่ งไรไดเ้ ลา่ , เพราะขา้ พเจา้ เปน็ เพยี งผบู้ อกทางเทา่ นน้ั ”.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 6​ 7 พราหมณ์ ! ฉนั ใดก็ฉนั น้ัน, ที่พระนพิ พาน ก็ยงั ตั้งอย่,ู ทางเป็นเครอื่ งถงึ พระนิพพาน ก็ยงั ตั้งอยู,่ เราผู้ชักชวน ก็ยงั ตง้ั อยู่, แตส่ าวกของเรา แมเ้ รากลา่ วสอน พร�ำ่ สอนอยอู่ ยา่ งน้ี นอ้ ยพวกไดบ้ รรลนุ พิ พาน อนั เปน็ ผลส�ำ เรจ็ ถงึ ทส่ี ดุ อยา่ งยง่ิ , บางพวกไม่ได้บรรล.ุ พราหมณ์ ! ในเรื่องนี้เราจักทำ�อย่างไรได้เล่า, เพราะเราเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้น. อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๘๕/๑๐๑.

6​ 8 พุทธวจน ๒๙ ทอ่ นไมท้ ีล่ อยออกไปได้ถงึ ทะเล ภิกษทุ ง้ั หลาย ! พวกเธอได้เห็นท่อนไม้ใหญ่นั้น ซง่ึ ลอยมาโดยกระแสแม่นำ�้ คงคา หรอื ไม่ ? “ไดเ้ หน็ แล้ว พระเจา้ ขา้ !” ภิกษุทัง้ หลายกราบทลู . ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ถา้ ท่อนไมน้ น้ั จะไม่เข้าไปตดิ เสยี ทีฝ่ ง่ั ในหรือฝั่งนอก, ไม่จมเสยี ในท่ามกลางน้ำ�, ไม่ขนึ้ ไป ติดแห้งอย่บู นบก, ไม่ถูกมนุษยจ์ บั ไว้, ไมถ่ กู อมนษุ ย์จับ ไว,้ ไมถ่ กู เกลยี วนำ้�วนวนไว,้ ไมเ่ น่าเสียเองในภายในไซร,้ ทอ่ นไมเ้ ชน่ ทก่ี ลา่ วน้ี จกั ลอยไหลพงุ่ ไปสทู่ ะเล เพราะเหตุ วา่ ล�ำ แมน่ �ำ้ คงคา โนม้ นอ้ ม ลมุ่ ลาด เอยี งเท ไปสทู่ ะเล. ขอ้ นฉี้ ันใด; ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! แมพ้ วกเธอทง้ั หลายกฉ็ นั นั้น : ถ้า พวกเธอไมเ่ ขา้ ไปตดิ เสยี ทฝ่ี ง่ั ใน, ไมเ่ ขา้ ไปตดิ เสยี ทฝ่ี ง่ั นอก, ไมจ่ มเสยี ในท่ามกลาง, ไม่ขน้ึ ไปตดิ แหง้ อยู่บนบก, ไมถ่ กู มนษุ ยจ์ บั ไว,้ ไมถ่ กู อมนษุ ยจ์ บั ไว,้ ไมถ่ กู เกลยี วน�ำ้ วนวนไว,้

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 6​ 9 ไมเ่ นา่ เสยี เองในภายในไซร,้ พวกเธอกจ็ ะเลอ่ื นไหลไปสู่ นพิ พาน เพราะเหตวุ า่ สมั มาทฏิ ฐิ มธี รรมดาทโ่ี นม้ นอ้ ม ลมุ่ ลาด เอยี งเท ไปสนู่ พิ พาน. ครั้นสิ้นกระแสพระดำ�รัสแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งได้กราบทูลถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! อะไรเลา่ เปน็ ฝง่ั ในหรอื ฝง่ั นอก ? อะไรชอ่ื วา่ จมในทา่ มกลาง ? อะไรชอ่ื วา่ ขน้ึ ไปตดิ แหง้ อยบู่ นบก ? อะไรชอ่ื วา่ ถกู มนษุ ยจ์ บั ไว้ ? อะไรชอ่ื วา่ ถกู อมนษุ ยจ์ บั ไว้ ? อะไรชอ่ื วา่ ถกู เกลยี วน�ำ้ วนวนไว้ ? อะไรชอ่ื วา่ เนา่ เสยี เองในภายใน ?” ภิกษุทัง้ หลาย ! คำ�วา่ “ฝัง่ ใน” เปน็ ชอ่ื ของ อายตนะภายใน ๖. ค�ำ วา่ “ฝง่ั นอก” เปน็ ชื่อของ อายตนะภายนอก ๖. ค�ำ วา่ “จมเสยี ในทา่ มกลาง” เปน็ ชอ่ื ของ นนั ทริ าคะ (ความก�ำ หนดั ดว้ ยความเพลนิ ). ค�ำ วา่ “ขน้ึ ไปตดิ แหง้ อยบู่ นบก” เปน็ ชอ่ื ของ อสั ม๎ มิ านะ (ความส�ำ คญั วา่ เรามี เราเปน็ ).

7​ 0 พุทธวจน ค�ำ วา่ “ถูกมนษุ ยจ์ ับไว”้ ได้แก่ ภกิ ษุในกรณีนเี้ ปน็ ผ้รู ะคนด้วยพวกคฤหัสถ์ เพลดิ เพลินดว้ ยกัน, โศกเศรา้ ด้วยกนั , มสี ุข เมือ่ คฤหสั ถ์เหลา่ นั้นมีสุข, เป็นทุกข์ เมื่อ คฤหัสถ์เหล่านั้นเป็นทุกข์, ประกอบการงานในกิจการที่ บงั เกดิ ขน้ึ แกค่ ฤหสั ถเ์ หลา่ นน้ั ดว้ ยตน : ภกิ ษนุ ้ี เราเรยี กวา่ ผูถ้ ูกมนษุ ย์จับไว.้ ค�ำ วา่ “ถูกอมนุษย์จบั ไว”้ ได้แก่ ภิกษบุ างรปู ใน กรณนี ้ี ประพฤติพรหมจรรย์ โดยต้ังความปรารถนา เทพนิกายชั้นใดช้นั หนึ่ง ว่า “ด้วยศีลน้ี หรอื ด้วยวัตรนี้ หรือว่าด้วยตบะนี้ เราจักได้เป็นเทวดาผู้มีศักดาใหญ่ หรอื เป็นเทวดาผู้มศี ักดานอ้ ย อย่างใดอย่างหนงึ่ ” ดงั น้ี : ภกิ ษนุ ้ี เราเรยี กวา่ ผู้ถูกอมนุษย์จับไว.้ ค�ำ วา่ “ถกู เกลยี วน�ำ้ วนวนไว”้ เปน็ ชอ่ื ของ กามคณุ ๕. “ภกิ ษเุ ปน็ ผเู้ นา่ เสยี เองในภายใน” คอื อยา่ งไรเลา่ ? คอื ภกิ ษบุ างรปู ในกรณนี ้ี เปน็ คนทศุ ลี มคี วามเปน็ อยเู่ ลวทราม ไมส่ ะอาด มคี วามประพฤตชิ นดิ ทต่ี นเองนกึ แลว้ กก็ นิ แหนง ตวั เอง มกี ารกระท�ำ ทต่ี อ้ งปกปดิ ซอ่ นเรน้ ไมใ่ ชส่ มณะก็

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 7​ 1 ปฏิญญาว่าเป็นสมณะ ไม่ใช่คนประพฤติพรหมจรรย์ ก็ ปฏิญญาว่าเป็นคนประพฤติพรหมจรรย์ เป็นคนเน่าใน เปยี กแฉะ มสี ญั ชาตหิ มกั หมม เหมอื นบอ่ ทเ่ี ทขยะมลู ฝอย. ภิกษนุ ้ี เราเรยี กวา่ ผูเ้ นา่ เสียเองในภายใน แล. สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๒๓/๓๒๒.

7​ 2 พุทธวจน ๓๐ กระดองของบรรพชติ ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! เรื่องเคยมีมาก่อน : เต่าตัวหนึ่ง เทย่ี วหากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเยน็ , สนุ ขั จง้ิ จอกตวั หน่ึง ก็เที่ยวหากินตามริมลำ�ธารในตอนเย็นเช่นเดียวกัน, เต่าตัวนั้นได้เห็นสุนัขจิ้งจอกซึ่งเที่ยวหากิน (เดินเข้ามา) แตไ่ กล, ครั้นแล้วจึงหดอวัยวะท้งั หลาย มีศรี ษะเป็นทห่ี ้า เข้าในกระดองของตนเสีย เป็นผู้ขวนขวายน้อยนิ่งอยู่. แม้สุนัขจิ้งจอกก็ได้เห็นเต่า ตัวที่เที่ยวหากินนั้นแต่ไกล เหมอื นกนั , ครน้ั แลว้ จงึ เดนิ ตรงเขา้ ไปทเ่ี ตา่ คอยชอ่ งอยวู่ า่ “เมื่อไรหนอ เตา่ จักโผลอ่ วัยวะส่วนใดสว่ นหนง่ึ ออก ใน บรรดาอวัยวะท้งั หลาย มศี รี ษะเปน็ ท่หี ้า แล้วจกั กดั อวยั วะ ส่วนนนั้ ครา่ เอาออกมากนิ เสยี ” ดังน.ี้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ตลอดเวลาทเ่ี ตา่ ไมโ่ ผลอ่ วยั วะออกมา สนุ ขั จง้ิ จอกกไ็ มไ่ ด้ โอกาส ต้องหลีกไปเอง; ภกิ ษุท้งั หลาย ! ฉันใดกฉ็ นั นั้น : มารผูใ้ จบาปก็ คอยชอ่ งตอ่ พวกเธอทง้ั หลาย ตดิ ตอ่ ไมข่ าดระยะอยเู่ หมอื น กันวา่ “ถา้ อย่างไร เราคงได้ชอ่ ง ไม่ทางตา ก็ทางหู หรือ

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 7​ 3 ทางจมกู หรือทางลนิ้ หรอื ทางกาย หรือทางใจ” ดังนี้. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เพราะฉะน้นั ในเร่ืองนี้ พวกเธอทัง้ หลาย จงเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายอยู่เถิด; ได้ เหน็ รปู ดว้ ยตา, ได้ฟังเสยี งดว้ ยห,ู ไดด้ มกลิน่ ด้วยจมูก, ได้ล้ิมรสดว้ ยล้ิน, ไดส้ มั ผสั โผฏฐพั พะด้วยกาย, หรือได้ รธู้ รรมารมณด์ ว้ ยใจแลว้ จงอยา่ ไดถ้ อื เอาโดยลกั ษณะทเ่ี ปน็ การรวบถือทงั้ หมด, อย่าไดถ้ อื เอาโดยลักษณะที่เป็นการ แยกถอื เปน็ สว่ นๆ เลย; สง่ิ ทเ่ี ปน็ อกศุ ลธรรมอนั เปน็ บาป คอื อภชิ ฌาและโทมนสั จะพงึ ไหลไปตามบคุ คลผไู้ มส่ �ำ รวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เพราะการไม่สำ�รวมอินทรีย์ใด เปน็ เหต,ุ พวกเธอทง้ั หลายจงปฏบิ ตั เิ พอ่ื การปดิ กน้ั อนิ ทรยี ์ นน้ั ไว,้ พวกเธอทง้ั หลายจงรกั ษาและถงึ ความส�ำ รวมตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ เถดิ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลใด พวกเธอทง้ั หลาย จกั เปน็ ผู้คมุ้ ครองทวารในอนิ ทรีย์ทงั้ หลายอย;ู่ ในการนนั้ มาร ผ้ใู จบาป จกั ไมไ่ ดช้ อ่ งแมจ้ ากพวกเธอทั้งหลาย และจกั ต้องหลีกไปเอง, เหมือนสุนัขจิ้งจอก ไม่ได้ช่องจากเต่า ก็หลีกไปเอง ฉะน้นั .

7​ 4 พุทธวจน “เตา่ หดอวยั วะไวใ้ นกระดอง ฉันใด, ภกิ ษพุ ึงตง้ั มโนวติ ก (ความตรติ รึกทางใจ) ไวใ้ นกระดอง (กลา่ วคือ อารมณ์แหง่ การภาวนา) ฉนั น้ัน. เป็นผู้ทต่ี ณั หาและทิฏฐิไม่องิ อาศยั ได้, ไม่เบียดเบยี นผอู้ น่ื , ไม่กล่าวร้ายต่อใครทั้งหมด, เปน็ ผดู้ ับสนทิ แล้ว” ดังน้ี แล. สฬา. สํ. ๑๘/๒๒๒/๓๒๐.

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 7​ 5 ๓๑ ผู้มีหลกั เสาเข่ือน ภิกษทุ ั้งหลาย ! ภกิ ษผุ มู้ สี งั วรนน้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เมอ่ื เหน็ รปู ดว้ ย ตา, ฟังเสียงดว้ ยหู, ดมกลนิ่ ด้วยจมูก, ลมิ้ รสด้วยลน้ิ , สมั ผสั โผฏฐพั พะดว้ ยกาย, รธู้ รรมารมณด์ ว้ ยใจ; กไ็ มส่ ยบ อยู่ในอารมณ์ทนี่ า่ รัก ไมเ่ คียดแคน้ ในอารมณอ์ ันไมน่ า่ รกั เป็นผตู้ ้งั ไวซ้ ง่ึ กายคตาสติ มจี ติ หาประมาณไม่ได,้ ย่อมรู้ ตามท่ีเปน็ จริงซึ่งเจโตวิมตุ ติ ปัญญาวมิ ตุ ติ อันเปน็ ทด่ี บั แหง่ บาปอกศุ ลทีเ่ กิดแล้วแกเ่ ขาน้นั โดยสนิ้ เชงิ . ภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือนบุรุษจับสัตว์หกชนิด อนั มที ่ีอยู่อาศยั ตา่ งกัน มที ่เี ทยี่ วหากินต่างกัน มาผูกรวม กนั ดว้ ยเชือกอันม่นั คง คอื เขาจับงมู าผูกดว้ ยเชอื กเหนยี ว เส้นหน่ึง, จบั จระเข้, จับนก, จบั สนุ ขั บ้าน, จับสุนัขจิ้งจอก และจบั ลงิ มาผกู ดว้ ยเชอื กเหนยี วเสน้ หนง่ึ ๆ ครน้ั แลว้ น�ำ ไป ผกู ไวก้ บั เสาเขอ่ื นหรอื เสาหลกั อกี ตอ่ หนง่ึ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ครง้ั นน้ั สตั วท์ ง้ั หกชนดิ เหลา่ นน้ั มที อ่ี าศยั และทเ่ี ทย่ี วตา่ งกนั

7​ 6 พุทธวจน กย็ อ้ื แยง่ ฉดุ ดงึ กนั เพอ่ื จะไปสทู่ อ่ี าศยั และทเ่ี ทย่ี วของตนๆ : งูจะเขา้ จอมปลวก, จระเข้จะลงนำ้�, นกจะบินขึน้ ไปใน อากาศ, สุนัขจะเข้าบา้ น, สนุ ขั จิง้ จอกจะไปป่าช้า และลงิ กจ็ ะไปป่า. ภิกษุทงั้ หลาย ! ในกาลใดแล ความเป็นไป ภายในของสัตว์ทั้งหกชนิดเหล่านั้น มีแต่ความเมื่อยล้า แลว้ , ในกาลนน้ั มนั ทง้ั หลายกจ็ ะพงึ เขา้ ไปยนื เจา่ นง่ั เจา่ นอนเจา่ , อยขู่ า้ งเสาเขอ่ื นหรอื เสาหลกั นน้ั เอง. ขอ้ นฉ้ี นั ใด; ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! ภกิ ษรุ ปู ใด ได้อบรมกระทำ�ให้มาก ในกายคตาสตแิ ล้ว ตา ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหารูปท่ีน่าพอใจ, รูปทไ่ี มน่ ่าพอใจ ก็ไมเ่ ปน็ ส่ิงทีเ่ ธอรู้สกึ อึดอัดขยะแขยง; หู ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหาเสียงที่น่าฟัง, เสยี งท่ไี มน่ ่าฟงั กไ็ ม่เปน็ สงิ่ ที่เธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง; จมกู กจ็ ะไมฉ่ ดุ เอาภกิ ษนุ น้ั ไปหากลน่ิ ทน่ี า่ สดู ดม, กลน่ิ ทไ่ี มน่ า่ สดู ดม กไ็ มเ่ ปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง; ลิน้ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหารสที่น่าชอบใจ, รสท่ไี มน่ า่ ชอบใจ ก็ไม่เป็นสงิ่ ท่ีเธอรู้สึกอึดอดั ขยะแขยง;

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 7​ 7 กาย ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุนั้นไปหาสัมผัสที่น่า ยัว่ ยวนใจ, สัมผัสท่ีไมน่ า่ ยว่ั ยวนใจ ก็ไม่เป็นสงิ่ ทเี่ ธอรู้สึก อดึ อดั ขยะแขยง; และใจ ก็จะไม่ฉุดเอาภิกษุน้ันไปหาธรรมารมณ์ที่ นา่ ถกู ใจ, ธรรมารมณท์ ไ่ี มน่ า่ ถกู ใจ กไ็ มเ่ ปน็ สง่ิ ทเ่ี ธอรสู้ กึ อดึ อดั ขยะแขยง; ขอ้ นกี้ ฉ็ นั น้นั เหมือนกนั . ภิกษุทั้งหลาย ! ภกิ ษผุ ู้มีสังวร เปน็ อย่างน.ี้ ภิกษทุ ัง้ หลาย ! คำ�วา่ “เสาเขื่อนหรอื เสาหลัก” น้ี เป็นคำ�เรียกแทนช่ือแห่ง “กายคตาสติ” ภิกษทุ ง้ั หลาย ! เพราะฉะน้นั ในเร่อื งนี้ พวกเธอทัง้ หลาย พงึ ส�ำ เหนยี กใจไว้ว่า “กายคตาสตขิ องเราทง้ั หลาย จักเป็นส่ิงที่เราอบรมกระท�ำ ให้มาก กระทำ�ใหเ้ ป็นยาน เครื่องนำ�ไป กระท�ำ ให้เปน็ ของทีอ่ าศัยได้ เพียรตงั้ ไว้ เนืองๆ เพียรเสริมสร้างโดยรอบคอบ เพยี รปรารภ สมำ�่ เสมอด้วยด”ี ดังนี.้ ภิกษทุ ั้งหลาย ! พวกเธอท้ังหลายพึงสำ�เหนียกใจไว้ อย่างน้ี แล. สฬา. สํ. ๑๘/๒๔๗,๒๔๘/๓๔๙,๓๕๙.

7​ 8 พุทธวจน

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 7​ 9 ๓๒ วหิ ารธรรมทท่ี รงอยมู่ ากทส่ี ดุ กอ่ นตรสั รู้ ภกิ ษุทัง้ หลาย ! ความหวนั่ ไหวโยกโคลงของกาย หรอื ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของจติ กต็ าม ยอ่ มมขี น้ึ ไมไ่ ด้ ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ การเจรญิ ท�ำ ใหม้ ากซง่ึ สมาธใิ ด สมาธนิ น้ั ภกิ ษยุ อ่ มจะไดโ้ ดยไมห่ นกั ใจ ไดโ้ ดยไมย่ าก โดยไมล่ �ำ บาก เลย. ภิกษทุ ้ังหลาย ! ความหวั่นไหวโยกโคลงของกาย หรอื ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของจติ กต็ าม ยอ่ มมขี น้ึ ไมไ่ ด้ ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ การเจรญิ ท�ำ ใหม้ ากซง่ึ สมาธไิ หนกนั เลา่ ? ภิกษทุ ้งั หลาย ! ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของกาย หรอื ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของจติ กต็ าม ยอ่ มมขี น้ึ ไมไ่ ด้ ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่ การเจรญิ ท�ำ ใหม้ ากซง่ึ อานาปานสตสิ มาธ.ิ ภิกษทุ ั้งหลาย ! เมื่อบุคคลเจริญ ทำ�ให้มากซึ่ง อานาปานสตสิ มาธิ อยอู่ ยา่ งไรเลา่ ความหวน่ั ไหวโยกโคลง ของกาย หรอื ความหวน่ั ไหวโยกโคลงของจติ กต็ าม ยอ่ ม มขี ้นึ ไม่ได้ ?

8​ 0 พุทธวจน ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ภิกษใุ นกรณนี ี้ ไปส่ปู า่ หรอื โคนไม้ หรอื เรอื นวา่ งกต็ าม แลว้ นง่ั คขู้ าเขา้ มาโดยรอบ ตง้ั กายตรง ด�ำ รงสตเิ ฉพาะหนา้ ภกิ ษนุ น้ั มสี ตหิ ายใจเขา้ มสี ตหิ ายใจออก. เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้ายาว, เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกยาว; เมื่อหายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจเข้าสั้น, เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่าเราหายใจออกสั้น; เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซง่ึ กายทง้ั ปวง หายใจเข้า”, ว่า “เราเป็นผรู้ ู้พร้อม เฉพาะซ่ึงกายท้งั ปวง หายใจออก”; เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ กายสงั ขาร ใหร้ ำ�งบั หายใจเขา้ ”, ว่า “เราเป็นผทู้ ำ�กายสงั ขารให้ รำ�งับ หายใจออก”; เธอย่อมท�ำ การฝกึ หัดศึกษาวา่ “เราเป็นผ้รู ้พู ร้อม เฉพาะซ่ึงปีติ หายใจเข้า”, วา่ “เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะ ซงึ่ ปีติ หายใจออก”;

ฉบับ ๑ ตามรอยธรรม 8​ 1 เธอย่อมทำ�การฝึกหดั ศึกษาว่า “เราเป็นผรู้ ู้พรอ้ ม เฉพาะซึง่ สุข หายใจเข้า”, วา่ “เราเป็นผูร้ ู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งสุข หายใจออก”; เธอยอ่ มทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเปน็ ผ้รู พู้ รอ้ ม เฉพาะซง่ึ จติ ตสงั ขาร หายใจเขา้ ”, วา่ “เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ ม เฉพาะซงึ่ จิตตสังขาร หายใจออก”; เธอยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษาวา่ “เราเปน็ ผทู้ �ำ จติ ตสงั ขาร ให้รำ�งับ หายใจเข้า”, ว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิตตสังขาร ให้รำ�งับ หายใจออก”; เธอย่อมท�ำ การฝึกหดั ศกึ ษาว่า “เราเปน็ ผูร้ พู้ ร้อม เฉพาะซง่ึ จติ หายใจเขา้ ”, ว่า “เราเป็นผู้รพู้ รอ้ มเฉพาะ ซงึ่ จิต หายใจออก”; เธอยอ่ มทำ�การฝึกหัดศึกษาวา่ “เราเปน็ ผ้ทู ำ�จิตให้ ปราโมทย์ยิง่ หายใจเข้า”, ว่า “เราจกั เปน็ ผู้ท�ำ จติ ให้ ปราโมทยย์ ิ่ง หายใจออก”;

8​ 2 พุทธวจน เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้ทำ�จิต ใหต้ ง้ั ม่นั หายใจเขา้ ”, ว่า “เราเป็นผู้ทำ�จติ ให้ตงั้ มนั่ หายใจออก”; เธอยอ่ มทำ�การฝกึ หดั ศึกษาวา่ “เราเปน็ ผู้ท�ำ จติ ให้ ปลอ่ ยอยู่ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราเป็นผูท้ �ำ จติ ใหป้ ล่อยอยู่ หายใจออก”; เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความไมเ่ ท่ียงอยเู่ ปน็ ประจำ� หายใจเข้า”, วา่ “เราเป็น ผู้เหน็ ซง่ึ ความไม่เทีย่ งอยู่เป็นประจำ� หายใจออก”; เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความจางคลายอยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซ่ึงความจางคลายอยูเ่ ป็นประจำ� หายใจออก”; เธอย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้เห็นซึ่ง ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจเขา้ ”, วา่ “เราเปน็ ผเู้ หน็ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื อยเู่ ปน็ ประจ�ำ หายใจออก”;


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook