Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านสันติวัน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านสันติวัน

Published by a.khopkhankham, 2023-06-18 01:34:45

Description: แผนพัฒนาฯโรงเรียนบ้านสันติวัน

Search

Read the Text Version

กลยทุ ธ์การพัฒนา (เฉพาะท่เี กี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน) กลยุทธ์ที่ 1 การพัฒนาคนไทยทุกชว่ งวัยในทกุ มติ ิ กลยุทธย์ ่อยที่ 1.1 พัฒนาเด็กชว่ งต้ังครรภ์จนถึงปฐมวัยให้มีพฒั นาการรอบดา้ น มีอปุ นสิ ยั ที่ดี โดยการเตรยี มความพรอ้ มพ่อแมผ่ ู้ปกครองและสรา้ งกลไกประสานความร่วมมือ เพ่ือดูแลหญงิ ตง้ั ครรภ์ใหไ้ ดร้ ับ บริการท่ีมีคณุ ภาพ และดแู ลเด็กใหม้ ีพฒั นาการสมวัย ตง้ั แต่อยูใ่ นครรภ์ – 6 ปี การพฒั นาครูและผูด้ ูแลเด็ก ปฐมวัยใหม้ ีความรู้และทกั ษะการดูแลทเี่ พยี งพอ มีจิตวทิ ยาการพฒั นาการของเด็กปฐมวยั สามารถทางาน รว่ มกบั พ่อแม่ผปู้ กครองในการสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านการเรยี นร้ขู องเด็กปฐมวยั ให้มีพฒั นาการสมวยั ตาม หลกั การพัฒนาสมองและกระบวนการเรียนรู้แกเ่ ด็ก ควบคู่กับการพัฒนาการด้านรา่ งกาย สาธารณสุข และ โภชนาการ เพือ่ สง่ เสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการที่ดอี ย่างรอบดา้ นกอ่ นเข้าสูว่ ัยเรยี น การยกระดับสถานพฒั นาเด็ก ปฐมวยั ใหไ้ ด้มาตรฐาน และจัดสรรทรัพยากรทเ่ี พียงพอสำหรบั การดำเนนิ งาน เพ่ือให้เป็นกลไกการพัฒนาเด็ก ปฐมวยั รายพ้นื ท่ที ่ีมคี ุณภาพ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรแู้ ละการดแู ลปกป้องเด็กปฐมวัย ใหม้ ี พฒั นาการท่ีดรี อบด้าน สตปิ ญั ญาสมวัย โดยการมสี ่วนรว่ มของครอบครัว ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคประชาสงั คม และภาคเอกชน รวมถงึ พฒั นาระบบสารสนเทศเด็กรายบุคคลเพ่อื การสง่ ต่อไปยังสถานศึกษา และการพฒั นาทต่ี ่อเนื่อง กลยุทธ์ย่อยท่ี 1.2 พฒั นาผเู้ รยี นระดบั พื้นฐานใหม้ ีความตระหนักรใู้ นตนเองมสี มรรรถนะท่ี จำเป็นต่อการเรียนรู้ การดำรงชีวิตและการทำงาน โดย การพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะและขับเคลื่อนสูก่ าร ปฏบิ ัติ การยกระดับการผลิตและพัฒนาครูทงั้ ในดา้ นปรมิ าณและคุณภาพการปรับปรงุ ระบบวัดและประเมิน ผู้เรยี นใหม้ ีความหลากหลายตามสภาพจรงิ ตลอดจนมกี ารประเมนิ การเรยี นรู้ เพื่อปรับปรงุ และพฒั นาการ จัดการเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมกบั ผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล การพฒั นาระบบสนับสนุนการเรียนรู้ โดย 1) การแก้ไข ภาวะการถดถอยของความรใู้ นวยั เรยี น โดยสถานศึกษาพัฒนาแนวปฏิบัติและระบบสนับสนุนที่เหมาะสม รวมทง้ั สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และการเรียนรทู้ ่ีบ้าน ในสถานการณ์ฉุกเฉิน 2) การพฒั นา ระบบแนะแนวให้มีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาครูและผ้ปู ระกอบอาชีพแนะแนวให้สามารถรว่ มวางแผนเส้นทาง การเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวติ ของผู้เรยี นได้ตามความสนใจ ความถนัด 3) พฒั นา สถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ พ้ืนที่ปลอดภยั ของผู้เรยี นทุกคน โดยพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานทางกายภาพที่เหมาะสมกับการ เรียนรู้ สร้างความรู้ความเข้าใจแก่ครู บุคลากรทางการศึกษา และผเู้ รยี น ถึงแนวทางการอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่าง สงบสุขบนหลักของการเคารพ ความหลากหลาย ทัง้ ทางความคิด มุมมองของคนระหว่างรนุ่ และอัตลกั ษณ์ ส่วนบคุ คลเพอ่ื การวางอนาคต ในการพัฒนาประเทศรว่ มกนั การสง่ เสรมิ การเรียนรวู้ ชิ าชวี ิตในโรงเรียน และมี แนวปฏิบตั ิในการค้มุ ครอง สวัสดภิ าพของผูเ้ รียน โดยเฉพาะจากการถูกกระทำโดยวิธีรนุ แรงทั้งกายวาจา และ การกลน่ั แกลง้ 4) การปรบั ปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ทีม่ ่งุ เน้นการพฒั นา คุณภาพผู้เรยี นเปน็ สำคัญ และอยู่บนหลกั ความเสมอภาคและเป็นธรรม รวมถึงการพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน ทางเทคโนโลยีและดิจิทลั ให้มีความครอบคลมุ ในทุกพืน้ ที่ 5) การกระจายอำนาจ ไปสู่สถานศกึ ษาและเพิ่ม บทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในการจดั การศึกษา โดยปรับปรงุ กฎหมาย ระเบียบ ท่เี อื้อให้ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 47

สถานศกึ ษามีความเปน็ อสิ ระในการบริหารด้านการจัดการศึกษา ด้านวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ และดา้ น บุคลากร รวมทั้งขบั เคล่ือนการสร้างนวตั กรรมทางการศึกษาตามบรบิ ทของโรงเรยี นและพน้ื ที่ ตลอดจน ส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคประชาสังคมในการจดั การเรยี นรู้ และ การร่วมลงทนุ เพ่ือการศึกษา 6) การสง่ เสรมิ ผูม้ คี วามสามารถพเิ ศษ โดยพัฒนาระบบเสาะหาและกลไกการการ บริหารจดั การและส่งเสริมผมู้ ีความสามารถพิเศษตามแนวคิด พหุปัญญาอยา่ งเปน็ ระบบ อาทิ การสนับสนุน ทุนการศึกษาต่อ ฝึกประสบการณท์ างานวิจยั ในองค์กรช้ันนำ ตลอดจนสง่ เสริมการทางานทีใ่ ช้ความสามารถ พเิ ศษอยา่ งเต็มศักยภาพ 7) ผ้มู ีความต้องการพเิ ศษได้รับโอกาสและเข้าถงึ การศึกษาและแหลง่ เรียนรู้ท่ี หลากหลาย โดยสถานศึกษาจดั การศึกษา ทหี่ ลากหลายและเหมาะสมเฉพาะกลุ่ม ใหเ้ ป็นทางเลือกแกผ่ เู้ รยี น เพือ่ ยตุ ิการออกกลางคนั และพัฒนากลไกสนบั สนนุ รวมถงึ การปรบั กฎระเบียบให้เอ้ือต่อภาคเอกชน ภาค ประชาสงั คม และองคก์ ารท่ีไมแ่ สวงหากำไรในการดูแลกลุ่มผมู้ คี วามต้องการพิเศษ อาทิ การวางแนวทางให้ เอกชนสามารถจดั ตั้ง สถานฝึกอบรมหรือมสี ่วนรว่ มรบั ผิดชอบในการพัฒนาผูต้ ้องคำพิพากษา กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนากำลงั คนสมรรถนะสงู กลยทุ ธ์ยอ่ ยท่ี 2.1 พัฒนากำลงั คนสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความตอ้ งการของภาคการผลติ เป้าหมาย และสามารถสรา้ งงานอนาคต โดยส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วนบรู ณาการและเชอ่ื มโยงความร่วมมือด้านการศึกษา ฝกึ อบรม และรว่ มจัดการเรียนรู้ตามโลกสมัยใหม่ท่ีครอบคลุมทั้งความสามารถในงาน ทกั ษะในการใช้ชวี ิต สมรรถนะดจิ ิทัลเพ่ือการประกอบอาชีพ การดำเนินชวี ติ ประจาวนั และการใช้สทิ ธิ ในการเข้าถึงบริการ พื้นฐานภาครัฐและสนิ คา้ บริการได้อยา่ งเท่าทนั การแก้ปัญหา การมีแนวคิดของผปู้ ระกอบการ รวมถึง ความสามารถในการบริหารตวั เอง และการบรหิ ารคนเพื่อนำทักษะของสมาชิกทีมทหี่ ลากหลายมาประสานพลงั รวมกนั ในการปฏิบตั ิงานได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทงั้ กำหนดมาตรการจูงใจ และกลไกการสนบั สนุนการ ฝกึ อบรมและรว่ มจัดการเรยี นรู้ พฒั นาระบบข้อมลู เพื่อการวางแผนและพัฒนากำลังคน ทั้งข้อมลู อุปสงค์ อปุ ทานของแรงงาน และการเชอื่ มโยงกบั สมรรถนะตลอดห่วงโซก่ ารผลติ และห่วงโซ่คณุ ค่าตามรายอุตสาหกรรม ของการผลติ และบริการเป้าหมาย รวมถึงการเช่ือมโยงระบบสมรรถนะกับคา่ จา้ ง กำหนดมาตรการในการผลติ กาลงั คนแบบเร่งด่วน โดยจดั การศึกษารูปแบบจำลอง ในสาขาทีจ่ ำเป็นต่อการพฒั นาประเทศ อาทิ ด้านปัญญาประดษิ ฐ์ และด้านการวเิ คราะห์ขอ้ มลู กลยุทธ์ที่ 3 การส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวติ กลยุทธ์ย่อยที่ 3.1 พัฒนาระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยส่งเสริมให้ภาคส่วนต่าง ๆ สร้าง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยกำหนดมาตรการจูงใจที่เหมาะสมเพื่อให้สถาบันการศึกษา หน่วยงาน ราชการส่วนท้องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชนโดยเฉพาะผู้ประกอบการ startup สร้างและ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีสาระที่ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ทุกกลุ่ม ครอบคลุมทุก พื้นที่ เข้าถึงไดง้ า่ ยท้ังพ้ืนท่ีกายภาพ และพ้ืนทเ่ี สมอื นจริง สรา้ งสือ่ การเรียนรทู้ ไี่ ม่ทงิ้ ใคร ไวข้ า้ งหลงั โดยการสร้างสื่อ ทใี่ ชภ้ าษาถิ่นเพ่ือให้ประชาชนท่ีไม่ได้ใชภ้ าษาไทยกลางเป็นภาษาหลักเข้าถึงได้ ส่ือทางเลือกสำหรับผู้พิการทาง สายตาและผู้พิการทางการได้ยนิ รวมถึงสนบั สนนุ กลมุ่ ประชากรท่ีมีข้อจำกดั ทางเศรษฐกจิ ให้เข้าถึงส่ือในราคา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 48

ทเี่ ข้าถงึ ได้ การพัฒนาระบบธนาคารหนว่ ยกิต ของประเทศให้เกดิ ขน้ึ อย่างเป็นรปู ธรรม ท่สี ามารถเช่ือมโยงการ เรยี นรใู้ นทกุ ระดับและประเภทท้ังในระบบสายสามัญ สายอาชีพ การศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศัย ต้ังแต่ มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา และนอกระบบ เพื่อสร้างความคล่องตัว และเปิดทางเลือกในการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนทุกระดับ กำหนดมาตรการจูงใจให้ประชาชนพัฒนาตนเองด้วยการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต โดยจัดให้มีแหล่งเงินทุนเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อาทิ การพัฒนาเครดิตการฝึกอบรมสำหรับคนทุกกลุ่ม การจัดสรรสิทธิพิเศษในการเข้ารับบริการฝึกอบรม การเข้าชมแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ส่งเสริมให้เอกชนที่ผลิต นวัตกรรมทางการศึกษา จัดทำกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร โดยกำหนดเงื่อนไขการให้ใช้ ผลติ ภณั ฑ์โดยไม่มคี า่ ใชจ้ ่าย กลยุทธ์ย่อยที่ 3.2 พัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบ การศึกษาปกติ โดยจัดทาข้อมูลและส่งเสริมการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่มีความยืดหยุ่นและหลากหลาย ของกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางเส้นทางการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ต่อจุดมุ่งหมายในอนาคตของตนเอง และสามารถเทียบโอนประสบการณ์ได้ ทั้งนี้ ให้มีการพัฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวข้องในทุกระดับให้มีความเข้าใจและมีสมรรถนะในการพัฒนาผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษที่มีความ ต้องการทีซ่ ับซอ้ น แผนระดบั ท่ี 3 1. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนยุทธศาสตรด์ ้านการศึกษาระยะยาว โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาส และความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนา กำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศ เพื่อให้ หน่วยงาน ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาได้นำไปเป็นกรอบและแนวทาง การพัฒนาการศกึ ษา และการเรียนรู้ สำหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและ ของโลกที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความเป็นพลวัต เพื่อให้ประเทศไทย สามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบแผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ 1. การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) 2. ความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity) 3. คุณภาพการศึกษา (Quality) 4. ประสิทธิภาพ (Efficiency) 5. ตอบโจทย์บริบทเปลี่ยนแปลง (Relevancy) แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 49

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทำ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์ ระยะยาว สำหรบั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องกบั การศึกษาของประเทศ ได้นำไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการพัฒนา การศึกษาและเรียนรู้สำหรบั พลเมืองทุกช่วงวยั ต้ังแตแ่ รกเกิดจนตลอดชวี ติ โดยมสี าระสำคัญ ดงั น้ี วิสยั ทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพและมีประสทิ ธิภาพ 2. เพอื่ พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มคี ุณลกั ษณะ ทกั ษะและสมรรถนะทสี่ อดคล้องกับบทบัญญัติ ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรมรู้จักสามัคคี และร่วมมอื ผนกึ กำลังมุ่งสู่การพฒั นาประเทศอย่างย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ 1. การจดั การศึกษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา 5. การจดั การศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม 6. การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา 2. มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2561 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รียน 1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 50

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคำนวณ 2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ น ความคิดเห็น และแก้ปัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานอาชพี 1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รียน 1) การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามทส่ี ถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย 3) การยอมรับทจ่ี ะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวิชาชพี 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ 3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 3.5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 51

3. มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเป็นสำคัญ แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ 1.1 มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดขี องสังคม 1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น 2.2 จัดครูให้ เพยี งพอกับช้นั เรียน 2.3 สง่ เสริมให้ครมู ีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรยี นรเู้ พ่อื สนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปดิ โอกาสให้ผ้เู กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคัญ 3.1. จัดประสบการณท์ ส่ี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมีความสุข 3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ใช้ส่ือและเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับวัย 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการ จดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 52

4. แผนพฒั นาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2564 - 2570 เป็นการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของประเทศ เพื่อให้เด็กปฐมวัย ทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ เป็นพื้นฐานของความเป็นพลเมืองคุณภาพ ภายใต้ ปรัชญา “เด็กปฐมวัยทุกคนต้องได้รับการดูแล พัฒนา และเรียนรู้อย่างรอบด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย อย่างมีคุณภาพ และเท่าเทียม ตามศักยภาพตามวัย และต่อเนื่อง บนพนื้ ฐานของการจัดประสบการณ์การเรียนร้ทู ี่ดที ่สี ุดสอดคล้องกับหลักการพัฒนาศักยภาพและความต้องการ จำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล โดยคำนึงถึงความสุข ความเป็นอยู่ที่ดีการคุ้มครองสิทธิ และความต้องการ พ้ืนฐานของเด็กปฐมวัย รวมทั้งการปฏบิ ัตติ อ่ เด็กทุกคน โดยยดึ หลกั ศักด์ิศรีของความเปน็ มนุษย์ การมีส่วนร่วม การเป็นที่ยอมรับของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก และการกระทำทั้งปวงเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญ” โดยมุ่งเน้นนโยบาย ด้านเด็กปฐมวยั 3 ขอ้ คอื 1) เด็กปฐมวัยทกุ คนตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาอย่างรอบด้าน อยา่ งมีคุณภาพ ตามศกั ยภาพ ตามวยั และต่อเนอื่ ง 2) การพัฒนาเด็ก ต้องจัดอย่างเป็นระบบที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยบูรณาการระหว่าง ทุกภาคส่วนทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ระหว่างวิชาชีพที่สัมพันธ์กับการพัฒนาเด็กปฐมวัย ทง้ั ในระดบั ชาติ ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค และสว่ นท้องถ่ิน 3) รัฐและทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันระดมทรัพยากรให้เพียงพอต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งจะดำเนินการภายใต้วิสัยทัศน์ “เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนา อย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ เป็น พื้นฐานของความเป็นพลเมืองคุณภาพ” เพื่อให้เด็กปฐมวัยทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย รวมถึงเด็กที่เป็นลูก แรงงานตา่ งชาติและเดก็ ท่ีไมไ่ ด้มาจากครอบครวั ไทย ทีอ่ าศยั อยู่ในประเทศไทย ต้องไดร้ ับการพัฒนาอย่างรอบ ด้าน อย่างมีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัย และต่อเนื่อง และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษา และ สวสั ดิการสังคมได้อยา่ งเทา่ เทียมกัน ช่วงปฐมวัย เป็นช่วงอายุที่ให้ผลของการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุดต่อการวางรากฐานของชีวิต คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2564 - 2570 เพื่อให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาอย่าง รอบดา้ นเต็มตามศักยภาพ เป็นพื้นฐานของความเป็นพลเมืองคุณภาพ ซ่ึงมยี ุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย 7 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การจดั และให้บรกิ ารแก่เดก็ ปฐมวัย 2. การพัฒนาและสร้างความเขม้ แข็งให้กับสถาบนั ครอบครัวในการอบรมเล้ยี งดูเด็กปฐมวัย 3. การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการให้บรกิ ารพฒั นาเด็กปฐมวัย 4. การพัฒนาระบบกลไกการบรู ณาการสารสนเทศเด็กปฐมวยั และการนำไปใชป้ ระโยชน์ 5. การจัดทำและปรบั ปรุงกฎหมาย กฎระเบยี บ ที่เกีย่ วกับเด็กปฐมวัยและการดำเนินการตามกฎหมาย 6. การวิจยั พัฒนาและเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ 7. การบริหารจัดการ การสร้างกลไกการประสานการดำเนินงานและการติดตามผล โดยภายใต้ กลยุทธป์ ระกอบดว้ ยเปา้ ประสงค์และมาตรการต่าง ๆ แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 53

5. แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566 - 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการศึกษาเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมาย ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน เป็นผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม และเป็นพลเมืองท่ี เข้มแข็งของประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยทุ ธ์ ในระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ผู้เรยี นมีความรู้ และสมรรถนะทจ่ี ำเป็น มีความสขุ และมีเป้าหมาย ได้รับการพัฒนาอยา่ งมคี ุณภาพ เพ่อื พฒั นาตนเองได้เตม็ ศกั ยภาพ” พนั ธกจิ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศของผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามศักยภาพและเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร และทักษะที่จำเป็นต่อ อนาคตในศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหม้ คี วามเช่ียวชาญในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนอง ทิศทางการพัฒนาประเทศ 3. พัฒนาสถานศึกษาและระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับให้มีความปลอดภัย และสถานศึกษา สามารถจัดการศึกษาเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพิ่มโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง ทว่ั ถึงและเทา่ เทยี ม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานในสังกัดให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เหมาะสมกบั บรบิ ท เปา้ ประสงค์ 1. ผเู้ รยี นทุกช่วงวยั ในระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ และยึดม่ันการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข เปน็ พลเมืองท่ีรู้สิทธิและหน้าท่ีอยา่ งมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย 2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาค มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สอดคล้องกับศักยภาพ ให้เปน็ ผูม้ สี มรรถนะและทกั ษะที่จำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 3. เด็กกลุ่มเสยี่ งทจี่ ะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเดก็ ออกกลางคัน ได้รับการช่วยเหลือ ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 54

4. ผเู้ รียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัยจากภยั คุกคาม 9 รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่างๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่น PM 2.5 การค้ามนุษย์ การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ และรองรบั วถิ ีชีวติ ใหม่ รวมถึงการจดั สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการมสี ุขภาวะทด่ี ี 5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชย่ี วชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชพี รวมท้ังจิตวิญญาณความเปน็ ครู 6. สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาเพอ่ื เป้าหมายการพัฒนาอยา่ งยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs ) ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศกึ ษา มีการนำ ระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการ บรหิ ารจดั การที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท กลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ส่งเสริมการจดั การศกึ ษาให้ผ้เู รียนมคี วามปลอดภยั จากภยั ทุกรูปแบบ เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ 1. ผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การดูแลความปลอดภัยจากภัยคุกคาม 9 รูปแบบ ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่าง ๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่น PM 2.5 การค้ามนุษย์ การคุกคามใน ชีวิตและทรพั ย์สนิ รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์ 2. ผ้เู รียน ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้รบั การดแู ลความปลอดภยั และสามารถปรับตัวตอ่ โรคอุบัติใหม่ โรคอุบตั ซิ ้ำ 3. สถานศกึ ษา ไดร้ ับการพัฒนาให้มีความปลอดภยั และจดั การศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4. สถานศึกษา ไดร้ บั การส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพ่ือความปลอดภัย ของผ้เู รียน กลยุทธท์ ่ี 2 เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ บั ประชากรวยั เรียนทุกคน เปา้ ประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์ 1. ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาภาคบังคับ ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคจนจบ การศึกษาภาคบงั คับ 2. ผู้เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้รบั การส่งเสรมิ ให้ได้รบั โอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาค จนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 3. เด็กพิการและเด็กดอ้ ยโอกาส ได้รบั โอกาสทางการศึกษาทีม่ ีคุณภาพ 4. ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 5. เด็กกลุ่มเสี่ยงท่ีจะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเดก็ ออกกลางคนั ไดร้ ับการช่วยเหลอื ใหไ้ ด้รับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 55

กลยุทธ์ท่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ 1. เดก็ ปฐมวยั ในสังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน มพี ัฒนาการสมวัย 2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่น การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าท่ี อยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ 3. ผู้เรยี นทุกช่วงวัยในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้รบั การศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานสอดคล้อง กบั ศักยภาพ ใหเ้ ป็นผมู้ ีสมรรถนะและทกั ษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี มสี มรรถนะ ความรู้ ความเช่ยี วชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งจิตวญิ ญาณความเป็นครู 5. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6. สถานศึกษา มีระบบการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for Learning) ดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย เพือ่ สง่ เสริมการเรยี นรู้เป็นรายบคุ คล (Personalized Learning) 7. สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และมีระบบการวัดและประเมินผล เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รียน (Assessment for Learning) ด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย ยดื หยุ่นตอบสนองต่อ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียน เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning) กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ 1. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการนำ ระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใช้ในการบรหิ ารจดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีระบบ การบริหารจดั การทไ่ี ด้มาตรฐาน 3. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีระบบ การจดั สรรทรพั ยากร โดยเฉพาะอัตรากำลงั และงบประมาณ ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บริบท 4. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศกึ ษามีการส่งเสริม การมสี ว่ นรว่ มทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เหมาะสมกบั บริบท 5. สถานศกึ ษาในพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา สถานศกึ ษาในพน้ื ทลี่ ักษณะพิเศษ และโรงเรียนคุณภาพ ได้รับการพัฒนาประสิทธิภาพ ทเ่ี หมาะสมกับบริบท 6. ทศิ ทางการพัฒนาจังหวัดเชียงราย วิสยั ทศั น์จังหวดั เชยี งราย แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 56

“เชียงรายเมืองท่องเท่ยี วสร้างสรรค์ วิถถี ่นิ รว่ มสมัย เกษตรกรรมมลู ค่าสงู สงิ่ แวดลอ้ มสมดลุ มงุ่ สู่ความยั่งยืน” ประเด็นการพฒั นาจงั หวัดเชียงราย ประเดน็ ที่ 1 การสรา้ งมูลค่าเพิม่ ด้านการทอ่ งเทย่ี วเชิงสรา้ งสรรคโ์ ดยดำรงฐานวฒั นธรรมลา้ นนา ประเด็นที่ 2 การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ ภายใต้ แนวทางการพฒั นาที่ยั่งยืน ประเด็นที่ 3 การพฒั นาเศรษฐกิจสร้างสรรคด์ ้านการค้า การลงทนุ การบริการ และโลจสี ตกิ ส์ ประเด็นที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสร้างสรรค์เพื่อดำรงความสมบูรณ์ และยง่ั ยืน ประเดน็ ท่ี 5 พัฒนาคุณภาพชีวิต และความม่นั คงเพอ่ื สง่ เสริมสงั คมสรา้ งสรรค์ แผนพฒั นาการศึกษา (พ.ศ. 2566 – 2570) จังหวัดเชียงราย วสิ ยั ทศั น์ “เชียงรายเมืองแห่งการศึกษา พัฒนากำลังคนสสู่ งั คมสร้างสรรค์ บนพื้นฐานพหวุ ัฒนธรรมร่วมสมัย” พนั ธกิจ 1) สง่ เสริมความมน่ั คงของสงั คมและความเปน็ พลเมืองของประเทศชาติ 2) ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ชุมชนเรยี นรูเ้ พื่อใหส้ อดคล้องกับวฒั นธรรม ประเพณีล้านนา ภมู ิปญั ญา ทอ้ งถิน่ และอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม เพ่ือปรบั ตัวได้ 3) จดั การศึกษาอาชีพมีสมรรถนะสอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงานในประเทศเขต เศรษฐกจิ พเิ ศษเชียงราย และกลมุ่ อนุภมู ภิ าคลุ่มน้ำโขง (GMS) 4) จัดการศกึ ษาไดต้ ามมาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละประเภทสถานศกึ ษา 5) สร้างความร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่าย นำไปส่กู ารพฒั นาองคก์ ร เพอ่ื เป็นคลงั สมองและระดม ทรัพยากรในชมุ ชนเพ่ือพฒั นาการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ประเด็นการพัฒนาการศึกษาจังหวดั เชียงราย ประเดน็ ท่ี 1 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อรองรับเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล โดย สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพและบริบทท่ีเปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ ที่ 1 สร้างองคค์ วามร้ดู า้ นความปลอดภยั ในโรงเรยี นให้กบั ครู บคุ ลากร และผเู้ รยี น กลยุทธ์ ท่ี 2 บูรณาการการทำงานกับอปท. เพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ทีม่ ีความปลอดภัย ประเดน็ ที่ 2 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ โดยสอดคล้องกับศักยภาพและบริบทท่ี เปลย่ี นแปลง แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 57

กลยุทธ์ ที่ 1 พัฒนาทักษะอาชีพให้สอดคล้องกับตอบสนองต่อความต้องการในการประกอบอาชีพด้านช่าง เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และอตุ สาหกรรม การบรกิ าร และความเป็นผู้ประกอบการ กลยทุ ธ์ ที่ 2 พฒั นาทกั ษะอาชพี ดา้ นภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ประเดน็ ท่ี 3 ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาในการสร้างโอกาสและความเสมอภาคที่เท่าเทียม เพื่อพัฒนา คณุ ภาพชีวติ คนเชียงราย กลยุทธ์ ท่ี 1 พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถกู ตอ้ ง และเปน็ ปัจจุบัน เพื่อการ วางแผน การบริหารจัดการศกึ ษา การติดตาม ประเมนิ และรายงานผล สามารถอา้ งอิงและใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั กลยทุ ธ์ ท่ี 2 สง่ เสริมดา้ นภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ สกู่ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 58

3. นโยบายทเี่ กี่ยวขอ้ ง 1. นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1) การจดั การศึกษาเพ่อื ความปลอดภัย - เรง่ สร้างความปลอดภยั ในสถานศึกษาและป้องกันภยั ทุกรปู แบบ - เรง่ สร้างภูมิคมุ้ กันการเรียนรใู้ นสังคมออนไลน์ - สง่ เสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมท่รี บั ผดิ ชอบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 2) การยกระดับคุณภาพการศึกษา - ขับเคล่ือนการใชห้ ลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรยี นรู้และการวดั ประเมนิ ผลฐานสมรรถนะ - พัฒนารูปแบบการเรียนร้ปู ระวัติศาสตร์ หนา้ ท่ีพลเมือง และศลี ธรรม - ส่งเสรมิ ความรแู้ ละทักษะด้านการเงินและการออม - ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์และศูนย์การเรียนรู้เป็นฐานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัย สวยงาม และเป็นแหล่งพักผอ่ นเพ่อื การเรยี นรู้ 3) การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษาทกุ ช่วงวยั - พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศของนักเรยี นรายบุคคล - พัฒนาทางเลือกการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ กลุ่มเปราะบาง และ NEETs - พฒั นาและสนบั สนุนการจดั การศึกษา Home School และ Home - Based Learning 4) การพฒั นาทักษะอาชพี และเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั - พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาแบบ Modular System ที่เชื่อมโยงการศึกษาทุกระบบและการ สะสม Credit Bank - ผลิตและพฒั นากำลงั คนตามกรอบคณุ วฒุ ิ - จดั ตงั้ ศนู ย์ Start up และพฒั นาศูนย์บ่มเพาะฯ - พฒั นาแบบทดสอบ V - NET - สรา้ งและพัฒนา Smart Farmer และ Young Smart Farmer 5) การสง่ เสริมสนบั สนุนวชิ าชีพครู บคุ ลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร - ขบั เคลื่อนการประเมินวทิ ยฐานะตามระบบ DPA - พัฒนาสมรรถนะครดู ้านการจดั การเรียนรูแ้ ละ Technology Digital - พฒั นาสมรรถนะข้าราชการให้มคี วามเหมาะสมกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและโลกอนาคต - เร่งแกป้ ญั หาหนส้ี นิ 6) การพฒั นาระบบราชการ และบรกิ ารภาครฐั ยคุ ดิจทิ ัล - ขับเคลอ่ื นการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ด้วยนวตั กรรม และ Technology Digital - ปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพเครอื ขา่ ย ICT แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 59

- ปรบั ปรงุ ระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา - สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ในการคัดเลอื กขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - สง่ เสริมสว่ นราชการดำเนินการตามกลไกการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส 7) การขับเคลื่อนกฎหมายการศึกษาและแผนการศึกษาแห่งชาติ - เร่งรัดการจัดทำกฎหมายลำดับรอง และแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อรองรับพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ 2. นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ด้านความปลอดภัย 1.1 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสรา้ งระบบและกลไกใน การดูแลความปลอดภัยอย่างเข้มข้นให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จากโรคภัยต่างๆ ภัยพิบัติ และภยั คุกคามทกุ รูปแบบ 1.2 ส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้อื ต่อการมสี ขุ ภาวะทีด่ ีและเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 1.3 สร้างภูมิคุ้มกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชวี ิตวถิ ปี กตติ อ่ ไป (Next Normal) 2. ด้านโอกาสและการลดความเหลื่อมลำ้ ทางการศึกษา 2.1 สง่ เสริม สนับสนนุ ใหเ้ ด็กปฐมวัยท่ีมีอายุ 3-6 ปที ุกคน เข้าสู่ระบบการศกึ ษา สร้างสภาพแวดลอ้ ม ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้และการดูแลปกป้อง เพ่ือใหม้ ีพฒั นาการครบทุกด้าน โดยการมสี ่วนร่วมของหนว่ ยงานที่ เกี่ยวข้อง 2.2 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และได้รับ การพัฒนาให้มีสมรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตใหส้ อดคล้องกับความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ 2.3 การจดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นท่มี คี วามสามารถพเิ ศษ ได้รับโอกาสในการพฒั นาเต็มตามศักยภาพ 2.4 ส่งเสริมเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหาทางเลือกในการ เขา้ ถึงการเรียนรู้ การฝึกอาชพี เพ่ือให้มีทกั ษะในการดำเนินชวี ิต สามารถพ่ึงตนเองได้ 2.5 พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศของนกั เรยี นระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐานเปน็ รายบุคคลเพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออกจากระบบการศึกษา และชว่ ยเหลอื เดก็ ตกหลน่ เดก็ ออกกลางคนั ใหก้ ลบั เขา้ สู่ระบบ 3. ดา้ นคณุ ภาพ 3.1 สง่ เสริม สนับสนุน สถานศกึ ษาทีม่ ีความพรอ้ ม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานท่ี เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการ และบริบท แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 60

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสูง มีความสามารถในการส่ือสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและร่วมกบั ผู้อื่น โดยใช้การ รวมพลงั ทำงานเป็นทมี เปน็ พลเมืองท่ดี ี มีศลี ธรรม และอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยง่ั ยนื รวมทั้งมี ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เปน็ ประมุข 3.3 จัดการศึกษาให้ผเู้ รยี นมีทักษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่การมีอาชีพ มงี านทำ และสง่ เสริม ความเป็นเลิศของผูเ้ รียนให้เต็มตามศกั ยภาพ เพือ่ เพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั 3.4 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้นำไปสู่ การพัฒนาการเรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้งส่งเสริมการนำระบบธนาคารหน่วยกิต มาใช้ในการเทยี บโอนผลการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ต่างๆ ของผู้เรียนในสถานศกึ ษา 3.5 พัฒนา ส่งเสรมิ ผู้บรหิ ารการศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา รวมท้ัง บุคลากรสังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ให้มสี มรรถนะตามตำแหน่งและมาตรฐานวชิ าชพี 4. ดา้ นประสทิ ธภิ าพ 4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน ทีม่ ุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ตามหลักธรรมาภบิ าล 4.2 นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และการเรียนรู้ของผู้เรยี น 4.3 ส่งเสริม สนบั สนุน การพัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพ ใช้พ้ืนทีเ่ ปน็ ฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคล่ือน บริหารจัดการโดยใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั และแสวงหาการมีส่วนรว่ มของหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องทุกระดับ เพื่อให้ ประสบผลสำเร็จอยา่ งเป็นรปู ธรรม 4.4 ส่งเสรมิ สนบั สนุน การจดั การศึกษาทม่ี ีคุณภาพในโรงเรยี นทม่ี วี ตั ถุประสงค์เฉพาะ โรงเรียน ทต่ี ั้งในพ้นื ท่ลี ักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพ้ืนทีน่ วัตกรรมการศึกษา 4.5 เพิ่มประสทิ ธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ใหส้ อดรบั กับชีวิตวิถใี หม่ (New Normal) และชวี ิตวถิ ีปกตติ อ่ ไป (Next Normal) 3. จุดเนน้ ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2566 1. เร่งแกป้ ญั หากล่มุ ผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 โดยเพ่ิม โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟืน้ ฟภู าวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ใหก้ บั ผู้เรียนทุกระดับ รวมทง้ั ลดความเครยี ดและสขุ ภาพจติ ของผ้เู รยี น 2. เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความปลอดภัย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (MOE Safety Platform) แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 61

3. ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3-6 ปีทุกคน และผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเด็กพิการ ทคี่ ้นพบจากการปกั หมดุ บา้ นเดก็ พกิ ารให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา 4. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาท่ีเน้นสมรรถนะและการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทงั้ จดั กระบวนการเรียนรู้ ทางประวัตศิ าสตร์ หน้าท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม ให้เหมาะสมตามวัยของผู้เรียน 5. จดั การอบรมครโู ดยใชพ้ ้ืนท่ีเป็นฐาน ควบคู่กับการให้ความรู้ดา้ นการวางแผนและการสรา้ งวินัยด้าน การเงินและการออม เพือ่ แก้ไขปัญหาหนีส้ นิ ครู 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและ ประเมนิ ผลในช้ันเรียน เพอ่ื พฒั นาการเรียนร้แู ละสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning)ทุกระดับ 7. ยกระดบั คณุ ภาพของนักเรียนประจำพักนอน สำหรับโรงเรยี นที่อยู่ในพื้นที่สูง ห่างไกลและถ่นิ ทรุ กันดาร 8. มุ่งเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ การเรียนรทู้ ุกระดับ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน เพื่อสร้าง ความเข้มแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาล ให้กับสำนักงาน เขตพ้นื ท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษา 4. นโยบายเรง่ ด่วนสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา ในหลวงรชั กาลที่ 10 ใน 4 ด้าน ตัวช้วี ัด ระดับความสำเรจ็ ของการจดั การศกึ ษาตามแนวพระบรมราโชบายรัชกาลท่ี 10 สกู่ ารปฏิบตั ิ 2. ประวัติศาสตร์ หนา้ ทพี่ ลเมือง คุณธรรม จริยธรรม ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จของการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์ หนา้ ที่พลเมือง คุณธรรมจรยิ ธรรม 3. การศกึ ษากับการพัฒนาประชาธปิ ไตย ผา่ นสภานักเรยี น ตัวชวี้ ัด ระดับความสำเรจ็ ของการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรียนโดยใช้กระบวนการสภานักเรยี น 4. การจดั การศึกษาปฐมวยั ตวั ช้ีวดั ระดับความสำเรจ็ ของการจัดการศึกษาปฐมวัยอยา่ งมีคุณภาพ 5. Active Learning ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ด้วยการจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุก (Active Learning) 6. พาน้องกลับมาเรียน ตัวชี้วัด ระดบั ความสำเร็จของการดำเนนิ การ \"พาน้องกลบั มาเรยี น“ 7. โรงเรียนคุณภาพ ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก (โรงเรียนคุณภาพ) และการ ใช้ทรัพยากรร่วมกันได้สำเร็จตามเปา้ หมาย แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 62

8. Learning loss ตวั ช้ีวดั ระดับความสำเร็จของการแก้ไขภาวะถดถอยทางการเรยี นรู้ (Learning Loss) ของผู้เรียน 9. RT NT O-Net และเร่อื งการอ่านออกเขียนได้ ตัวชีว้ ดั ระดับความสำเรจ็ ของการนำผล RT หรอื NT หรอื O-NE T หรือผลการประเมินคุณภาพ ผู้เรยี นอืน่ ๆ ไปใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 10. ความปลอดภยั ตัวช้วี ดั ระดับความสำเร็จของการจดั การศึกษาเพื่อความปลอดภัย และการบริหารสถานการณ์ที่ เกิดข้นึ ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ระดับความสำเร็จของการค้นพบต้นแบบ นักเรียน ครู ผู้บริหาร ชุมชน ที่เปน็ เลศิ ดา้ นการศกึ ษาและการสนบั สนุนการศึกษา 5. สาระสำคัญแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน วสิ ยั ทัศน์ “สร้างคุณภาพผู้เรียน สสู่ งั คมอนาคตอย่างยั่งยนื ” (ผ้เู รียนมคี วามรู้และสมรรถนะทีจ่ ำเปน็ มีความสุขและมีเป้าหมาย ไดร้ ับการพัฒนา อย่างมีคุณภาพ เพ่ือพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มศักยภาพ) พนั ธกิจ 1. จัดการศึกษาเพอ่ื เสรมิ สร้างความม่ันคงของมนุษย์ 2. พัฒนาสถานศกึ ษาให้มีความปลอดภยั แก่ผู้เรยี น 3. สง่ เสริมความเป็นเลิศของผเู้ รียนให้มีสมรรถนะตามศักยภาพ เพือ่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั 4. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและทักษะทีจ่ ำเป็นใรศตวรรษท่ี 21 5. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอ่ื มล้ำ ให้ผเู้ รยี นทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเท่าเทยี ม 6. พัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษาที่ตอบสนอง ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 7. จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม โดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาทกุ ระดับและจัดการศกึ ษา โดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 63

ผลสัมฤทธิ์ 1. ผู้เรยี นมีภมู ิค้มุ กนั พร้อมที่จะรับมอื กบั ภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ทุกรปู แบบ รู้เท่าทันสอ่ื และเทคโนโลยี ในการดำเนนิ ชีวิตวถิ ใี หม่ และชวี ติ วิถีถดั ไปและได้รับการศกึ ษาในสถานศกึ ษาทมี่ ีความปลอดภยั 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับบรกิ ารการศึกษาข้นั พนื้ ฐานอยา่ งท่ัวถึง เสมอภาค และเท่าเทียม 3. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีสมรรถนะ ทีเ่ หมาะสมคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคต์ ามชว่ งวัย รวมถงึ ไดร้ บั การสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศเต็มตามศักยภาพ 4. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาได้รบั การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการอย่างมปี ระสิทธิภาพ กลยุทธห์ น่วยงาน กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาให้ผู้เรยี นมคี วามปลอดภยั จากภยั ทกุ รูปแบบ กลยทุ ธท์ ่ี 2 เพมิ่ โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวัยเรยี นทุกคน กลยุทธท์ ี่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยุทธท์ ่ี 4 เพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ัตริ าชการ กลยุทธ์ท่ี 1 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาให้ผูเ้ รยี นมคี วามปลอดภยั จากภัยทกุ รูปแบบ เปา้ หมาย (1) ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการดูแลด้านความปลอดภัย และสามารถ ปรบั ตัวต่อโรคอุบตั ิใหม่ โรคอบุ ัตซิ ำ้ (2) สถานศกึ ษา ไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามปลอดภยั และจดั การศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ (3) สถานศึกษา ได้รับการส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ ความปลอดภยั ของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวัยเรียนทกุ คน เปา้ หมาย (1) ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาภาคบังคับ ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาค จนจบการศกึ ษาภาคบังคับ (2) ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับการส่งเสริมให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่าง เสมอภาคจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (3) เด็กพกิ ารและเด็กด้อยโอกาส ไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ (4) ผเู้ รยี นท่มี ีความสามารถพเิ ศษไดร้ ับการสง่ เสริมและพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ (5) เดก็ กลุ่มเสย่ี งทจ่ี ะออกจากระบบการศกึ ษา เดก็ ตกหลน่ และเดก็ ออกกลางคัน ได้รบั การช่วยเหลือ ใหไ้ ดร้ บั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 64

กลยทุ ธ์ท่ี 3 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 เปา้ หมาย (1) ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใรความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึด มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ อยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ มีจติ สาธารณะ มีความรักและความภูมิใจในความเปน็ ไทย (2) ผู้เรียนทุกชว่ งวยั ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับศักยภาพ ให้เป็นผมู้ ีสมรรถนะและทกั ษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 (3) ผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง ของเทคโนโลยีมีสมรรถนะ ความรู้ ความเชียวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งจิตวิญญาณความเปน็ ครู (4) สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอพียง (5) สถานศึกษา มรี ะบบการวดั และประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น (Assessment for Learning) ด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลาย เพ่ือส่งเสริมการเรยี นรูเ้ ป็นรายบุคคล (Personalized Learning) (6) สถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสามารถจัดการเรียนการ สอนท่ยี ืดหยุน่ ตอบสนองตอ่ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียน กลยทุ ธท์ ี่ 4 เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการศกึ ษา เปา้ หมาย (1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการนำระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ในการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธิภาพ (2) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มรี ะบบการบริหารจัดการที่ไดม้ าตรฐาน (3) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มกี ารบริหารงบประมาณที่มีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บรบิ ท (4) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มกี ารบริหารงานบคุ คลทมี่ ีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกับบรบิ ท (5) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและการมสี ่วนรว่ มทมี่ ีประสิทธิภาพ เหมาะสมกบั บรบิ ท (6) สถานศึกษาในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และโรงเรียนคุณภาพได้รับการพัฒนา ประสทิ ธิภาพทเ่ี หมาะสมกบั บริบท (7) สถานศึกษาในพื้นที่ลกั ษณะพิเศษ ไดร้ บั การพัฒนาประสทิ ธิภาพ ที่เหมาะสมกับบริบท แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 65

6. สาระสำคญั แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา เชียงราย เขต 2 วสิ ยั ทัศน์ (Vision) “ผ้เู รียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน สูก่ ารพัฒนาที่ยั่งยืน\" พันธกจิ (Mission) 1. สง่ เสรมิ ให้สถานศึกษามีระบบประกนั คณุ ภาพภายในทเ่ี ข้มแขง็ 2. พฒั นาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนและความปลอดภัยในสถานศึกษา 3. สร้างโอกาส และลดความเหล่อื มล้ำทางการศกึ ษาใหแ้ ก่ประชากรวัยเรียนในเขตบรกิ าร 4. พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรู้ ทักษะ ตามหลักสูตร และคุณภาพรองรบั ศตวรรษท่ี 21 5. สง่ เสริมผู้เรียนตามพหุปญั ญาทห่ี ลากหลาย 6. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ 7. จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม โดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 8. พัฒนาผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มสี มรรถนะสู่การเป็นมืออาชีพ 9. พฒั นาระบบบริหารจัดการโดยใช้นวตั กรรมเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Technology) 10. สง่ เสรมิ การบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาลและการมีสว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน เป้าประสงค์ (Goal) 1. สถานศึกษามรี ะบบการประกันคุณภาพภายในทีเ่ ข้มแข็ง 2. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ไี ดม้ าตรฐานและมีความปลอดภัย 3. ผู้เรยี นไดร้ บั โอกาส และความเสมอภาคทางการศึกษาอย่างทวั่ ถึงและเท่าเทียม 4. ผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะ ตามหลักสูตร และคุณภาพรองรับศตวรรษที่ 21 5. ผ้เู รยี นได้รับการพฒั นาความสามารถตามพหุปัญญาที่หลากหลาย 6. ผู้เรียนได้รับการจัดการศึกษา ที่เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบายด้าน การศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว สกู่ ารปฏบิ ัติ 7. ผ้เู รียนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ 8. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 9. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา มสี มรรถนะในวชิ าชพี 10. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา มีระบบบริหารจัดการที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี ดิจทิ ลั (Digital Technology) แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 66

11. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล และการมสี ่วนร่วมจากทกุ ภาคสว่ น กลยทุ ธ์ (Strategy) กลยทุ ธท์ ี่ 1 สรา้ งความเข้มแขง็ และความปลอดภัยในสถานศึกษา กลยทุ ธท์ ่ี 2 เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาอยา่ งทว่ั ถึง และเท่าเทียมให้แกป่ ระชากรวัย เรยี น กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนรองรับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สคู่ วามเป็นมอื อาชพี กลยุทธท์ ี่ 5 พัฒนาการบรหิ ารจดั การด้วยนวัตกรรม ตามหลักธรรมาภบิ าลและการมีสว่ นร่วม จากทุกภาคสว่ น นโยบายของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 1. ดา้ นความปลอดภัย 1) พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยของผู้เรียนทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบและกลไกใน การดูแลความปลอดภัยอย่างเข้มข้นให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จากโรคภัยต่างๆ ภัยพิบัติ และภยั คกุ คามทกุ รปู แบบ 2) สง่ เสรมิ การจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อการมีสุขภาวะท่ีดแี ละเป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อม 3) สร้างภูมิคุ้มกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และ ชีวติ วิถปี กตติ ่อไป (Next Normal) 2. ดา้ นโอกาสและการลดความเหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษา 1) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3-6 ปีทุกคน เขา้ ส่รู ะบบการศึกษา สร้างสภาพแวดล้อม ทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้และการดแู ลปกป้อง เพ่ือให้มีพฒั นาการครบทุกด้าน โดยการมสี ่วนร่วมของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 2) จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และได้รับ การพฒั นาให้มีสมรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ 3) การจัดการศึกษาใหผ้ ู้เรียนท่ีมีความสามารถพเิ ศษ ได้รับโอกาสในการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ 4) ส่งเสริมเด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหาทางเลือกในการ เขา้ ถงึ การเรียนรู้ การฝกึ อาชีพ เพ่อื ใหม้ ที กั ษะในการดำเนนิ ชีวติ สามารถพ่ึงตนเองได้ 5) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนกั เรียนระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานเป็นรายบุคคลเพ่ือใช้เป็น ฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนหลุดออกจากระบบการศึกษา และชว่ ยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคันใหก้ ลับเข้าสู่ระบบ แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 67

3. ดา้ นคุณภาพ 1) ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาที่มีความพรอ้ ม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานที่ เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการ และบรบิ ท 2) พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสู ง มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถจดั ระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและรว่ มกบั ผู้อน่ื โดยใช้การ รวมพลงั ทำงานเป็นทมี เป็นพลเมืองท่ดี ี มศี ีลธรรม และอยู่รว่ มกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยัง่ ยืน รวมท้ังมี ความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมขุ 3) จดั การศึกษาใหผ้ ู้เรียนมที ักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 นำไปสูก่ ารมีอาชีพ มงี านทำ และส่งเสริม ความเปน็ เลิศของผู้เรียนให้เตม็ ตามศักยภาพ เพอื่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั 4) ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้นำไปสู่ การพัฒนาการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทงั้ ส่งเสริมการนำระบบธนาคารหน่วยกิต มา ใชใ้ นการเทยี บโอนผลการเรยี นรู้และประสบการณต์ า่ งๆ ของผเู้ รยี นในสถานศกึ ษา 5) พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้ง บคุ ลากรสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ใหม้ ีสมรรถนะตามตำแหนง่ และมาตรฐานวิชาชีพ 4. ด้านประสิทธิภาพ 1) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน ที่มุ่งเนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นเป็นสำคญั ตามหลักธรรมาภบิ าล 2) นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จดั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน และการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น 3) ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคณุ ภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทุกระดบั เพ่อื ใหป้ ระสบผลสำเร็จอยา่ งเป็นรปู ธรรม 4) ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาท่ีมคี ุณภาพในโรงเรียนทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ โรงเรยี นท่ตี ง้ั ในพนื้ ทลี่ ักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศึกษา 5) เพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ให้สอดรับกับชีวติ วถิ ใี หม่ (New Normal) และชวี ิตวถิ ปี กติต่อไป (Next Normal) จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 1. เรง่ แกป้ ัญหากลุ่มผู้เรียนท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 โดยเพิ่ม โอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟ้ืนฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ใหก้ บั ผเู้ รียนทุกระดับ รวมทงั้ ลดความเครียดและสุขภาพจิตของผ้เู รยี น แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 68

2. เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความปลอดภัย กระทรวงศกึ ษาธิการ (MOE Safety Platform) 3. ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3-6 ปีทุกคน และผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเข้าถึงโอกาส ทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเด็กพิการ ทคี่ ้นพบจากการปักหมดุ บ้านเด็กพกิ ารใหก้ ลบั เข้าสรู่ ะบบการศึกษา 4. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะและการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทงั้ จดั กระบวนการเรียนรู้ ทางประวตั ิศาสตร์ หน้าท่ีพลเมอื งและศีลธรรม ใหเ้ หมาะสมตามวัยของผู้เรียน 5. จัดการอบรมครโู ดยใชพ้ ืน้ ที่เปน็ ฐาน ควบคกู่ บั การใหค้ วามรู้ด้านการวางแผนและการสรา้ งวินัยด้าน การเงนิ และการออม เพ่ือแกไ้ ขปัญหาหนี้สนิ ครู 6. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและ ประเมนิ ผลในชั้นเรียน เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้และสมรรถนะของผเู้ รยี น (Assessment for Learning) ทุกระดับ 7. ยกระดบั คณุ ภาพของนักเรียนประจำพักนอน สำหรบั โรงเรียนท่ีอยู่ในพ้ืนที่สูง ห่างไกลและถิน่ ทรุ กันดาร 8. มุ่งเนน้ การใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล เพอ่ื การเรยี นรู้ทุกระดับ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน เพื่อสร้าง ความเข้มแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงนิ งบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภบิ าล ให้กับสถานศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 69

สว่ นที่ 3 ทิศทางการพัฒนาการศึกษา ของโรงเรยี นบ้านสันติวนั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) วสิ ัยทัศน์ “โรงเรียนบ้านสันติวัน จัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนมีความรู้ ค่คู ุณธรรม สบื สานวัฒนธรรมลา้ นนา นอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” พันธกจิ 1. พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรยี นรู้ และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยเน้น คณุ ธรรม จริยธรรมตามมาตรฐานการศึกษา 2. พัฒนาผู้เรยี นทุกคนให้อา่ นออกเขียนได้ และมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี 3. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ทักษะชีวติ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป้าประสงค์ 1.นักเรยี นทกุ คนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 2.สภาพแวดลอ้ มสวยงาม สะอาด รม่ รื่น น่าอยนู่ ่าเรียน 3.นักเรยี นมีทกั ษะชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.นกั เรียนร้จู ักอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทยและก้าวทนั เทคโนโลยี 5.นักเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและอยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ กลยทุ ธ์สถานศกึ ษา (Strategy) กลยทุ ธท์ ่ี 1 สรา้ งความเข้มแข็งและความปลอดภยั ในสถานศึกษา กลยทุ ธท์ ่ี 2 ใหโ้ อกาสทางการศึกษาอย่างเทา่ เทยี มและมคี ุณภาพ กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับตามหลักสตู รภายใตบ้ ริบทของความเป็นไทย กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาทง้ั ระบบ กลยทุ ธ์ท่ี 5 พัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของโรงเรยี นบ้านสนั ติวัน หนา้ ท่ี 70

สว่ นที่ 4 กลยุทธก์ ารพัฒนาการศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2566-2570 แผนพัฒนาการศกึ ษาระดับปฐมวัย ปกี ารศึกษา 2566-2570 เป้าประสงค์เชิงกล ตวั ชีว้ ดั ขอ้ มูลพนื้ ฐาน ค่าเป้าหมาย (Target) กลยทุ ธ์ริเร่ิม ยุทธ์ (Based Line) ปีการศึกษา (กลยุทธ์โครงการ) (Key Performance Indicators) ปกี ารศึกษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานที่ ๑ ๑.๑ มีการพัฒนาด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มี ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ กลยทุ ธท์ ่ี 1 สร้างความเขม้ แข็ง คุณภาพของเดก็ สุขนสิ ัยทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของ 70 75 75 78 80 85 90 และความปลอดภัยใน ตนเองได้ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 71 สถานศึกษา ๑.๒ มีการพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ 70 75 75 78 80 85 90 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานทุกระดับตามหลักสูตร ๑.๓ มีการพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลือ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ภายใตบ้ ริบทของความเป็นไทย ตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสังคม 70 75 75 78 80 85 90 กลยุทธ์ท่ี 5 พัฒนาประสิทธิภาพ ๑.๔ มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา สื่อสารได้ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ การบริหารจัดการตามหลักธรร มีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ 70 75 75 78 80 85 90 มาภบิ าล ได้

เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กล ตัวชว้ี ดั ข้อมลู พนื้ ฐาน คา่ เป้าหมาย (Target) กลยทุ ธ์ริเร่มิ ยทุ ธ์ (Based Line) ปกี ารศึกษา (กลยุทธ์โครงการ) (Key Performance Indicators) ปกี ารศกึ ษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานที่ ๒ ๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ๔ รอ้ ย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ กลยุทธท์ ่ี 1 สรา้ งความเข้มแข็ง กระบวนการบริหาร ดา้ น สอดคล้องกับบริบทขอองท้องถ่นิ ละ70 75 80 82 85 87 90 และความปลอดภัยใน และจัดการ สถานศกึ ษา ๒.๒ จัดครุใหเ้ พียงพอกับชน้ั เรยี น รอ้ ย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ กลยุทธ์ที่ 2 ให้โอกาสทางการ ละ70 75 80 82 85 87 90 ศึกษาอย่างเท่าเทียมและมี ๒.๓ ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นกา ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ คุณภาพ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 72 กรรจดั ประสบการณ์ ละ70 75 80 85 88 90 95 กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพและ ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้ ร้อย ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ มาตรฐานทุกระดับตาม อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ ละ70 75 80 85 88 90 95 หลักสูตรภายใตบ้ ริบทของความ เปน็ ไทย ๒.๕ ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและ ร้อย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาครูและ สอ่ื การเรียนรู้เพ่อื สนับสนุนการจดั ละ70 75 80 85 88 90 95 บคุ ลากรทางการศึกษาทง้ั ระบบ ประสบการณ์ ๒.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ผเู้ กย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม ละ70 75 80 85 88 90 95

เปา้ ประสงคเ์ ชิงกล ตัวชีว้ ดั ข้อมูลพ้ืนฐาน คา่ เปา้ หมาย (Target) กลยุทธ์รเิ ริม่ ยุทธ์ (Based Line) ปกี ารศกึ ษา (กลยทุ ธโ์ ครงการ) (Key Performance Indicators) ปีการศึกษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานที่ ๓ ๓.๑ จดั ประสบการณท์ ี่สง่ เสรมิ ให้เด็กมีการ รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ กลยุทธ์ที่ 2 ให้โอกาสทางการ การจดั ประสบการณ์ พัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ ละ70 75 80 85 88 90 95 ศึกษาอย่างเท่าเทียมและมี ทเ่ี นน้ เด็กเปน็ สำคญั คุณภาพ ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ ตรง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข ร้อย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ละ70 75 80 85 88 90 95 กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาคณุ ภาพและ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 73 ๓.๓ จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนร้ใู ชส้ ่อื เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย มาตรฐานทุกระดบั ตาม รอ้ ย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ หลักสตู รภายใต้บรบิ ทของความ ละ70 75 80 85 88 90 95 เปน็ ไทย ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริง รอ้ ย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ แลละนำผลประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไป ละ70 75 80 85 88 90 95 ปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

แผนพฒั นาการศึกษาระดับข้ันพน้ื ฐาน ปกี ารศึกษา 2566-2570 เปา้ ประสงค์เชงิ กล ตัวชวี้ ดั ข้อมลู พน้ื ฐาน ค่าเป้าหมาย (Target) กลยุทธ์รเิ รมิ่ ยทุ ธ์ (Based Line) ปกี ารศกึ ษา (กลยุทธโ์ ครงการ) (Key Performance Indicators) ปกี ารศกึ ษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานที่ 1 ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาคุณภาพ คุณภาพของผูเ้ รียน ๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ และมาตรฐานทุกระดับตาม เขียน การส่อื สารและการคดิ คำนวณ ละ70 75 80 85 88 90 95 หลักสูตรภายใต้บริบทของ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 74 ๒) มคี วามสามารถในการวิเคราะห์และ รอ้ ย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ความเป็นไทย คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย ละ70 75 80 85 กลยทุ ธ์ท่ี 5 พฒั นา แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปัญหา 88 90 95 ประสิทธภิ าพการบริหาร ๓) มคี วามสามารในการสรา้ งนวัตกรรม ร้อย รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ จัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ละ70 75 80 85 88 90 95 ๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี รอ้ ย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ สารสนเทศ และการส่ือสาร ละ70 75 80 85 88 90 95 ๕) มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตาม รอ้ ย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ หลักสตู รสถานศึกษา ละ70 75 80 85 88 90 95 ๖) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติท่ี ร้อย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ดตี ่องานอาชพี ละ70 75 80 85 88 90 95

เป้าประสงคเ์ ชิงกล ตวั ชว้ี ดั ข้อมลู พ้นื ฐาน ค่าเปา้ หมาย (Target) กลยทุ ธ์รเิ ริ่ม ยุทธ์ (Based Line) ปกี ารศึกษา (กลยทุ ธโ์ ครงการ) (Key Performance Indicators) ปกี ารศึกษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานที่ 1 ๑.๒ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นาคณุ ภาพและ คุณภาพของผูเ้ รยี น ๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทด่ี ี รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ มาตรฐานทกุ ระดบั ตาม ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด ละ70 75 80 85 ร้อยละ รอ้ ยละ หลกั สูตรภายใตบ้ ริบทของความ 88 90 95 เปน็ ไทย ๒) ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็น ร้อย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ไทย ละ70 75 80 85 88 90 95 กลยทุ ธ์ที่ 5 พัฒนา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 75 ๓) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ แตกตา่ งและหลากหลาย ร้อย ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ตามหลกั ธรรมาภิบาล ละ70 75 80 85 88 90 95 ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจิต ร้อย ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ สังคม ละ70 75 80 85 88 90 95

เปา้ ประสงคเ์ ชิงกล ตัวชวี้ ดั ข้อมลู พ้ืนฐาน คา่ เปา้ หมาย (Target) กลยทุ ธ์รเิ ร่มิ ยุทธ์ (Based Line) ปีการศกึ ษา (กลยุทธโ์ ครงการ) (Key Performance Indicators) ปีการศึกษา (Strategy Objective) 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 มาตรฐานท่ี ๒ ๒.๑ การมเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ กลยทุ ธท์ ่ี 2 ให้โอกาสทางการ กระบวนการบริหาร ทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน ละ70 75 80 85 88 90 95 ศึกษาอย่างเทา่ เทียมและมี และจัดการ ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของ รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ คณุ ภาพ สถานศกึ ษา ละ70 75 80 85 กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคณุ ภาพ 88 90 95 ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคุณภาพ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ และมาตรฐานทุกระดับตาม ผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสตุ รสถานศกึ ษาและ ละ70 75 80 85 88 90 95 หลักสูตรภายใต้บริบทของ ทุกกล่มุ เปา้ หมาย แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 76 ความเป็นไทย ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลกรให้มคี วาม ร้อย ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ กลยทุ ธ์ท่ี 4 พฒั นาครแู ละ เชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ละ70 75 80 85 88 90 95 บุคลากรทางการศึกษาท้งั ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ สังคมทีเ่ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมีคูณ ละ70 75 80 85 ระบบ ภาพ 88 90 95 กลยทุ ธท์ ่ี 5 พฒั นา ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อ สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร เรียนรู้ ละ70 75 80 85 88 90 95 จัดการตามหลักธรรมาภิบาล

เป้าประสงค์ ตวั ชวี้ ัด ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ค่าเป้าหมาย (Target) กลยุทธร์ ิเรมิ่ เชงิ กลยทุ ธ์ (Based Line) ปีการศึกษา (กลยทุ ธ์โครงการ) (Strategy (Key Performance Indicators) ปีการศกึ ษา Objective) มาตรฐานที่ 3 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 กระบวนการ จัดการเรียน ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิ ร้อย รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาคุณภาพและ การสอนทเี่ นน้ จรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ ละ70 75 80 85 88 90 95 มาตรฐานทกุ ระดับตาม ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ๓.๒ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่ง รอ้ ย รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ หลักสูตรภายใตบ้ รบิ ทของความ เรียนรทู้ ี่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ละ70 75 80 85 90 95 เป็นไทย 88 ๓.๓ มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก รอ้ ย ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ละ70 75 80 85 ๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบ ร้อย ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ 88 90 95 กลยทุ ธ์ที่ 5 พัฒนา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 77 และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน ละ70 75 80 85 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ตามหลักธรรมาภิบาล 88 90 95 ๓.๕ มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อน รอ้ ย รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ กลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้ ละ70 75 75 78 80 85 90 เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ ระดับคุณภาพ ค่าร้อยละ ระดบั กำลังคณุ ภาพ ระดบั ปานกลาง น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60.00 รอ้ ยละ 60.00-69.99 ระดับดี รอ้ ยละ 70.00-79.99 ระดับดเี ลศิ ร้อยละ 70.00-89-99 ระดับยอดเย่ียม รอ้ ยละ 90.00 ขนึ้ ไป

สว่ นที่ 5 โครงการ/กจิ กรรม ระยะ 5 ปี 5.1 แผนงบประมาณตามกลยุทธก์ ารพัฒนาการศึกษาของสถานศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2566-2570 ประมาณการรายรับ ประจำปีการศกึ ษา 2566-2570 ที่ รายไดแ้ ต่ละประเภท งบประมาณประจำปกี ารศึกษา (บาท) รวม 2566 2567 2568 2569 2570 200 1. งบอดุ หนุน 44 39 39 39 39 26,808 480,286 1.1 งบอุดหนนุ การเรียนการสอน (รายหวั นกั เรยี น) 2,628 (1) ระดับก่อนประถมศึกษา 4,468 4,468 4,468 4,468 4,468 96,333 159,110 (2) ระดับประถมศึกษา 49,979 95,082 95,082 95,082 95,082 83,950 91,940 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 78 1.2 งบอดุ หนนุ พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 316,800 (1) ระดบั ก่อนประถมศึกษา 876 438 438 438 438 (2) ระดบั ประถมศกึ ษา 20,008 19,071 19,071 19,071 19,071 1.3 งบอดุ หนุนรายการคา่ หนังสือเรยี น 31,982 31,782 31,782 31,782 31,782 1.4 งบอดุ หนุนค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น 17,050 16,725 16,725 16,725 16,725 1.5 งบอุดหนุนคา่ อุปกรณ์การเรียน 18,620 18,330 18,330 18,330 18,330 2. เงินบำรงุ การศกึ ษา 3. เงินอุดหนนุ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 4. เงินบรจิ าค 76,800 60,000 60,000 60,000 60,000 5. อน่ื ๆ รวมท้ังสิ้นประมาณการรายรับท้ังส้นิ 274,271 245,896 245,896 245,896 245,896

(2) ประมาณการรายจา่ ย ประจำปีการศกึ ษา 2566-2570 จำนวนงบประมาณแตล่ ะปกี ารศกึ ษา แหล่ง (2.1) งบบริหารงานท่วั ไป ของสถานศึกษา 2566 2567 2568 2569 2570 รวม งบประมา ที่ รายจา่ ยแต่ละประเภท ณ 1 งบบคุ ลากร 189,600 153,600 153,601 153,602 153,603 804,006 (1) จ้างครูอตั ราจ้าง จำนวน 1 อตั ราๆ เดือนละ 6,800 บาท 12 เดือน แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 79 จำนวน 2 อัตราๆ เดือนละ 6,000 บาท 18 เดือน 69,600 69,600 69,600 69,600 69,600 348,000 (2) จา้ งภารโรง จำนวน .1 อัตราๆ เดือนละ 5,800 บาท 12 เดอื น 259,200 223,200 223,201 223,202 223,203 1,152,006 รวมงบบคุ ลากร 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 15,000 2 ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุสว่ นกลาง (1) คา่ ค่าเบยี้ เล้ยี งเดินทาง คา่ เชา่ ทีพ่ ัก ค่าพาหนะ 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 15,000 (2) คา่ วสั ดสุ ำนักงาน/คอมพวิ เตอร์ (3) คา่ วสั ดเุ ชือ้ เพลิงและหล่อลน่ื (4) คา่ .............................................. รวมคา่ ตอบแทนใช้สอยวสั ดุส่วนกลาง 3. ค่าปรับปรุง ซ่อมแซม (1) คา่ ปรบั ปรุงซ่อมแซมส่ิงก่อสรา้ ง (2) ค่าปรบั ปรุงซ่อมแซมครภุ ัณฑ์

จำนวนงบประมาณแต่ละปกี ารศกึ ษา แหล่ง ที่ รายจา่ ยแต่ละประเภท 2566 2567 2568 2569 2570 รวม งบประมา รวมค่าปรับปรุง ซ่อมแซม ณ 4. คา่ สาธารณปู โภค แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 80 26,400 26,400 26,400 26,400 26,400 26,400 (1) ค่ากระแสไฟฟา้ เดือนละ 2,200 บาท 12 เดือน 1,284 1,284 1,284 1,284 1,284 1,284 (2) คา่ น้ำประปา เดอื นละ ............ บาท ....... เดือน 26,400 26,400 26,400 26,400 26,400 26,400 (3) ค่าโทรศพั ท์ เดือนละ .107 บาท 12. เดือน (4) ค่าเช่าสญั ญาณอนิ เทอร์เนต็ เดอื นละ .......... บาท ...... เดอื น 31,982 31,982 31,782 31,782 31,782 31,782 17,050 17,050 16,725 16,725 16,725 16,725 รวมคา่ สาธารณูปโภค 18,620 18,620 18,330 18,330 18,330 18,330 232,200 232,200 280,800 280,800 280,800 280,800 5. ค่าหนงั สอื เรยี น 6. ค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น 848,936 776,936 824,723 824,725 824,727 2,694,333 7. คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน 8. ค่าอาหารกลางวัน รวมงบบรหิ ารงานทั่วไปท้ังสิ้น

(2.2) งบประมาณพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา จำแนกตามกลยุทธ์ และแหล่งงบประมาณ ที่ โครงการ/กจิ กรรม 2566 งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหล่ง 2567 2568 2569 2570 งบประมาณ 1,000 รวม 3,000 กลยทุ ธ์ที่ 1 สรา้ งความเข้มแขง็ และความปลอดภัยในสถานศึกษา 1,500 500 1 โครงการโรงเรยี น คุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียน 500 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000 คณุ ภาพ) 500 6,000 2,000 2,000 2,000 2,000 11,000 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 81 2 โครงการคำสอนพ่อสู่สถานศึกษาพอเพียง 1,500 2,500 2,000 1,500 1,000 8,500 500 900 800 700 600 3,500 3 โครงการวนั สำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษิตรยิ ์ 500 900 800 700 600 3,500 500 900 800 700 600 3,500 4 โครงการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น 1,800 5,000 5,000 5,000 5,000 26,000 1,400 1,300 1,200 1,100 6,500 5 โครงการจติ อาสา \"เราทำดดี ้วยหัวใจ\" 900 800 700 600 3,500 900 800 700 600 3,500 6 โครงการหนูนอ้ ยจิตอาสา บำเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สถานศึกษา 900 800 700 600 3,500 1,800 1,800 1,500 1,200 8,100 7 โครงการปรบั ภูมิทัศน์และการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม 8 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 9 โครงการโรงเรียนปลอดบุหร่ี 10 โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ 11 โครงการโรงเรยี นสุจริต 12 โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน

ที่ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) แหลง่ งบประมาณ 2567 2568 2569 2570 13 โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 2566 1,500 1,400 1,300 1,200 รวม 1,500 500 500 500 500 14 โครงการงานประชาสัมพันธโ์ รงเรียน 500 500 500 500 500 6,900 800 3,000 4,000 3,500 3,000 2,500 15 โครงการหนูนอ้ ยนักออม 3,000 2,800 9,000 8,000 7,000 6,000 16,500 16 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 10,000 500 500 500 500 500 กลยทุ ธท์ ่ี 2 ใหโ้ อกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมและมีคุณภาพ 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 82 17 โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์แิ ละพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น 500 500 500 500 40,000 500 1,900 1,800 1,700 1,600 2,500 18 โครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน 1,000 900 800 700 600 1,000 5,000 4,000 3,000 2,000 5,000 19 โครงการโรงเรียน คุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรยี น 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 คุณภาพ) 1,500 900 800 700 600 2,500 900 900 800 700 600 8,000 20 โครงการทะเบียนและวดั ผลประเมินผล 500 4,000 17,000 21 โครงการบา้ นวิทยาศาสตรน์ อ้ ย 8,500 3,900 22 โครงการผลติ สือ่ สรา้ งสรรค์ เพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั 3,500 23 โครงการคำสอนพ่อสู่สถานศึกษาพอเพียง 24 โครงการวนั สำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษิตรยิ ์ 25 โครงการพัฒนางานห้องสมดุ เพ่ือการเรียนรู้ 26 โครงการสง่ เสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) แหล่ง งบประมาณ 27 โครงการบรหิ ารสาธารณปู โภค 2567 2568 2569 2570 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 83 28 โครงการจติ อาสา \"เราทำดีดว้ ยหัวใจ\" 2566 รวม 29 โครงการหนูน้อยจติ อาสา บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อสถานศึกษา 27,600 27,600 27,600 27,600 30 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 27,600 900 800 700 600 138,000 31 โครงการโรงเรยี นปลอดบุหร่ี 500 900 800 700 600 3,500 32 โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 500 1,500 1,500 1,500 1,500 3,500 33 โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพ 1,500 900 800 700 600 7,500 34 โครงการงานประชาสัมพนั ธ์โรงเรียน 500 2,100 1,800 1,500 1,200 3,500 35 โครงการหนนู ้อยนักออม 1,800 1,900 1,800 1,700 1,600 8,400 36 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 1,500 900 800 700 600 8,500 500 900 800 700 600 3,500 กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดบั ตามหลักสตู ร 800 4,500 4,000 3,500 3,000 3,800 ภายใตบ้ รบิ ทของความเป็นไทย 3,000 18,000 37 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น 38 โครงการสง่ เสริมนิสัยรกั การอ่าน 10,000 9,000 8,000 7,000 6,000 40,000 39 โครงการทะเบยี นและวัดผลประเมินผล 500 500 500 500 500 2,500 40 โครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย 500 900 800 700 600 3,500 1,000 1,900 1,800 1,700 1,600 8,000

ท่ี โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหลง่ งบประมาณ 41 โครงการผลติ สือ่ สรา้ งสรรค์ เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ของเด็กปฐมวัย 42 โครงการคำสอนพ่อสู่สถานศึกษาพอเพยี ง 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 43 โครงการวันสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษติ รยิ ์ 44 โครงการพัฒนางานหอ้ งสมดุ เพอ่ื การเรียนรู้ 1,000 900 800 700 600 4,000 45 โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น 46 โครงการจติ อาสา \"เราทำดีดว้ ยหัวใจ\" 3,000 5,000 4,000 3,000 2,000 17,000 47 โครงการหนูน้อยจติ อาสา บำเพ็ญประโยชนต์ อ่ สถานศึกษา 48 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 1,500 1,500 1,500 1,500 1,000 7,000 49 โครงการโรงเรยี นปลอดบหุ ร่ี 50 โครงการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ 900 900 800 700 600 3,900 51 โครงการโรงเรยี นสจุ รติ 52 โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น 500 500 500 500 500 2,500 53 โครงการหนูน้อยนักออม แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 84 500 500 500 700 600 2,800 กลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท้งั ระบบ 54 โครงการประกนั คุณภาพภายใน 500 500 500 700 600 2,800 1,500 1,400 1,300 1,200 1,100 6,500 500 500 500 500 500 2,500 500 500 500 500 500 2,500 500 500 500 500 500 2,500 1,800 1,800 1,800 1,500 1,200 8,100 800 500 500 500 500 2,800 500 500 500 500 500 2,500

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหล่ง 2567 2568 2569 2570 งบประมาณ 9,000 8,000 7,000 6,000 2566 รวม 33,000 55 โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 3,000 408,000 กจิ กรรมการประชมุ อบรม สัมมนา 360,000 36,000 56 โครงการจัดจ้างครผู ูส้ อน 81,600 81,600 81,600 81,600 81,600 38,531 กจิ กรรมจา้ งครูอัตราจา้ ง ป.1 72,000 72,000 72,000 72,000 72,000 2,500 กิจกรรมจ้างครูอัตราจ้าง ป.5 36,000 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 85 กจิ กรรมจา้ งครูอัตราจา้ ง ป.2 11,531 7,500 7,000 6,500 6,000 2,500 500 500 500 500 5,000 57 โครงการสง่ เริมจัดหาวัสดสุ ำนักงานงานธุรการ 500 33,000 กลยทุ ธ์ท่ี 5 พัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 408,000 360,000 59 โครงการประกันคุณภาพภายใน 500 500 500 500 500 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 60 โครงการโรงเรยี น คณุ ภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรยี น 3,000 คุณภาพ) 9,000 8,000 7,000 6,000 62 โครงการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กจิ กรรมการประชมุ อบรม สัมมนา 63 โครงการจัดจา้ งครผู สู้ อน กจิ กรรมจ้างครูอัตราจา้ ง ป.1 81,600 81,600 81,600 81,600 81,600 กจิ กรรมจ้างครูอัตราจา้ ง ป.5 72,000 72,000 72,000 72,000 72,000

ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหล่ง 2567 2568 2569 2570 งบประมาณ กจิ กรรมจ้างครูอัตราจ้าง ป.2 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 86 64 โครงการพัฒนาระบบการเงนิ และพัสดุ 2566 500 500 500 500 รวม 65 โครงการปรบั ภมู ทิ ัศนแ์ ละการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม 6,000 6,000 6,000 6,000 66 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 36,000 1,400 1,300 1,200 1,100 36,000 67 โครงการโรงเรียนปลอดบุหร่ี 500 500 500 500 500 2,500 68 โครงการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ 6,000 500 500 500 500 30,000 69 โครงการโรงเรียนสจุ ริต 1,500 500 500 500 500 6,500 70 โครงการสง่ เรมิ จดั หาวสั ดสุ ำนักงานงานธรุ การ 500 2,500 500 7,500 7,000 6,500 6,000 2,500 รวมงบประมาณทง้ั ส้ิน 500 663,248 645,648 614,548 589,548 2,500 11,531 38,531 687,347 3,200,339

5.2 โครงการ/กจิ กรรม ประจำปีการศึกษา 2566-2570 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 87 ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหลง่ รวม งบประมาณ ก. โครงการ/กจิ กรรม บริหารงานวชิ าการ 2566 2567 2568 2569 2570 1 โครงการประกันคุณภาพภายใน 2,500 2 โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิและพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 500 500 500 500 500 40,000 3 โครงการสง่ เสริมนิสยั รกั การอ่าน 10,000 9,000 8,000 7,000 6,000 2,500 4 โครงการโรงเรียน คณุ ภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรยี น 5,000 500 500 500 500 500 คณุ ภาพ) 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 3,500 5 โครงการทะเบียนและวดั ผลประเมินผล 8,000 6 โครงการบา้ นวิทยาศาสตรน์ ้อย 500 900 800 700 600 4,000 7 โครงการผลติ ส่ือ สรา้ งสรรค์ เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ของเด็ก 1,000 1,900 1,800 1,700 1,600 1,000 900 800 700 600 17,000 ปฐมวัย 7,000 8 โครงการคำสอนพ่อสูส่ ถานศึกษาพอเพียง 3,000 5,000 4,000 3,000 2,000 3,900 9 โครงการวนั สำคญั ของชาติ ศาสนา พระมหากษิตริย์ 1,500 1,500 1,500 1,500 1,000 2,500 10 โครงการพฒั นางานหอ้ งสมดุ เพอ่ื การเรยี นรู้ 11 โครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น 900 900 800 700 600 500 500 500 500 500

ท่ี โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) แหล่ง 2566 2567 2568 2569 2570 รวม งบประมาณ 12 โครงการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา - กจิ กรรมการประชุม อบรม สัมมนา 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 15,000 13 โครงการจัดจา้ งครผู สู้ อน 40,800 81,600 81,600 81,600 81,600 367,200 - กิจกรรมจ้างครูอัตราจ้าง ป.1 - กิจกรรมจ้างครอู ัตราจา้ ง ป.2 36,000 72,000 72,000 72,000 72,000 324,000 - กิจกรรมจ้างครอู ัตราจ้าง ป.3 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 88 36,000 36,000 ข. โครงการ/กจิ กรรม บรหิ ารงานทว่ั ไป 15 โครงการจติ อาสา \"เราทำดดี ้วยหัวใจ\" 500 500 500 700 600 2,800 16 โครงการหนูน้อยจติ อาสา บำเพญ็ ประโยชน์ต่อสถานศึกษา 500 500 500 700 600 2,800 17 โครงการปรับภูมทิ ัศน์และการปรับปรุงซ่อมแซม 6,000 6,000 6,000 6,000 6,000 30,000 18 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข 1,500 1,400 1,300 1,200 1,100 6,500 19 โครงการโรงเรียนปลอดบหุ ร่ี 500 500 500 500 500 2,500 20 โครงการโรงเรยี นวถิ พี ุทธ 500 500 500 500 500 2,500 21 โครงการโรงเรียนสจุ ริต 500 500 500 500 500 2,500 22 โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น 1,800 1,800 1,800 1,500 1,200 8,100 23 โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 7,500

งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) แหลง่ รวม งบประมาณ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 89 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม 2566 2567 2568 2569 2570 2,500 24 โครงการงานประชาสมั พันธโ์ รงเรยี น 500 500 500 500 500 2,800 25 โครงการหนูน้อยนักออม 800 500 500 500 500 15,000 26 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 38,531 27 โครงการสง่ เรมิ จดั หาวัสดสุ ำนักงานงานธรุ การ 11,531 7,500 7,000 6,500 6,000 2,500 28 โครงการพฒั นาระบบการเงนิ และพัสดุ 500 500 500 500 500 138,000 29 โครงการบรหิ ารสาธารณูปโภค 27,600 27,600 27,600 27,600 27,600 ค. งบสำรองจา่ ย และหรือนโยบายเรง่ ดว่ น 3,947 3,947 3,947 3,947 3,947 19,735 30 งบสำรองจ่าย และหรือนโยบายเรง่ ด่วน 232,200 252,000 216,000 194,400 180,000 1,074,600 ง. โครงการ/กจิ กรรม ท่ี งปม.มีวตั ถุประสงค์เฉพาะ 10,000 9,000 8,000 7,000 6,000 40,000 31 โครงการอาหารกลางวัน และอาหารเสริม(นม) 32 โครงการปจั จยั พืน้ ฐานนักเรียนยากจน 31,982 22,436 22,436 22,436 22,436 121,726 33 โครงการเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ(หนังสือ,เครื่องแบบ 17,050 12,250 12,250 12,250 12,250 66,050 18,620 12,615 12,615 12,615 12,615 69,080 ,อุปกรณ์) 1.งานจัดซื้อจดั หาหนังสอื เรียน 2.งานจัดซอ้ื จดั หาเครื่องแบบนักเรียน 3.งานจดั ซ้ือจัดหาอปุ กรณก์ ารเรียน

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 90 ท่ี โครงการ/กิจกรรม 2566 งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) แหล่ง 2567 2568 2569 2570 รวม งบประมาณ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 38,700 34 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น 2,000 14,000 13,000 12,000 11,000 88,700 18,000 1,900 1,800 1,700 1,600 9,000 1. กิจกรรมวิชาการ 6,000 9,000 8,000 7,000 6,000 48,000 - โครงการค่ายส่งเสรมิ วิชาการ 12,000 9,000 8,000 7,000 6,000 36,000 - โครงการสายสมั พันธ์ วนั อำลาสถาบนั 22,617 14,000 13,000 12,000 11,000 62,000 22,000 20,000 20,000 20,000 104,617 2. กิจกรรมด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม - โครงการคา่ ยสง่ เริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและความเป็น ไทย - โครงการสง่ เสรมิ กจิ กรรม ลูกเสือ-เนตรนารี 3. กจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ - โครงการเรยี นรู้สโู่ ลกกว้าง 4. บริการดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศหรือคอมพวิ เตอร์ - โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ ICT

ท่ี โครงการ/กจิ กรรม 2566 งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) แหล่ง 2567 2568 2569 2570 รวม งบประมาณ 5. การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในชว่ งสถานการณ์การ 4,000 แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 687,347 3,500 3,000 2,500 2,000 15,000 663,248 645,648 614,548 589,548 3,200,339 - โครงการเฝ้าระวังป้องกันเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวม แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 91

สว่ นท่ี 6 การบรหิ ารแผนไปส่กู ารปฏิบตั ิ การบริหารแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของโรงเรียนบ้านสันติวันประกอบด้วย แนว ทางการบรหิ ารแผนส่กู ารปฏบิ ตั ิ เง่อื นไขความสำเรจ็ และบทบาทของสถานศึกษาซงึ่ มรี ายละเอียด ดังต่อไปน้ี แนวทางการบรหิ ารแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ของโรงเรียนบ้านสันติวัน จัดทำขน้ึ เพอื่ ใช้เปน็ กรอบทิศทางในการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการของสำนักงานเขตพื้นท่ี และสถานศึกษาในสังกดั เพ่ือให้ บรรลุเป้าหมายที่กำหนด โดยมีเป้าหมายในปี พ.ศ. 2570 เชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนปฏิบัติ ราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพื่อให้การบรหิ ารแผนสู่การปฏบิ ตั ิได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สูงสุด สอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการทางการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านสนั ตวิ นั จึงกำหนดแนวทางในการบริหารแผนสกู่ ารปฏิบัติ ดังน้ี การดำเนนิ งานเพอื่ ขบั เคลื่อนแผนปฏบิ ตั ิการ 1. การบรหิ ารงานวิชาการ - การดำเนินกิจกรรมนกั เรียนเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ตามศักยภาพ - การจดั กิจกรรมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธขิ์ องผู้เรียนให้มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขน้ึ - การกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ และพัฒนาผลการดำเนนิ งาน 2. การบรหิ ารงานงบประมาณ - การจัดสรรงบประมาณตามเกณฑ์ทไ่ี ด้รบั จดั สรรงบบรหิ ารงานการศึกษา - การบริหารงบประมาณตามกิจกรรมและภาระงานเพ่ือคุณภาพในการบริหารการจดั การศกึ ษา - การกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ปรับปรุงและพัฒนาผลการดำเนนิ งาน 3. การบรหิ ารงานบคุ คล - การสรรหาและแต่งต้ังตำแหนง่ งาน - การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร - การประเมินครแู ละบุคลากรรวมถึงวนิ ัยและการรกั ษาวินยั - การกำกบั ติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรงุ และพัฒนาผลการดำเนินงาน แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรยี นบา้ นสันติวนั หน้าท่ี 92

4. การบริหารงานทวั่ ไป - การดำเนินทางดา้ นดูแลพฒั นาอาคารสถานทแี่ ละสาธารณปโภค - การดูแลสุขภาพอนามยั ของบคุ ลากรและนักเรยี นในโรงเรียน - การจดั สวสั ดกิ ารแกค่ รูและนักเรยี น - ประสานงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาและสรา้ งร่วมมือกบั ชมุ ชน - การกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ปรับปรงุ และพฒั นาผลการดำเนนิ งาน ปัจจัยความสำเร็จ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ของโรงเรียนบ้านสันติวัน มเี ง่อื นไขความสำเร็จ ดงั นี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาให้ความสำคัญในการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน และการทำงานแบบมีส่วนร่วมที่เอื้อต่อการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การปฏิบัติงานให้บรรลุตาม วตั ถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายท่กี ำหนดไว้ 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือและส่งเสริมการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ในการพัฒนาการ ปฏบิ ตั ิงานอย่างเป็นระบบ 3. เชื่อมโยงความสำเรจ็ ของการปฏบิ ัตงิ านกบั การบรหิ ารงานบุคคลอยา่ งชดั เจน 4. บริหารจัดการโดยเปดิ โอกาสใหท้ ุกภาคสว่ นมีส่วนร่วมและยึดหลกั ธรรมาภิบาล กระบวนการนำแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ 1. สื่อสารทิศทางองค์กรทั้งวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นการพัฒนา และเป้าหมายการ ใหบ้ รกิ ารหนว่ ยงานใหบ้ คุ ลากรได้รบั รูแ้ ละเข้าใจตรงกันอยา่ งทั่วถงึ 2. จัดโครงสร้าง กระบวนการทำงาน และมอบหมายผู้รับผิดชอบปฏิบัติงาน พร้อมทั้งกำหนดบทบาท ความรับผิดชอบอยา่ งชัดเจน 3. วิเคราะห์เปรียบเทียบสภาพปัจจุบัน และเป้าหมายตามนโยบาย เพื่อกำหนดกล ยุทธ์และ จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารให้บรรลตุ ามเปา้ หมายวตั ถุประสงค์ 4. ดำเนินงานจดั สรรงบประมาณใหก้ บั โครงการกิจกรรม ตามแผนปฏิบัตกิ ารทกี่ ำหนด 5. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อให้การนำนโยบายกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดย ติดตามความก้าวหน้าตามโครงการกิจกรรม และการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงานตามโครงการและ กิจกรรม 6. สร้างกลไกการขับเคลือ่ นและตรวจสอบสาธารณะโดยมีรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจำปี สสู่ าธารณะชนและหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานของโรงเรยี นบา้ นสันตวิ ัน หนา้ ที่ 93

แผนงาน / โครงการ / งบประมาณ ภายใต้กลยุทธ์ กลยทุ ธท์ ี่ 1 สรา้ งความเข้มแข็งและความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ท่ี โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) รวม ครูผ้รู บั ผดิ ชอบ 2566 2567 2568 2569 2570 น.ส.ศรณั ยา วีระบตุ ร 1 โครงการโรงเรยี น คุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ โรงเรยี นคุณภาพ) น.ส.วิภาวรรณ ท้าวกันทา ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ 2 โครงการคำสอนพ่อสู่สถานศึกษาพอเพียง 3,000 2,000 2,000 2,000 2,000 11,000 น.ส.วิภาวรรณ ท้าวกนั ทา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 94 3 โครงการวันสำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 1,500 2,500 2,000 1,500 1,000 8,500 น.ส.อตินาถ แกน่ เมือง ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต 4 โครงการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรียน 500 900 800 700 600 3,500 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต 5 โครงการจิตอาสา \"เราทำดีดว้ ยหวั ใจ\" 500 900 800 700 600 3,500 น.ส.วิภาวรรณ ทา้ วกนั ทา ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ 6 โครงการหนนู ้อยจติ อาสา บำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ 500 900 800 700 600 3,500 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต สถานศกึ ษา 7 โครงการปรับภมู ทิ ัศน์และการปรับปรุงซอ่ มแซม 6,000 5,000 5,000 5,000 5,000 26,000 8 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ 1,500 1,400 1,300 1,200 1,100 6,500 อบายมุข 9 โครงการโรงเรยี นปลอดบุหรี่ 500 900 800 700 600 3,500 500 900 800 700 600 3,500 10 โครงการโรงเรียนวิถพี ทุ ธ 500 900 800 700 600 3,500 11 โครงการโรงเรยี นสจุ รติ

ที่ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) 12 โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น 2566 2567 2568 2569 2570 รวม ครูผู้รบั ผดิ ชอบ 13 โครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ 14 โครงการงานประชาสมั พันธโ์ รงเรียน 1,800 1,800 1,800 1,500 1,200 8,100 น.ส.วภิ าวรรณ ทา้ วกันทา 15 โครงการหนนู ้อยนักออม 6,900 น.ส.เบญจมาศ ชยั มณี 16 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย 1,500 1,500 1,400 1,300 1,200 2,500 2,800 นายอภสิ ทิ ธิ์ ขอบขนั ขำ 500 500 500 500 500 16,500 น.ส.ชลธิชา อ่อนคำ 800 500 500 500 500 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ 3,000 3,000 4,000 3,500 3,000 แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 95 กลยทุ ธท์ ี่ 2 ใหโ้ อกาสทางการศกึ ษาอยา่ งเท่าเทียมและมีคุณภาพ ที่ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปกี ารศีกษา (บาท) ผูร้ บั ผดิ ชอบ 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 1 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 10,000 9,000 8,000 7,000 6,000 40,000 นายอภิสิทธ์ิ ขอบขนั ขำ 500 1,400 1,400 1,400 1,400 7,100 นายอภิสทิ ธิ์ ขอบขันขำ 2 โครงการสง่ เสรมิ นิสยั รกั การอ่าน 1,000 13,000 12,000 11,000 10,000 60,000 น.ส.ศรณั ยา วีระบุตร 3 โครงการโรงเรยี น คุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 500 900 800 700 600 4,000 โรงเรยี นคณุ ภาพ) 1,000 1,900 1,800 1,700 1,600 9,000 นายอภิสิทธ์ิ ขอบขันขำ 4 โครงการทะเบียนและวดั ผลประเมนิ ผล น.ส.อตนิ าถ แกน่ เมือง 5 โครงการบ้านวทิ ยาศาสตรน์ ้อย

ที่ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณประจำปีการศีกษา (บาท) ผ้รู ับผิดชอบ 2566 2567 2568 2569 2570 รวม 6 โครงการผลติ สือ่ สร้างสรรค์ เพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ของเดก็ 1,000 900 800 700 600 4,000 น.ส.อตนิ าถ แกน่ เมือง ปฐมวยั 7 โครงการคำสอนพ่อสสู่ ถานศึกษาพอเพยี ง 3,000 5,000 4,000 3,000 2,000 20,000 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต 1,500 2,500 2,000 1,500 1,000 10,000 น.ส.วิภาวรรณ ทา้ วกนั ทา 8 โครงการวนั สำคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษิตริย์ 900 900 800 700 600 4,000 น.ส.เบญจมาศ ชยั มณี 500 900 800 700 600 4,000 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ 9 โครงการพัฒนางานห้องสมุดเพอ่ื การเรยี นรู้ 27,600 27,600 27,600 27,600 27,600 138,000 น.ส.อตนิ าถ แกน่ เมอื ง 500 900 800 700 600 4,000 น.ส.วิภาวรรณ ทา้ วกนั ทา 10 โครงการส่งเสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น 500 900 800 700 600 4,000 น.ส.อตนิ าถ แก่นเมอื ง 1,500 1,500 1,500 1,500 1,500 7,500 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต 11 โครงการบรหิ ารสาธารณปู โภค 500 900 800 700 600 4,000 น.ส.วภิ าวรรณ ท้าวกันทา 1,800 2,100 1,800 1,500 1,200 9,000 น.ส.วิภาวรรณ ทา้ วกนั ทา แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของโรงเรียนบา้ นสันตวิ นั หน้าท่ี 96 12 โครงการจติ อาสา \"เราทำดีดว้ ยหวั ใจ\" 1,500 1,900 1,800 1,700 1,600 9,000 น.ส.เบญจมาศ ชัยมณี 500 900 800 700 600 4,000 13 โครงการหนูนอ้ ยจติ อาสา บำเพ็ญประโยชนต์ ่อสถานศึกษา 800 900 800 700 600 4,000 นายอภสิ ิทธ์ิ ขอบขนั ขำ 3,000 4,500 4,000 3,500 3,000 20,000 น.ส.ชลธชิ า อ่อนคำ 14 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต 15 โครงการโรงเรียนปลอดบุหร่ี 16 โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 17 โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 18 โครงการงานประชาสมั พนั ธ์โรงเรียน 19 โครงการหนนู อ้ ยนักออม 20 โครงการสถานศึกษาปลอดภัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook