Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านสันติวัน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านสันติวัน

Published by a.khopkhankham, 2023-06-18 01:34:45

Description: แผนพัฒนาฯโรงเรียนบ้านสันติวัน

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ประจาการศึกษา 2566 - 2570 สำนกั งำนเขตพ้ืนทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำเชียงรำย เขต 2 สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

บันทกึ การใหค้ วามเห็นชอบแผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โรงเรยี นบา้ นสันตวิ ัน .................................................................................................................. ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนบ้านสันติวัน ครั้งที่ เมื่อวันที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ได้พิจารณาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2566 – 2570 ของโรงเรียนบ้าน สันติวนั แล้ว มมี ตเิ ห็นชอบในการบริหารงบประมาณและให้ดำเนนิ การได้ ให้ความเห็นชอบ ณ วันท่ี 12 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2566 (ลงช่ือ) ( นายสำราญ เวียงนิล ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรียนบา้ นสันตวิ ัน

คำนำ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ใน ราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 2 เมษายน 2553 กำหนดไว้ในข้อ 14 (2) ว่า ให้สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นสนั ติวนั จงึ ไดแ้ ต่งตงั้ คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของโรงเรยี นบ้านสันตวิ นั กำหนดวสิ ัยทัศนไ์ วว้ ่า “โรงเรยี นบ้านสนั ติวัน จดั การศึกษาได้ตาม มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ผูเ้ รียนมีความรู้ คูค่ ุณธรรม สืบสานวัฒนธรรมลา้ นนา นอ้ มนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และมี กลยุทธร์ ะดับสถานศกึ ษาไว้ จำนวน 5 กลยุทธ์ โรงเรียนบ้านสนั ตวิ นั ได้นำเสนอแผนแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของ โรงเรียนบา้ นสนั ติวันผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในคราวประชมุ ครงั้ ที่ เมอื่ วนั ที่ 12 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2566 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2566 – 2570 ของ โรงเรียนบ้านสันติ วัน ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชน์เพื่อใช้เปน็ แนวทางการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปกี ารศึกษา ระยะ 1 ปี และมี การ ดำเนินงาน กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์และ วธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 และประกาศคณะกรรมการประกนั คุณภาพภายในระดับการศึกษาข้ัน พนื้ ฐานเรือ่ งกำหนดหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏิบัติเกย่ี วกบั การประกนั คุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2554 ต่อไป โรงเรียนบา้ นสนั ตวิ ัน เดือนพฤษภาคม 2566

สารบญั หนา้ ส่วนที่ 1 บทนำ 1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา 8 โครงสรา้ งการบริหาร 10 สภาพทัว่ ไป 12 ข้อมลู อาคารเรยี น อาคารประกอบ 13 ขอ้ มลู อตั รานักเรียน ย้อนหลัง - กา้ วหน้า 5 ปี 14 ข้อมลู บุคลากร 15 ผลการดำเนินงานในรอบปีทผ่ี ่านมา 25 ผลงานทปี่ ระสบผลสำเรจ็ 30 ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) 36 ส่วนที่ 2 บริบทท่ีเก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษา 36 พระบรมราโชบายเกยี่ วกับการพฒั นาการศึกษา 37 กฎหมาย แผน ยทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายทเี่ ก่ียวข้อง 40 - แผนระดับที่ 1 49 - แผนระดับที่ 2 59 - แผนระดบั ท่ี 3 - นโยบายทเี่ กี่ยวข้อง 70 71 สว่ นท่ี 3 ทิศทางการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน วสิ ัยทศั น์/พนั ธกิจ/เป้าประสงค/์ กลยทุ ธ์ 78 ส่วนที่ 4 กลยุทธก์ ารพัฒนาการศึกษา ประจำปีการศกึ ษา 2566-2570 87 ส่วนที่ 5 โครงการ/กิจกรรม ระยะ 5 ปี 92 100 แผนงบประมาณตามกลยุทธ์การพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาประจำปี การศกึ ษา 2566-2570 โครงการ/กจิ กรรม ประจำปีการศกึ ษา 2566-2570 ส่วนที่ 6 การบรหิ ารแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ ภาคผนวก -คำสงั่ แตง่ ต้งั (ทเ่ี กยี่ วข้องกับการบรหิ ารแผนฯ สูก่ ารปฏิบัติของโรงเรียน) - บนั ทึกรายงานการประชุมแผนฯ ผ่านความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ - ภาพกิจกรรมการประชุมจดั ทำแผนฯ - คณะผู้จดั ทำ

ส่วนที่ 1 บทนำ ประวตั ิความเป็นมาของสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านสันติวัน เดิมเป็นโรงเรียนประถมวิสามัญ (แผนกกสิกรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6) มีนายวาสน์ ยิ้มสวัสดิ์ (อดีตครูใหญ่โรงเรียนพานพสกสวัสดิ์เป็นผู้ดูแล) ต่อมาทางราชการได้ยุบโรงเรียน ประถมวิสามัญและโอนอาคารเรียน ครู และทรัพย์สินต่าง ๆ ให้เป็นโรงเรียนประชาบาลโดยนายอำเภอพาน เป็นผู้จัดตั้ง เปิดเรียนเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2481 ครูใหญ่คนแรกคือ นายสมบูรณ์ ณ ลำปาง ดำรงอยู่ได้ ด้วยเงินงบประมาณการประถมศึกษาของแผ่นดินและประชาชนสมทบ จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ในปี พ.ศ. 2485 สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 กองพันทหารได้มาพักอยู่ในโรงเรียนเพื่อ ความปลอดภยั ของนักเรยี น ได้ย้ายไปเปดิ เรียนที่บริเวณหมู่บ้านป่าสักใต้ จัดการเรียนการสอน ตั้งแต่ตั้งแต่ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 4 โดยมี นายตี สมนาม เปน็ ครใู หญ่ ไดส้ รา้ งอาคารเรียนชัว่ คราวขึ้น ซึง่ ตอ้ งซ่อมแซมทุก ปีทำความเดือดร้อนให้ชาวบ้านเป็นอย่างมาก คณะกรรมการจึงได้ย้ายไปทำการสอนที่ศาลาวัดดอนตัน ในปี พ.ศ. 2487 – 2502 ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการศึกษา ราษฎร และคณะครูได้ร่วมมอื กันกอ่ สรา้ งอาคารเรยี น ถาวร แบบ ป.1 ข ขนาด 4 ห้องเรียน มุงหลังคาด้วยกระเบื้อง ปูพื้นด้วยกระดานไม้ตะเคียน เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2502 และย้ายเข้ามาเรียนวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2503 จัดการเรียนการสอนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 โดยมี นายสิงห์ทอง แสงทอง เป็นครูใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ได้เริ่มขยาย การศึกษาเปน็ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1– 5 และชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6,7 โดยมี นายดวงจนั ทร์ ชัยวฒุ ิ เปน็ ครูใหญ่ ในปี พ.ศ. 2512 ปี พ.ศ. 2512 มีการเปลี่ยนแปลงครูใหญ่จาก นายดวงจันทร์ ชัยวุฒิ เป็น นายรส ศิริคำน้อย ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ อยู่จนถึงปี พ.ศ. 2518 เป็นเวลา 6 ปี เปลี่ยนครูใหญ่เปน็ นายบุญฤทธิ์ วงค์ประเสริฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2518 – 2520 รวมเวลา 2 ปี การจัดการศกึ ษายงั อยใู่ นระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – 7 ปี พ.ศ. 2520 เปลี่ยนครูใหญ่เป็นนายจำลอง นิยมาศ ในปีการศึกษา 2521 ทางโรงเรียนได้ขยายการศึกษาอกี ระดบั คือ ระดับชั้นเด็กเล็ก โดยรับเด็กอายุ 6 ปี บริบูรณ์ เข้าเรียน และในปีการศึกษา 2522 เริ่มรับเด็กอายุ 5 ปี บริบูรณ์เข้าเรียนในระดับชั้นอนุบาล 1 การจัดการศึกษาเป็นไปในระดับก่อนประถมศึกษาและระดับ ประถมศึกษาชน้ั ป. 1 – ป. 6 ปี พ.ศ. 2530 ได้เปลี่ยนผู้บริหารจากนายจำลอง นิยมาศ เป็น นายสว่าง ปันธิ การจัดการศึกษายังดำเนินการอยู่ เหมือนเดิม จนถงึ ปี พ.ศ. 2536 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 1

ปี พ.ศ. 2536 ไดเ้ ปลย่ี นผบู้ รหิ ารจากนายสว่าง ปันธิ เปน็ นายสนุ ทร แสนทวีสขุ ได้นำเอาการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาชนบท (กศ.พช.) เข้ามาผนวกกับการเรียนการสอนในโรงเรียน โดยมีเงินทุนงบประมาณจาก นายสุนทร แสนทวีสุข อาจารย์ใหญ่ให้ยืมเงิน 20,000 บาท ดำเนินการโครงการ กศ.พช. สร้างโรงเรือนเลี้ยงไก่ ซื้อพันธุ์ไก่ และได้ขุด บ่อหลังอาคารเรียนซื้อพันธุ์ปลามาปล่อย และเก็บผลผลิต เช่นไข่ไก่ ปลาส่งเข้าโรงครัวในโครงการอาหาร กลางวันทำอาหารเลี้ยงนกั เรียนทกุ คนในโรงเรยี น ปี พ.ศ. 2537 ทางโรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการ กศ.พช กับทางจังหวัดโดยส่งครูเข้าร่วมอบรมและได้งบประมาณ สนับสนุนจากทางราชการ สำหรับจัดซื้อวัสดุ 40,000 บาท ครุภัณฑ์ 8,000 บาท เป็นทุนดำเนินการ ทาง โรงเรยี นจึงได้ขยายงาน กศ.พช. ออกอีก คอื เพม่ิ การเลีย้ งสุกร การเลยี้ งนกกระทา อกี 2 โครงการ ปี พ.ศ. 2538 ได้เทพื้นคอนกรีตเสริมไม้ไผ่ กว้างประมาณ 15 เมตร ยาวประมาณ 25 เมตร หนา 7 เซนติเมตรโดย ผู้ปกครองสละแรงงาน คิดเป็นเงินประมาณ 35,000บาท เทพื้นคอนกรีตเสริมไม้ไผ่เชื่อมระหว่างอาคารต่างๆ พรอ้ มรวั้ กั้นทางเดินในที่อนั ตรายกวา้ งประมาณ 1 เมตร ยาวประมาณ 70 เมตร หนา 7 เซนตเิ มตร คิดเปน็ เงิน ประมาณ 10,000บาท สร้างห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาจัดหาส่ือทนั สมยั คือโทรทัศน์ เครอื่ งวดิ ีโอ เครอ่ื งเล่นเทป 3 เคร่ือง หูฟัง ครอบศรี ษะ 40 ชดุ เครอ่ื งขยายเสียง 100 วัตต์ พร้อมลำโพง 4 ชุด โตะ๊ มานั่งในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา 40 ชุด ส้ิน เงินประมาณ 55,000 บาท ปี พ.ศ. 2539 ทางโรงเรยี นไดส้ รา้ งถาวรวตั ถุเพมิ่ ข้ึนคอื สรา้ งหอ้ งสมดุ ขนาดกวา้ ง 6 เมตร ยาว 18 เมตร โดยการต่อ เติมพืน้ อาคารชน้ั ล่างใช้ เงนิ ท้ังส้นิ 75,000 บาท สร้างโรงเรอื นสกุ ร ใชง้ บประมาณ 4,000 บาท สร้างเรือนเพาะชำ สิ้นเงิน 3,000 บาท ปรับปรุงหอ้ งปฏิบัติการทางภาษา โดยงบของประชาชนสามารถใชส้ อนนักเรยี นไดส้ ูงถึงครัง้ ละ 40 คน และสามารถบูรณาการสอนในกลุ่มวชิ าตา่ งๆได้เป็นอย่างดี คอื จัดหามา้ นั่งเพิ่มเติมปรบั ปรุง ระบบเสียง ติดตั้ง พัดลมเพดาน 5 ตวั ปูพ้ืนกระเบื้องขนาด 8X8 นว้ิ จำนวน 54 ตารางเมตร ปี พ.ศ. 2540 ไดง้ บประมาณจากทางราชการสร้างห้องปฏิบัตกิ ารทางภาษาพร้อมอุปกรณ์ 20 ชุด 268,700 บาท ได้งบประมาณสรา้ งหอ้ งวิทยาศาสตรพ์ รอ้ มอปุ กรณ์ 264,000 บาท ไดง้ บประมาณสรา้ งห้องคอมพวิ เตอร์ พรอ้ มคอมพวิ เตอร์ 6ชดุ ราคา 402,400 บาทเศษ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 2

ไดร้ บั บรจิ าคเคร่ืองโรเนียว 1 เครื่อง ราคา 26,000 บาท ปี พ.ศ. 2541 สรา้ งห้องน้ำ ห้องสว้ ม 2 ห้อง ติดอาคารเรียนใหน้ กั เรียนอนุบาลและอนุบาล 2 ราคา 20,500 บาท สรา้ งปา้ ยโรงเรียนขนาด 3.50 X 9.00 ตารางเมตร สิน้ เงิน 30,000 บาท วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2541 เปลี่ยนชื่อโรงเรียน จาก โรงเรียนบา้ นสันติวัน เป็นโรงเรยี นอนุบาลสันติ สขุ ตามนโยบายการจดั ตงั้ โรงเรยี นอนุบาลตำบล ของสำนักงานการประถมศกึ ษา จงั หวดั เชยี งราย สร้างศาลาหกเหลี่ยม โดยได้งบประมาณจากการบริจาคของ นายสุนทร แสนทวีสุขอาจารย์ใหญ่ และการบรจิ าคของผูป้ กครอง เป็นจำนวนเงนิ 28,500 บาท สร้างสะพานโค้ง ประตูรัว้ สะพานเชื่อมต่อสะพานลอย โดยใช้งบประมาณจากการบริจาค ของผูป้ กครองนกั เรยี นเปน็ จำนวนเงนิ 14,000 บาท ปี พ.ศ. 2542 ได้รับงบประมาณจากการบริจาคของผู้ปกครอง และคณะครู เป็นเงินจำนวน 100,000 บาท เพ่ือ เตรยี มทำโรงเรยี นเอนกประสงค์ (เลยี้ งหมู, เล้ยี งไก,่ เพาะเห็ดฟาง) ไดร้ ับการบรจิ าค จากโยธาธิการ จงั หวัดเชยี งราย เปน็ อุปกรณ์การตอ่ น้ำทอ่ ประปา และสบู น้ำรวมคิด เปน็ มลู ค่าทง้ั สิ้นจำนวน 60,000 บาท ได้รบั เงินบริจาคจากผู้ปกครอง จดั ทำสนามเดก็ เลน่ เป็นเงินทั้งสิน้ จำนวน 27,000 บาท ได้รับเงินจัดสรรจากทางราชการใหจ้ ัดจดั ทำซ่อมแซมหลังคา บานหน้าต่าง รางน้ำ ไฟฟ้า และบันได ทางขึ้นอาคารไม้ เปน็ เงนิ จำนวน 19,900 บาท ได้รับงบบริจาคจากผู้ปกครองนักเรยี นจัดไถพื้นท่ีเพื่อจัดทำแปลงเกษตรเป็นเงิน 5,000 บาท ไถและ ปรบั พ้นื ที่เพ่ือรองรับกิจกรรมปลูกพืชผกั สวนครวั ของนักเรียน ปี พ.ศ. 2543 สรา้ งสวนหยอ่ มบรเิ วณหน้าอาคารเรยี นไตรราษฎร์ – อปุ ถัมภ์ ปลกู กล้วยพันธ์พุ ระราชทานจำนวน 200 ตน้ ปลูกตน้ สัก จำนวน 200 ต้น ท่บี รเิ วณหลังอาคารเรยี นซึ่งเปน็ ที่ท่ีวา่ งอยู่ สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์ เล้ียงปลาไน ปลานิล และปลาดุก จำนวน 5,000 ตวั เลย้ี งไกพ่ ันธ์ุไข่จำนวน 72 ตัว ปี พ.ศ. 2544 ติดตัง้ เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ต และซ้อื คอมเพิ่มเติมจำนวน 1 ชุด ซ่อมแซมตน้ ไมพ้ ูดได้ ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย สร้างรว้ั รอบบรเิ วณสวนหยอ่ มหน้าอาคารไตรราษฎร์ – รฐั อุปถัมภ์ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 3

จดั ทำถงั ขยะแยกประเภทขยะ จำนวน 10 จดุ ประกาศคณะกรรมการการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย ประชุมครั้งที่ 2/2544 เมื่อ 11 มิถุนายน 2544 ประกาศลงวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2544 ต้งั แต่ 1 สงิ หาคม 2544 ให้เปลย่ี นจาก ชอ่ื โรงเรยี นอนบุ าลสันตสิ ขุ เป็น โรงเรยี นบ้านสันตวิ ัน ปี พ.ศ. 2545 สร้างสว้ ม ข้างอาคารเอนกประสงค์ จำนวน 2 ทีน่ ัง่ สรา้ งกองอำนวยการ อัฒจรรย์ งบจากการทอดผ้าป่าศษิ ย์เกา่ ถมดนิ ปรบั ลวู่ ิ่ง ขนาด 400 เมตร จากงบ อบต.ตำบลสันตสิ ขุ ปรับปรุงภูมิทัศน์ สร้างน้ำตกน้ำพุ บริเวณหน้าห้องชั้นอนุบาล ได้งบจาก อบต. สันติสุข เป็นเงิน 10,000 บาท ปี พ.ศ. 2546 สร้างทสี่ ำหรับเก็บเครือ่ งกรองน้ำ 1 ที่ ดว้ ยงบบริจาคของผู้ปกครองนกั เรียนกับคณะครู ปกู ระเบ้อื งห้องสมุดและห้องพยาบาล 1 ด้วยงบจากการจำหน่ายปลาในโครงการเล้ียงปลาของโรงเรยี น ปี พ.ศ. 2547 นายจำลอง คำปญั โญ มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี น แทน นายสนุ ทร แสนทวีสุข ตดิ ต้ังท่กี รองนำ้ ซ่ึงไดจ้ ากการบริจาคของสโมสรโรตาร่ีพาน สร้างห้องส้วม 4 ที่นั่ง อาคารอเนกประสงค์ ด้วยงบจากผ้าป่าสามัคคีของชมรมกำนัน – ผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพาน และคณะศิษยเ์ กา่ โรงเรียนบ้านสันตวิ นั สร้างประตูโรงเรยี นก่ออิฐ บานประตูเหล็ก ด้วยงบประมาณจากผา้ ป่าคณะครูและผปู้ กครองนักเรียน จำนวนเงิน 30,000 บาท ปี พ.ศ. 2548 13 เมษายน 2548 ใช้งบจากผา้ ป่าคณะศิษย์เกา่ จากบ้านสันปา่ สกั ซ้ือเคร่ืองสบู น้ำบ่อบาดาล และเท พน้ื หนา้ อาคารเรยี น สปช 206/26 ใช้งบจากเงินบำรงุ การศึกษาและงบอุดหนุน จดั ซอ้ื ชุดเครื่องคอมพิวเตอร์(Printer 4 in 1) Laser jet Printer จำนวน 1 เครื่อง ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ปรับปรุงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน พัฒนา ระบบการเรียนทางไกลโดยจานดาวเทียม จากโรงเรียนไกลกังวลหวั หินใหส้ มบรู ณแ์ บบ 10 มถิ ุนายน 2548 คณะครูบรจิ าคเงิน เพือ่ สร้างโรงเก็บรถกึ่งถาวร 5 ช่องจอด เปน็ เงิน 18,000 บาท 1 ตลุ าคม 2548 ทางราชการแต่งตง้ั นายจำลอง คำปัญโญ เป็นผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านสันติวัน 14 พฤศจิกายน 2548 ชมรมกำนัน-ผูใ้ หญ่บ้านอำเภอพาน และคณะศิษย์เก่าพร้อมท้ังประชาชน จัด ผ้าป่าสามัคคีขึ้น และได้นำเงินที่ได้มาสร้างสุขาแบบชาวบ้าน ขนาด 4 ที่นั่งพร้อมที่ปัสสาวะชาย ปูกระเบื้อง แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 4

ขยายประตูทางเข้าโรงเรียน พร้อมท้งั ขยายถนนออกสองกวา้ ง 5 เมตร ยาวตลอดประตูโรงเรียนถึงเสาธงหน้า อาคาร สปช 206/26 30 พฤศจิกายน 2548 จัดพิธีรับมอบเครื่องกรองน้ำสะอาดจากสโมสรโรตารี่พาน โรตารี่กรุงเทพฯ และแอนโรตารี่ มผี ู้มารว่ มงาน 50 คน โดยมนี ายอำเภอพาน และรองผ้อู ำนวยการเขตพนื้ ที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 นายอลงกรณ์ ประสานสขุ เป็นประธานรบั มอบ ปี พ.ศ. 2550 ปรับปรุงภูมิทัศน์ และซ่อมแซมห้องพักครู อาคารชร01/5โดยการทาสี ปูกระเบื้องพื้นห้อง ด้วย งบประมาณจากผ้าปา่ ศิษย์เกา่ ปี พ.ศ. 2551 ซอ่ มแซมอาคารอเนกประสงค์ (โรงอาหาร) ทาสใี หม่ และปพู ื้นกระเบอ้ื ง ดว้ ยงบบำรุงการศึกษา ปี พ.ศ. 2552 ปรับปรุงภูมทิ ัศนร์ อบอาคารเรียน เทคอนกรตี หน้าอาคารเรยี น ชร02/5 พื้นที่ 10 x 30 เมตร ปรบั ปรุง ซอ่ มแซม ถังเกบ็ น้ำ ฝ33 พเิ ศษ 1 ชุด และ ฝ30 1 ชุด ปี พ.ศ. 2553 สรา้ งอัฒจันทร์ สำหรบั ใช้ในงานกีฬากลมุ่ โรงเรยี น ซอ่ มแซมอปุ กรณ์เครื่องเลน่ สนาม และสนามเด็กเลน่ สำหรับนกั เรยี นอนบุ าล ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมหลังคาอาคารไม้ ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมและทาสหี ้องสมดุ โรงเรยี น ปี พ.ศ. 2554 ปพู น้ื กระเบอ้ื งอาคารเรยี น ป1ก ตกึ . ปพู ้นื กระเบอ้ื งใตถ้ ุนอาคารเรียน สปช 206/26 ทาสรี ว้ั โรงเรยี น วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 นายทรงชยั ดาสา มารบั ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นสนั ตวิ ัน แทน นายจำลอง คำปัญโญ ซึ่งเกษยี ณอายุราชการ ปี พ.ศ. 2555 เลยี้ งปลา ปลานิล จำนวน 3,000 ตวั แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 5

ปี พ.ศ. 2557 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557 นายราชัน มานะกิจ ย้ายมารับตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสันติวัน แทน นายทรงชัย ดาสา ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมทาสอี าคารเรยี น แบบ สปช. 105/26 งบดำเนินงาน 302,000 บาท ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมอาคารโรงฝึกงาน (โรงอาหาร) โดยปพู ้นื กระเบื้อง และทาสี ปรับปรงุ ซอ่ มแซมทาสีร้ัวโรงเรยี นและปา้ ยชอื่ โรงเรยี น ปรับปรงุ แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียน ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โรงเรือนเลย้ี งไก่ ,บอ่ เลี้ยงปลา, โรงเรือน เพาะเลี้ยงเห็ด และบอ่ กบ เลี้ยงไกพ่ ันธพ์ ้ืนเมอื ง จำนวน 200 ตวั เลี้ยงปลานลิ จำนวน 2,000 ตวั เลีย้ งปลาหมอ จำนวน 2,000 ตวั เลยี้ งกบ จำนวน 200 ตวั ปี พ.ศ. 2558 ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมห้องบริหาร ปรับปรงุ ซอ่ มแซมทาสอี าคารเรียน ชร 01 ปรับปรุงหอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ จดั กจิ กรรมสถานศกึ ษาพอเพยี ง เลย้ี งไกพ่ นั ธุ์ไข่ 70 ตัว เล้ียงปลาหมอ 2,000 ตัว เล้ยี งกบ 1,000 ตัว เพาะ เห็ดนางฟ้า 2,500 ถุง ปลูกผกั ปลอดสารพษิ และกิจกรรมการออมทรพั ย์ในโรงเรียน ปี พ.ศ. 2559 ปรับปรุงซ่อมแซมระบบไฟฟ้า ปรับปรุงซอ่ มแซมบ้านพักครู ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมห้องนำ้ นกั เรยี น แบบ 5 ท่ีนั่ง ปรับปรงุ ซ่อมแซมประปาโรงเรยี นจากถงั จา่ ยนำ้ โรงเรียนสนั ติวัน ปรบั ปรงุ ซ่อมแซมหลังคากนั สาดหนา้ อาคารเรยี น แบบ สปช. 104/29 จัดกิจกรรมสถานศึกษาพอเพียง เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 70 ตัว เลี้ยงปลาดุก 2,000 ตัว เลี้ยงกบ 1,000 ตัว เพาะ เหด็ นางฟา้ 2,500 ถงุ ปลกู ผักปลอดสารพษิ และกจิ กรรมการออมทรัพยใ์ นโรงเรยี น ปี พ.ศ. 2560 เข้ารว่ มโครงการสถานศกึ ษาสขี าวปลอดยาเสพติดและอบายมุข สร้างหลงั คากันสาดเชื่อมตอ่ อาคารแบบ สปช.104/29 ไปโรงอาหาร ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ัศนห์ น้าอาคารเรียน สร้างโรงเพาะเล้ียงไสเ้ ดือน แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 6

จัดกิจกรรมสถานศึกษาพอเพียง เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ 72 ตัว เลี้ยงปลาหมอเทศ 5,000 ตัว เลี้ยงกบ 1,000 ตัว เพาะเหด็ นางฟา้ 2,000 ถุง ปลูกกะหล่ำในถงุ ดำ 600 ถงุ และกจิ กรรมการออมทรัพยใ์ นโรงเรียน ปี พ.ศ. 2561 - วันที่ 15 พฤษภาคม 2561 นายไชยา วงค์เวียน ยา้ ยมารับตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นสนั ตวิ ัน แทนนายราชนั มานะกิจ และไดด้ ำเนินงานในโรงเรยี นบา้ นสนั ตวิ นั ดงั น้ี - เลี้ยงปลาหมอเทศ 10,000 ตวั - เล้ยี งกบ 1,000 ตวั - เลีย้ งไก่พันธุ์ไข่ 70 ตวั - ปรับปรงุ รวั้ โรงเรยี นใหม่ ทาสรี ัว้ ใหมส่ ีเหลือง ปรบั ปรงุ ภูมิทศั นบ์ รเิ วณหนา้ โรงเรยี น - สร้างฐานพระพุทธรปู ประจำโรงเรยี น - ปรบั ปรงุ ศาลาหกเหล่ียม - ตดิ ตงั้ พัดลมบรเิ วณโรงอาหาร จำนวน 4 เคร่อื ง - เข้าร่วมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ปี พ.ศ. 2562 ขอความอนุเคราะห์พันธ์ปุ ลานิล จากศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตว์นำ้ จืดเชียงราย จำนวน 2,000 ตวั เลยี้ งกบ จำนวน 500 ตวั จดั กจิ กรรมสถานศึกษาพอเพียง เลีย้ งปลานิล 2,000 ตัว เลยี้ งกบ 500 ตัว และเพาะเลี้ยงไสเ้ ดอื น ปรับปรงุ ฐานสวนสมนุ ไพรไทย ปี พ.ศ. 2564 ปรบั ปรุงซ่อมแซมอาคารสิ่งก่อสร้าง หอ้ งพยาบาล งบประมาณ 75,100 บาท ปี พ.ศ. 2565 ปรับปรงุ ลานปนู ซีเมนตห์ นา้ เสาธง งบประมาณ 186,000 บาท งบประมาณปี พ.ศ.2566 งบลงทุน (ครภุ ัณฑ์ ท่ดี ินและสิ่งกอ่ สร้าง) สำหรับโรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 7

โครงสรา้ งการบรหิ าร โรงเรยี นบา้ นสันตวิ ัน ไดแ้ บง่ การบริหารงาน ดังน้ี งานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบุคคล และงาน บรหิ ารท่ัวไป แสดงเป็นแผนภูมไิ ด้ ดงั น้ี แผนภูมทิ ี่ 1 แสดงโครงสรา้ งการบรหิ ารโรงเรียน โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรียนบา้ นสนั ติวัน ท่ปี รึกษาคณะกรรมการ ผู้อำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษา โรงเรยี น ข้นั พืน้ ฐานสถานศึกษา ว่าทร่ี ้อยโทเสกสรรค์ หลักบุญ ด้านการบริหารวชิ าการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบคุ คล ด้านการบริหารท่ัวไป นายอภิสิทธิ์ ขอบขนั คำ นางสาวศรณั ยา วรี ะบตุ ร ว่าที่ร้อยโทเสกสรรค์ หลกั บุญ ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลิต ตำแหน่ง ครู ตำแหน่ง ครู ตำแหนง่ ผอ.รร. อนั ดับ – อนั ดับ คศ. 2 อันดบั คศ. 3 ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ - อันดบั คศ. 2 วทิ ยฐานะ ชำนาญการ วิทยฐานะ ชำนาญาการพเิ ศษพเิ ศษ วิทยฐานะ ชำนาญการ นางสาวอตนิ าถ แก่นเมอื ง นางสาวเบญจมาศ ชัยมณี ตำแหน่ง ครู ตำแหน่ง ครอู ตั ราจา้ ง อนั ดบั คศ. 1 วิทยฐานะ - นางสาววภิ าวรรณ ท้าวกันทา นางสาวชลธิชา ออ่ นคำ นายสง่ ชัย สงู เนิน ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง ตำแหนง่ เจา้ หนา้ ท่ธี ุรการ ตำแหน่ง นักการภารโรง แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 8

ขอบข่ายและภารกจิ การบริหารจัดการศึกษา การบริหารวชิ าการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบคุ คล การบริหารทัว่ ไป การพฒั นาสถานศึกษา การจดั ทาและเสนอขอ การวางแผนอตั รากาลงั และ การดาเนินงานธุรการ งบประมาณ กาหนดตาแหน่ง การพฒั นากระบวน งานเลขานุการแล การเรียนรู้ การจดั สรรงบประมาณ การสรรหาและบรรจุแตง่ ต้งั คณะกรรมการสถานศกึ ษา การเสริมสร้างประสิทธิภาพใน การวดั ผลประเมนิ ผลและเทียบ การตรวจสอบติดตาม งานพฒั นาระบบและ โอนผลการเรียน ประเมนิ ผลรายงานผลการใช้ การปฏิบตั ิราชการ เครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศ เงินและผลการดาเนินการ การวิจยั เพ่ือพฒั นา การระดมทรัพยากรและการ วนิ ยั และรักษาวินยั การประสานงานพฒั นา คณุ ภาพการศึกษา เครือข่ายการศึกษา ลงทนุ เพอื่ การศึกษา การออกจากราชการ การพฒั นานวตั กรรมและ การจดั ระบบงานบริหาร เทคโนโลยที างการศกึ ษา การบริหารเงิน และพฒั นาองคก์ ร การพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ การบริหารบญั ชี งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การนิเทศการศึกษา การบริหารพสั ดุและสินทรัพย์ การส่งเสริมสนบั สนุนดา้ น วชิ าการงบประมาณบุคลากร และบริหารทวั่ ไป การดแู ลอาคารสถานท่ีและ สภาพแวดลอ้ ม การแนะแนวการศกึ ษา การพฒั นาระบบประกันคุณภาพ การจัดสำมะโนครวั ผู้เรยี น การประสานราชการและสว่ นของการศึกษา การศึกษาในสถานศึกษา การรับนักเรียนเข้าศึกษา การจดั ระบบควบคุมในหนว่ ยงาน ส่งเสริมความรู้ดา้ นวิชาการ การส่งเสริมสนับสนุนและประสานงาน การส่งเสริมประสานงานการศกึ ษาใน การศกึ ษาขิงบคุ คลชุมชนองคก์ รหนว่ งงาน การประสานความร่วมมือในการพฒั นา ระบบนอกระบบและตามอัธยาศยั สถาบนั และสงั คมอน่ื ทจ่ี ดั การศึกษา วิชาการกบั สถานศึกษาอ่ืน การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา งานบริการสาธารณะ ส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการแก่บคุ คล งานส่งเสรมิ กิจการนกั เรยี น ครอบครวั องคก์ รหน่วยงานและสถาบันที่ การประชาสัมพันธ์การศึกษา งานท่ไี มไ่ ด้ระบุไวใ้ นงานอนื่ ๆ จัดการศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 9

สภาพทั่วไป โรงเรียนบ้านสันติวัน ตั้งอยู่ เลขที่ 1 ถนนพหลโยธิน หมู่ที่ 1 บ้านดอยชัยมงคล ตำบลสันติสุข อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย ศนู ย์พฒั นาเครือข่ายคุณภาพการศึกษาป่าหุ่งพานสนั ติ สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โทรศัพท์ 053-721070, E-mail : [email protected] โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งสิ้น 33 ไร่ 49 ตารางวา โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ปกติ อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพาน เป็นระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 2 เป็นระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร ในการ เดินทางจะมรี ถโดยสารประจำทางผ่านตลอดเสน้ ทาง สภาพทั่วไปของโรงเรียนมไี ฟฟ้า น้ำประปา และโทรศัพท์ ภายในหมบู่ ้าน สะดวกสบายพอสมควร บรรยากาศของโรงเรยี น โรงเรียนบ้านสันติวันมีพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง บรรยากาศโดยทั่วไปสะอาด อากาศปลอดโปร่ง ไม่เป็น แหล่งมลพิษ เป็นบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีการจัดบริเวณเป็นสัดส่วน มีต้นไม้ให้ความร่มรื่นอยู่บริเวณ รอบๆโรงเรยี น บรเิ วณหน้าอาคารเรียนจดั ตกแตง่ ด้วยไมด้ อกและไม้ประดับอยา่ งสวยงาม มีสนามเดก็ เล่น และ สนามกฬี าทเี่ หมาะกบั การออกกำลังกาย จัดทางสัญจรเป็นระเบยี บและมคี วามปลอดภยั บรเิ วณรอบโรงเรียนมี รัว้ กน้ั แสดงแนวเขตอย่างชัดเจน สะดวกตอ่ การเดินทางเข้ามาตดิ ต่อราชการ และพอเพยี งสำหรบั ผรู้ ับบรกิ าร สภาพชุมชนใกลเ้ คียง โรงเรยี นบา้ นสนั ติวัน ตงั้ อยใู่ นพ้นื ทีห่ ม่บู า้ นดอยชัยมงคล หมู่ 1 ตำบลสนั ตสิ ุข อำเภอพาน จงั หวัด เชียงราย โรงเรียนมีเขตบรกิ าร จำนวน 5 หมูบ่ ้าน ดงั นี้ 1. บา้ นดอยชยั มงคล หม่ทู ่ี 1 ตำบลสนั ติสขุ อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย 2. บ้านปา่ หมุน้ หมทู่ ี่ 2 ตำบลสันตสิ ุข อำเภอพาน จังหวดั เชียงราย 3. บ้านไร่อ้อย หมูท่ ี่ 3 ตำบลสันติสขุ อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย 4. บ้านสันกอเหียง หมทู่ ี่ 4 ตำบลสนั ตสิ ุข อำเภอพาน จังหวัดเชยี งราย 5. บ้านดอยป่าสกั หมทู่ ี่ 7 ตำบลเมอื งพาน อำเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย ชุมชนและสถานที่ใกล้เคียงบริเวณโรงเรียนบ้านสันติวัน อยู่ใกล้กับหน่วยงานราชการหลายแห่ง เช่น โรงเรียน สถานีขนส่งทางบกอำเภอพาน สถานีตำรวจอำเภอพาน ที่ว่าการอำเภอพาน และตลาดอำเภอพาน จึงทำให้การเดนิ ทางมาโรงเรยี นบา้ นสนั ตวิ ัน มีความสะดวกสำหรบั ผปู้ กครองที่มาส่งบตุ รหลาน และได้รบั ความ รว่ มมอื จากชมุ ชนใกล้เคียงเปน็ อย่างดี แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 10

ข้อมูลหน่วยงานราชการ และเอกชนทีส่ ำคัญ ทีต่ ้งั อยู่ในเขตพน้ื ทีบ่ ริการ ที่ หนว่ ยงาน ทีต่ ัง้ โทรศัพท์ 053 - 722238 1 องค์การบริหารสว่ นตำบลสนั ติสุข ตำบลสนั ตสิ ุข 053 - 722784 2 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลสนั ตสิ ขุ ตำบลสันติสขุ ขอ้ มูลอาคารเรียน อาคารประกอบ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 11

ข้อมูลอาคารเรยี น อาคารประกอบ และส่ิงก่อสร้างอ่นื ประจำปีการศึกษา พ.ศ. 2565 ที่ รายการ แบบ จำนวน การใช้งาน แหล่ง สรา้ งเมือ่ สภาพการใช้งาน ดี/พอใช/้ ชำรดุ หอ้ ง/ชน้ั งบประมาณ ปี พ.ศ. พอใช้ 1 อาคารเรยี น ชร 01 4 สอนช้นั อ.1 - 3 สปช. 2521 ดี ป.4 - ป.6 พอใช้ สปช.105/29 5 สอนชั้น ป.1 - 3 สปช. 2533 ดี ป1 ข 5 - หอ้ งจริยธรรม สปช. 2502 ดี ดี - หอ้ งลูกเสือ ดี ดี 2 อาคาร สปช 206/26 1 หอประชุม สปช. 2536 พอใช้ เอนกประสงค์ ชำรดุ สรา้ งเอง 2 บ้านพกั ภารโรง 2533 พอใช้ 3 บ้านพกั ภารโรง องคก์ าร ดี 4 สว้ ม สปช.601 5 ห้องสว้ ม สปช. 2523 สรา้ งเอง 5 โรงอาหาร องคก์ าร 3/90 2 ห้องสว้ ม สปช. 2535 6 ถงั นำ้ ซเี มนต์ กสช. 7 ถงั น้ำซเี มนต์ ป.30 พิเศษ 6 ห้องสว้ ม การบริจาค 2547 8 หอ้ งพยาบาล สรา้ งเอง 1 โรงอาหาร สปช. 2522 3 เกบ็ น้ำ สปช. 2527 4 เก็บนำ้ สปช. 2535 1 ปฐมพยาบาล สพท. 2564 ข้อมูลความขาดแคลนอาคารเรยี น อาคารประกอบ ประจำปีการศึกษา พ.ศ. 2566 ท่ี รายการ แบบ(ท่ีมอี ยู่) ขอ้ มูลความขาดแคลน หมายเหตุ 1 อาคารเรยี น เกณฑ์ควรมี มีอยูแ่ ล้ว ขาดแคลน ชร 01 2 บ้านพกั ภารโรง สปช.105/29 1 1- 3 ส้วม 1 1- ป1 ขไม้ 1 1- 4 โรงอาหาร สร้างเอง 1 1- 5 อาคารเอนกประสงค์ 5 ทนี่ ง่ั 1 1- 2 ทน่ี ั่ง 1 1- 5 ที่นั่ง 1 1- องค์การ3/90 1 1- 206/26 1 1- แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 12

จำนวนนกั เรยี น อัตราย้อนหลงั – กา้ วหน้า 5 ปี ประจำปีการศึกษา พ.ศ. 2564 – 2568 ในปีการศกึ ษา 2565 มีจำนวนนกั เรยี นชาย 19 คน นักเรียนหญิง 29 คน รวมทัง้ หมด 48 คน มขี อ้ มลู ดังน้ี จำนวนนักเรียน ระดบั ชัน้ ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 256 2565 2566 2567 2568 อ.1 2 1 3 5 5 อ.2 1 1 2 4 5 อ.3 4 0 2 5 5 รวมปฐมวัย 7 2 7 14 15 ป.1 8 7 5 8 8 ป.2 5 5 7 6 8 ป.3 8 6 5 7 10 ป.4 12 8 6 5 7 ป.5 8 12 8 6 5 ป.6 15 8 12 10 6 รวมประถม 56 46 40 42 44 รวมทงั้ หมด 63 48 47 56 59 ตาราง จำนวนนักเรยี น ปกี ารศึกษา พ.ศ. 2566 ชน้ั โรงเรียนบา้ นสันติวนั ครปู ระจำชนั้ หมายเหตุ ชาย หญงิ รวม อ.1 5 5 10 นางสาวอตนิ าถ แกน่ เมอื ง 5 5 10 รวม 5 5 10 นางสาววิภาวรรณ ท้าวกนั ทา ป.1 15 15 30 ป.2 5 5 10 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ ป.3 42 6 นายอภิสทิ ธ์ิ ขอบขนั คำ ป.4 23 5 นางสาวเบญจมาศ ชยั มณี ป.5 15 6 นางสาวศรัณยา วีระบุตร ป.6 26 9 รวม 3 10 13 รวมท้ังหมด 17 31 49 32 46 78 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 13

ข้อมูลบุคลากร ในปีการศึกษา พ.ศ. 2566 โรงเรียนมบี คุ ลากรดงั ตอ่ ไปนี้ ข้อมูลจำนวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ประจำปีการศึกษา 2566 บคุ ลากร ผ้บู รหิ าร ข้าราชการ พนักงาน ครูอัตรา นกั การ เจ้าหน้าที่อืน่ ๆ รวม ครู ราชการ จา้ ง ภารโรง 1 10 จำนวน (คน) 1 4 - 31 ท่ี ชอื่ -สกุล ตำแหน่ง วุฒิการศกึ ษา เบอรโ์ ทรศพั ท์ ดำรงตำแหนง่ เมอ่ื 086-1902787 1 ว่าทร่ี อ้ ยโทเสกสรรค์ หลกั บุญ ผูอ้ ำนวยการ -ค.ม. การบรหิ าร 10 ต.ค. 2565 โรงเรียน การศกึ ษา 2 ส.ต.ต.กฤษฎา พรหมปาลติ ครู - ศศ.บ.พัฒนาสังคม 091-7828054 19 พ.ย. 2564 - ศษ.ม. การบริหาร 3 น.ส.ศรัณยา วรี ะบุตร 7 พ.ย. 2565 การศึกษา 4 น.ส.อตนิ าถ แกน่ เมือง 25 ต.ค. 2562 5 นายอภิสทิ ธิ์ ขอบขนั คำ ครู - คบ.ภาษาองั กฤษ 095-8081148 01 ต.ค. 2563 6 น.ส.วภิ าวรรณ ท้าวกันทา - ศษ.ม. การบรหิ าร 01 พ.ค. 2561 7 น.ส.เบญจมาศ ชัยมณี 01 มี.ค. 2566 8 น.ส.ชลธิชา ออ่ นคำ การศึกษา 16 พ.ย. 2561 9 นายสง่ ชัย สูงเนิน 01 พ.ค. 2541 ครู คบ.ปฐมวยั 083-0874426 ครู คบ.ชวี วิทยา 080-1462933 ครูอตั ราจ้าง วท.บ.สถติ ิ 088-2886263 ครูอตั ราจ้าง วท.บ. ชวี วทิ ยา 086-4408697 กศ.บ.ศกึ ษาบัณฑิต เจ้าหน้าท่ี ศศ.บ.ภาษาอังกฤษ 088-2241875 ธุรการ นักการภารโรง ป.7 080-6703316 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 14

ผลการดำเนนิ งานในรอบปีที่ผา่ นมา ดา้ นคุณภาพการจัดการศกึ ษา และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ในปีการศกึ ษา พ.ศ. 2565 การดำเนินงานที่ประสบผลสำเรจ็ ในปกี ารศึกษา พ.ศ.2565 บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องสถานศึกษา ตามวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ และกลยุทธข์ องโรงเรยี นเปน็ ไปในทิศทางที่ดี นา่ พอใจท้ังดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน สภาพภูมิทัศน์ของโรงเรยี น โรงเรียนบ้านสนั ตวิ นั ได้รับเกยี รตบิ ัตรตา่ งๆ ดงั น้ี - ได้รับเกียรติบัตรยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตใิ หเ้ ปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่อื ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และคา่ นิยมของชาติ โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. มคี ณุ ภาพ “ระดับ 1 ดาว” ประจำปีการศึกษา 2564 - ได้รับเกียรติบัตรการประกวดกิจกรรมการพัฒนานวัตกรรมการป้องกันการทุจริตเชิงรุก ด้านการ จัดการศกึ ษา ไดร้ ับรางวัลระดบั คุณภาพ “ดีเยย่ี ม” โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลใน สถานศกึ ษา (โครงการโรงเรียนสจุ รติ ) ประจำปี 2564 - ได้รับเกียรติบัตรการส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ข่าวสารภายใต้โครงการโรงเรียนคุณภาพป ระจำ ตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ) อย่างต่อเนื่อง จากสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน - ได้รับการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2564 - 2568) รอบที่ 4 จากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) สมศ. การศึกษาปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 1) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 จากผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ นออกของผู้เรียน (Reading Test : RT) ปีการศึกษา 2565 ซึ่งทดสอบสมรรถนะ 2 ด้าน คือ ด้านการอ่านออกเสียง และด้านการอ่านรู้เรื่อง ปรากฏผล ดงั นี้ ตาราง เปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2565 ด้าน คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ ระดับประเทศ ของโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ 69.95 72.79 การอา่ นออกเสียง 52.80 70.94 71.38 การอา่ นรเู้ รื่อง 68.40 67.70 รวม 2 ดา้ น 60.60 69.32 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 15

ตารางที่ เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน(Reading Test : RT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 กบั ปีการศึกษา 2565 ด้าน ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ร้อยละของผลตา่ ง ระหวา่ งปกี ารศกึ ษา การอ่านออกเสียง 52.80 70.57 +17.77 การอ่านรเู้ รอ่ื ง 68.40 73.42 +5.02 รวม 2 ดา้ น 60.60 72.00 +11.40 ตารางที่ แสดงผลประเมินความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เปรยี บเทียบผลการประเมินจำแนกตามระดบั ผลปี ผลปี เปรียบเทยี บผลการประเมินจำแนกตามระดบั 64 65 ดา้ น โรงเรียน เขตพนื้ ท่ี จงั หวัด ศกึ ษาธิการ สังกัด ประเทศ ภาค การอา่ นออกเสียง 52.8 70.57 17.77 0.7 -0.98 -0.51 -5.09 -4.19 การอ่านรเู้ รื่อง 68.4 73.42 5.02 1.67 -0.63 -1.72 -3.77 -3.77 รวม 2 ด้าน 60.6 72 11.4 1.18 -0.81 -1.12 -2.14 -3.98 2) ผลการประเมินคุณภาพผูเ้ รยี น (National Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 กบั ปีการศึกษา 2565 ความสามารถ ปกี ารศึกษา 2564 ปีการศกึ ษา 2565 ร้อยละของผลต่าง ระหว่างปกี ารศึกษา ดา้ นภาษาไทย 49.21 58.66 +9.45 ด้านคณติ ศาสตร์ 43.57 55.00 +11.43 เฉลย่ี ทง้ั 2 ด้าน 46.39 56.83 +10.44 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 16

3) ผลสัมฤทธทิ์ างการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พ้นื ฐาน (Ordinary National Educational Test) ตาราง ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 (O-NET) เปรยี บเทยี บผลตา่ งระหวา่ งค่าเฉลย่ี ของเขตพนื้ ทีแ่ ละคา่ เฉล่ียระดับประเทศ O-NET คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลี่ย รายวชิ า ปกี ารศกึ ษา 2564 ปีการศกึ ษา 2565 ผลตา่ ง 2564และ2565 ภาษาไทย 60.67 63.11 2.44 ภาษาองั กฤษ 37.02 34.94 -2.08 คณติ ศาสตร์ 39.72 20.32 -19.40 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 29.04 36.36 7.32 41.61 38.68 -2.93 รวมเฉลี่ย ตาราง ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) เปรยี บเทียบผลต่างระหว่างคา่ เฉลยี่ ของเขตพ้ืนท่แี ละค่าเฉลยี่ ระดับประเทศ O-NET รายวิชา คะแนนเฉลีย่ หมายเหตุ ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพนื้ ที่ สพฐ. ระดับประเทศ ภาษาไทย 63.11 55.00 52.80 53.89 ภาษาอังกฤษ 34.94 36.91 38.60 37.62 คณติ ศาสตร์ 20.32 37.3 29.00 28.06 วิทยาศาสตร์และ 36.36 35.29 40.61 39.34 เทคโนโลยี เฉล่ีย 38.68 41.13 40.25 39.73 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 17

ตาราง ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศกึ ษา (องค์การมหาชน) รายละเอียดดังน้ี การศกึ ษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก จดุ เน้น เดก็ มพี ัฒนาการทด่ี ี มคี วามร้คู ่คู ุณธรรม ผลการพิจารณา ตัวชี้วัด สรปุ ผลประเมิน  1. มีการระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย ระดับคุณภาพ ดี 2. มีการระบุวธิ พี ัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวยั อยา่ งเป็นระบบตาม (มี 5 ข้อ)  เปา้ หมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย  3. มพี ฒั นาการสมวัยตามเปา้ หมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย  4. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของเด็กปฐมวยั มาพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ให้ มพี ฒั นาการสมวัย  5. มีการนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของเด็กปฐมวยั ตอ่ ผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ ง ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงข้ึน สถานศึกษาควรระบขุ ้อมูลเพิ่มเติมใน SAR รายละเอยี ดของการบริหารคุณภาพเด็กปฐมวยั เชน่ มีการ ระบุ ถึงจุดเน้น เป้าหมายคุณภาพเด็กให้ชัดเจน ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด รวมถึงการระบุถึงปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย แผนปฏิบัติการประจำปี โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกบั การพัฒนาการ ของเด็ก กระบวนการดำเนินงานตามแผนงาน เป็นต้น และข้อมูลระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยตาม เป้าหมายการ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และการนำผลประเมินคุณภาพชองเด็กปฐมวัยมาพฒั นา การนำเสนอผลการ ประเมินคุณภาพของ เด็กปฐมวัยตอ่ ผู้ท่เี ก่ยี วข้อง เช่น ครไู ดส้ งั เกตการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของเด็ก พัฒนาการของ เดก็ เมอ่ื ร่วมกิจกรรม เชน่ กิจกรรมเล่นตามมุม โครงการทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้ กิจกรรมประจำวนั 6 กิจกรรม หลัก เพื่อทราบถึงความสนใจ ความต้องการ ปัญหา และพัฒนาการของเด็กแต่ละคน และส่งเสริมเด็กที่มี ความสามารถในด้านที่เด็กสนใจ ชอบ แสดงออก มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง เพื่อนำผล ประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการของเด็ก และให้ความช่วยเหลือเด็ก โดยจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี โครงการ/กิจกรรม เช่น โครงการส่งเสริมความสามารถเด็ก กิจกรรมแข่งขันทางวิชาการ เป็นต้น สามารถนำ ผลงานจากพฒั นาการของเด็กทโ่ี ดดเด่น การแสดงออกทาง ความสามารถส่วนตวั ทเ่ี ด็กภาคภูมิใจ นำเผยแพร่สู่ สถานศึกษา องค์กรอื่น หรือสาธารณชน โดยใช้ช่องทางสื่อ สารสนเทศ เทคโนโลยี สามารถพัฒนาผลงานเป็น แบบอย่างที่ดีได้ต่อไป เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่าน SAR เห็นอย่างชัดเจนว่าสถานศึกษาได้ดำเนินการอย่างเป็น รูปธรรมยิ่งข้นึ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 18

การศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จุดเนน้ การบริหารและการจดั การศกึ ษาโดยทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ัด สรปุ ผลประเมนิ ระดับคุณภาพ ดี  1. มกี ารวางแผนการดำเนนิ การในแตล่ ะปีการศึกษา  2. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใช้ดำเนินการ (มี 5 ข้อ)  3. มกี ารประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน 4. มกี ารนำผลการประเมินฯ ไปใชใ้ นการปรับปรุงแกไ้ ข ในปีการศึกษา  ตอ่ ไป 5. มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาให้ผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี  ไดร้ ับทราบ ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมให้ชัดเจนเกี่ยวกับการระดมสมองเพื่อการวางแผน เน้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น จัดประชุมสัมมนาผู้ปกครอง สร้างภาคีเครือข่ายร่วมกัน การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างรอบด้าน เป็นต้น และการระบุ ข้อมูลรายละเอียดการมีส่วนร่วมมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย เช่น การกำหนดเป้าหมายการจัดการศึกษา การจัด กิจกรรมผู้ปกครองจิตอาสา การพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ สถานที่จัดกิจกรรมที่เน้นความปลอดภัย เป็นต้น และการนำเสนอข้อมูลด้านการสำรวจข้อมูลสภาพปัญหา ความต้องการ เพื่อพัฒนาประสบการณ์การ เรียนรู้ของเด็กให้สอดคล้องกับการใช้ชีวิตประจำวันอย่างเต็มศักยภาพของบุคคล เช่น แบบประเมินความพึง พอใจ แบบสอบถาม แบบสำรวจปัญหาและความตอ้ งการ เป็นต้น และการส่งเสริมและพัฒนาครูปฐมวยั เชน่ การพัฒนากระบวนการ PLC (ชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ) เพื่อการออกแบบมาพัฒนาวิธีการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็ก การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ให้เต็มศักยภาพของเด็กแต่ ละคนโดยส่งเสริมให้เป็น Best Practice สำหรับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม เพื่อการ พัฒนาสู่นวัตกรรมและเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่าน SAR เห็นอย่างชัดเจนว่าสถานศึกษาได้ ดำเนินการอยา่ งเป็นรปู ธรรมยิง่ ข้นึ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 19

การศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั จดุ เน้น ครจู ดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบคุ คล ผลการพิจารณา ตวั ช้วี ดั สรปุ ผลประเมนิ  1. ครมู กี ารวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายปี ครบทกุ ระดบั คณุ ภาพ ดี หนว่ ยการเรยี นรู้ทุกชัน้ ปี (มี 5 ข้อ) 2. ครทู ุกคนมีการนำแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ไปใชใ้ นการ  จัดประสบการณโ์ ดยใช้ส่อื เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่งเรยี นรูท้ ี่ เออ้ื ต่อการเรียนรู้ 3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจดั ประสบการณ์ อย่างเป็น  ระบบ 4. มกี ารนำผลการประเมินมาพัฒนาการจดั ประสบการณ์ ของครู  อย่างเปน็ ระบบ 5. มีการแลกเปลย่ี นเรียนร้แู ละใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพื่อ พัฒนาปรบั ปรุง  การจัดการเรยี นการสอน ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดบั สงู ขึ้น สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมใน SAR รายละเอียดของการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคญั เช่น ครูศึกษาหลักสูตรปฐมวัย เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นพัฒนาการของเด็ก เป็นต้น และครูนำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ไปใช้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ มีการตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดประสบการณ์อยา่ งเป็นระบบ เชน่ การจดั ประสบการณ์มุ่งผลสัมฤทธ์ิที่ ดี ที่เกิดขึ้นกับเดก็ ส่งเสริมให้เด็กไดม้ ีโอกาสใช้แหล่งเรียนรูใ้ ห้มากขึน้ และส่งเสริมใหผ้ ู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งเข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม จัดให้มีการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศให้เหมาะสมกับการใช้งาน ครูเข้ารับ การพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัด เข้าร่วมโครงการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน การใช้นวัตกรรมแก้ปัญหา เด็ก โครงการพัฒนาบุคลากรสู่ความเป็นเลศิ ทางการศึกษา เพื่อให้ครูมีความเชี่ยวชาญในการจดั ประสบการณ์ การนำผลจากการประเมินท้ังจากสภาพจริงวางแผนการจัดโครงการ/กจิ กรรมท่ีเหมาะสมกับศกั ยภาพของเด็ก และสถานศกึ ษามีการนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจัดประสบการณ์ครมู ีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และให้ข้อมูล ป้อนกลับ เพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์ เช่น ครูนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรบั ปรุง พัฒนาการจัด ประสบการณ์ โดยใช้เคร่อื งมือและวิธีการที่หลากหลาย ครจู ดั ทำรายงานการวิจัยช้ันเรียนในเรื่องท่ีค้นพบ เช่น การแกป้ ัญหาเดก็ มพี ฤติกรรม กา้ วร้าว สามารถนำผลงานที่โดดเด่น ภาคภมู ิใจของครูนำเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยใช้สื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ จนพัฒนาผลงานเป็นแบบอย่างที่ดี มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม เครือข่าย สถานศึกษา หรือองค์กรอื่น เพื่อนำความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพที่ได้รับมาพัฒนางานอยู่เสมอ เป็นตน้ ท้งั นีเ้ พอ่ื ให้ผอู้ ่าน SAR เหน็ อย่าง ชัดเจนวา่ สถานศึกษาได้ดำเนินการอย่างเปน็ รปู ธรรมยิ่งข้นึ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 20

การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน จดุ เนน้ ผูเ้ รยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สตู ร ผลการพิจารณา ตัวช้วี ดั สรปุ ผลประเมนิ  1. มีการระบเุ ป้าหมายคุณภาพของผเู้ รยี น ระดบั คณุ ภาพ ดี  2. มีการระบวุ ธิ ีพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ ตาม  เปา้ หมายการพัฒนาผ้เู รียน (มี 5 ข้อ)  3. มผี ลสัมฤทธิ์ของผเู้ รียนตามเป้าหมายการพัฒนาผู้เรยี น  4. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของผเู้ รยี นมาพัฒนา ผู้เรียนด้าน ผลสมั ฤทธ์ิให้สูงขึน้ 5. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผู้เรียนตอ่ ผูท้ ่ีเกยี่ วขอ้ ง ขอ้ เสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงข้ึน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลเพิ่มเติมใน SAR เกี่ยวกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการ ประเมินด้านต่าง ๆ ที่มีผลการพัฒนา ไม่เป็นไปตามแผนงานที่กำหนดเป้าหมายไว้ โดยการจัดทำโครงการ/ กิจกรรมในการพัฒนาผูเ้ รียนท่ีอาศัยความรว่ มมือจากผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เชน่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ และชุมชน มาสนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น จัดโครงการเสรมิ ทักษะ ด้านวิทยาศาสตร์ (กิจกรรม SCI Show กิจกรรม STEM Showcase) หรือ จัดค่ายวิชาการ เป็นต้น มีการจัด กจิ กรรม/โครงการท่ีเป็นการพัฒนาผู้เรียนใหห้ ลากหลาย เพือ่ พัฒนาผู้เรยี นให้รอบด้านมากขึน้ เช่น กจิ กรรมฝกึ ทักษะด้านคณิตศาสตร์ โดยท่องสูตรคูณประกอบท่าเต้น หรือ กิจกรรม A-Math เป็นต้น และนำเสนอผลการ ประเมิน เผยแพร่ต่อสาธารณะชนโดยใช้ช่องทางสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างหลากหลาย ทั้งรูปแบบ ออนไลน์ และเอกสาร เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่าน SAR เห็นอย่างชัดเจนว่าสถานศึกษาได้ดำเนินการอย่างเป็น รปู ธรรมย่งิ ข้นึ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 21

การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จดุ เนน้ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาโดยทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม ผลการพิจารณา ตวั ชีว้ ดั สรปุ ผลประเมิน ระดบั คุณภาพ ดี  1. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปีการศึกษา (มี 5 ข้อ)  2. มีการนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนินการ  3. มีการประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องการดำเนินการตามแผน  4. มกี ารนำผลการประเมินฯ ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงแกไ้ ข ในปีการศกึ ษา ตอ่ ไป  5. มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้ผู้มีส่วนไดส้ ่วน เสยี ได้รบั ทราบ ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดบั สูงข้ึน สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมให้ชัดเจนเกี่ยวกับการระดมสมองจากผู้มีส่วนร่วม เพื่อการวางแผนการจดั การศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ เช่น จัดการประชุมสัมมนาผู้ปกครอง การพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ การพัฒนา อาคารสถานที่ และการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนตามหลักสูตร ของสถานศึกษา เปน็ ต้น และข้อมูลการทำความเข้าใจในนโยบายของหน่วยงานตน้ สงั กดั เชน่ การวเิ คราะห์หา แนวทางในการพัฒนา วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลในการจัดการศึกษาหาจุดแข็ง จุดอ่อน กำหนดเป็นเป้าหมายในการพัฒนา จัดทำโครงการ/กิจกรรมพัฒนาในแต่ละมาตรฐานให้ชัดเจน และระบุการ ประเมินผลจากการกำหนดเป้าหมายตัวบ่งชีย้ ่อยที่กำหนดเป้าหมายในการดำเนนิ งานที่มีผลบรรลเุ ป้าหมายไว้ ทุกตัวบ่งชี้ในแต่ละมาตรฐาน เช่น การมีระบบบริหาร จัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการกำหนดเป้าหมาย คือ ดีเลิศ และจะต้องมีข้อปฏิบัติได้กี่ข้อ อะไรบ้าง เป็นต้น และมีการนำเสนอข้อมูลการบริหารงานตาม กระบวนการวงจรคุณภาพ PDCA และแนวทางที่ต้องพัฒนาให้สูงขึ้น เช่น กระบวนการมีส่วนร่วมในการ วางแผน ปัญหา อุปสรรคระหว่างดำเนนิ การตามแผนงานและโครงการ และผลสำเร็จท่ีคาดหวงั ตามเป้าหมาย ที่กำหนด เป็นต้น และการระบุผลงานที่ภาคภูมิใจในภาคผนวก เช่น วุฒิบัตร ประกาศนียบัตร ภาพกิจกรรม เป็นต้น ทง้ั นเี้ พอ่ื ใหผ้ อู้ ่าน SAR เห็นอย่างชดั เจนวา่ สถานศึกษาไดด้ ำเนินการอย่าง เปน็ รูปธรรมยงิ่ ขน้ึ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 22

การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 3 การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ จุดเน้น การจดั การเรยี นการสอนให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม ผลการพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลประเมนิ  1. ครมู ีการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ครบทกุ รายวิชา ทุกชั้นปี ระดับคณุ ภาพ ดี  2. ครทู กุ คนมกี ารนำแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใชใ้ นการ จดั การ เรยี นการสอนโดยใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ี (มี 5 ข้อ)  เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ ระดบั คุณภาพ ดี  3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรยี นการ สอน  อย่างเปน็ ระบบ (มี 5 ข้อ) 4. มีการนำผลการประเมินมาพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ของครอู ยา่ งเปน็ ระบบ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อ พัฒนา ปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอน ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สูงข้ึน สถานศกึ ษาควรระบุข้อมลู ใน SAR เพมิ่ เตมิ ให้ชดั เจน เก่ยี วกบั การสง่ เสริมให้ครมู ีการจัดทำบันทึกหลัง สอน และเครื่องมือสำหรับการประเมินหลังการสอนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น และระบุวิธีการดำเนินการให้มีความ ชัดเจนในด้านการพัฒนาครู เช่น มีการประชุม อบรม สัมมนาในเรื่องการใช้สื่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ การจัดทำ สื่อการเรียนการสอนด้าน IT ที่ดำเนินการจากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ในด้านนี้โดยเฉพาะ รวมทั้งการใช้ เครื่องมือในการวัดผล ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ให้มากขึ้น รวมทั้ง รายงานผลการ ดำเนินการตามแผนอยา่ งต่อเนื่อง เป็นต้น สนับสนุนใหค้ รไู ด้นำผลประเมินมาวิเคราะห์ถึงสาเหตุ และปัญหาที่ เกิดขึ้น เพื่อนำมาดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรร รมพัฒนาการเรียนการสอน เช่น การจัดการเรียนการสอน โดยใช้โครงงานเป็นฐานทุกกลุ่มสาระ เป็นต้น ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อ พฒั นาปรบั ปรุงการจดั การเรียนการสอน มกี ารขยายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ระหว่างครูและผเู้ กย่ี วข้อง เช่น ภายในกลุ่มสาระ/ระดับชั้น และภายในกลุ่มโรงเรียน เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่าน SAR เห็นอย่างชัดเจนวา่ สถานศกึ ษาไดด้ ำเนนิ การอยา่ งเปน็ รปู ธรรมย่งิ ขนึ้ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 23

ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม สถานศึกษาควรแยกประเมินตนเองในแต่ละช่วงชั้น เช่น แยกประเมินเป็นช่วงชั้นที่ 1 (ป.1-ป.3) ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-ป.6) ซึ่งจะทำให้มีสรุปข้อมูลในเชิงลึกของแต่ละช่วงชั้นได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และสรุปข้อมูล กิจกรรม/โครงการท่ีมีการพฒั นาอย่างต่อเน่ืองอยา่ งน้อย 3 ปี ให้ชัดเจนย่ิงข้ึน เป็นตน้ สถานศึกษาควรดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน โดยระบขุ ้อความหรอื ข้อมลู เพม่ิ เตมิ ในบทสรุปผูบ้ ริหารทีแ่ สดงถึงผลการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐานให้ชัดเจน หลกั ฐาน สนับสนุนผลการดำเนนิ งานที่นา่ เชอ่ื ถือ ข้อมลู ผสู้ ำเร็จการศกึ ษา พร้อมท้งั แนวทางแผนพัฒนาเพ่ือให้ ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการกำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติของการดำเนินงานทั้งด้าน การบริหารและด้านครูผู้สอน ควรใช้เครื่องมือการประเมินที่สอดคล้องกับการดำเนินงานทั้งปริมาณ และด้าน คุณภาพให้เหมาะสม มากกว่าเดิม นอกจากนี้อาจจะเพิ่มเติมร่องรอยหลักฐานของการปฏิบัติงาน เช่น การ จัดทำลิงก์ หรือ QR Code ท่ี เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของการสรุปการปฏิบัติงานแต่ละโครงการที่นำมาอ้างอิง ในแต่ละมาตรฐาน การจดั ทำเวบ็ ไซต์ หรอื เฟซบุก๊ ของสถานศึกษา สถานศึกษาควรระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ครไู ด้มสี ่ือดา้ นเทคโนโลยีที่ทันสมยั เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ รวมทั้ง การใช้เครื่องมือในการเรียนการสอนออนไลน์ เช่น Microsoft Team ,Google Hangouts Meet, Zoom Cloud Meetings, Google Classroom หรือ Facebook live ข้นึ อยู่กบั บริบทของโรงเรียน เป็นต้น รวมทั้งการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน โครงการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน ที่มีฐานการเรียนรู้ 9 ฐานการเรียนรู้ (ฐานเพาะเห็ด ฐานกบ ฐานไข่ไก่ ฐานปลูกผัก ฐาน ไส้เดือน ฐานการเลยี้ งปลา) โดยการเพ่มิ มลู คา่ ผลผลติ เชน่ การบรรจุหบี หอ่ (Packaging) การแปรรูป เพื่อเป็น การสรา้ งรายได้ระหว่างเรียน และไปสู่การเป็นแบบอย่างท่ดี หี รือนวัตกรรมนำเผยแพรส่ ่สู าธารณชนไดเ้ ปน็ ต้น แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 24

ผลงานดเี ด่นในรอบปกี ารศึกษา 2565 ตารางที่ 6 แสดงผลงานดีเด่นในรอบปกี ารศกึ ษา 2565 ประเภท ช่อื รางวัลทีไ่ ด้รบั หน่วยงานทีม่ อบรางวัล สำนักงานเขตพืน้ ที่ สถานศึกษา เกียรติบตั ร โรงเรียนบา้ นสนั ติวัน ไดร้ บั การศึกษาประถมศึกษา รางวลั ระดับคุณภาพ \"ดมี าก\" การ เชยี งราย เขต2 ประกวด กิจกรรมบริษัทสร้างการดี สูว่ ถิ ี สำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษา พอเพยี ง (บริษทั สรา้ งการดี 4.1) โครงการ เชียงราย เขต2 เสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรม ศนู ยพ์ ฒั นาการศึกษา มาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียน ปา่ หุ่ง พานสนั ติ สจุ รติ ) ประจำปี 2565 ศูนยพ์ ฒั นาการศึกษา ป่าหงุ่ พานสันติ ครู นายอภิสิทธิ์ ขอบขันคำ 1. เกยี รตบิ ัตร นายอภสิ ทิ ธิ์ ขอบขนั คำ ได้รบั รางวัล ระดบั คุณภาพ \"ดีมาก\" การ ประกวดส่ือสรา้ งสรรค์ สร้างค่านยิ ม ซื่อสตั ยส์ จุ รติ ใหส้ ังคม ประเภท Infographic โครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมมาภิบาลใน สถานศึกษา(โครงการโรงเรยี นสจุ ริต) ประจำปี 2565 2. ครูผ้สู อนนกั เรียน ไดร้ ับรางวัลระดับ รองชนะเลิศอนั ดบั ที่ 2 ระดับศนู ยฯ์ การ ประกวดมารยาทไทย ป.1-ป.3 ครั้งท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 3. ครผู สู้ อนนักเรยี น ไดร้ ับรางวัลระดับ รองชนะเลิศอนั ดบั ที่ 1 ระดบั ศนู ยฯ์ การ แข่งขันตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ป.1-ป.6 คร้งั ท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 25

ประเภท ช่ือรางวัลที่ไดร้ ับ หน่วยงานทม่ี อบรางวลั น.ส.ชลธชิ า อ่อนคำ 4. ครผู ้สู อนนักเรียน ได้รบั รางวลั ระดับ ศูนย์พฒั นาการศึกษา รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 ระดบั ศูนยฯ์ การ นางสาวอตนิ าถ แกน่ เมือง แข่งขันการผกู เง่ือน เดนิ ทรงตัวและโยน ป่าหุ่ง พานสันติ บอล ป.1-ป.3ครัง้ ที่ 70 ประจำปี การศกึ ษา 2565 ศนู ย์พัฒนาการศึกษา 1. ครผู สู้ อนนกั เรียน ได้รบั รางวัลระดับ ป่าหุง่ พานสนั ติ รองชนะเลิศอนั ดับท่ี 2 ระดับศูนยฯ์ การ แขง่ ขันเรยี งร้อยถ้อยความ (การเขียน ศนู ย์พฒั นาการศึกษา เรยี งความ) ป.4-ป.6 ครงั้ ที่ 70 ประจำปี ป่าหุ่ง พานสนั ติ การศึกษา 2565 2. ครผู ู้สอนนักเรียน ได้รบั รางวัลระดบั ศนู ยพ์ ัฒนาการศึกษา รองชนะเลศิ อันดับท่ี 2 ระดบั ศูนยฯ์ การ ปา่ หงุ่ พานสันติ ประกวดมารยาทไทย ป.1-ป.3 ครง้ั ท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 สำนักงานเขตพืน้ ท่ี 3. ครผู ู้สอนนกั เรียน ได้รับรางวัลระดับ การศกึ ษาประถมศกึ ษา รองชนะเลิศอันดับท่ี 1 ระดบั ศูนย์ฯ การ แขง่ ขนั การวาดภาพระบายสี ป.4-ป.6 เชียงราย เขต2 คร้ังท่ี 70 ประจำปีการศึกษา 2565 1. ครูผสู้ อนนักเรียน ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรียญทองแดง กจิ กรรม การแข่งขนั คัด ลายมือส่อื ภาษาไทย ระดับช้ัน ป.1 - ป.3 งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับเขตพืน้ ที่ การศกึ ษา ครง้ั ที่ 70 ประจำปีการศึกษา 2565 \"อนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณี เทคโนโลยีทันสมัย ศิลปหตั ถกรรมกา้ วล้ำ โลก นำภูมิปญั ญาไทยสสู่ ากล\" แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 26

ประเภท ชอื่ รางวัลทีไ่ ดร้ บั หนว่ ยงานท่ีมอบรางวัล นางสาววิภาวรรณ ทา้ วกนั ทา 2. ครูผสู้ อนนกั เรียน ได้รับรางวัลระดับ ศนู ย์พัฒนาการศึกษา ส.ต.ต. กฤษฎา พรหมปาลิต ชนะเลิศ กิจกรรม การแข่งขันคัดลายมือ สื่อภาษาไทย ระดบั ช้ัน ป.1 - ป.3 งาน ปา่ หงุ่ พานสันติ ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นระดบั เขตพน้ื ที่ การศกึ ษา ครง้ั ท่ี 70 ประจำปีการศึกษา ศนู ย์พัฒนาการศึกษา 2565 ป่าหุ่ง พานสนั ติ 3. ครผู สู้ อนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวัลระดบั รองชนะเลิศอันดับท่ี 2 ระดบั ศนู ยฯ์ การ ศูนยพ์ ฒั นาการศึกษา แข่งขนั คัดลายมือส่ือภาษาไทย ป.4-ป.6 ป่าห่งุ พานสันติ ครั้งท่ี 70 ประจำปกี ารศึกษา 2565 1. ครูผูส้ อนนักเรียน ได้รับรางวลั ระดับ ศูนยพ์ ฒั นาการศึกษา รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 2 ระดบั ศนู ย์ฯ การ ปา่ หุ่ง พานสนั ติ ประกวดมารยาทไทย ป.1-ป.3 ครัง้ ที่ 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 ศนู ย์พฒั นาการศึกษา 2. ครผู ู้สอนนกั เรยี น ได้รบั รางวัลระดับ ปา่ หุ่ง พานสนั ติ รองชนะเลศิ อันดับที่ 2 ระดับศนู ย์ฯ การ ประกวดมารยาทไทย ป.1-ป.3 ครงั้ ท่ี 70 ศนู ย์พัฒนาการศึกษา ประจำปีการศกึ ษา 2565 ป่าหุ่ง พานสนั ติ 1. ครูผสู้ อนนักเรยี น ได้รบั รางวลั ระดบั รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 1 ระดับศนู ยฯ์ การ แข่งขนั ตอบปญั หาสุขศึกษาและพลศึกษา ป.1-ป.6 ครง้ั ท่ี 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 2. ครผู สู้ อนนักเรียน ไดร้ ับรางวลั ระดบั รองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 1 ระดับศูนยฯ์ การ แข่งขนั การวาดภาพระบายสี ป.1-ป.3 ครง้ั ที่ 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 27

ประเภท ช่อื รางวัลทีไ่ ดร้ ับ หน่วยงานทม่ี อบรางวัล ศนู ยพ์ ฒั นาการศึกษา 3. ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รับรางวลั ระดบั ปา่ หุ่ง พานสันติ รองชนะเลศิ อันดบั ที่ 1 ระดับศูนย์ฯ การ ศนู ย์พฒั นาการศึกษา แข่งขนั การผูกเงื่อน เดนิ ทรงตัวและโยน ป่าหุง่ พานสันติ บอล ป.1-ป.3ครง้ั ท่ี 70 ประจำปี ศนู ยพ์ ัฒนาการศึกษา ปา่ หงุ่ พานสนั ติ การศกึ ษา 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ที่ นางสาวศรัณยา วรี ะบุตร 1. ครูผสู้ อนนักเรยี น ได้รบั รางวัลระดับ การศึกษาประถมศึกษา รองชนะเลิศอันดับท่ี 1 ระดบั ศนู ย์ฯ การ เชียงราย เขต 2 แขง่ ขันการผกู เง่ือน เดินทรงตัวและโยน ศูนยพ์ ัฒนาการศึกษา ป่าหุ่ง พานสนั ติ บอล ป.1-ป.3ครัง้ ท่ี 70 ประจำปี การศกึ ษา 2565 นกั เรยี น เด็กหญิงปรียภัสสรา กุณาเลย 1. ชนะเลิศ เหรียญทอง การแข่งขัน คดั ลายมือสื่อภาษาไทย ป.1-ป.3 งาน ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครง้ั ที่ 70 ระดับ ศนู ยฯ์ ปีการศึกษา 2565 2. รางวลั ระดบั เหรียญทองแดง กิจกรรม การแขง่ ขนั คดั ลายมือส่ือ ภาษาไทย ระดบั ชนั้ ป.1 - ป.3 งาน ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนระดับเขตพืน้ ที่ การศกึ ษา คร้ังท่ี 70 ประจำปีการศกึ ษา 2565 \"อนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณี เทคโนโลยที ันสมยั ศิลปหตั ถกรรมก้าวลำ้ โลก นำภมู ปิ ัญญาไทยสู่สากล\" เดก็ ชายธรรมกฤต เทียนสวัสด์ิ รองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 2 เหรยี ญทอง การ แข่งขนั คัดลายมือสอื่ ภาษาไทย ป.4-ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี 70 ระดบั ศูนยฯ์ ปีการศึกษา 2565 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 28

ประเภท ชอื่ รางวัลท่ไี ดร้ ับ หนว่ ยงานท่มี อบรางวัล เด็กชายธญั ภทั ร กันยาสาย รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 2 เหรียญทอง การ ศนู ยพ์ ัฒนาการศึกษา เดก็ หญงิ พัชรมัย คณุ ธรใจ ประกวดมารยาทไทย ป.1-ป.3 งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี 70 ระดบั ป่าหงุ่ พานสนั ติ เด็กหญงิ ฐติ ิพร ครบู า ศูนย์ฯ ปีการศึกษา 2565 เดก็ ชายศุภชัย วชิ า รองชนะเลิศอันดบั ท่ี 1 เหรยี ญทอง การ ศูนย์พฒั นาการศึกษา ประกวดมารยาทไทย ป.4-ป.6 งาน ปา่ หุ่ง พานสันติ เดก็ หญงิ กญั ญาพชั ร์ พมิ พิศาล ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังท่ี 70 ระดบั เด็กหญิงพลอยไพลิน คำกันทา ศูนยฯ์ ปกี ารศึกษา 2565 ศนู ย์พฒั นาการศึกษา รองชนะเลิศอนั ดับที่ 1 เหรียญทอง การ ปา่ ห่งุ พานสันติ เด็กหญงิ ชัชญาณิช กันคำ แขง่ ขนั ตอบปญั หาสุขศึกษาและพลศึกษา ป.1-ป.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครงั้ ที่ ศูนยพ์ ฒั นาการศึกษา เด็กหญิงบูสึ โวย่ แม้ 70 ระดบั ศนู ย์ฯ ปกี ารศึกษา 2565 ปา่ หงุ่ พานสนั ติ รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 เหรียญทอง การ เดก็ หญิง อัญญา พลู สง แข่งขนั การวาดภาพระบายสี ป.1-ป.3 6 ศูนย์พฒั นาการศึกษา งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ 70 ป่าหุ่ง พานสันติ เด็กหญงิ กานต์ธิดา พาณชิ ย์พฒั นกิจ ระดบั ศนู ย์ฯ ปีการศึกษา 2565 เหรยี ญทอง การแข่งขันการวาดภาพ ศนู ยพ์ ฒั นาการศึกษา เด็กชายคณนิ ประเสริฐ ระบายสี ป.4-ป.6 งานศิลปหตั ถกรรม ป่าห่งุ พานสนั ติ เด็กหญงิ ชนัฐปภา กันคำ นักเรียนครัง้ ที่ 70 ระดับศูนย์ฯ ปี เด็กหญิงนารี เยลึ การศกึ ษา 2565 เด็กหญิงเมธาพร เดชฤาษี อันดับรองชนะเลิศอนั ดับท่ี 1 การแข่งขนั การผูกเงื่อน เดินทรงตัวและโยนบอล ป.1- ป.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครัง้ ที่ 70 ระดบั ศูนย์ฯ ปีการศึกษา 2565 แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 29

ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก (SWOT Analysis) โรงเรียนบา้ นสันตวิ ัน มีภารกจิ ในการจัดการศกึ ษา ๒ ระดับ ไดแ้ ก่ระดับการศึกษาปฐมวัย และ ระดบั ประถมศกึ ษา จากการศึกษาถึงปัจจยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาการศึกษา ด้วยการวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ ม ภายนอก ๔ ดา้ น คือ ด้านสังคมและวฒั นธรรม ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นเศรษฐกจิ และด้านการเมือง และกฎหมาย (STEP) ส่วนสภาพแวดล้อมภายในได้ทำการวเิ คราะห์ ๖ ด้าน คือ ด้านโครงสร้าง นโยบาย ดา้ น การใหบ้ รกิ าร ดา้ นบุคลากร ดา้ นการเงิน ด้านทรัพยากร และด้านการบริหารจัดการ (๒S ๔M) โดยใช้ เทคนคิ SWOT ( SWOT Analysis ) ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดล้อมภายใน ประเมินสถานภาพของ สถานศึกษา สรปุ ไดด้ งั นี้ ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก ๑.๑ ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social = S) ทีต่ ง้ั ของโรงเรยี น และสภาพแวดล้อม ทาง กายภาพ เปน็ ชุมชนขนาดใหญ่แนวโน้มของประชากรทจี่ ะต้องได้รับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานในเขตพน้ื ทีบ่ ริการ มีจำนวนลดน้อยลง เน่อื งจากอตั ราการเกดิ ของเด็กลดลงและโรงเรียนในสังกดั ต่างๆมีมากขึน้ ทำให้จำนวน นักเรยี นในสถานศกึ ษามีจำนวนน้อยลง ผู้ปกครองและชุมชนมที ัศนคติทด่ี ีต่อโรงเรยี น ยอมรับและศรัทธาให้ ความสำคัญต่อการจัดกิจกรรมการศึกษา ของโรงเรียน ทำใหก้ ารดำเนนิ งานตา่ งๆเปน็ ไปดว้ ยความราบรนื่ ถอื ไดว้ า่ ปจั จัยด้านสังคมและวัฒนธรรมเปน็ ปัจจัยท่เี ป็นโอกาสมากกว่าอุปสรรคต่อการดำเนนิ ภารกจิ ของโรงเรียน กลา่ วคอื คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ผนู้ ำชมุ ชน ผปู้ กครองเหน็ ความสำคัญของการศึกษา สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมต่างๆโรงเรียน จงึ จัดการ ศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ อีกท้ังผูป้ กครองมกี าร ประกอบอาชีพตา่ งๆอยา่ งหลากหลายสามารถใช้เปน็ ภมู ิ ปัญญาท้องถน่ิ ใหน้ ักเรยี นได้ศึกษาและเรียนร้จู าก ประสบการณ์จริง ส่วนปจั จยั ท่ีเป็นอปุ สรรคในการจัด การศึกษาคือ ผู้ปกครองบางส่วนมอี าชพี ทไี่ มม่ ัน่ คง มี ฐานะยากจน ครอบครวั หยา่ ร้างและต้องยา้ ยที่อยเู่ พ่ือ ประกอบอาชพี บ่อยๆ ทำใหน้ ักเรยี น เรียนไม่ตอ่ เนื่อง บางส่วนตอ้ งอยู่กบั ญาติพน่ี ้อง สง่ ผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรยี นโดยรวม ตลอดจนปัญหาดา้ นสงั คมทที่ าให้นักเรยี น อย่ใู นภาวะเส่ียงต่อการเก่ียวขอ้ ง เชน่ ปญั หายา เสพติด ปัญหาการพนนั ปญั หาการตดิ เกม เปน็ ตน้ ๑.๒ ปจั จยั ทางด้านเทคโนโลยี(Technology = T) โครงสร้างพนื้ ฐานและการแพร่กระจาย ของ เทคโนโลยีในชุมชนไม่วา่ จะเป็นโทรศพั ท์ไฟฟ้า เครือขา่ ยการส่อื สารและอินเทอรเ์ นต็ ทำให้การเขา้ ถึง เทคโนโลยีของนักเรียนและผู้ปกครองทำได้ง่ายและสะดวก ตลอดจนความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสารสามารถนำมาใชป้ ระโยชนท์ ัง้ ในการบรหิ ารจัดการ การให้บริการและการพฒั นาการศกึ ษาให้มี การเปล่ยี นแปลงไปในทางทีด่ ีขน้ึ สามารถชว่ ยลดความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติงาน เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการ ทำงาน ประสทิ ธภิ าพในการติดตอ่ สอื่ สาร รวดเรว็ ขนึ้ โดยไม่มีข้อจำกดั ด้านสถานท่ีและเวลา สำหรบั ดา้ น การศึกษา สามารถเพ่ิมประสิทธภิ าพการเรยี นรู้ของนักเรียน การให้บรกิ ารแก่ผู้ปกครอง ประชาชน ชมุ ชนและ สงั คม ใหเ้ กดิ องค์ความรใู้ หมท่ ี่เป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาสังคมและคณุ ภาพชีวติ เปน็ ปจั จัยทเี่ ป็นโอกาสต่อ การดำเนนิ ภารกิจของโรงเรยี นเป็นอย่างมาก โดยโรงเรยี นได้สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีมาพฒั นากระบวนการ เรยี นรูข้ องนักเรียนใหเ้ กิดประสิทธภิ าพตอบสนองต่อความต้องการของผู้ปกครองชมุ ชนและสังคม ที่ต้องการให้ แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 30

นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้และทนั ต่อความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีเพื่อโอกาสที่ดีในอนาคต ส่วนปัจจัยทเ่ี ป็นอุปสรรค คือ ผู้ปกครองขาดการควบคุมการใชโ้ ทรศพั ท์มือถือ ทำใหน้ ักเรียนบางส่วนไปใช้ ในทางที่ผดิ ประกอบกับ โรงเรียนมีเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ท่ีค่อนขา้ งล้าสมยั สง่ ผลต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน นอกจากน้ีการซ่อม บำรุง วัสดอุ ุปกรณ์ด้านเทคโนโลยมี รี าคาคอ่ นข้างสูงทำใหก้ ารดำเนินการมีคา่ ใชจ้ า่ ย เป็นจำนวนมาก ๑.๓ ปัจจัยทางดา้ นเศรษฐกิจ ( Economic = E ) ภาวะทางเศรษฐกิจและฐานะทาง เศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ของผู้ปกครอง ซ่ึงรายได้ผปู้ กครองและชมุ ชนอยใู่ นระดับปานกลาง ทำใหโ้ รงเรียนได้รับการ สนับสนุนจากชุมชน ผูป้ กครอง กรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน องคก์ รเอกชน รว่ มกันบรจิ าคทุนทรัพย์ การศกึ ษา สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมโี อกาสทางการศกึ ษาทมี่ ปี ระสิทธิภาพเพิม่ มากข้นึ สว่ นอุปสรรคในการดำเนินงาน คอื ปญั หาทางด้านภาวะเศรษฐกจิ ทถ่ี ดถอยส่งผลให้ผปู้ กครองบางส่วนขาดความคล่องตัวด้านคา่ ใช้จา่ ยของ บุตรหลาน และขาดความพร้อมในการสนับสนนุ กจิ กรรมของโรงเรยี นได้ไมเ่ ต็มท่ี เนอื่ งจากค่าครองชีพสูงรายได้ คงทีข่ าดการส่งเสรมิ อาชพี เสริมในชุมชน ผู้ปกครองมภี าระหน้ีสินส่งผลกระทบต่อการให้การสนบั สนนุ ด้าน การศกึ ษา ๑.๔ ปัจจัยทางด้านการเมอื งและกฎหมาย (Politic = P) เป็นปัจจยั ท่เี ป็นโอกาสต่อการ ดำเนนิ งาน ของโรงเรียนเป็นอย่างมากเพราะ พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาตพิ .ศ. ๒๕๔๒ ฉบับแกไ้ ข เพ่มิ เติม พ.ศ. ๒๕๔๕ และฉบับแก้ไขเพ่มิ เติม พ.ศ.๒๕๕๓ และทำใหค้ รูมีการพัฒนาตนเองและจดั กิจกรรมการ เรยี นการสอน ท่หี ลากหลายมากขึ้น นักเรยี นได้รับการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ ตลอดจนการได้รับการสนบั สนุน ในดา้ นต่างๆ จากองค์กรสว่ นท้องถิ่นและชุมชน อนั เนื่องมาจากพระราชบัญญัติการกระจายอำนาจส่งผลให้เกิด การพฒั นา และเพ่ิมประสิทธภิ าพในการจัดการศึกษามากยง่ิ ข้นึ ประกอบกบั นโยบายเรียนฟรี ๑๕ ปี ไม่เสีย คา่ ใช้จ่ายของ รฐั บาล ทำให้แบ่งเบาภาระค่าใช้จา่ ยของผู้ปกครองนกั เรยี นเพ่ิมมากขนึ้ ส่วนอปุ สรรคในการ ดำเนินงานตาม ภารกจิ คอื นโยบายของรฐั บาลทีเ่ ปลี่ยนแปลงบ่อย ทำใหก้ ารดำเนินงานตอ้ งปรบั เปล่ียนตาม รัฐบาลจึงขาด ความต่อเนื่อง การจดั สรรอตั รากำลงั ล่าช้าเป็นอุปสรรคในการจัดการศึกษา การจัดสรรทรพั ยากร ในการจัด การศกึ ษาไมส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของโรงเรยี น และผู้ปกครองบางสว่ นไม่เขา้ ใจนโยบายปฏิรปู การศึกษา ขาดความรเู้ ร่ืองกฎหมาย และพระราชบัญญัติการศึกษา ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ผลการวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มภายนอกตามปัจจัย ๔ ดา้ น ดังกล่าวขา้ งตน้ สรุปไดว้ ่า โรงเรียนบา้ นสนั ติวัน มีปัจจยั ท่ีเป็น โอกาสมากกว่าปจั จัยท่เี ปน็ อุปสรรค กล่าวคอื มีความพร้อมในการจดั การศึกษา โดย ได้รับการสง่ เสริมและ สนบั สนนุ จากชมุ ชนและหนว่ ยงานตน้ สังกัด สามารถพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นใหเ้ กิดผล ตามเปา้ หมายของ โรงเรยี น แตก่ ็ยงั มีอปุ สรรคอยู่บ้างคือ การเปลยี่ นแปลงทางด้านสงั คมและวฒั นธรรม เทคโนโลยีการส่อื สารทำ ใหพ้ ฤติกรรมของนักเรยี นปรับเปลี่ยนตามไปดว้ ย อีกทง้ั นโยบายของรฐั บาลที่ เปลย่ี นแปลงบอ่ ย ท าใหก้ ารด าเนนิ งานของโรงเรยี นต้องปรบั เปล่ียนตาม แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 31

ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นสันติวัน พจิ ารณาจากจดุ แข็งและจดุ อ่อน จาก ๖ ปัจจยั ดังนี้ ๒.๑ ปัจจยั ทางดา้ นโครงสรา้ งและนโยบาย (Structure) เปน็ จุดแข็งมากกวา่ จดุ อ่อน กล่าวคือ โรงเรียนมกี ารบรหิ ารงาน กำหนดวิสยั ทัศน์นโยบาย เป้าหมาย และภารกิจ โดยมีสว่ นรว่ มของบุคลากรทกุ ฝา่ ย มีการสือ่ สารภายในองค์กรที่มีความถกู ต้องชดั เจน สง่ ผลให้ได้รบั ความร่วมมือจากบุคลากรทุกฝา่ ยเป็นอย่างดี ทำใหบ้ คุ ลากรมีการปฏิบัติงานอย่างเปน็ ระบบ เน้นการทำงานเป็นหมู่คณะ ทุกคนมสี ่วนร่วมรบั ผดิ ชอบ สร้าง ขวัญและกำลังใจลดการขัดแย้ง ทำใหก้ ารดำเนินงานมีประสิทธิภาพ สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ โรงเรยี นบา้ นสนั ติวัน ความสามารถของผู้เรียนตามศกั ยภาพครอบคลุมทุกด้าน ใชร้ ะบบ ICT และข้อมลู ทาง อินเตอรเ์ น็ตเพื่อการ จดั การเรยี นรูแ้ ละการกระจายข่าวสาร จดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนได้เพียงพอและ ทัว่ ถงึ แตย่ ังมจี ดุ อ่อนอยู่ บา้ งในเรอ่ื งบุคลากรรับผดิ ชอบงานพเิ ศษมากเกนิ ไปส่งผลใหไ้ ม่สามารถ ตลอดจนต้อง ปฏบิ ตั หิ น้าทอี่ ่นื ๆไม่ เกี่ยวกับการเรยี นการสอนควบคู่ไปด้วย และการจัดหลักสตู รในทอ้ งถ่นิ ยงั ไม่ครอบคลมุ ทุก รายวิชา ๒.๒ ปจั จัยด้านผลผลติ และการใหบ้ ริการ (Service) ถอื ว่าเปน็ จดุ แขง็ มากกวา่ จุดอ่อน กลา่ วคือ โรงเรยี นมกี ารจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรยี นรแู้ ละให้บริการแหลง่ เรียนร้ใู นโรงเรียนและนอก โรงเรยี น อยา่ งหลากหลาย มรี ะบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มหี ลกั สตู รสถานศึกษา มีการจัดทำสาระเพ่ิมเตมิ มีการ จดั การบรกิ ารการศึกษาอยา่ งทวั่ ถึงทั้งดา้ นความรแู้ ละเทคโนโลยี มีการจดั การเรียนการสอนและจดั กจิ กรรม เสริมทางด้านความรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม สุขภาพพลานามัย หลักประชาธิปไตย ความคิดสร้างสรรค์ และ สง่ เสรมิ จติ สาธารณะในโรงเรียน คุณภาพของนักเรยี นซ่งึ ถือวา่ เป็นผลผลติ จากการให้บริการโดยเฉลย่ี มี คุณภาพตามมาตรฐาน จุดออ่ นอย่ทู ี่ นกั เรยี นบางสว่ นไม่ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการศกึ ษา ส่งผลให้ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในบางวชิ าและคะแนน O-NET ของนักเรียนยงั ไม่เป็นที่นา่ พอใจและผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรยี นไม่บรรลุตามคา่ เปา้ หมายทโ่ี รงเรียนต้งั ไวน้ อกจากนั้นในดา้ นวัสดุ อปุ กรณ์ สำหรบั จัดการศกึ ษา และการ บริการด้านสาธารณูปโภคยงั มีจำนวนจำกดั และชำรุด ทรุดโทรมไม่เพยี งพอต่อจำนวนนกั เรยี น ๒.๓ ปจั จัยดา้ นบุคลากร (Man) เป็นปจั จัยที่มจี ุดแข็งมากกวา่ จุดอ่อนเนอ่ื งจากผูบ้ รหิ ารมี วสิ ัยทัศน์ สามารถบรหิ ารจัดการครแู ละบุคลากรใหจ้ ดั การเรยี นการสอนแกน่ ักเรยี นไดอ้ ยา่ งเตม็ ศักยภาพ ครแู ละ บุคลากรทางการศึกษามคี วามรคู้ วามสามารถเฉพาะด้านและมกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ ง สามารถ จัด กระบวนการเรียนรู้ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ทงั้ ยงั เป็นครใู นพ้ืนที่ ทำให้มคี วามผูกพนั และม่งุ ม่ันเปน็ อย่างดี จุดอ่อน คือ ครูมีภาระงานพิเศษนอกเหนอื จากงานสอนมากทำใหม้ ีผลกระทบตอ่ การจัดเรียนการสอน พอสมควร การกระจายงานขึ้นอย่กู บั ความสามารถและความถนดั ของแต่ละบุคคลจงึ ดูเหมอื นไม่เท่าเทียมกัน ๒.๔ ปัจจยั ด้านการเงิน (Money) เป็นปัจจยั ท่ีมีจดุ แข็งมากกว่าจดุ อ่อน กลา่ วคือ โรงเรียนได้ จดั ทำ แผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ โดยทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม ทำใหใ้ ช้จา่ ยตรงตามความตอ้ งการ และเปน็ ไปตาม แผนงาน/โครงการ อย่างเปน็ ระบบ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้นอกจากนน้ั โรงเรียนได้รบั งบประมาณสนบั สนุนจาก ภาครัฐ หนว่ ยงานอืน่ และชมุ ชนท าใหก้ ารพฒั นาการศึกษาเปน็ ไปอย่างต่อเนอื่ ง แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ท่ี 32

๒.๕ ปจั จัยดา้ นวสั ดอุ ุปกรณ(์ Materials) มีจุดแข็งมากกว่าจุดออ่ น คอื โรงเรยี นมีอาคาร สถานท่ี เพยี งพอเหมาะสมกับจำนวนนกั เรียนมีการพัฒนาปรบั ปรุงอาคารสถานท่ีอยา่ งสมำ่ เสมอมคี วามพร้อมใน การ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและให้บรกิ ารแก่ชมุ ชนและองคก์ รภายนอก มีการซ้ืออุปกรณ์ในการจัดการ เรยี น การสอนอยา่ งคุ้มคา่ สว่ นทีเ่ ป็นจุดออ่ นคือ ห้องสมดุ มีส่ือ เทคโนโลยี และหนงั สอื ไมห่ ลากหลาย ไม่ เพยี งพอตอ่ การศกึ ษาและสืบค้น อปุ กรณ์ประจำห้องพิเศษต่างๆท่ไี ด้รบั จดั สรรมสี ภาพ เกา่ ชำรดุ ล้าสมยั และไม่ เพยี งพอ ตอ่ จำนวนนักเรียน ขาดบุคลากรท่ีมคี วามสามารถเฉพาะทาง สง่ ผลทำให้การซ่อมแซมอปุ กรณล์ า่ ชา้ ไม่ ทนั ตอ่ การใช้งานทำใหก้ ารดำเนนิ การตา่ งๆไม่คลอ่ งตวั เทา่ ที่ควร ๒.๖ ปจั จัยดา้ นการบริหารจัดการ (Management) มจี ุดแข็งมากกว่าจุดอ่อน คอื ผบู้ รหิ ารมี ความรู้ ความสามารถ มีภาวะผูน้ ำ มวี ิสยั ทัศน์กา้ วไกล มีคุณธรรมจริยธรรมและเปน็ แบบอยา่ งที่ดมี ีการวาง แผนการบรหิ ารงานอยา่ งเปน็ ระบบโดยใช้หลกั การมีสว่ นร่วม หลกั ประชาธิปไตยและใชค้ วามเป็นกัลยาณมิตร ในการปฏบิ ตั ิงาน มอบหมายงานตามความถนัด และนิเทศติดตามผลการดำเนนิ งานของครแู ละบคุ ลากรอยา่ ง ต่อเน่อื ง มกี ารประชาสมั พนั ธ์ขา่ วสารของโรงเรียนผา่ นชอ่ งทางต่างๆอยา่ งหลากหลาย ส่งเสรมิ ให้ครูทุกคน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ สง่ ผลใหก้ ารปฏิบัติงานมีประสทิ ธภิ าพ มกี ารประสานงานกับหนว่ ยงานอนื่ ในการ พฒั นาโรงเรยี น จัดระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นท่มี ีเครือข่ายผปู้ กครองเขา้ มามีสว่ นรว่ ม โรงเรยี นบ้านสันติวัน แผนปฏบิ ตั ิการและโครงการประกอบการบรหิ ารงานท้งั ระยะสนั้ และระยะยาว ทำใหบ้ คุ ลากรปฏบิ ัตงิ านไดต้ รง ตามเปา้ หมาย คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีส่วนรว่ มในการวางแผนการจดั การศึกษาทกุ ขัน้ ตอน ส่วนทเี่ ปน็ จุดออ่ นคือ หน่วยงานของรัฐขาดการใช้ฐานขอ้ มูลสารสนเทศร่วมกันเป็นการเพิ่มภาระงานใหค้ รูมาก ย่งิ ข้นึ ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน ตามปจั จยั ท้งั ๖ ดา้ นข้างต้น สรปุ ไดว้ า่ โรงเรยี นบ้านสนั ติวัน มีจดุ แข็งมากกว่าจดุ อ่อน กล่าวคือ โรงเรยี นมีระบบการบริหารจัดการโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานมีการ กำหนดนโยบาย ท่ีชัดเจน บุคลากรมีความรู้ ความชำนาญ และมีประสบการณใ์ นการทำงานท่หี ลากหลายเป็น ผลดตี ่อการจัด การศกึ ษาที่มปี ระสทิ ธภิ าพ คณะกรรมการสถานศกึ ษาและชุมชนมสี ่วนรว่ มในการกำหนด นโยบายของ โรงเรียน ส่งผลทำให้การดำเนินงานบรรลุผล มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ตอ่ การเรยี นร้แู ละ ใหบ้ รกิ ารแหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรียนและนอกโรงเรียนอยา่ งหลากหลาย มีอาคารสถานทีเ่ พยี งพอเหมาะสมกับ จำนวนนักเรยี นมี การพัฒนาปรบั ปรุงอาคารสถานที่อยา่ งสม่ำเสมอมคี วามพร้อมในการจดั กจิ กรรมการเรียนการ สอนและ ให้บรกิ ารแกช่ ุมชนและองค์กรภายนอก มคี วามพร้อมในด้านวัสดอุ ปุ กรณ์และสามารถระดมทุน ทรพั ยากร ตา่ งๆมาสนบั สนุนกิจกรรมการเรยี นการสอนได้เป็นอย่างดีแต่มจี ดุ อ่อนคือ จำนวนประชากรวยั เรยี น ลดลง งบประมาณได้รับการจัดสรรตามจำนวนนกั เรยี น และนอกจากน้ันในด้านวัสดุ อุปกรณ์ สำหรับจดั การศึกษา และการบริการด้านสาธารณูปโภคยังมีจำนวนจำกดั และชำรุด ทรดุ โทรมไม่เพียงพอต่อจำนวน นกั เรยี น ทำให้ มีผลกระทบต่อการจัดเรียนการสอนพอสมควร แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสนั ติวนั หนา้ ที่ 33

๓. การประเมินสถานภาพของโรงเรียนบา้ นสนั ติวัน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของโรงเรียนบา้ นสนั ตวิ นั ท่ไี ด้นำเสนอ ไป ในเบ้ืองต้น แลว้ นน้ั กลา่ วโดยสรปุ วา่ โรงเรยี นมีปจั จัยท่เี ป็นโอกาสจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกทีเ่ อื้อตอ่ การ ดำเนินภารกิจในการ จัดการศกึ ษาของโรงเรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดีโดยเฉพาะการส่งเสรมิ และสนับสนุนกจิ กรรมต่างๆ จากคณะกรรมการ สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ผ้ปู กครอง ชมุ ชนและองค์กรสว่ นทอ้ งถน่ิ ปัจจยั ทเ่ี ป็นอปุ สรรค คือ การเปล่ียนแปลงทางดา้ น สงั คมและวฒั นธรรม ประชากรวยั เรียนลดลง ผปู้ กครองมีฐานะยากจน ครอบครวั หยา่ รา้ ง ส่งผลกระทบตอ่ การเรยี น ของนกั เรยี น และผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในมีจุดแข็งมากกว่า จดุ ออ่ น กลา่ วคือ นกั เรียนมคี ุณภาพตาม มาตรฐาน มกี ารบรหิ ารและปฏบิ ัติงานอย่างเปน็ ระบบ ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษามศี กั ยภาพต่อการจัดการเรยี นรู้ แต่มจี ุดอ่อนคือ วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับจัดการศึกษาและ การบรกิ ารด้านสาธารณปู โภคยงั มจี ำนวนจำกัด และชำรดุ ทรุดโทรม ดงั นน้ั สถานภาพของ โรงเรยี นชมุ ชนสวา่ งวทิ ยา จงึ อยู่ในลักษณะ “ เอ้อื และแขง็ ” ๔. ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม / SWOT โรงเรียนบา้ นสันติวนั จดุ แข็ง ( strengths ) จุดอ่อน ( weakness ) - คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมีส่วนรว่ มวาง -จำนวนประชากรวยั เรยี นลดลงและผปู้ กครอง บางส่วน แผนการจัดการศกึ ษา มีคา่ นยิ มในการสง่ นกั เรยี นไปเรียนโรงเรียน ยอดนิยม - การบริหารงาน กำหนดวิสัยทศั นน์ โยบาย เป้าหมาย -ความเจรญิ ดา้ นเทคโนโลยที ำให้พฤตกิ รรม คา่ นิยม ใน และภารกิจท่ีชัดเจน การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ระบบ การใชเ้ ทคโนโลยีทไ่ี ม่เหมาะสม เช่น การเล่นเกม ทำงานเปน็ หมู่คณะ ออนไลน์ของนกั เรยี นสง่ ผลต่อการเรียน - มอบอำนาจหนา้ ท่ี ลดขนั้ ตอนการทำงาน -วสั ดอุ ุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี ใชง้ บประมาณซ่อมบำรุง - ครมู ีความร้คู วามสามารถเฉพาะดา้ น เปน็ ครใู นพื้นที่ และดแู ลรักษา จำนวนมาก และเปน็ -การใช้เทคโนโลยีมากข้ึนทำใหค้ ่าใชจ้ า่ ย ดา้ น -นักเรียนมผี ลสัมฤทธแ์ิ ละผลการทดสอบระดับชาติ อยู่ สาธารณปู โภคสงู ในระดับพอใช้ -มีอตั ราการสอบเขา้ ศึกษาต่อทดี่ ี -ให้บริการครอบคลุมทุกกล่มุ เปา้ หมาย -ไดร้ บั การสนับสนนุ ทัง้ จาก ท้องถ่นิ และชุมชน โอกาส ( opportunities ) อปุ สรรค ( threats ) -ผู้ปกครองประกอบอาชพี หลากหลาย / มีภมู ิปัญญา -ผปู้ กครองส่วนหน่ึงมีอาชพี ไม่มนั่ คง ยา้ ยทอ่ี ยู่บอ่ ย ทอ้ งถ่ินและแหลง่ เรียนรู้ท่ีใช้จดั การเรยี นการสอน ครอบครัวหยา่ ร้าง ส่งผลกระทบตอ่ การเรียนของ เพยี งพอ นกั เรียนพอสมควร -นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา ทำใหค้ รูมีการพฒั นา -เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ โดยรวมไมแ่ นน่ อน ผ้ปู กครอง ตนเองและจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีฐานะยากจน มากข้นึ นักเรยี นได้รบั การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ -นโยบายการศกึ ษาเปลยี่ นแปลงบอ่ ย -คณะกรรมการสถานศกึ ษา ชมุ ชน ผปู้ กครองให้ ความสำคัญพรอ้ มสนับสนนุ การจดั การศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ที่ 34

1. ประเดน็ ตัวช้ีวดั ปจั จัยสภาพแวดลอ้ มภายนอก (STEP) และ ภายใน (2S4M) ประเด็นตัวชว้ี ัดปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP)/ผลการประเมิน รายการปัจจยั คา่ เฉล่ียคะแนนจรงิ 1. ดา้ นสงั คม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.38 2. ด้านเทคโนโลยี (Technology = T ) 0.20 3. ดา้ นเศรษฐกจิ ( Economic = E ) 0.16 4. ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) 0.03 สรุปการประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (STEP) 0.76 ประเด็นตวั ชว้ี ดั สภาพแวดล้อมภายใน ( 2S4M )/ผลการประเมนิ 1. ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure =S1 ) 0.05 2. ดา้ นผลผลิตและการบรกิ าร (Service and Products = S2 ) 0.04 3. ด้านบุคลากร (Man = M1) 0.14 4. ด้านประสิทธทิ างการเงิน (Money = M2) 0.53 5. ด้านวสั ดุ และอปุ กรณ์ (Materials = M3 ) 0.02 6. ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ( Management = M4 ) 0.06 สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน (2S4M) 0.80 กราฟแสดงสถานภาพของโรงเรยี นบ้านสนั ติวนั แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นสันติวนั หนา้ ท่ี 35

ส่วนท่ี 2 บรบิ ทที่เก่ียวขอ้ งกับการศึกษา พระบรมราโชบายเกย่ี วกบั การพฒั นาการศกึ ษา พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี ินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลท่ี 10 ทรงมีพระบรมราโชบายเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาตอ้ งมงุ่ เนน้ การสร้างพ้นื ฐานใหแ้ ก่ผู้เรียน 4 ดา้ น ดังนี้ 1. มีทัศนคติท่ีดแี ละถกู ต้อง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจท่ีมตี ่อชาติบา้ นเมือง ยดึ มั่นในศาสนา มั่นคงในสถาบันพระมหากษตั ริย์ และมี ความเอ้อื อาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตนเอง 2. มพี นื้ ฐานชีวิตทมี่ น่ั คงเขม้ แขง็ รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ/ชั่ว-ดี ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบที่ดีงาม ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว และช่วยกัน สร้างคนดีให้แกบ่ ้านเมือง 3. มีงานทำ มีอาชีพ การเลี้ยงดลู ูกหลานในครอบครัว หรอื การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาตอ้ งม่งุ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนรัก งาน สู้งาน ทำจนงานสำเร็จ การฝกึ ฝนอบรมทั้งในหลักสตู รและนอกหลักสูตร ตอ้ งมีจดุ มุ่งหมายใหผ้ เู้ รยี น ทำงานเป็น และมงี านทำในที่สดุ และตอ้ งสนบั สนนุ ผู้สำเรจ็ หลักสตู รมอี าชพี มงี านทำ จนสามารถเล้ยี งตัวเอง และครอบครัว 4. เป็นพลเมอื งดีมรี ะเบียบวนิ ยั การเป็นพลเมอื งดี เปน็ หนา้ ที่ของทุกคน ครอบครวั สถานศกึ ษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริม ให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่เป็นพลเมืองดี การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ” เช่น งานอาสาสมัคร งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลใหท้ ำด้วยความมีน้ำใจ และความเอ้อื อาทร กฎหมาย แผน ยุทธศาสตร์ และนโยบายท่ีเก่ยี วข้อง 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 มีบทบญั ญตั ทิ เ่ี ก่ียวข้องกบั การจัดการศึกษา ได้แก่ มาตรา 54 ท่บี ัญญตั ใิ ห้รฐั ต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคบั อย่างมีคุณภาพโดยไมเ่ ก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รบั การดูแลและพัฒนาก่อน เข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดย สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นและภาคเอกชนมีส่วนรว่ มในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษา ตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม ให้มกี ารเรียนรู้ตลอดชีวติ และจัดให้มีการรว่ มมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และภาคเอกชนใน การจดั การศึกษาทุกระดบั โดยรัฐมหี น้าท่ีดำเนนิ การ กำกบั สง่ เสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 36

มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ เกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ การดำเนินการและตรวจสอบการดำเนนิ การ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษา แหง่ ชาตดิ ้วย และการศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มวี นิ ยั ภมู ใิ จในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ ตาม ความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็ก เล็กได้รับการดูแลและพฒั นาตามวรรคสอง หรอื ใหป้ ระชาชนได้รับ การศึกษาตามวรรคสาม รัฐตอ้ งดำเนินการ ใหผ้ ้ขู าดแคลนทนุ ทรัพยไ์ ดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการศกึ ษา ตามความถนดั ของตน 2. แผนและยทุ ธศาสตร์การพัฒนาของประเทศ แผนระดบั ท่ี 1 ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่ใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศ ในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวิสยั ทศั น์ เป้าหมายและยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และเป็นคตพิ จนป์ ระจำชาตวิ ่า “มน่ั คง มัง่ ค่ัง ยง่ั ยืน” ซึง่ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มี 6 ยทุ ธศาสตร์ ประกอบด้วย 1. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง 2. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 3. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 4. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 5. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม 6. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ จากการวเิ คราะห์ยทุ ธศาสตรช์ าติ ที่เก่ยี วข้องกับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน มีดังน้ี 1. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (หลกั ) 1.1 เป้าหมาย 1. คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ พรอ้ มสำหรบั วถิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21 2. สังคมไทยมสี ภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ และสนบั สนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชวี ิต 1.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ 4.1 การปรบั เปลย่ี นคา่ นิยมและวฒั นธรรม ประเด็น 4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประเดน็ 4.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรทู้ ตี่ อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ประเด็น 4.4 การตระหนกั ถงึ พหปุ ญั ญาของมนุษย์ท่หี ลากหลาย แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 37

1.3 การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวิสัยทัศน์คือการสร้างคุณภาพทุนมนุษย์ สู่สังคมอนาคตที่ยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ นอกจากนี้ ยังพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้งในระดับต่างๆ ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับการศึกษาภาคบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนพิการ ผู้เรียนด้อยโอกาส ผู้เรียนที่มี ความสามารถพิเศษ มีการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ และเสริมสร้างศักยภาพครู การยกระดับ คุณภาพสถานศึกษาต่าง ๆ ในทุกพื้นท่ีทั่วประเทศ ให้สามารถจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ท้งั ความรู้ดา้ นวิชาการ ทกั ษะอาชพี ทักษะชีวติ และมีคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 2. ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม (รอง) 2.1 เปา้ หมาย สรา้ งความเป็นธรรม และลดความเหลือ่ มล้ำในทกุ มิติ 2.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ประเด็น 4.1 การลดความเหล่ือมลำ้ สร้างความเปน็ ธรรมในทุกมิติ 2.3 การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ด้วยการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานในรายการพืน้ ฐาน 5 รายการ ได้แก่ 1) คา่ จัดการเรยี นการสอน 2) คา่ หนังสือเรยี น 3) คา่ อปุ กรณ์การเรยี น 4) ค่าเคร่ืองแบบนักเรียน 5) ค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ซงึ่ การสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายดังกล่าวเปน็ การสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการการศึกษา สำหรับ ผู้มีรายได้น้อย และกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั่วประเทศ รวมทั้งการสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศกึ ษา ในระดบั พ้นื ที่พิเศษ ได้แก่ โรงเรยี นพ้ืนทีส่ ูงในถิ่นทุรกันดาร โรงเรยี นพ้ืนท่ีเกาะแก่ง และโรงเรียนในพ้ืนที่ข้างเคียง โครงการพฒั นาดอยตุงอันเน่ืองมาจากพระราชดำริให้ได้รบั โอกาสทางการศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ และ การพัฒนาส่ือและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการศึกษา โดยการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาด้านเทคโนโลยที างไกล ผา่ นดาวเทียม (DLTV) และเทคโนโลยีทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) เพือ่ สรา้ งความเปน็ ธรรม และ ลดความเหลอื่ มล้ำในการเขา้ ถงึ บริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 38

3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง (รอง) 3.1 เปา้ หมาย บา้ นเมอื งมีความมั่นคงในทุกมิตแิ ละทุกระดบั 3.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาทม่ี ผี ลกระทบต่อความมน่ั คง 3.3 การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีแผนการพฒั นาการศึกษา และแผนการเสริมสร้าง ภูมิคุ้มกัน เพอ่ื สนั ตสิ ุขในเขตพัฒนาพเิ ศษจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ใหก้ ารจดั การศึกษาพื้นทดี่ งั กล่าวสอดคลอ้ ง กับอตั ลักษณว์ ถิ ีชวี ิต วัฒนธรรม อาชพี ใหเ้ กดิ ความสมานฉันท์ และรูร้ กั สามัคคี มีความเข้าใจซึ่งกนั และกนั อยู่ ร่วมกนั อย่างสันติสุข มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ผู้เรยี นได้รับโอกาสทางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยา่ งท่ัวถึง บคุ ลากรทางการศกึ ษามีความปลอดภัยในชวี ิตทรัพย์สินและมีขวญั กำลังใจในการปฏิบตั งิ าน และ แผนการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดในสถานศึกษาเพอ่ื สร้างภูมคิ มุ้ กนั ป้องกนั ยาเสพติดในกลุม่ เด็ก และ เยาวชน มิใหเ้ ปน็ ผ้เู สพรายใหม่ พฒั นากระบวนการระบบติดตาม ดูแล ชว่ ยเหลอื กลุ่มเด็กและเยาวชนทม่ี ีปัญหา ยาเสพติด สร้าง และพัฒนาระบบรองรับสนับสนนุ การคนื เด็กดสี ู่สงั คม เสริมสรา้ งมาตรฐานในการป้องกนั และ แก้ไขปญั หาในกลุ่มเปา้ หมาย ซึ่งจะส่งผลใหป้ ระเทศไทยมีความมัน่ คงในระยะยาวตอ่ ไป 4. ยทุ ธศาสตรช์ าติดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั (รอง) 4.1 เป้าหมาย 1. ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส 2. ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ 4.2 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการ อย่างสะดวกรวดเรว็ โปร่งใส 2. ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยง การพัฒนาในทกุ ระดับ ทุกประเด็น ทกุ ภารกิจ และทกุ พ้ืนท่ี 3. ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมิชอบ 4.3 การบรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีแผนในการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ทนั สมัย มกี ารนำนวัตกรรม เทคโนโลยีมาใชใ้ นการปฏิบัติงาน มีการพฒั นานวัตกรรม เทคนคิ การเรียนการสอนการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ สำหรับนกั เรยี น พัฒนาผู้นำเยาวชนต่อต้านการ ทุจรติ พฒั นานวัตกรรมการสร้างเครือข่ายและการมสี ว่ นรว่ มในการต่อต้านการทุจริตและพัฒนาผู้บริหาร ครู และ บุคลากรทางการศึกษา มีการบรหิ ารงานทมี่ ีธรรมาภิบาล ซื่อสตั ย์สุจรติ และป้องกันการทุจริตทกุ รปู แบบ แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 39

แผนระดบั ท่ี 2 (เฉพาะทีเ่ ก่ยี วข้อง) 1.แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 2.2.1.1 ประเด็นที่ 12 การพัฒนาการเรยี นรู้ (หลกั ) เป้าหมายระดบั ประเด็นของแผนแม่บท เป้าหมายที่ 1 คนไทยมีการศึกษาที่มีมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถแก้ปัญหาปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวิต เป้าหมายที่ 2 คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัดและความสามารถของ พหปุ ญั ญาดีข้นึ การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแผนการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึง การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ให้ผู้เรียนทุกระดับและทุกกลุ่ม ได้รับการศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพและมีมาตรฐาน เกดิ การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งทว่ั ถึง พรอ้ มท้ังมที ักษะและศกั ยภาพ ในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน ที่พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ที่หลากหลาย รวมถึงแนวโน้มของสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับการพัฒนาของประเทศ การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ภาษาต่างประเทศและพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพครู เพื่อพัฒนาศักยภาพครูให้มีความพร้อมในการจัดการ เรียนการสอน สอดรับกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การพัฒนาระบบการศึกษา ที่สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของประเทศ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท้ ่ตี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานมีทักษะ การเรยี นรู้ และมีทักษะท่จี ำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ิตดขี ึน้ การบรรลุเป้าหมายแผนย่อย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแผนการ ดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึง การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ให้ผู้เรียนทกุ ระดบั และทุกกลุ่ม ได้รับการศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพและมีมาตรฐานเกดิ การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งมีทักษะและศักยภาพในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การขับเคลื่อน การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน ที่พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ที่หลากหลาย รวมถึงแนวโน้มของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับการพัฒนาของประเทศ การพัฒนาคุณภาพการ เรยี นการสอนภาษาต่างประเทศและพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพครู เพอ่ื พัฒนาศักยภาพครูให้มีความพร้อม ในการจัดการเรียนการสอน สอดรับกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การยกระดับคุณภาพโรงเรียน เพื่อสร้างโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ ให้โรงเรียนมคี วามพรอ้ มในการบริหารจดั การและการ จัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยการส่งเสริมด้านโครงสร้าง แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 40

พื้นฐานทัง้ อาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้ และวัสดอุ ุปกรณ์ ด้านจัดการศึกษา ทั้งบุคลากร หลักสูตรและกิจกรรม และด้านการมีส่วนร่วมของเอกชน บ้าน วัด/ศาสนสถานอื่น ๆ รัฐ และโรงเรียน เพื่อผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ เปน็ ท่ียอมรบั ของผูป้ กครอง และชุมชน ตลอดจนโรงเรยี นเปน็ ศูนย์กลางการเรียนรขู้ องชุมชน แนวทางการพัฒนา แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 1. ปรับเปลย่ี นระบบการเรียนรู้สำหรับศตวรรษท่ี 21 2. เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ใหเ้ ปน็ ครยู ุคใหม่ 3. เพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทกุ ระดบั ทุกประเภท 4. พัฒนาระบบการเรียนร้ตู ลอดชีวติ 5. สร้างระบบการศกึ ษาเพือ่ เปน็ เลศิ ทางวิชาการระดบั นานาชาติ แผนยอ่ ยการตระหนักถึงพหุปญั ญาของมนุษยท์ ่ีหลากหลาย เป้าหมาย ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญา เพอื่ ประโยชน์ในการพฒั นาและการสง่ ต่อการพัฒนาให้เตม็ ตามศักยภาพเพมิ่ ข้ึน การบรรลุเป้าหมายแผนย่อย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแผนการ ดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึง การมีแผนการพัฒนา /แนวทาง/ รูปแบบ / เครื่องมือ/ฐานข้อมูลระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบการสำรวจแววนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษตามหลักพหุปัญญา แบบสอบถามความ คิดเห็นผู้บริหาร ครู ศึกษานิเทศก์ นักเรียนและพ่อ แม่ ผู้ปกครองนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ การวิจัย และพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ผู้มีความสามารถพิเศษตามหลักพหุปัญญา ติดตามเชิงลึก พร้อมทั้งให้ คำปรึกษา แนะนำ และเป็นพี่เลี้ยง การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ให้ผู้เรียนทุกระดับและทุกกลุ่ม ทั้งได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสอดคล้องกับศักยภาพ พร้อมทั้งมีทักษะและ ศักยภาพในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมการส่งเสริมให้มีการจัดการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีความสามารถ พิเศษ การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษ ด้านทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี และกีฬา เทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยใช้หลักสูตรการเรียนการสอนที่มี คณุ ภาพและนวตั กรคุณภาพที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศ แนวทางการพฒั นา แผนยอ่ ยการตระหนักถงึ พหปุ ญั ญาของมนุษย์ทีห่ ลากหลาย 1. พฒั นาและสง่ เสริมพหปุ ญั ญา 2. สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสำหรับผ้มู ี ความสามารถพิเศษ 2.2.2.2 ประเดน็ ท่ี 11 การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ิต (รอง) เปา้ หมายระดับประเด็นของแผนแมบ่ ท เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 41

อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาผู้เรียนตั้งแต่ระดับ ก่อนประถมศึกษา ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย การบรรลุเป้าหมาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พัฒนาผู้เรียนตั้งแต่ระดบั ก่อน ประถมศึกษา ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้เด็กนักเรียนทุกคนทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับ การพัฒนา อย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาและคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้ และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต เป้าหมายของแผนยอ่ ยการพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุน่ เป้าหมาย วยั เรยี น/วัยรุ่น มีความรู้และทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วเิ คราะห์ รักการ เรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรมมีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ ทำงานร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้อยา่ งมปี ระสิทธิผลตลอดชวี ิตดีข้ึน การบรรลุเป้าหมาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีแผนการดำเนินการ ให้บรรลุเป้าหมาย รวมถึง การส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายให้เอื้อ ต่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การส่งเสริม การสอบแข่งขัน ทางวิชาการ วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ให้กับนักเรียนทุกคนในสังกัด การส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาการขับเคลื่อนงานแนะแนวใน สถานศกึ ษาและสรา้ งเสริมสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน เพอื่ การศกึ ษาตอ่ และการมงี านทำ แนวทางการพัฒนา แผนย่อยการพฒั นาช่วงวัยเรียน/วัยรุน่ 1. การสง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้กบั นักเรียนระดับการศึกษาภาคบังคบั และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. สร้างการเรยี นรู้ และพฒั นาทักษะด้านอาชีพ ดนตรี และกีฬา 3. พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ ทักษะการสื่อสารด้านภาษาอังกฤษ 4. ส่งเสรมิ ทักษะทางวิชาการ การสอบแขง่ ขันระดบั เขตพื้นท่ี จังหวดั ระดับประเทศ ตลอดถึงระดับ นานาชาติ 5. สร้างสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการพฒั นาคุณภาพดา้ นการศึกษา เช่น ความปลอดภัยของผูเ้ รียน พัฒนาอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้น่าเรยี น 2. แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนการปฏิรูปประเทศ จัดทำขึ้นเพื่อกำหนดกลไก วิธีการ และขั้นตอนการปฏิรูปประเทศในด้านต่างๆ โดย การปฏิรูปประเทศต้องดำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย ประเทศชาติมคี วามสงบเรยี บร้อย มีความสามัคคี สังคมมีความสงบสขุ เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกัน เพื่อขจัดความเหลื่อมล้ำ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ ทั้งน้ีการปฏิรูปประเทศต้อง สอดคล้องและเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกันกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ซง่ึ แผนการปฏริ ูปประเทศ ประกอบดว้ ย 13 ดา้ น ได้แก่ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 42

1) ดา้ นการเมือง 2) ด้านการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ดา้ นเศรษฐกจิ 6) ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 7) ดา้ นสาธารณสขุ 8) ด้านสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ 9) ด้านสังคม 10) ดา้ นพลังงาน 11) ดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ 12) ดา้ นการศึกษา 13) ดา้ นวฒั นธรรม กีฬาแรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา การปฏิรูปการศึกษายังเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศเพื่อสนับสนุนการบรรลุตามยุทธศาสตร์ชาติ ที่กำหนดไว้ในด้านต่าง ๆ เนื่องด้วยการศึกษาเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นแผนปฏิรูป ประเทศด้านการศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะสนับสนุนการดำเนินการตามยุท ธศาสตร์ชาติทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ของประเทศ ด้านความเท่าเทียมและความเสมอภาค ของสังคม และด้านขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการปฏิรปู การศึกษา 1. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศกึ ษา (enhance quality of education)ครอบคลมุ 1.1 ผลลัพธ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ (learning outcomes) ทั้งด้านความรู้ ทักษะเจต คติที่ถูกต้อง และรู้จักดูแลสุขภาพ เพื่อการจัดการในเรื่องการดำรงชีวติ ของตนเองและการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อืน่ ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญมาตรา 54 วรรค 4 1.2 ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่ต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ครูมีจิตวิญญาณของ ความเปน็ ครู 1.3 หลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ (educational core processes) ท่ยี ดื หยุน่ หลากหลาย ถูกตอ้ ง ทนั สมยั ทนั เวลา และมุ่งเน้นการสร้างเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทาง สงั คมท่ีถกู ต้อง 1.4 สถานศึกษาและระบบสนับสนุน (educational institutions and support systems) ที่ตอบสนองต่อความต้องการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้แก่ งบประมาณและเทคโนโลยี แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 43

2. ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (reduce disparity in education) เป็นส่วนหนึ่ง ของการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (equity in education) ประกอบดว้ ย 2.1 โอกาสในการเขา้ ถงึ การศึกษาและเทคโนโลยีทสี่ นับสนนุ การเรยี นรู้ (equity in access) 2.2 โอกาสในการได้รับทางเลือกในการศึกษาและการเรียนรู้พัฒนาที่เหมาะสม กบั ศักยภาพของผู้เรยี น (equity in choosing Appropriate process in education) 2.3 โอกาสในการได้รบั ประโยชน์จากการเรียนรู้และการพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชีพท่ี เหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของผู้เรียน (equity in benefiting from aptitude-based quality of education) ทั้งในและนอกระบบการศึกษา รวมถึงการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตอยา่ งมีคุณภาพ 3. มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (leverage excellence and competitiveness) หมายถึง การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภาพ สูง มีความเป็นผู้นำริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ และการผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยี ชั้นแนวหน้าให้ สามารถต่อยอดงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือ และเชื่อมต่อกับ สถาบนั วจิ ัยอ่ืน ๆ ท่ัวโลก สอดคล้องกบั ทิศทางการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ สงั คมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ อีกทั้งสถาบันการศึกษาของไทยและระบบการศึกษาไทยต้องได้รับการยอมรับ ว่าเทียบเคียงได้กับประเทศชัน้ นำอน่ื ๆ 4. ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัวในการ รองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล (improve Efficiency, agility and good governance) โดยเฉพาะการส่งเสริมและสร้างสมดุลของความคุ้มค่า ความโปร่งใสความรบั ผิดชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ทั้งนี้ ระบบการศึกษาของประเทศที่มีธรรมาภิบาลจะเอื้อต่อการบรรลุ ต่อวัตถุประสงค์ ขอ้ 1 - 3 ข้างตน้ อยา่ งครอบคลมุ และสมดลุ (balanced and inclusive achievement) โดยแผนการปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษามีแผนงานเพื่อการปฏริ ูป 7 เร่ือง ได้แก่ 1) ระบบการศึกษา และการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2) การพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 3) การลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา 4) กลไกและระบบการผลิต คดั กรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ 5) การจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษที่ 21 6) การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอน และ 7) การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยการพลิกโฉมด้วยระบบดิจิทัล และเพื่อ เร่งรัดการดำเนินการตามแผนปฏิรูปดังกล่าว ได้มีการประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) สำหรับการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ใน 5 เรื่อง ได้แก่ 1) การสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐาน สมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลง ในศตวรรษที่ 21 3) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4) การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอื่น ๆ ที่เน้นการ ฝึกปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ นำไปสู่การจ้างงานและการสร้างงาน 5) การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 44

ธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่าง ยั่งยืน ซึ่งภารกิจหลักของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องการสร้าง โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และการปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570) เป็นแผน ระดับสอง ซึ่งเป็นพัฒนาที่จัดทำโดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายของรัฐบาล และ สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและโลก รวมถึงมีความสำคัญต่อการบรรลุเป้าหมาย การพัฒนา ประเทศในระยะยาวท่ีจะชว่ ยสนับสนุนให้การพัฒนาประเทศได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน บนเป้าหมายร่วม ท ี ่ ช ั ดเจน และย ั งเอ ื ้ อประโ ยช น ์ ต ่ อการต ิ ดตาม ตรว จสอบและประเม ิ นผลคว ามสำเร็ จ ของแผน เพื่อนำมาปรับปรุงกระบวนการและวิธีการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายตามที่มุ่งหวังได้ดียิ่งขึ้น ซง่ึ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบดว้ ย 13 หมุดหมาย ไดแ้ ก่ หมุดหมายท่ี 1 ไทยเป็นประเทศช้นั นำด้านสนิ ค้าเกษตรและเกษตรแปรรปู มลู ค่าสงู หมุดหมายท่ี 2 ไทยเป็นจดุ หมายของการทอ่ งเทีย่ วทีเ่ น้นคุณภาพและความยัง่ ยืน หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนตไ์ ฟฟ้าท่สี ำคัญของโลก หมุดหมายที่ 4 ไทยเปน็ ศูนยก์ ลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลคา่ สูง หมดุ หมายที่ 5 ไทยเปน็ ประตูการคา้ การลงทุนและยทุ ธศาสตร์ทางโลจสิ ติกสท์ ส่ี ำคญั ของภมู ภิ าค หมดุ หมายที่ 6 ไทยเป็นฐานการผลิตอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะทส่ี ำคญั ของโลก หมุดหมายท่ี 7 ไทยมีวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มท่ีเขม้ แขง็ มศี ักยภาพสูง และสามารถแข่งขนั ได้ หมดุ หมายที่ 8 ไทยมีพน้ื ท่แี ละเมืองอัจฉริยะทีน่ า่ อยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อยา่ งยง่ั ยืน หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมท่ี เพยี งพอ เหมาะสม หมดุ หมายท่ี 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมนุ เวียนและสังคมคาร์บอนตำ่ หมดุ หมายท่ี 11 ไทยสามารถลดความเส่ียงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ หมดุ หมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสงู มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต หมดุ หมายท่ี 13 ไทยมภี าครฐั ท่ที นั สมยั มปี ระสทิ ธภิ าพ และตอบโจทย์ประชาชน โดยหมุดหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมากที่สุด นั่นคือ หมุดหมายที่ 12 ซ่งึ มีรายละเอียดดังนี้ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ติวัน หน้าท่ี 45

หมดุ หมายที่ 12 ไทยมกี ำลงั คนสมรรถนะสงู มงุ่ เรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง ตอบโจทย์การพฒั นาแหง่ อนาคต หมดุ หมายที่ 12 มีความสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าติใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในประเด็นเป้าหมาย ประเทศไทยมขี ีดความสามารถในการ แข่งขนั สงู ข้นึ 2. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ในประเดน็ เปา้ หมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ชี วี ิตในศตวรรษที่ 21 และสงั คมไทยมีสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือและสนับสนุนต่อการ พัฒนาคนตลอดชว่ งชีวติ 3. ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ในประเด็นเป้าหมาย สร้างความ เป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ และกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพม่ิ โอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นเข้ามาเปน็ กำลงั ของการพัฒนาประเทศในทุกระดบั หมุดหมายที่ 12 มงุ่ ตอบสนองเป้าหมายหลกั ของแผน 2 เป้าหมาย ไดแ้ ก่ 1. การพัฒนาคนสำหรับยุคใหม่ โดยการพัฒนาคนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ การพัฒนา กำลังคนสมรรถนะสูงสอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิต เป้าหมาย สามารถสร้างงานอนาคต และ สร้างผู้ประกอบการอัจฉรยิ ะท่มี ีความสามารถในการสร้างและใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรม 2. การมงุ่ ส่สู งั คมแหง่ โอกาสและความเป็นธรรม ดว้ ยการสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ท้ังการพฒั นาระบบ นิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาทางเลือกในการเข้าถึงการเรียนรู้สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบ การศึกษาปกติ โดยมีเปา้ หมายระดับหมุดหมาย และตัวช้ีวดั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ดังน้ี เป้าหมายที่ 1 คนไทยได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับ โลกยุคใหม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุ้มกัน ตอ่ การเปล่ยี นแปลงอยา่ งพลกิ โฉมฉบั พลนั ของโลก สามารถดำรงชวี ติ ร่วมกนั ในสังคมได้อย่างสงบสขุ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1.1 ดัชนพี ฒั นาการเด็กสมวัยเพ่มิ ขึน้ เป็นร้อยละ 88 ณ ส้ินสุดแผนฯ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ร้อยละของนักเรียนที่มีสมรรถนะไม่ถึงระดับพื้นฐานของทั้ง 3 วิชา ในแต่ละกลุ่ม โรงเรียนลดลงรอ้ ยละ 8 เมื่อสิน้ สดุ แผนฯ ตวั ชี้วดั ที่ 1.3 ทนุ ชวี ติ เด็กและเยาวชนไทยเพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ 3 เม่ือส้ินสดุ แผนฯ เป้าหมายที่ 2 กำลังคนมีสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิตเป้าหมาย และ สามารถสรา้ งงานอนาคต ตัวชี้วัดที่ 2.1 ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Form: WEF) 6 ด้านทกั ษะ คะแนนเพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 20 เมือ่ สน้ิ สดุ แผนฯ เป้าหมายท่ี 3 ประชาชนทกุ กลุ่มเขา้ ถึงการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต ตัวชี้วัดที่ 3.2 กลุ่มประชากรอายุ 15 – 24 ปี ที่ไม่ได้เรียน ไม่ได้ทำงาน หรือไม่ได้ฝึกอบรม ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 5 เมื่อสิ้นแผนฯ แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของโรงเรียนบ้านสนั ตวิ ัน หน้าท่ี 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook