Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราเมศวร์ ภูเขาไฟ

ราเมศวร์ ภูเขาไฟ

Published by jutatip112517, 2020-08-24 01:57:45

Description: ราเมศวร์ ภูเขาไฟ

Keywords: Science

Search

Read the Text Version

รายงาน เรื่อง ภูเขาไฟ(Volcano) จดั ทาโดย สามเณร ราเมศวร์ บรรลอื เขตต์ เสนอ อาจารย์ จุฑาทพิ ย์ แก้วมณี รายงานฉบบั นเี้ ป็ นส่วนหน่งึ ของรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมวดั สุวรรณรังสรรค์ ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๓

คานา รายงในเร่ืองภเู ขาไฟ(Volcano)และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอื่ เป็นประโยชนก์ บั การเรียน ผ้จู ดั ทาหวงั วา่ รายงานเลม่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์กบั ผ้อู า่ น หรือนกั เรียน นกั ศึกษา ท่ีกาลงั หา ข้อมลู เรื่องนีอ้ ย่หู ากมีข้อแนะนาหรือข้อผดิ พลาดประการใด ผ้จู ดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภยั มา ณ ที่นีด้ ้วย จดั ทาโดย สามเณร ราเมศวร์ บรรลือเขตต์

สารบญั หน้า เร่ือง 1 การก่อกาเนดิ ภูเขาไฟ 2 ภเู ขาไฟรูปร่างต่างๆ 3 แบบกรวยกรวดภเู ขาไฟ 4 ภเู ขาไฟรูปโล่ 5 ภเู ขาไฟกรากะตัว 6 ภเู ขาไฟวสิ ุเวยี ส 7 ภเู ขาไฟใต้นา้ 8 ภูเขาไฟ 9 การเกดิ ภูเขาไฟ 10 การจาแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง 11 ผลกระทบจากการระเบิดของภเู ขาไฟ 12 ประโยชน์ของการเกดิ ภูเขาไฟ 13 โทษของการเกดิ ภเู ขาไฟ 14 แหล่งทม่ี า

ภูเขาไฟ ภเู ขาไฟเป็นหน่ึงในองคป์ ระกอบที่ทรงพลงั ที่สุดของธรรมชาติและเป็นส่ิงท่หี ล่อหลอมโลก ของเรานบั ต้งั แต่จุดเร่ิมตน้ น่ีคือความกราดเกร้ียวอยา่ งสุดขีดของธรรมชาติภมู ิประเทศทวั่ ทกุ หนแห่ง ลอ้ มรอบไปดว้ ยเปลวไฟการปะทเุ พยี งคร้ังเดียวก็ทาใหฟ้ ้ ามืดไปทวั่ ท้งั ทวีปและเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศไปนานหลายร้อยปี การปะทุคร้ังร้ายแรงทีส่ ุดของภเู ขาไฟมีพลงั งานมากกวา่ อาวุธนิวเคลียร์ทุก ชนิดในปี 1815 เถา้ จากภเู ขาไฟแทมโบราไดส้ ร้างใหเ้ กิดภาพพระอาทิตยต์ กดินสีแดงฉานไปทวั่ โลก นานถึง3ปี การปะทุทใี่ หญ่กว่าน้นั ปิ ดก้นั ลาแสงจากดวงอาทิตยไ์ ปนานหลายสิบปี สร้างใหเ้ กิดความ หายนะต่อการเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศโลก

การเกดิ ภูเขาไฟ เกิดจากหินหนืดทอ่ี ยใู่ ตเ้ ปลือกโลกถูกแรงดนั อดั ใหแ้ ทรกรอยแตกข้ึนสู่ผวิ โลกโดยมแี รงปะทหุ รือแรงระเบดิ เกิดข้ึนส่ิงที่พุ่ง ออกมาจากภเู ขาไฟเมื่อภเู ขาไฟระเบดิ ก็คือหินหนืด ไอน้า ฝ่ นุ ละออง เศษหินและแก๊ส ต่างๆ โดยจะพงุ่ ออกมาจากปล่องภเู ขาไฟ(หิน หนืดถา้ ถกู พุ่งออกมาจากบนพ้ืนผวิ โลกเรียกว่า ลาวา แต่ถา้ ยงั อยใู่ ตผ้ วิ โลกเรียกวา่ แมกมา) บริเวณท่ีมีโอกาสเกิดภเู ขาไฟแนวรอยต่อ ระหวา่ งเพลตจะเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดภเู ขาไฟไดม้ ากทส่ี ุดโดยเฉพาะบริเวณท่มี ีการมุดตวั ของแผน่ เปลือกโลกใตพ้ ้ืนมหาสมทุ รลง ไปสู่บริเวณใตเ้ ปลือกโลกท่ีเป็นส่วนของทวปี เพราะเปลือกโลกแผน่ เปลือกโลกท่มี ุดตวั ลงไปจะถกู หลอมกลายเป็นหินหนืดจึงแทรกตวั ข้ึนมาบริเวณผวิ โลกไดง้ ่ายกวา่ บริเวณอนื่ บริเวณที่อยหู่ ่างจากรอยต่อระหว่างเปลือกโลกกอ็ าจเกิดภเู ขาไฟไดเ้ ช่นกนั ซ่ึงเกิดข้ึนโดย กระบวนการทหี่ ินหนืดถกู ดนั ข้ึนมาตามรอยแยกในช้นั หินตวั อยา่ งเช่นนกั ธรณีวทิ ยาพบวา่ บริเวณจงั หวดั ลาปางและบรุ ีรัมย์เคยมีบริเวณ ทหี่ ินหนืดถูกดนั แทรกข้ึนมาตามรอยแยกของช้นั หิน และมีบางแห่ง เกิดการปะทุแบบภเู ขาไฟ แต่ไม่รุนแรงมากนกั

การจาแนกภูเขาไฟตามรูปร่าง 1.กรวยภเู ขาไฟสลบั ช้นั กรวยภเู ขาไฟสลบั ช้นั (Composit Cone Volcano) เป็นภเู ขาไฟซ่ึงเกิดจากการสลบั หมุนเวยี น ของช้นั ลาวา และเศษหิน ภเู ขาไฟชนิดน้ีอาจจะดนั ลาวาไหลออกมาเป็นเวลานาน และจะเปล่ียนแปลง รูปแบบการประทุอยา่ งกระทนั หนั ภเู ขาไฟชนิดน้ีที่มีชื่อ เช่น ภเู ขาไฟฟจู ิ (ญ่ีป่ นุ ), ภเู ขาไฟมายอน (ฟิ ลิปปิ นส์) และ ภเู ขาไฟเซนตเ์ ฮเลน (สหรัฐฯ)

2.ภเู ขาไฟรูปโล่ ภเู ขาไฟรูปโล่ (Shield Volcano) เป็นภเู ขาไฟทม่ี ีขนาดใหญ่ โดยพ้ืนฐานแลว้ ภเู ขาไฟชนิด น้ีเกิดจาก ลาวาชนิดบาซอลทท์ ไ่ี หลดว้ ยความหนืดต่า ลาวาทีไ่ หลมาจากปล่องกลาง และไม่กองสูง ชนั เหมือนภเู ขาไฟชนิดกรวยสลบั ช้นั ภเู ขาไฟชนิดน้ีมกั จะเป็นภเู ขาไฟทใ่ี หญ่ เช่น ภเู ขาไฟ Muana Loa (ฮาวาย)

3.กรวยกรวดภเู ขาไฟ กรวยกรวดภเู ขาไฟ (Cinder Cone) ภเู ขาไฟชนิดน้ีจะสูงชนั มาก และเกิดจาก ลาวาท่พี ุ่งออกมาทบั ถมกนั ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่ต่อเนื่อง และมีลกั ษณะเป็น ลาวาลูกกลมๆ ทพ่ี งุ่ ออกมาจากปล่องเดี่ยว และทบั ถมกนั บริเวณรอบปล่อง ทาใหภ้ เู ขาไฟ ชนิดน้ีไม่ค่อยก่อใหเ้ กิดความสูญเสียชีวติ

ผลกระทบจากการระเบิดของภูเขาไฟ แรงสน่ั สะเทอื น มีท้งั การเกิดแผน่ ดินไหวเตือน แผน่ ดินไหวจริง และแผน่ ดินไหวติดตาม ถา้ ประชาชนไปต้งั ถ่ินฐานอยใู่ นเชินภเู ขา ไฟอาจหนีไม่ทนั เกิดความสูญเสียชีวติ และทรัพยส์ ิน การเคลื่อนที่ของลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่องภเู ขาไฟเคล่ือนทรี่ วดเร็วถึง 50 กิโลเมตรต่อชว่ั โมง มนุษยและสัตวอ์ าจหนีภยั ไม่ทนั เกิดความสูญเสียอยา่ งใหญ่หลวง เกิดเถา้ ภเู ขาไฟ บอมบภ์ เู ขาไฟ ระเบิดข้ึนสู่บรรยากาศ ครอบคลุมอาณาบริเวณใกลภ้ เู ขาไฟ และลมอาจพดั พาไปไกลจากแหล่งภเู ขา ไฟระเบดิ หลายพนั กิโลเมตร เช่น ภเู ขาไฟพนิ าตโู บน จงั หวดั สงขลา นราธิวาส และปัตตานี เกิดมลภาวะทางอากาศและแหล่งน้ากินน้าใช้ ของประชาชน รวมท้งั ฝ่นุ ภเู ขาไฟไดข้ ้ึนไปถึงบรรยากาศข้นั สตราโตสเฟี ยร์ ใชเ้ วลานานหลายปี ฝ่นุ เหล่าน้นั ตึงจะตกลงบนพ้นื โลกจน หมด เกิดคลื่นสึนามิ ขณะเกิดภเู ขาไประเบิด โดยเฉพาะภเู ขาไฟใตท้ อ้ งมหาสมุทร คลื่นน้ีจะโถมเขา้ หาฝ่ังสูงกวา่ 30 เมตร

ประโยชน์ของการเกดิ ภเู ขาไฟ 1. การระเบดิ ของภเู ขาไฟชว่ ยปรับระดบั ของเปลือกโลกให้อยใู่ นภาวะสมดลุ 2. การเคลือ่ นท่ีของลาวาจากการระเบดิ ของภเู ขาไฟ ทาให้หนิ อคั นีและหนิ ชนั้ ใต้ท่ีลาวาไหลผา่ นเกิดการแปรสภาพ เชน่ หินแปรที่แขง็ แกร่งขนึ ้ 3. แหลง่ ภเู ขาไฟระเบดิ ทาให้เกิดแหลง่ แร่ท่ีสาคญั ขึน้ เชน่ เพชร เหลก็ และ ธาตอุ ืน่ ๆ อีกมาก 4. แหลง่ ภเู ขาไฟจะเป็นแหลง่ ดินดีเหมาะแกก่ ารเพาะปลกู เชน่ ดินที่อาเภอ ทา่ ใหม่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี เป็นต้น 5. แหลง่ ภเู ขาไฟ เป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวที่สาคญั เชน่ อทุ ยานแห่งชาตฮิ าวาย ในอเมริกา หรือแหลง่ ภกู ระโดง ภอู งั คาร ในจงั หวดั บรุ ีรัมย์ของไทย เป็นต้น 6. ฝ่นุ เถ้าภเู ขาไฟที่ลอ่ งลอยอย่ใู นอากาศชนั้ สตราโตสเฟี ยร์ ทาให้ บรรยากาศโลกเยน็ ลง ปรับระดบั อณุ หภมู ขิ องบรรยากาศชนั้ โทรโพสเฟี ยร์ของโลก ท่ีกาลงั ร้อนขึน้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือการเกิดปฏกิ ริ ิยาเรือนกระจกและการ เปลย่ี นแปลงของกระแสนา้ แอลนโิ น ท่ีทาให้อณุ หภมู ใิ นบรรยากาศของโลกสงู ขนึ ้ นนั้ ลดต่าลง

โทษของการเกดิ ภูเขาไฟ 1.เม่ือภเู ขาไฟระเบิดจะมีเขม่าควนั และก๊าซบางชนิดซ่ึงอาจเป็นอนั ตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้ 2.การปะทขุ องภเู ขาไฟอาจทาใหเ้ กิดแผน่ ดินไหวข้ึนได้ 3.ชีวติ และทรัพยส์ ินทอ่ี ยใู่ กลเ้ คียงเป็นอนั ตราย 4.สภาพภมู ิอากาศเกิดการเปล่ียนอยา่ งเห็นไดช้ ดั

การก่อกาเนิดภูเขาไฟ เกิดจากหินหนืดทอ่ี ยใู่ ตเ้ ปลือกโลกถูกแรงดนั อดั ใหแ้ ทรกรอยแตกข้ึนสู่ผวิ โลก โดยมีแรงปะทุหรือแรงระเบิด เกิดข้ึนส่ิงท่ีพุ่งออกมาจากภเู ขาไฟเมื่อภเู ขาไฟระเบิดก็คือ หินหนืด ไอน้า ฝ่นุ ละออง เศษหินและแก๊สต่างๆ โดยจะพ่งุ ออกมา จากปล่องภเู ขาไฟ (หินหนืดถา้ ถูกพ่งุ ออกมาจากบนพ้ืนผวิ โลกเรียกว่า ลาวา แต่ถา้ ยงั อยใู่ ตผ้ วิ โลกเรียกวา่ แมกมา)บริเวณทมี่ ี โอกาสเกิดภเู ขาไฟ แนวรอยต่อระหว่างเพลตจะเป็นบริเวณที่มีโอกาสเกิดภเู ขาไฟไดม้ ากที่สุด โดยเฉพาะบริเวณทม่ี ีการมุดตวั ของแผน่ เปลือกโลก ใตพ้ ้นื มหาสมุทรลงไปสู่บริเวณใตเ้ ปลือกโลกที่เป็นส่วนของทวปี เพราะเปลือกโลกแผน่ เปลือกโลกทมี่ ุด ตวั ลงไปจะถูกหลอมกลายเป็นหินหนืด จึงแทรกตวั ข้ึนมาบริเวณผวิ โลกไดง้ ่ายกวา่ บริเวณอน่ื บริเวณทีอ่ ยหู่ ่างจากรอยต่อ ระหว่างเปลือกโลก กอ็ าจเกิดภเู ขาไฟไดเ้ ช่นกนั ซ่ึงเกิดข้ึนโดยกระบวนการท่หี ินหนืดถูกดนั ข้ึนมาตามรอยแยกในช้นั หิน

ภเู ขาไฟรูปร่างต่างๆ ภเู ขาไฟแบง่ ตามลกั ษณะการเกิดและรูปร่างได้ 5 แบบ คือ 1. แบบกรวยกรวดภเู ขาไฟ 2.ภเู ขาไฟกรากะตวั 3. ภเู ขาไฟรูปโล่ 4.ภเู ขาไฟวสิ ุเวียส 5.ภเู ขาไฟใตน้ ้า

แบบกรวยกรวดภเู ขาไฟ มีรูปร่างลกั ษณะเหมือนกรวยสูงทค่ี วา่ อยู่ จดั เป็นภเู ขาไฟที่มีขนาดเลก็ ท่ีสุด ภเู ขาไฟ แบบน้ีเกิดจากการปะทุของหินหลอมเหลวภายใตผ้ วิ โลกถกู ดนั ปะทุออกมาทาง ปล่องอยา่ งแรง มีผล ใหช้ ิน้ ส่วนหินทีร่ ้อนจดั ลุกเป็นไฟปะทขุ ้ึนไปในอากาศ แลว้ เยน็ ตวั ลงอยา่ งรวดเร็วกลายเป็นกรวดภเู ขา ไฟ มีลกั ษณะเป็นผลึกแขง็ เหมือนแกว้ การปะทขุ องหินหลอมเหลวคร้ังแลว้ คร้ังเล่าทาใหถ้ ่านและข้ีเถา้ กองทบั กนั เป็นแนวลาดเป็นช้นั สูงข้ึนไปเรื่อยๆ ภเู ขาไฟส่วนใหญ่ทีพ่ บเห็นมกั จะมีลกั ษณะรูปร่าง

ภูเขาไฟรูปโล่ เป็นแบบทมี่ ีลกั ษณะกวา้ งเต้ียคลา้ ยรูปโล่คว่า ท้งั น้ีเพราะหินหนืดไหลออกมาจากปล่อง มีอุณหภมู ิสูงมาก และมีอตั ราการไหลเร็วมากจึงไหลไปไดเ้ ป็นระยะทางไกล ไม่เกิดการทบั ถมของเถา้ ถ่านเป็นรูปกรวย แต่จะขยายแผก่ วา้ งออกไป จึงเป็นภเู ขาไฟทม่ี ีรูปร่างกวา้ งใหญ่ที่สุด ภเู ขาไฟแบบน้ีมี อยมู่ ากในแถวหม่เู กาะฮาวาย นอกจากน้ีนกั ธรณีวทิ ยายงั พบวา่ ก่อนและหลงั ท่ภี เู ขาไฟจะระเบิด มกั จะ เกิดแผน่ ดินไหวก่อน

ภูเขาไฟกรากะตวั เกาะกรากะตวั เป็นเกาะทีม่ ีแนวเสน้ ภเู ขาไฟพาดผา่ นใจกลางเกาะ ยอดปล่องภเู ขาไฟท่ีสูงท่ีสุดในเกาะมี ความสูง 820 เมตรเหนือระดบั น้าทะเลปานกลาง หินภเู ขาไฟและธาตุภเู ขาไฟที่ใหเ้ ป็นเกาะทีอ่ ดุ มสมบรู ณ์ เหมาะต่อการ เกษตรกรรม เกาะแห่งน้ีเริ่มมีมนุษยม์ าต้งั ถ่ินฐานอยเู่ มื่อประมาณ3000ปี ก่อนคริสตกาล มนุษยก์ ลุ่มแรกๆคือเกษตรกรทีม่ า ทดลองถางป่ าทเ่ี กาะน้ีเพือ่ ปลูกขา้ วและพืชผลอน่ื ๆแลว้ ไดผ้ ลเป็นที่น่าพอใจ จึงต้งั รกรากอาศยั อยบู่ นเกาะ เกาะน้ีอยไู่ ม่ ไกลจากเกาะสุมาตรา ซ่ึงเป็นเกาะใหญ่ทางตะวนั ตกของอนิ โดนีเซีย ทาใหม้ ีผคู้ นมาต้งั รกรากมากข้นึ จนเกาะแห่งน้ี กลายเป็นเมืองแห่งหน่ึงภเู ขาไฟกรากะตวั ทีต่ ้งั อยบู่ นเกาะไดม้ ีการระเบดิ เลก็ ๆนอ้ ยๆหลายคร้ัง แต่การระเบิดไดพ้ น่ แร่ธาตุ ออกมาทาใหเ้ กาะอดุ มสมบรู ณ์ข้ึน ชาวบา้ นจึงไม่ไดต้ ระหนกั ถึงภยั อนั ตรายของภเู ขาไฟระเบิดการระเบิดคร้ังสุดทา้ ยก่อน จะเกิดการระเบิดคร้ังใหญ่เกิดข้ึนใน พ.ศ. 2224 (ค.ศ. 1681) หลงั จากน้นั กรากะตวั ก็สงบไปนานกว่า 200 ปี

ภเู ขาไฟวสิ ุเวยี ส (องั กฤษ: Mount Vesuvius) ต้งั อยใู่ กลก้ บั เมืองนาโปลี (เนเปิ ลส์) เหนืออ่าวเนเปิ ลส์ ประเทศ อิตาลี เป็นภเู ขาไฟทยี่ งั ไม่ดบั เพียงแห่งเดียวในแผน่ ดินใหญ่ยโุ รป มีความสูง 1,281 เมตร ปากปล่องมีเส้น รอบวง 1,400 เมตร ลึก 216 เมตร การระเบิดคร้ังทีม่ ีชื่อเสียงเกิดข้ึนในวนั ท่ี 24 สิงหาคม ปี พ.ศ. 622(ค.ศ. 79) เถา้ ถ่านไดท้ บั ถมเมืองปอมเปอแี ละเฮอร์คิวเลเนียมท้งั เมือง แต่การระเบิดคร้ังล่าสุดเกิดข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944)

ภูเขาไฟใต้นา้ อาจอยเู่ ด่ียว ๆ หรือเป็นกลุ่มบนพ้นื มหาสมุทร ส่วนท่สี ูงไม่เกิน 1,000 เมตรจากพ้นื มหาสมุทร ภเู ขาไฟใตน้ ้ามีสัณฐาน ค่อนขา้ งกลมมน หากยอดเรียบจะเรียกวา่ เนินเขามหาสมุทร (abyssal) ภเู ขาไฟใตน้ ้าท่ีอยเู่ ป็นกลุ่มอาจเป็นฐานของแนวสันเขาใต้ น้าก็ไดบ้ างคร้ังอาจเป็นภเู ขาไฟท่ียงั คุกรุ่นอยบู่ างแห่งอาจโผล่ข้ึนมาเหนือผวิ หนา้ น้ากลายเป็นเกาะภเู ขาไฟในมหาสมุทรไดเ้ ช่น หมู่เกาะฮาวายเป็นตน้ ภเู ขาไฟทโี่ ผล่พน้ ผวิ น้าบางแห่งเม่ือเกิดระเบดิ ข้ึนยอดของมนั จะหายไปลดความสูงลงจนถึงผวิ หนา้ น้าจาก การกระทาของกระแสน้า คลื่นและลม ต่อมาอาจจะมีการจมตวั ลงจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ทาใหก้ ลายเป็นภเู ขาทมี่ ี ยอดแบนราบใตน้ ้า ภเู ขาลกั ษณะดงั กล่าวเรียกว่า กีโยต์ (guyot) หรือ Tablemount (ภาพที่ 3.6) ส่วนใหญ่จะอยตู่ ่ากว่า ผวิ หนา้ น้าประมาณ 1,200-1,600 เมตร และพบมากในมหาสมุทรแปซิฟิ กตอนกลาง ในบริเวณมหาสมุทรในเขตร้อนเช่น ในบริเวณเส้นศนู ยส์ ูตรท่ีมีอุณหภมู ิผวิ หนา้ น้าไม่ต่ากว่า 20 องศาเซลเซียส เกาะภเู ขาไฟบริเวณน้ีจะมีปะการังเกิดข้ึนโดยรอบเม่ือ ภเู ขาไฟระเบิดหรือจมตวั ลงหรือระดบั น้าสูงข้ึนปะการังจะเติบโตตามแนวด่ิงสูงข้ึนตามระดบั น้าในขณะทเ่ี กาะระยะต่อไปเม่ือ เกาะจมตวั ลงพ้นื ทภ่ี ายในแนวปะการังทล่ี อ้ มรอบจะมีลกั ษณะคลา้ ยทะเลสาบเรียกวา่ (Lagoon)แนวปะการังลกั ษณะดงั กล่าว เรียกว่าatoll

แหล่งทม่ี า https://pawena5651.wordpress.com/ https://hahugking.wordpress.com/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook