Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3คำสั่งใช้งาน PLC

บทที่3คำสั่งใช้งาน PLC

Published by krit.chotipun, 2019-10-17 22:30:49

Description: บทที่3คำสั่งใช้งาน PLC

Search

Read the Text Version

คำสง่ั ใช้งำน PLC ในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทางานของ PLC TOSHIBA T1 สามารถเขียนเปน็ Ladder Diagram ได้ โดยไมต่ อ้ งแปลงเป็นภาษาบลู ีน คำสัง่ NO-Contact: เป็นคาส่ังหนา้ สมั ผัสปกติเปิด กำรทำงำน: หน้าสัมผสั จะเปลีย่ นสภาวะจากปกติเปิดเปน็ สภาวะปกติปิด เม่อื มี การเปลีย่ นแปลงสัญญาณอนิ พุตจาก OFF เปน็ ON A Input Output

Timing Diagram Ladder Diagram

คำส่ัง NC-Contact: เป็นคาสง่ั หน้าสัมผัสปกติปดิ กำรทำงำน: หน้าสมั ผัสจะเปลยี่ นสภาวะจากปกตปิ ดิ เปน็ สภาวะปกตเิ ปดิ เม่ือมกี าร เปลยี่ นแปลงสัญญาณอนิ พตุ จาก OFF เป็น ON รูปแบบของคำส่ัง Timing Diagram Ladder Diagram

คำสง่ั Coil: เป็นคาสงั่ ทสี่ น้ิ สดุ ในแตล่ ะบรรทัด โดยจะเช่ือมต่อกบั เสน้ แนว ตั้งทางดา้ นขวา ใช้กับคอยล์ประเภทเอาต์พุต (Y) รเี ลยช์ ว่ ย (R) ตวั ตงั้ เวลา (T) และตัวนับจานวน (C) โดยท่คี าสั่ง Coil จะแสดงผลของเอาตพ์ ุต กำรทำงำน: เอาต์พตุ จะทางานเม่ือมสี ญั ญาณจากอินพุตเข้าท่คี อยล์

คำสง่ั Transitional contact (Rising edge): เปน็ คาสัง่ ที่ หนา้ สมั ผัสทางาน ON ด้วยระยะเวลา 1 Scan time เมอื่ มกี าร เปลย่ี นแปลงสญั ญาณจาก OFF เป็น ON กำรทำงำน: เมอ่ื สญั ญาณอนิ พตุ มกี ารเปลยี่ นแปลงจาก OFF เป็น ON (ชว่ งขอบขาขนึ้ ) จะทาใหห้ น้าสัมผสั ON เปน็ ระยะเวลา 1 Scan time Timing Diagram

Ladder Diagram กำรนำไปใช้งำน 1. ใชร้ ว่ มกบั สวิตชป์ ่มุ กดในการส่งั งาน 2. ใชร้ ว่ มกบั สวิตชป์ ่มุ กดในกรณีตอ้ งการใชง้ านสวิตชเ์ พ่ือเปิด-ปิด การทางาน

คำสัง่ Transitional contact (Falling edge): เป็นคาสั่งท่ี หน้าสมั ผสั ทางาน ON ดว้ ยระยะเวลา 1 Scan time เมื่อมกี าร เปลย่ี นแปลงสญั ญาณจาก ON เป็น OFF กำรทำงำน: เมอ่ื สญั ญาณอินพุตมกี ารเปล่ยี นแปลงจาก ON เป็น OFF (ช่วงขอบขา ลง) จะทาใหห้ นา้ สัมผัส ON เปน็ ระยะเวลา 1 Scan time Timing Diagram

Ladder Diagram กำรนำไปใช้งำน

คำสั่ง Forced Coil: เป็นคาส่งั ท่ีสามารถกระตุน้ คอยลข์ องอุปกรณ์เอาตพ์ ตุ ให้คา้ งสภาวะไว้โดยไมส่ นใจต่อการเปลย่ี นแปลงของสภาวะการอินพุต Input คำส่ัง Inverter: เป็นคาสง่ั กลบั สภาวะของสญั ญาณอินพตุ ใหม้ ีสภาวะตรงข้าม กับ สญั ญาณทป่ี ้อนเขา้ มา กำรทำงำน: เมื่อหนา้ สมั ผัสอนิ พตุ มสี ภาวะปกติเปิด จะทาใหเ้ อาตพ์ ุตมสี ภาวะ ทางาน (ON) และเมอื่ หน้าสัมผัสอนิ พตุ มีสภาวะปกตปิ ดิ จะทาให้เอาตพ์ ุตมสี ภาวะ หยดุ ทางาน (OFF) รูปแบบของคำสัง่

Timing Diagram Ladder Diagram

คำสั่ง Jump control set/Jump control reset (JCS/JCR): เป็นคาส่งั ท่ี ใช้ในการกระโดดข้ามโปรแกรมสว่ นทอี่ ยู่ระหวา่ งคาส่ัง JCS กบั JCR - เมือ่ อินพตุ JCS เปน็ สภาวะ ON โปรแกรมที่อยู่ระหว่างคาสั่ง JCS ถึง JCR จะถูกกระโดดขา้ มไป (ไม่ทางาน) Input Ladder Diagram

คำส่ัง Master control set/ Master control reset (MCS/MCR): เปน็ คาสัง่ ท่ีใช้ ควบคุมการทางานของโปรแกรมให้เปน็ ไปตามลาดบั ข้นั การทางาน และโปรแกรมทอ่ี ยู่ใน รงั กถ์ ัดไปจะถูกควบคุมด้วยคาส่งั MCS ซ่งึ ทาหน้าท่ีเปรยี บเสมือนเป็นการสรา้ งเส้นทางไฟ ขึ้นใหม่ในวงจร Input Ladder Diagram

คำส่ัง END: เป็นคาส่งั สิน้ สุดการทางานของโปรแกรมหรือหยุดการทางานของโปรแกรม ณ บรรทัดนนั้ ๆ ในการใชค้ าส่งั END ปกตจิ ะใสไ่ วบ้ รรทัดสดุ ทา้ ยของโปรแกรม Ladder Diagram

คำสัง่ ON delay timer (TON): เปน็ คาส่ังท่ใี ชค้ วบคมุ การทางานของอปุ กรณ์ประเภท ตวั ตง้ั เวลา (Timer) โดยจะหนว่ งเวลาหลงั จากทจ่ี า่ ยไฟให้กับคอยล์ และสามารถตั้งคา่ เวลาไดส้ งู สดุ 3,276.7 วินาที Timing Diagram

คำสง่ั OFF delay timer (TOF): เป็นคาสง่ั ท่ีใชค้ วบคมุ การทางานของอุปกรณป์ ระเภท ตวั ต้ังเวลา (Timer) โดยจะหนว่ งเวลาหลังจากทหี่ ยดุ จา่ ยไฟใหก้ บั คอยล์ และสามารถต้งั คา่ เวลาได้สูงสดุ 3,276.7 วนิ าที Timing Diagram Ladder Diagram

คำสง่ั Single shot timer (SS): เป็นคาสั่งทีใ่ ช้ควบคุมการทางานของอปุ กรณป์ ระเภท ตัวต้ังเวลา (Timer) โดยจะหนว่ งเวลาทันทีหลังจากทจี่ ่ายไฟให้กับคอยล์ Timing Diagram Ladder Diagram

คำสัง่ Counter (CNT): เปน็ คาสงั่ ท่ีใชค้ วบคุมการทางานของอปุ กรณป์ ระเภท อุปกรณ์นบั จานวน (Counter) และตง้ั ค่าการนบั ไดส้ ูงสุด 32,767 คา่ Timing Diagram Ladder Diagram

คำส่ังประยุกต์ คาสง่ั ประยกุ ตม์ ีอยู่ 2 ชนดิ คอื คาสง่ั ที่มีอินพตุ เดียว กับคาส่ังทม่ี หี ลายอินพตุ คาส่งั ประยุกตม์ ีให้เลอื กใชง้ านจานวนหลายคาสง่ั ส่วนมากเปน็ คาสงั่ จัดการข้อมลู คา่ ตวั เลขในรีจิสเตอร์ คำส่ังเคลอ่ื นย้ำยข้อมลู (MOV): เป็นคาสง่ั ทใ่ี ช้สาหรับเคล่อื นย้ายขอ้ มูล จาก ทางดา้ นอินพตุ ไปยงั ด้านเอาตพ์ ุตโดยคา่ ของขอ้ มูลอินพตุ จะไมเ่ ปล่ียนแปลง สว่ น ใหญ่จะนยิ มเคล่ือนย้ายค่าข้อมลู ไปเกบ็ ไว้ในรจี ิสเตอรเ์ ก็บข้อมลู (D)

คำสงั่ SET: เป็นคาส่ังทส่ี ่ังให้อุปกรณท์ างาน โดยทางานตลอดไปจนกวา่ จะยกเลิกการ ทางานโดยใช้คาสัง่ RST (Reset) กำรทำงำน: เมอ่ื มีสญั ญาณอินพตุ เข้าทค่ี าสง่ั SET จะทาให้คาส่ัง SET ทางานไป กระทาการให้อปุ กรณ์ SET อปุ กรณ์ให้ทางาน Ladder Diagram

คำสงั่ RST (Reset): เปน็ คาสั่งทใี่ ชส้ งั่ หยุดทางาน หรอื ยกเลิกการทางานของ อปุ กรณโ์ ดยจะใช้ทางานร่วมกับคาสง่ั SET กำรทำงำน: เมื่อมีสญั ญาณอนิ พตุ เขา้ ท่คี าสงั่ RST จะทาใหค้ าสั่ง RST ทางานไป กระทาการยกเลกิ การทางานของอปุ กรณ์ Ladder Diagram

บทสรุป ในการเขียนโปรแกรมส่วนใหญ่โดยท่ัวไปจะนิยมเขียนในรูปแบบของ Ladder Diagram เพราะมีลักษณะการทางานคล้ายกับวงจรรีเลย์ ซึ่งคาส่ังใช้งาน PLC TOSHIBA T1 ประกอบด้วยคาส่ังพื้นฐานและคาสั่งประยุกต์ แต่ละคาส่ังมี ลักษณะและหน้าที่การใช้งานท่ีแตกต่างกันไป คาส่ังพื้นฐานจะใช้ในการเขียน โปรแกรมและจัดการข้อมูลการควบคุมตามลาดับที่ไม่ซับซ้อน ส่วนคาสั่ง ประยุกต์จะใช้ในการเขียนโปรแกรมและจัดการข้อมูลการควบคุมที่มีความ ซับซ้อนหรือมีเงื่อนไขการทางานซับซ้อนหลายข้ันตอน การเลือกใช้คาส่ังเพ่ือ นาไปใช้งานให้ถูกต้องและเหมาะสมนั้น ผู้ใช้งานจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ลกั ษณะการทางานของแต่ละคาสั่งและเหมาะสมกับเง่ือนไขการควบคุม เพื่อให้ การเขียนโปรแกรมใช้งานมีความถูกต้อง กระชับ เข้าใจง่าย ทางานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพและประหยัดหน่วยความจาของ PLC


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook