Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11 New Public Management กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ(1)

11 New Public Management กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ(1)

Published by kobchai.m.150, 2017-07-11 23:13:35

Description: 11 New Public Management กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ(1)

Search

Read the Text Version

New Public Management:กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐ คร้ังท่ี 11 อาจารย์ ดร.เพ่ง บวั หอม

หวั ขอ้ บรรยาย1. ปรัชญา และแนวคดิ การจัดการภครัฐแนวใหม่2. หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่3. ปัญหาพืน้ ฐานของภาครัฐ4. สภาพแวดล้อมของภาครัฐและระบบราชการไทยท่ีเปล่ียนแปลงไป5. กรอบแนวคดิ ในการพฒั นาระบบราชการไทย6. ระบบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการเป็ นหลักการท่ปี ระยุกต์แนวคดิ ในการบริหารราชการท่มี ุ่งผลสัมฤทธ์ิมาใช้ในระบบราชการไทย

ภาครัฐในประเทศต่างๆ มักประสบปัญหาและถูกวพิ ากษ์วจิ ารณ์เกย่ี วกบัประสิทธิภาพประสิทธิผล และความสุจริตเทย่ี งธรรมในการบริหารราชการแผ่นดนิ รัฐบาลจาํ เป็ นต้องให้ความสาคญั และแสวงหาวิธีการเพอ่ื พฒั นาและเพ่มิ ศักยภาพของภาครัฐให้กลบั เป็ นกลไกขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศและ ให้บริการสาธารณะทม่ี ีคุณภาพ ตอบสนองคามต้องการของประชาชน เกดิ กระแสแนวคดิ ในการบริหารจัดการภาครัฐยุคใหม่ (New Public Management) และ ธรรมาภบิ าล หรือ การบริหารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี (Good Governance)

1. ปรัชญาแนวคิด การจดั การภาครัฐ หลกั การพืน้ ฐาน รัฐ/เอกชน ผลลพั ธ์สุดท้าย รัฐ/เอกชน -ธรรมาภบิ าล / บรรษัทภบิ าล -ประโยชน์สาธารณะ / ผลกาํ ไร -ประสทิ ธิภาพ / ประสิทธิภาพ -คุณภาพชีวติ ทด่ี ี / รับผดิ ชอบสังคม -ประสิทธิผล / ประสิทธิผล -อยู่ดีกนิ ดี / ผลติ ภาพ -ความเสมอภาค / การแขง่ ขนั -ม่ันคง ปลอดภัย / นวตกรรม-ความเป็ นธรรม / เสรีภาพทางธรุ กิจ -เจริญก้าวหน้า / ความพงึ พอใจ-การกระจายอานาจ/ ความได้เปรียบ -เสรีภาพ / ความเป็ นธรรมต่อผู้อน่ื-การบรู ณาการ / การปรับปรุง พฒั นา -การก้าวทนั เทคโน / ความทันสมยั12/07/60 Peng B 4

ปรัชญาแนวคิด การจดั การภาครัฐ อุปสรรค1. ค่านิยมท่เี ป็ นอุปสรรค : อานาจ วัตถุนิยม2. ผลประโยชน์ทบั ซ้อน12/07/60 Peng B 5

Conflict of Interest1. แสวงหาผลประโยชน์ให้ตวั เอง2. รับสินบน สินนา้ ใจ3. ใช้อิทธิพลเหน่ียวนา4. ใช้ทรัพย์สินของบริษัท5. ใช้ข้อมูล ข่าวสารท่เี ป็ นความลับ6. ลาออก แล้วสร้างบริษัทแข่ง7. ลาออก แล้วไปอยู่ค่แู ข่ง12/07/60 Peng B 6

การจดั การภาครัฐ vs การพฒั นาประเทศInput : ปัจจัยนาเข้า 3M (man,money,material)Process : กระบวนการ กจิ กรรมบริหารOutput : ปัจจยั ส่งออก สนิ ค้าและบริการFeedback12/07/60 Peng B 7

2. หลกั การบริหารภาครัฐยุคใหม่ Good Governanceหลกั ประชาธิปไตยหลกั กลไกตลาด หลกั การบริหาร สมยั ใหม่New Public Management

New Public Management: กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารภาครัฐบทบาทภารกจิ ของภาครัฐเน้น• บริการสาธารณะคุณภาพสูงท่ปี ระชาชนเหน็ คุณค่า ตรงความต้องการ ของประชาชน• รัฐพงึ ทาบทบาทเฉพาะทจ่ี าเป็ น และรัฐทาได้ดี• ทบทวนบทบาทภารกิจของภาครัฐและปรับเปลยี่ นอย่างต่อเน่ืองรูปแบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่เน้น• กระจายอานาจและลดการควบคุมจากระดบั บนหรือส่วนกลาง• บริหารงานเชิงกลยุทธ และวางยทุ ธศาสตร์การบริหารราชการ• บริหารงานมุ่งผลสัมฤทธ์ิ วัดผลงาน และการให้รางวัลองค์กรและบุคคล• ให้ความสาคัญในการจดั สรรทรัพยากรเพ่อื ให้ได้ผลงาน

New Public Management: กระบวนทศั น์ใหม่ในการบริหารภาครัฐรูปแบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ)• โครงสร้างการทางานและการจดั การท่ยี ืดหยุ่นคล่องตวั• เป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)• ใช้เทคโนโลยีท่ที นั สมยั ในการบริหารงานและการให้บริการสาธารณะ• บริหารราชการในระบบเปิ ดและเน้นการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารภาครัฐข้าราชการในระบบการบริหารภาครัฐแนวใหม่• บริหารงานอย่างมืออาชีพ และเป็ น Knowledge workers• ยดึ หลักธรรมาภบิ าล ประชาธิปไตย และจรรยาบรรณข้าราชการในการ ดาเนินงาน

การบริหารภาครฐั เพอื่ ประโยชนส์ ขุ ของประชาชนคอื การให้บริการสาธารณะทม่ี คี ุณภาพ ทหี่ มายถงึ การจดั ให้มบี ริการสาธารณะทเี่ หมาะสม ในเวลาทเ่ี หมาะสม สําหรับกลุ่มเป้ าหมายทเ่ี หมาะสม และใช้ทรัพยากรทเ่ี หมาะสม ประชาชนและกลุ่มเป้ าหมายหลกั จุดใหบ้ ริการ สาธารณะ•แปลงนโยบายสู่การ ผปู้ ฏิบตั ิส่วนหนา้ Knowledge Workersปฏิบตั ิ•บริหารงานราชการ ผบู้ ริหารระดบั กลาง การบริหารราชการ ระดบั ปฏิบตั ิ•กากบั ดูแลผลงาน ฝ่ายผลกั ดนั ยทุ ธศาสตร์•พฒั นาองคก์ รและงาน•กาหนดยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ การบริหารราชการ•จดั สรรทรัพยากร กลยทุ ธ์ ระดบั นโยบาย•แกป้ ัญหา•กากบั ผลงาน ผบู้ ริหารระดบั สูง•ใหผ้ ลตอบแทนที่เป็นธรรม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)บทบาทในนกั บริหาร ( 4C3S FN )C = Coach/Consultant เป็นท่ีปรึกษาC = Coordinator เป็นผปู้ ระสานงานC = Catalyst for change กระตุน้ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงC = Communicator เป็นนกั ส่ือสารS = Strategist เป็นนกั คิด นกั ยทุ ธศาสตร์S = Strategic Director เป็นผกู้ ากบั12/07/60 Peng B 12

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)บทบาทในนกั บริหาร ( 4C3S FN )S = Synergist ผู้เชื่อมความสัมพนั ธ์F = Facilitator ผู้อาํ นวยความสะดวกN = Negotiator นัเกเจรจา ต่อรอง12/07/60 Peng B 13

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)กระบวนทศั น์ในการจดั การภาครัฐ1. โครงสร้าง - แบบเก่า ขนาดใหญ่ รวมศูนย์ - แบบใหม่ จ๋วิ แต่แจ๋ว Network2. ระบบจัดการ – แบบเก่า ส่ังการ ยดึ กฏระเบยี บ - แบบใหม่ บูรณาการ เน้นผลสัมฤทธ์ิ3. คุณค่า - แบบเก่า อาํ นาจอุปถมั ภ์นิยม - แบบใหม่ จริยธรรม ธรรมาภบิ าล4. ตอบสนอง - แบบเก่า นาย - แบบใหม่ ผู้รับบริการ12/07/60 Peng B 14

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)หลักสาคัญ1. มุ่งผลผลิต 7. ระบบสัญญาจ้าง2. วัดผลการปฏบิ ตั งิ าน 8. เน้นลูกค้า3. การจัดการแบบเอกชน 9. ปรับปรุงระบบบัญชี4. ตรวจสอบบทบาทของรัฐ10. จติ สานึกรับผดิ ชอบ5. กระจายอานาจ 11. โปร่งใส6. ส่งเสริมการแข่งขัน 12. การมีส่วนร่วม12/07/60 Peng B 15

เปรียบเทียบแบบเดมิ แบบเดิม- จนท รัฐขาดจริยธรรม - นาสู่เสมอภาค เป็นธรรม- ขาดแนวคดิ ใหม่ ๆ - ผบู้ ริหารยดึ หลกั ธรรมาภิ บาล การเมืองยดึ ผลประโยชน์- ไม่สนใจการ ปชช เปล่ียนแปลงทางสังคม - สนใจการเปล่ียนแปลงทาง สงั คม- ไม่สามารถแก้ปัญหา- สาธารณะได้ - แกป้ ัญหาสาธารณะและ ไม่สามารถตอบสนอง ตอบสนอง ปชช ความต้องการ ปชช 12/07/60 Peng B 16

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)การจดั การภาครัฐบนพนื้ ฐานการตลาดเน้นบทบาทผู้ประกอบการอย่บู นพนื้ ฐานกลไกตลาดเปล่ียนบทบาทจาก ผู้ปฏบิ ตั ิ เป็ น ผู้กากับดแู ลเปล่ียนจากให้ความสาคัญ สนิ ค้า เป็ น ให้ความสาคัญ ลูกค้า12/07/60 Peng B 17

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)จิตวญิ ญาณผ้ปู ระกอบการ ( 4C2M READ )C = Catalytic Gov กระต้นุ ความคดิC = Community Gov เน้นความร่วมมือชมุ ชนC = Competitive Gov ใฝ่ รู้ อาสา แขง่ ขนัC = Customer Driven Gov ให้ความสาคญั กบั ลกู ค้าM = Mission Driven Gov ปณิธานมงุ่ มน่ัM = Market Oriented Gov พฒั นาโดยใช้กลไกตลาด12/07/60 Peng B 18

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)จติ วญิ ญาณผู้ประกอบการ ( 4C2M READ )R = Results Orient Gov มุ่งผลสัมฤทธ์ิE = Enterprising Gov คดิ ค้น แสวงหาหนทางใหม่A = Anticipatory Gov คาดหมายเชิงรุก หวงั ผลD = Decentralized Gov กระจายอานาจ12/07/60 Peng B 19

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (NPM)องค์ประกอบของธรรมาภบิ าล ( คุณ นิติ คุ้ม โปร่ง ร่วม รับผดิ )1. หลักนิตธิ รรม2. หลักคุณธรรม3. หลักความโปร่งใส4. หลักการมีส่วนร่วม5. หลักความรับผดิ ชอบ6. หลักความคุ้มค่า12/07/60 Peng B 20

3. ปัญหาพนื้ ฐานของภาครัฐแบ่งเป็ น• ปัญหาในเชิงโครงสร้างและระบบของภาครัฐ• ปัญหาของระบบราชการ – ปัญหาด้านกฎระเบียบ – ปัญหาการบริหารงาน – ปัญหาด้านวัฒนธรรมข้าราชการ• ปัญหาขาดธรรมาภบิ าลในการบริหารราชการ โดยเฉพาะ ความ ไม่โปร่งใส และการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วม• ปัญหาการทจุ ริตคอร์รัปชัน

ปัญหาในเชิงโครงสร้างของภาครัฐ• มีการแบ่งแยกระหว่างฝ่ ายการเมืองและประจา แต่กย็ งั ไม่ปลอด การแทรกแซง• โครงสร้างเป็ นปิ รามิด มีสายการบงั คบั บญั ชาท่ยี าว และไป ตามลาดบั ชัน้• แบ่งแยกบทบาทภารกจิ ตามความชานาญ และมีความซับซ้อน• มีกฎกตกิ าและกฎหมายท่กี ากับการทางานขององค์กร• ทางานตามหน้าท่ยี ากท่จี ะทางานร่วมกันในเชงิ บรู ณาการ• มีโครงสร้างท่รี ัดรึง (Rigid) ปรับเปล่ียนยาก

ปัญหาของระบบราชการในด้านกฎระเบยี บ• เน้นการทําตามกฎระเบยี บมากกว่า การให้บริการทีต่ รงความต้องการและมี คุณภาพ• มีกฎระเบียบมากมายเพ่อื ใช้บังคับ และไม่สามารถบังคบั ใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ• กฎหมายบางส่วนล้าสมัย• เป็ นกฎระเบยี บท่รี ัดรึง ไม่ใช้หลักสามัญสานึก• กฎระเบยี บมักเป็ นอุปสรรคในการทางานมากกว่าเออื้ ให้ทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ• ข้าราชการสามารถเลือกใช้และตคี วามระเบียบในกรณีท่เี อือ้ ประโยชน์ต่อผู้ใช้

ปัญหาระบบการบริหารงานและวฒั นธรรมของข้าราชการ• ขาดระบบความรับผดิ ชอบการตดั สนิ ใจท่ชี ัดเจน• การตดั สินใจทาโดยผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชา• ระบบไม่เออื้ ให้ข้าราชการทางานเป็ นทมี แต่ส่งเสริมให้เกิดการ เล่นพรรคเล่นพวกและสร้างเกดิ ระบบอุปถัมภ์• ระบบการให้รางวัลไม่สอดคล้อง กับการวดั ผลงาน ส่งผลให้ ข้าราชการขาดขวัญกาลังใจ และแรงจูงใจในการพฒั นา• มีความเป็ นจ้าวขุนมูลนาย ขาดจติ สานึกในการทางานเพ่อื ประชาชน

ปัญหาขาดธรรมาภิบาลในการบริหารราชการ• นิยมการทางานในระบบปิ ด มากกว่าการทางานโดยต้องเก่ยี วข้อง กับผู้รับประโยชน์• ขาดระบบการจดั ทารายงานและการเสนอรายงานต่อสาธารณะ• กลัวการตรวจสอบโดยบุคคลภายนอก• ไม่คุ้นเคยและไม่ชอบเปิ ดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน• ไม่เข้าใจหลักการและแนวทางการปฏิบัตสิ าหรับการทางานแบบมี ส่ วนร่ วม• ระบบการทางานไม่โปร่งใส

ปัญหาการทุจริตในภาครัฐ• ปัญหาการทจุ ริตเกดิ ขนึ้ ในทกุ ระดบั มาจากปัญหาระบบ กฎหมาย และคน• การทจุ ริตขยายตวั ทงั้ ในเชงิ ปริมาณ และจานวนความเสียหาย• การทุจริตมีการกระทาเป็ นเครือข่าย ขยายวงกว้าง และทวีความซับซ้อน• มีการประสานผลประโยชน์ระหว่างนักการเมือง ภาคเอกชน และ ข้าราชการ (เป็ นธุรกจิ ทุจริตการเมือง)• มีระบบอิทธิพล และกฎหมายไม่อาจเอาผิดได้อย่างจริงจงั• ข้าราชการและผู้ท่เี กยี่ วข้องขาดจติ สานึกในการดแู ลผลประโยชน์ของแผ่นดนิ• กลไกการป้ องกนั และปราบปรามยังไม่สามารถทางานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ• ขาดความสนใจและการดแู ลจากภาคประชาสังคมและส่ือมวลชน

4.สภาพแวดล้อมของภาครัฐและ ปรับปรงุ เปลยี่ นแปลง ราชการให ้ระบบราชการไทยทเี่ ปลยี่ นแปลงไป ดขี น้ึ กระแส การ ความตอ้ งการ ระบบ โลกาภิวตั น์ เปล่ียนแปลง ของประชาชน ราชการและโลกยคุ ใหม่ ในประเทศ•สงั คมยคุ ขอ้ มูล •การพฒั นาสงั คม •ภาครัฐที่มีคุณภาพข่าวสาร •การปฏิรูปการเมือง และประสิทธิภาพ•ความกา้ วหนา้ •กลไกและกติกาใหม่ •บริการสาธารณะทางเทคโนโลยี •เศรษฐกิจหดตวั ท่ีดีกวา่ ถูกกวา่ วกิ ฤต•การแขง่ ขนั ในเวที •ปัญหาวิกฤตภายใน •ระบบราชการท่ีสุจริต เศรษฐกิจโลกและทางการคา้ ต่างๆ และโปร่งใส การเงิน

ปัจจยั เร่งการปฏิรูประบบบริหารภาครัฐหลงั ช่วง 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 จุดประกายทนี่ ําไปสู่การปฏิรูปปรับปรุงระบบราชการเพอ่ื ให้ สอดคล้องกบั ระบบเศรษฐกจิ การเมือง และสังคมในยุคใหม่ วกิ ฤตเศรษฐกิจและการเงนิ พ.ศ. 2540 เป็ นเคร่ืองบ่งชีถ้ งึ ความอ่อนแอ ล้าสมัย และทรุดโทรมของ ระบบราชการในการป้ องกันและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกจิ

5. กรอบแนวคิดในการพฒั นาระบบราชการไทยระบบราชการ หลกั ใน ระบบราชการ ในอดีต การพฒั นา ท่ีพึงปรารถนา ระบบราชการ เป็นระบบราชการ • ประยุกตห์ ลักการ  สนองความตอ้ งการและ ที่บริหารงานแบบ บริหารราชการ ประโยชนส์ ุขของประชาชน ด้งั เดิม ยุคใหม่ (NPM)  บริหารงานมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ มีปัญหาดา้ น • สร้าง GOOD  ประสิทธิภาพประสิทธิผล ธรรมาภิบาล GOVERNANCE  เนน้ หลกั คุม้ ค่า ทนั สมยั  เท่ียงธรรมและรับผดิ ชอบ  ยนื หยดั ในความถูกตอ้ ง  ประชาชนมีส่วนร่วม  สุจริต โปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้

การปฏิรูประบบบริหารภาครัฐมกี ารดาํ เนินการดงั นี้• จัดระเบยี บโครงสร้างและส่วนราชการให้เหมาะสม กบั สภาพแวดล้อมและความต้องการของประเทศ – พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545• ปรับการบริหารราชการให้ทนั สมัยเป็ นไป ตามหลัก NPM และหลักการบริหารกจิ การบ้านเมืองท่ดี ี – พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545

การจดั ระเบียบโครงสร้างส่วนราชการ• ปรับส่วนราชการท่มี ีบทบาทภารกจิ ใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน – ยุบเลิกส่วนราชการท่ีไม่จาเป็ น – เกดิ กระทรวงใหม่และหน่วยงานใหม่ – จัดภารกจิ ของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจน• ปรับโครงสร้างการบริหารราชการภายในกระทรวง/กรม• จดั โครงสร้างและระบบการบริหารราชการในส่วนภมู ภิ าค• ปรับโครงสร้างและระบบการบริหารท้องถ่นิ

Reshaping Public Sectorส่วนทอ้ งถ่ิน ส่วนทอ้ งถ่ินส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค ส่วนกลางส่วนกลางปจั จบุ นั ระยะยาวพจน์ ฯพณฯ นายกรฐั มนตรี (พ.ต.ท.ทกั ษณิ ชนิ วตั ร) 3 ตุลาคม 2547 ณ ตกึ สนั ตไิ มตรี ทาเนียบร

รัฐบาล กรกะรทมรวง กรกะรทมรวง กรกะรทมรวง เอกชนแผนการบริหาร รัฐวิสาหกิจราชการแผ่นดิน องค์การมหาชนGovernment-wide หนว่ ยงานอ่ืนของรัฐ Agenda จงั หวดั โอนถ่าย (Devolution) องค์กร จงั หวดั ปกครอง จงั หวดั - บทบาท อานาจหน้าที่ สว่ นท้องถ่ิน - ทรัพยากร (งบประมาณ + คน) หนว่ ยงานกลาง  สว่ นกลาง  สว่ นภมู ิภาค บรู ณาการ (Integration) เงื่อนไขของ ความสาเร็จ ระหวา่ งกระทรวง/กรม และ ระหวา่ ง กลมุ่ จงั หวดั /จงั หวดั เข้าด้วยกนั (Horizontal & Vertical Integration) ชมุ ชน/ ประชาชน

ท่มี าของการประเมินผลองค์กรภาครัฐ.... 6. ระบบการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการเป็ นหลกั การ ทป่ี ระยุกต์แนวคดิ ในการบริหารราชการท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิ มาใช้ในระบบราชการไทยการบริหารราชการทมี่ ุ่งผลสัมฤทธ์ิ กบั การจดั โครงสร้าง และการปรับระบบการบริหารราชการท่ี ดาํ เนินการในปัจจุบันเป็ นหลกั การทถี่ ูกกาํ หนดไว้ใน พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545 และ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยวธิ ีการและแนวทางการบริหารกจิ การบ้านเมอื งทดี่ ี พ.ศ. 2546

ราชการยคุ ใหม่และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ• ในช่วง 1980s รัฐบาลของประเทศท่พี ฒั นาต่างๆ ต้องเผชิญกับกระแส กดดนั จากประชาชนให้ปฏิรูประบบราชการเพราะ... – ราชการขาดประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผล ล่าช้า – มตี ้นทนุ สูง – ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน และบริการคุณภาพต่า – ประชาชนขาดความเช่ือม่นั ศรัทราในระบบราชการ• มีการคดิ ค้นวธิ ีการบริหารเพ่ือให้ระบบราชการมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีความชัดเจน เน้นผลงาน และมีความรับผดิ ชอบมาก ขึน้ นาหลักการบริหารงานในเอกชนท่เี น้นผลสาเร็จของงาน ปรับมา เป็ นการบริหารราชการท่มี ุ่งผลสัมฤทธ์ิ – Management for Results หรือ Result-based Management – มีการวัดผล (Performance Measurement) และการใช้ระบบแรงจูงใจ

กระบวนการปรับส่ วนราชการไทยสู่ ....... การบริหารราชการทม่ี ุ่งผลสัมฤทธ์ิ• สานักงาน ก.พ. เร่ิมส่งเสริมความเข้าใจและพัฒนาระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ โดยเร่ิมทดลองในหน่วยงานนาร่อง และหน่วยงานท่เี ข้าร่วมโครงการ• สานักงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ เพ่ือใช้ เป็ นแนวทางในการกาหนดงบประมาณประจาปี• สานักงาน ก.พ.ร. ได้รับการมอบหมายให้พัฒนาระบบราชการและส่งเสริมส่วน ราชการมีการบริหารงานท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ตามท่กี ฎหมายกาหนด – เร่ิมจากกระบวนการเรียนรู้ (Action Learning Program) – การจัดระบบการวัดผลงาน

การบรหิ ารรัฐกจิ แนวใหม่วางยทุ ธศาสตร์ นายทุ ธศาสตร์ ตดิ ตาม Strategy ไปปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ผล Strategy Strategic Formulation Implementation Control• วสิ ยั ทศั น์ • แผนปฏบิ ตั กิ าร • กากบั ตดิ ตามและ • การปรับแตง่• ประเด็นยทุ ธศาสตร์ กระบวนงาน ประเมนิ ผล• เป้าประสงค์ • ทบทวนตวั ชว้ี ดั /คา่ เป้าหมาย โครงสรา้ ง สถานการณ์กลยทุ ธ์ เทคโนโลยี เพอื่ วาง คน• Strategy Map ยทุ ธศาสตร์ กระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยใหทุ มธ่ ์

การบริหารแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ (Result-based Management) ลดข้นั ตอน (ประโยชผนล์สสุขมั ตฤ่อทปธร์ิ ะชาชน)วัตถุประสงค์ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ประหยดั ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ มุ่งผลสมั ฤทธ์ิโดยประเมินผลงานเปรียบเทียบกบั เป้ าหมายดว้ ย ตวั ช้ีวดั ที่เป็นรูปธรรม เพม่ิ พนั ธะความรับผดิ ชอบและการตรวจสอบผลงานเพ่ิมความมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความประหยดั และความคุม้ คา่ ประโยชน์สขุ ของประชาชน

มติ กิ ารประเมนิ ผลฯ ตามคารบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ 4 ดา้ น (120%)Financial Perspective Internal Work Process Perspectiveมติ ทิ ่ี 1 : มติ ดิ า้ นประสทิ ธผิ ล มติ ทิ ี่ 3 : มติ ดิ า้ นประสทิ ธภิ าพของการส่ว น ร า ช ก า ร แ ส ด ง ผ ล ง า น ท่ีบ ร ร ลุ ปฏบิ ตั ริ าชการวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายตามท่ี สว่ นราชการแสดงความสามารถในการไดร้ ับงบประมาณมาดาเนนิ การ เพอ่ื ให ้ ปฏบิ ัตริ าชการเช่น การลดค่าใชจ้ ่ายเ ก ิด ป ร ะ โ ย ช น์ สุข ต่ อ ป ร ะ ช า ช น ต า ม และการลดระยะเวลาการใหบ้ ริการแผนยทุ ธศาสตรก์ ลมุ่ จังหวดั /จงั หวดั เป็ นตน้55% 60% 50% 10% 8% 10%มติ ทิ ่ี 2 : มติ ดิ า้ นคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร มติ ทิ ี่ 4 : มติ ดิ า้ นการพัฒนาองคก์ รสว่ นราชการแสดงการใหค้ วามสาคัญกับผูร้ ับบริการในการใหบ้ ริการที่มี ส่ว น ร า ช ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า รคุ ณ ภ า พ ส ร า้ ง ค ว า ม พึง พ อ ใ จ แ ก่ เตรยี มพรอ้ มกับการเปลยี่ นแปลงขององคก์ ารผรู ้ บั บรกิ าร ไดแ้ ก่ การพัฒนาระบบบริหารความรู ้ การ จัดการสารสนเทศ การจัดทาขอ้ เสนอการ15% เปล่ียนแปลง การจัดทาแผนพัฒนากฎหมาย และการดาเนินงานตามแผนพัฒนากฎหมายCustomer Perspective ของสว่ นราชการ เป็ นตน้ 8% 10% 20% 24% 30% Learning & Growth Perspective

มติ ิที่ 1 มติ ิด้านประสิทธิผลตามแผนปฏบิ ัติราชการ4-5 ตวั ชีว้ ดั นา้ หนกั ร้อยละ 55 การประเมนิ ความสาเร็จเชงิ นโยบายตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ1. ระดบั ความสําเร็จในการปฏบิ ตั ิงานตามแผนปฏิบตั ิราชการของกระทรวงศึกษาธิการ2. ระดบั ความสําเร็จในการปฏบิ ตั งิ านของ สกอ. และ3. ระดบั ความสําเร็จในการปฏิบตั ิงาน/แผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย) การประเมนิ ความสาเร็จตามพันธกจิ หลัก4. ระดบั ความสําเร็จในการบรรลุมารตรฐานคุณภาพของ สมศ. ของสถาบนั อุดมศึกษา– มาตรฐานด้านคุณภาพบณั ฑติ– มาตรฐานด้านการวจิ ัยและงานสร้างสรรค์– มาตรฐานด้านการบริการวชิ าการ– มาตรฐานด้านการทานุบารุงศลิ ปและวัฒนธรรม5. ความสําเร็จในการพฒั นาระบบเข้าสู่การจดั ลาํ ดบั ในสากล

มติ ทิ ่ี 2 มติ ดิ ้านคุณภาพการให้บริการ3 ตวั ชีว้ ดั นา้ หนกั ร้อยละ 15 ระดบั ความพงึ พอใจของผู้รับบริการ ระดบั ความสาเร็จในการประกนั คุณภาพภายในทกี่ ่อให้เกดิ การ พฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง ระดับความสาเร็จในการปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ คณาจารย์(Professional Ethics) ของสถาบนั อุดมศึกษา

มติ ทิ ่ี 3 มติ ิด้านประสิทธิภาพของการปฏบิ ตั ริ าชการ4 ตวั ชีว้ ดั นา้ หนกั ร้อยละ 10 ระดับความสาเร็จของร้อยละเฉล่ียถ่วงนา้ หนักของอัตราการ เบกิ จ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทนุ ระดับความสาเร็จในการดาเนินการตามมาตรการประหยดั พลังงานของสถาบันอุดมศึกษา (ประสิทธิภาพในการใช้พลงั งาน ของสถาบนั อดุ มศึกษา) ระดับความสําเร็จในการลดรอบระยะเวลาการให้บริการ เช่น การลด ขัน้ ตอนการทางาน ประสิทธิภาพการใช้งบประมาณ (ระดับความสําเร็จของการจดั ทาํ ต้นทุนต่อหน่วยผลผลติ )

มติ ิที่ 4 มติ ิด้านการพฒั นาองค์กร14 ตวั ชีว้ ดั นา้ หนกั ร้อยละ 20การบริหารจดั การ เช่น • ระดบั คุณภาพของการกาํ กบั ดูแลของสภามหาวทิ ยาลยั /สถาบัน • ระดบั ความสําเร็จในการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วม • ระดบั ความสาเร็จของการบริหารการเปลย่ี นแปลงให้ดาํ เนินกจิ การได้โดยอสิ ระ มี ความคล่องตวั และมเี สรีภาพทางวชิ าการการจัดการความรู้ • ระดบั ความสําเร็จของการดาํ เนินงานตามแผนการจัดการความรู้เพอื่ สนับสนุนประเดน็ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาบุคลากร • ระดบั คุณภาพการพฒั นาบุคลากรของสถาบันอดุ มศึกษา

มิติท่ี 4 มิตดิ ้านการพฒั นาองค์กรการจัดการสารสนเทศ • ระดับคุณภาพของการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถาบันอุดมศกึ ษา • ระดับความสาเร็จในการพฒั นาระบบฐานข้อมูลอุดมศกึ ษาด้านนักศกึ ษา บุคลากร และหลักสูตรการเรียนรู้ • ร้อยละของหลกั สูตรทไี่ ด้มาตรฐานต่อหลกั สูตรท้งั หมด • ร้อยละของอาจารย์ประจําทม่ี วี ุฒิปริญญาเอกหรือเทยี บเท่าต่ออาจารย์ประจาํ • ประสิทธิภาพของการเรียนรู้ทเี่ น้นผ้เู รียนเป็ นสําคญั • ค่าใช้จ่ายท้งั หมดทใี่ ช้ในระบบห้องสมุด คอมพวิ เตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา

เจตนารมณ์ในการวดั และประเมินผลการปฏิบัตริ าชการ• เพอ่ื บริหารราชการเพอ่ื ประโยชน์สุขของประชาชน• เพอื่ บริหารราชการท่ีเกดิ ผลสัมฤทธ์ิตามภารกจิ แห่งรัฐ – สถาบนั อดุ มศึกษามหี น้าทหี่ ลกั ด้านการผลติ บณั ฑิต การศึกษาวจิ ัย การบริการสังคม และ การส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรม• เพอ่ื ปรับปรุงประสิทธิภาพและเพมิ่ ศักยภาพการบริหารราชการสําหรับผู้บริหาร – การประเมนิ ผลสําเร็จ – การควบคุมผลงาน – การจูงใจบุคลากร (การชื่นชมผลงาน การเลอ่ื นข้นั การให้รางวลั ) – การพฒั นายกระดบั ผลการปฏบิ ัติราชการ – การบริหารจัดการภายในองค์กร – กระบวนการเรียนรู้และปรับปรุงการบริหารราชการ

Thank you for your attention! &


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook