Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9 ความหมายของการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่

9 ความหมายของการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่

Published by kobchai.m.150, 2017-07-11 23:08:06

Description: 9 ความหมายของการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่

Search

Read the Text Version

Dr. Peng Buahomเพง่ บวั หอม

หวั ข้อการบรรยาย1. ความหมายของการจดั การภาครฐั แนวใหม่2. เหตุผลทต่ี อ้ งนาแนวคดิ การจดั การภาครฐั แนวใหมม่ าใช้3. แนวคดิ การบรหิ ารจดั การภาครฐั แนวใหม่4. 4. รปู แบบการนาการจดั การภาครฐั แนวใหมม่ าใชใ้ นระบบราชการไทย5. การจดั การภาครฐั แนวใหมต่ ามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561) เพ่ง บวั หอม

1. ความหมายของการจดั การภาครัฐแนวใหม่• การจดั การภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) คอื การปรับเปล่ยี นการบริหารจดั การภาครัฐ• นาหลกั การเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบราชการและการแสวงหา ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการที่มงุ่ สคู่ วามเป็ นเลศิ• นาเอาแนวทางหรือวธิ ีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้กบั การ บริหารงานภาครัฐ เช่น – 1. การบริหารงานแบบมงุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ – 2. การบริหารงานแบบมืออาชีพ เพง่ บวั หอม

1. ความหมายของการจดั การภาครัฐแนวใหม่• นาเอาแนวทางหรือวธิ ีการบริหารงานของภาคเอกชนมาปรับใช้ (ต่อ)• 3. การคานงึ ถงึ หลกั ความค้มุ คา่• 4. การจดั การโครงสร้างที่กะทดั รัดและแนวราบ• 5. การเปิ ดโอกาสให้เอกชนเข้ามาแขง่ ขนั การให้บริการสาธารณะ• 6. การให้ความสาคญั ตอ่ คา่ นิยม จรรยาบรรณวิชาชีพ คณุ ธรรมและ จริยธรรม• 7. การมงุ่ เน้นการให้บริการแกป่ ระชาชนโดยคานงึ ถงึ คณุ ภาพเป็น สาคญั เพง่ บวั หอม

2. เหตุผลที่ตอ้ งนาแนวคิดการจดั การภาครัฐแนวใหม่ มาใช้• 1.กระแสโลกาภวิ ตั น์ สง่ ผลให้สภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอก ประเทศเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็วจงึ มีความจาเป็ นอยา่ งยงิ่ สาหรับองค์กร ทงั้ ภาครัฐและเอกชน ที่ต้องเพมิ่ ศกั ยภาพและความยืดหยนุ่ ในการ ปรับเปลีย่ นเพื่อตอบสนองความต้องการของระบบที่เปลีย่ นแปลงไป• 2.ระบบราชการไทยมีปัญหาท่สี าคญั คือ ความเสอื่ มถอยของระบบ ราชการ และขาดธรรมาภิบาล ถ้าภาครัฐไมป่ รับเปลย่ี นและพฒั นาการ บริหารจดั การของภาครัฐเพื่อไปสอู่ งค์กรสมยั ใหม่ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ก็จะสง่ ผลบน่ั ทอนความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ทงั้ ยงั เป็ น อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมในอนาคตด้วย เพง่ บวั หอม

2. เหตุผลที่ตอ้ งนาแนวคิดการจดั การภาครัฐแนวใหม่มาใช้• การจดั การภาครัฐแนวใหม่( New Public Management) จงึ เป็นแนวคดิ พืน้ ฐานของการบริหารจดั การภาครัฐซงึ่ จะนาไปสกู่ าร เปลีย่ นแปลงระบบตา่ ง ๆ ของภาครัฐและยทุ ธศาสตร์ด้านตา่ ง ๆ ที่เป็น รูปธรรม มีแนวทางในการบริหารจดั การดงั นี ้• 1.การให้บริการท่ีมีคณุ ภาพแกป่ ระชาชน• 2.ลดการควบคมุ จากสว่ นกลางและเพิ่มอิสระในการบริหารให้แกห่ น่วยงาน• 3.การกาหนด การวดั และการให้รางวลั แก่ผลการดาเนินงานทงั้ ในระดบั องค์กร และระดบั บคุ คล เพง่ บวั หอม

2. เหตุผลที่ตอ้ งนาแนวคิดการจดั การภาครัฐแนวใหม่มาใช้• 4.การสร้างระบบสนบั สนนุ ทงั้ ในด้านบคุ ลากร (เชน่ การฝึกอบรม ระบบ คา่ ตอบแทนและระบบคณุ ธรรม) เทคโนโลยี เพือ่ ช่วยให้หน่วยงาน สามารถทางานได้อยา่ งบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์• 5.การเปิ ดกว้างตอ่ แนวคดิ ในเร่ืองของการแข่งขนั ทงั้ การแขง่ ขนั ระหวา่ ง หน่วยงานของรัฐด้วยกนั และระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐกบั หนว่ ยงาน ของภาคเอกชน ในขณะเดียวกนั ภาครัฐก็หนั มาทบทวนตวั เองวา่ สงิ่ ใด ควรทาเองและสงิ่ ใดควรปลอ่ ยให้เอกชนทา เพง่ บวั หอม

3. แนวคิดการจดั การภาครัฐแนวใหม่• การจดั การภาครัฐแนวใหม่ คือ การเปล่ยี นระบบราชการที่เน้นระเบียบและ ขนั้ ตอนไปสกู่ ารบริหารแบบใหม่ เน้นผลสาเร็จและความรับผดิ ชอบ รวมทงั้ ใช้เทคนิค และวธิ ีการของเอกชนมาปรับปรุงการทางาน• “การจดั การภาครัฐแนวใหม่” มีหลกั สาคญั 7 ประการ คือ• 1.การจัดการโดยนักวชิ าชีพท่ีชานาญการ (Hands-on professional management) หมายถงึ ให้ผ้จู ดั การมืออาชีพได้จดั การด้วยตวั เอง ด้วยความชานาญ โปร่งใส และมีความสามารถในการใช้ดลุ พนิ ิจ เหตผุ ลก็เพราะเมื่อผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ท่ีได้รับ มอบหมายแล้ว ก็จะเกิดความรับผดิ ชอบตอ่ การตรวจสอบจากภายนอก• 2.มีมาตรฐานและการวัดผลงานท่ีชัดเจน (Explicit standards and measures of performance) ภาครัฐจงึ ต้องมีจดุ มงุ่ หมายและเป้ าหมายของ ผลงาน และการตรวจสอบจะมีได้ก็ต้องมีจดุ มงุ่ หมายที่ชดั เจน• 3.เน้นการควบคุมผลผลิตท่ีมากขนึ้ (Greater emphasis on output controls) การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลงานที่วดั ได้ เพราะเน้นผลสาเร็จมากกวา่ ระเบียบวิธี เพง่ บวั หอม

3. แนวคิดการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่• 4.แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็ นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the public sector) คือ แยกตามลกั ษณะ สนิ ค้าและบริการที่ผลติ ให้เงินสนบั สนนุ แยกกนั และติดตอ่ กนั อยา่ งเป็น อิสระ• 5.เปล่ียนภาครัฐให้แข่งขันกนั มากขนึ้ (Shift to greater competition in the public sector) เป็ นการเปล่ียนวธิ ีทางานไปเป็ น การจ้างเหมาและประมลู เหตผุ ลก็เพ่อื ให้ฝ่ ายท่ีเป็ นปรปักษ์กนั (rivalry) เป็นกญุ แจสาคญั ที่จะทาให้ต้นทนุ ต่าและมาตรฐานสงู ขนึ ้ เพง่ บวั หอม

3. แนวคิดการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่• 6.เน้นการจดั การตามแบบภาคเอกชน (Stress on private sector styles of management practice) เปลี่ยนวิธีการแบบ ข้าราชการไปเป็ นการยืดหยนุ่ ในการจ้างและให้รางวลั• 7.เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมวี นิ ัยและประหยดั (Stress on greater discipline and parsimony in resource use) วธิ ีนีอ้ าจทาได้ เชน่ การตดั คา่ ใช้จา่ ย เพ่มิ วนิ ยั การทางาน หยดุ ยงั้ การเรียกร้องของ สหภาพแรงงาน จากดั ต้นทนุ การปฏิบตั ิ เหตผุ ลก็เพราะต้องการ ตรวจสอบความต้องการใช้ทรัพยากรของภาครัฐ และ “ทางานมากขนึ ้ โดยใช้ทรัพยากรน้อยลง” (do more with less) เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มาใชใ้ น ระบบราชการไทย1.พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบับท่ี 5)พ.ศ.2545 เหตผุ ลในการตราพระราชบญั ญตั นิ ีค้ อื1. เพ่ือเป็ นการปรับปรุงระบบบริหารราชการเพื่อให้สามารถปฏบิ ตั งิ าน ตอบสนองตอ่ การพฒั นาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชนได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพย่งิ ขนึ ้ โดยกาหนด การบริหารราชการแนวทาง ใหมต่ ้องมีการ กาหนดนโยบาย เป้ าหมาย และแผนการปฏบิ ตั ิงาน เพื่อให้สามารถประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการในแตล่ ะระดบั ได้อยา่ ง ชดั เจน มีกรอบการบริหารกิจการบ้านเมอื งท่ีดี เป็ นแนวทางในการ กากบั การกาหนดนโยบายและการปฏิบตั ริ าชการ เพง่ บวั หอม

• 2. เพอื่ ให้กระทรวงสามารถจดั การบริหารงานให้เป็นไป ตามเป้ าหมาย ได้ จงึ กาหนด ให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดยกระทรวงสามารถแยก สว่ นราชการจดั ตงั้ เป็ นหนว่ ยงานตามภาระหน้าท่ี• 3. เพอื่ ให้เกิดความคลอ่ งตวั และสอดคล้องกบั เป้ าหมายของงานที่ จะต้องปฏบิ ตั ิและกาหนด ให้มีกลมุ่ ภารกิจของสว่ นราชการตา่ ง ๆ ท่ีมี งานสมั พนั ธ์กนั• 4. เพ่ือที่จะสามารถกาหนดเป้ าหมาย การทางานร่วมกนั ได้ และมี ผ้รู ับผดิ ชอบกากบั การบริหารงานของกลมุ่ ภารกิจนนั้ โดยตรง เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 5. เพื่อให้งานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ให้มีการประสานการ ปฏิบตั งิ าน และการใช้งบประมาณเพ่ือที่จะให้การบริหารงานของทกุ สว่ นราชการ บรรลเุ ป้ าหมาย ของกระทรวงได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและลดความซา้ ซ้อน มีการ มอบหมายงานเพ่ือลดขนั้ ตอนการปฏิบตั ริ าชการ ให้มีการบริหารราชการใน ตา่ งประเทศให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะการปฏบิ ตั ิหน้าที่และสามารถปฏบิ ตั กิ ารได้ อยา่ งรวดเร็วและมเี อกภาพ โดยมีหวั หน้าคณะผ้แู ทนเป็นผ้รู ับผิดชอบในการ บริหารราชการ ให้มีคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการเพ่ือเป็นหนว่ ยงานท่ี รับผิดชอบในการดแู ลการจดั สว่ นราชการและการปรับปรุงระบบการทางานของ ภาคราชการให้มีการจดั ระบบราชการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• ใน มาตรา 3/1 ได้กาหนดให้การพฒั นาระบบราชการต้องสอดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ การเมอื ง สงั คม ความต้องการของ ประชาชนและทนั ตอ่ การบริหารราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ีต้ ้อง เป็นไปเพ่อื ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสมั ฤทธ์ิตอ่ ภารกิจของ รัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความค้มุ คา่ ในเชงิ ภารกิจแหง่ รัฐ การลด ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การลดภารกิจและยบุ เลิกหนว่ ยงานท่ีไม่จาเป็ น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่นิ การกระจาย อานาจการตดั สนิ ใจ การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความ ต้องการของประชาชน ทงั้ นี ้โดยมีผ้รู ับผดิ ชอบตอ่ ผลของงาน เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตงั้ บุคคลเข้าดารง ตาแหน่ง หรือปฏิบตั หิ น้าที่ต้องคานงึ ถึงหลกั การตามวรรคหนง่ึ• ในการปฏิบตั ิหน้าท่ีของสว่ นราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงให้คานงึ ถึงความบั ผิดชอบของ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน การมีสว่ นร่วมของประชาชน การเปิ ดเผยข้อมลู การ ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 2.พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กจิ บ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ.2546 ได้กาหนด ขอบเขต แบบแผน วธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการ เพ่อื เป็ นไปตามหลักการบริหารภาครัฐ แนวใหม่ ดงั นี้• 1) เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชน• 2) เกิดผลสมั ฤทธ์ิตอ่ ภารกิจของรัฐ• 3) มีประสทิ ธิภาพและเกิดความค้มุ คา่ ในเชิงภารกิจของรัฐ เพง่ บวั หอม

• 4) ไม่มีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจาเป็น• 5) มีการปรับปรุงภารกิจของสว่ นราชการให้ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์• 6) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวก และได้รับการ ตอบสนองความ• 7) มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานอยา่ งสมา่ เสมอ ซงึ่ ได้แก่ การ ตรวจสอบและวดั ผลการปฏิบตั งิ าน เพอ่ื ให้เกิดระบบการ ควบคมุ ตนเอง เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 3.แผนยุทธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการ พ.ศ.2546 - 2550 ได้ กาหนดเป้ าประสงค์หลักของการพัฒนาระบบราชการไทย 4 ประการ• 1) พฒั นาคณุ ภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขนึ ้• 2) ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม• 3) ยกระดบั ขีดความสามารถและมาตรฐานการทางานให้อยใู่ นระดบั สงู เทียบเท่าเกณฑ์สากล• 4) ตอบสนองตอ่ การบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• โดยกาหนดยุทธศาสตร์ 7 ด้านเพ่ือให้การบริหารราชการเป็ นไปอย่าง มีประสทิ ธิภาพ ดงั นี ้• ยุทธศาสตร์ 1 การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทางาน ประกอบด้วย 9 มาตรการ• ยุทธศาสตร์ 2 การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย 4 มาตรการ• ยุทธศาสตร์ 3 การรือ้ ปรับระบบการเงนิ และการงบประมาณ ประกอบด้วย 8 มาตรการ เพง่ บวั หอม

• ยุทธศาสตร์ 4 การสร้างระบบบริหารงานบคุ คลและคา่ ตอบแทนใหม่ ประกอบด้วย 7 มาตรการ• ยุทธศาสตร์ 5 การปรับเปลย่ี นกระบวนทศั น์ วฒั นธรรม และคา่ นิยม ประกอบด้วย 4 มาตรการ• ยุทธศาสตร์ 6 การเสริมสร้างระบบราชการให้ทนั สมยั ประกอบด้วย 4 มาตรการ• ยุทธศาสตร์ 7 การเปิ ดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม ประกอบด้วย 6 มาตรการ เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 4.การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคารับรองการปฏิบตั ิ ราชการของส่วนราชการ: KPI (Key Performance Indicators) โดยให้มี การประเมินการปฏบิ ตั ริ าชการ ใน 2 องค์ประกอบ (ตามหนงั สอื สานกั งานก.พ. ท่ี นร 1012/ว 20 ลงวนั ที่ 3 กนั ยายน 2552)• 1.เร่ือง หลกั เกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการของข้าราชการ พลเรือนสามญั (หนงั สอื สานกั งาน ก.พ. ที่ นร 100/ว 27 ลงวนั ที่ 29 กนั ยายน 2552)• 2. เรื่อง มาตรฐานและแนวทางกาหนดความรู้ความสามารถ ทกั ษะ และ สมรรถนะที่จาเป็ นสาหรับตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามญั คือ• 1) ผลสมั ฤทธิ์ของการปฏิบตั ริ าชการ• 2) พฤติกรรมการปฏิบตั ริ าชการหรือสมรรถนะ เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 5. การบริหารราชการแบบบูรณาการ (CEO) ซง่ึ มีลกั ษณะ สาคญั คือ• 1) เป็ นระบบบริหารจดั การในแนวราบ (Horizontal Management) ท่ีใช้ การบรู ณาการการทางานของทกุ ภาคสว่ นในพืน้ ที่ในลกั ษณะ “พนื้ ท่ี – พันธกจิ – การมีส่วนร่ วม” (Area – Functional – Participation: A–F–P) ในทกุ ขนั้ ตอนของการทางาน เพ่อื สร้างความเป็นห้นุ สว่ นทางการพฒั นา (Partnership) ในระดบั จงั หวดั ตลอดจนเพ่ือสร้างการทางานในลกั ษณะ เครือขา่ ย (Networking) เพง่ บวั หอม

4. รูปแบบการนาการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่มา ใชใ้ นระบบราชการไทย• 2) เป็นระบบบริหารจดั การท่ีมีเป้ าหมายที่การตอบสนองความต้องการ ของประชาชนผ้ใู ช้บริการ (Customer Driven) ด้วยระบบงานที่มงุ่ เน้น ผลสมั ฤทธ์ิของงาน (Result – based) ด้วยมาตรฐานผลงานขนั ้ สงู (High Performance Output)• 3) เป็ นระบบบริหารจดั การท่ีอยภู่ ายใต้กรอบของบทบญั ญตั แิ ละ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนญู และโครงสร้างการจดั ระเบยี บบริหาร ราชการแผน่ ดินในปัจจบุ นั รวมทงั้ หลกั การการบริหารกิจการบ้านเมือง และสงั คมที่ดี (Good Governance) แตไ่ ด้รับการสนบั สนนุ ทรัพยากร ทางการบริหาร ท่ีจาเป็นเพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการทางาน เพง่ บวั หอม

5. การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นา ระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)ได้กาหนดประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่สอดคล้องกบั การบริหารงานภาครัฐแนว ใหม่ โดยกาหนดประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 7 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี ้• ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1: การสร้างความเป็ นเลิศในการให้บริการ ประชาชน• มีเป้ าหมายเพ่ือพฒั นางานบริการของสว่ นราชการและหน่วยงานของรัฐสคู่ วาม เป็นเลศิ เพอ่ื ให้ประชาชนมีความพงึ พอใจ ตอ่ คณุ ภาพการให้บริการ โดยออกแบบ การบริการท่ียดึ ประชาชนเป็นศนู ย์กลาง มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ี เหมาะสมมาใช้เพ่ือให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ง่ายและหลากหลายรูปแบบ เน้นการบริการเชิงรุกท่ีมี ปฏิสมั พนั ธ์โดยตรงระหวา่ งภาครัฐและประชาชน การ ให้บริการแบบเบด็ เสร็จอยา่ งแท้จริง พฒั นาระบบการจดั การ ข้อร้องเรียนให้มี ประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ เสริมสร้างวฒั นธรรมการบริการท่ีเป็นเลศิ เชน่ เพง่ บวั หอม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 1.ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐพฒั นาระบบ• การเช่ือมโยงงานบริการซง่ึ กนั และกนั และวางรูปแบบ การ ให้บริการประชาชนทส่ี ามารถขอรับบริการจากภาครัฐได้ทกุ เร่ือง โดยไมค่ านงึ วา่ ผ้รู ับบริการ จะมาขอรับบริการ ณ ทใี่ ด (No Wrong Door) เพง่ บวั หอม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 2.ยกระดบั การดาเนินงานของศนู ย์บริการร่วม (One Stop Service) ด้วยการเชื่อมโยงและ บรู ณาการกระบวนงาน บริการที่หลากหลายจากสว่ นราชการตา่ ง ๆ มาไว้ ณ สถานที่เดียวกนั เพือ่ ให้ประชาชนสามารถรับบริการได้สะดวก รวดเร็ว ณ จดุ เดียว เชน่ ศนู ย์รับคาขออนญุ าต ศนู ย์ช่วยเหลอื เด็กและสตรีในภาวะวกิ ฤต (One Stop Crisis Center: OSCC) เป็นต้น เพง่ บวั หอม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 3. สง่ เสริมให้สว่ นราชการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเข้า มาใช้ในการให้บริการ ประชาชน (e-Service) เพ่ือให้สามารถเข้าถงึ บริการ ของรัฐได้ง่ายขนึ ้ รวมทงั้ พฒั นารูปแบบ การบริการที่เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเป็นผู้ เลือกรูปแบบการรับบริการที่เหมาะสมกบั ความต้องการของตนเอง (Government You Design) โดยนาเทคโนโลยีสมยั ใหมเ่ ข้ามาใช้ เช่น m - Government ซง่ึ ให้บริการผา่ นโทรศพั ท์เคล่ือนท่ี (Mobile G2C Service) ที่สง่ ข้อมลู ข่าวสารและบริการถงึ ประชาชน แจ้งขา่ วภยั ธรรมชาติ ข้อมลู การเกษตร ราคาพชื ผล หรือการติดตอ่ และแจ้งข้อมลู ขา่ วสารผ่านสงั คมเครือข่ายออนไลน์ (Social Network) เป็ นต้น เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 4.ส่งเสริมให้มีเวบ็ กลางของภาครัฐ (Web Portal) เพ่ือเป็ นชอ่ งทางของบริการ ภาครัฐทกุ ประเภท โดยให้เช่ือมโยงกบั บริการในรูปแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทกุ หนว่ ยงานของภาครัฐ รวมถงึ ข้อมลู ข่าวสาร องค์ความรู้ ซงึ่ ประชาชนสามารถ เข้าถงึ ได้• 5.ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการให้บริการประชาชนท่ีมีความเชื่อมโยงกนั ระหวา่ งหลาย สว่ นราชการ นาไปสกู่ ารเพ่มิ ขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจ ของประเทศและการ เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั โดยทบทวนขนั้ ตอน ปรับปรุงกระบวนงาน หรือแก้ไข กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบงั คบั ที่เป็นอปุ สรรคตอ่ การให้บริการประชาชนของหน่วยงาน ของรัฐ เพ่ือให้การปฏบิ ตั งิ านเกิดความ คลอ่ งตวั และเอือ้ ตอ่ การแขง่ ขนั ของประเทศ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 6.สง่ เสริมให้มีการนาระบบการรับประกนั คณุ ภาพมาตรฐานการ ให้บริการ (Service Level Agreement) คอื การ ให้บริการของหนว่ ยงานของรัฐ ที่มีตอ่ ประชาชน โดยการ กาหนดระดบั การให้บริการ ซง่ึ ครอบคลมุ การกาหนดลกั ษณะ ความสาคญั ระยะเวลา รวมถึงการชดเชยกรณีทีก่ ารให้บริการ ไมเ่ ป็นไปตามที่กาหนด เพง่ บวั หอม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 7.สง่ เสริมให้มีการพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริการภาครัฐโดยใช้ ประโยชน์จากบตั รประจาตวั ประชาชน ในการเช่ือมโยงและบรู ณาการ ข้อมลู ของหน่วยงานตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การให้บริการ ประชาชนตาม วงจรชีวิต โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์จากบตั รสมาร์ทการ์ด (Smart Card) หรือ เลขประจาตวั ประชาชน 13 หลกั• 8.สง่ เสริมให้หน่วยงานของรัฐมีการปรับเปล่ยี นกระบวนทศั น์ คา่ นิยม และหลอ่ หลอมการสร้าง วฒั นธรรมองค์การให้ข้าราชการ และ เจ้าหน้าที่ของรัฐมีจิตใจท่ีเอือ้ ตอ่ การให้บริการที่ดี รวมถงึ เปิดโอกาสให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการปรับปรุงคณุ ภาพการบริการโดยตรงมากขนึ ้ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 9.สง่ เสริมให้หนว่ ยงานของรัฐยกระดบั ระบบการบริการประชาชนโดยการจาแนก กลมุ่ ผ้รู ับบริการ การสารวจความพงึ พอใจของประชาชนท่ีใช้บริการเพื่อให้สามารถ นามาปรับปรุง และพฒั นา คณุ ภาพการบริการได้อยา่ งจริงจงั เน้นการสารวจ ความพงึ พอใจของประชาชน ณ จดุ บริการ หลงั จากได้รับการบริการ และนาผล สารวจความพงึ พอใจมาวเิ คราะห์ ศกึ ษาเปรียบเทียบ เพื่อ ปรับปรุงประสทิ ธิภาพ การทางาน และเผยแพร่ผลการสารวจให้ประชาชนทราบ โดยอาจจดั ตงั้ สถาบนั การสง่ เสริมการให้บริการประชาชนท่ีเป็นเลิศ (Institute for Citizen - Centered Service Excellence) เพื่อทาหน้าที่ในการสารวจความ คดิ เห็น วิเคราะห์ ติดตาม เสนอแนะ การปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการบริการ ประชาชนแกส่ ว่ นราชการตา่ ง ๆ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 10.สง่ เสริมให้สว่ นราชการมีการพฒั นาระบบการจดั การข้อร้องเรียนและแก้ไข ปัญหาความเดอื ดร้อน ของประชาชนอยา่ งจริงจงั โดยเน้นการจดั การเชิงรุก มีการ รวบรวมหลกั เกณฑ์และกระบวนการ จดั การข้อร้องเรียนให้มีประสทิ ธิภาพ เป็น มาตรฐาน ตอบสนองทนั ทว่ งที สามารถติดตาม เร่ืองร้องเรียนได้ตงั้ แตจ่ ดุ เร่ิมต้น และสนิ ้ สดุ ของการให้บริการ รวมไปถงึ การมีฐานข้อมลู และ ระบบสารสนเทศใน การเชื่อมโยงข้อมลู กนั ระหวา่ งหน่วยงานตา่ ง ๆ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 11.วางหลักเกณฑ์ แนวทาง และกลไกการช่วยเหลือ เยยี วยา• เมื่อประชาชนได้รับความไมเ่ ป็นธรรม หรือได้รับความเสียหายที่ เกิดจากความผิดพลาดของการดาเนินการของภาครัฐและ ปัญหา ทเ่ี กิดจากภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติ หรือปัญหาอนื่ ๆ ที่รัฐมี สว่ นเก่ียวข้อง เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2: การพฒั นาองค์การให้มีขีด สมรรถนะสูงและทนั สมัย บุคลากรมีความเป็ นมืออาชีพ• มีเป้ าหมายเพื่อพฒั นาสว่ นราชการและหน่วยงานของรัฐสอู่ งค์การแหง่ ความ เป็ นเลศิ โดยเน้นการจดั โครงสร้าง องค์การท่ีมีความทนั สมยั กะทดั รัด มี รูปแบบเรียบงา่ ย (Simplicity) มีระบบการทางานที่คลอ่ งตวั รวดเร็ว ปรับเปล่ยี นกระบวนทศั น์ในการทางาน เน้นการคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) พฒั นาขีดสมรรถนะของบคุ ลาลากรในองค์การ เน้นการ ทางานท่ีมีประสทิ ธิภาพ สร้างคณุ คา่ ในการปฏิบตั ภิ ารกิจของรัฐ ประหยดั คา่ ใช้จ่าย ในการดาเนินงานตา่ ง ๆ และสร้างความรับผิดชอบตอ่ สงั คม อนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อมที่ยงั่ ยืน เช่น เพง่ บวั หอม

การจดั การภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 1.ปรับปรุงหน่วยงานราชการให้มีความเหมาะสมกบั ภารกิจท่ีรับผิดชอบ ลดความซา้ ซ้อน มคี วาม ยืดหยนุ่ คลอ่ งตวั สงู สามารถปรับตวั ได้อยา่ ง ตอ่ เน่ือง ตอบสนองตอ่ บทบาทภารกิจหรือบริบท ในสภาวการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป• 2.สง่ เสริมให้หน่วยงานของรัฐมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และจดั การ ความรู้อยา่ งเป็นระบบ เพ่อื ก้าวไปสกู่ ารเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 3.ยกระดบั การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การสคู่ วามเป็นเลิศตาม มาตรฐานสากล โดยม่งุ เน้น ให้การนาองค์การเป็ นไปอยา่ งมีวิสยั ทศั น์ มี ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม การวางแผนยทุ ธศาสตร์ และผลกั ดนั สกู่ ารปฏิบตั ิ การให้ความสาคญั กบั ประชาชนผ้รู ับบริการและผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสยี การ ปรับปรุงระบบการบริหารจดั การให้มีความยืดหยนุ่ คลอ่ งตวั การสง่ เสริมให้ บคุ ลากรพฒั นา ตนเอง มีความคดิ ริเร่ิมและเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง ตดั สนิ ใจ โดยอาศยั ข้อมลู สารสนเทศอยา่ งแท้จริง และทางานโดยมงุ่ เน้นผลลพั ธ์เป็ น สาคญั• 4.สง่ เสริมและพฒั นาหน่วยงานของรัฐไปสกู่ ารเป็นรัฐบาลอิเลก็ ทรอนิกส์ (e- Government) เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 5.นาเทคโนโลยมี าใช้ภายในองค์การ เพ่ือปรับปรุงระบบการ บริหารจดั การภาครัฐ การบริหารงานของภาครัฐมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วยิ่งขนึ ้ ยกระดบั คณุ ภาพ การให้บริการประชาชน สร้างความโปร่งใสในการดาเนินงานและให้บริการ รวมทงั้ สง่ เสริมให้มีการปฏิบตั ิงานแบบเวอร์ชว่ ล (Virtual Office) เพ่อื เพมิ่ ประสิทธิภาพ การปฏิบตั ิราชการ และประหยดั คา่ ใช้จ่าย เพง่ บวั หอม

• 6.ปรับปรุงและพฒั นาเว็บไซต์ของหน่วยงานให้เป็ นไปตามมาตรฐาน เวบ็ ไซต์ภาครัฐ (Government Website Standard) และ สามารถบรู ณาการเชื่อมโยงหนว่ ยงานของรัฐ (Connected Government) ท่ีสมบรู ณ์แบบเพื่อก้าวไปสรู่ ะดบั มาตรฐานสากล• 7.พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานหลกั โดยการจดั ระบบงานอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบการให้บริการ ภาครัฐ และพฒั นาระบบสารสนเทศบนโครงสร้าง พนื ้ ฐานหลกั ที่ทางภาครัฐพฒั นาขนึ ้ ได้แก่ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ ภาครัฐ (Government Information Network: GIN) และเครื่องแมข่ ่าย (Government Cloud Service: G – Cloud) เพ่อื ลดคา่ ใช้จ่าย ทรัพยากร และเพิ่มประสทิ ธิภาพในการ บริหารจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพง่ บวั หอม

• 8.นากรอบแนวทางมาตรฐานการแลกเปลยี่ นข้อมลู แหง่ ชาติ (Thailand e-Government Interoperability Framework: TH e-GIF) มาใช้ในการพฒั นาระบบสารสนเทศ ภาครัฐ เพ่อื ให้สามารถแลกเปลย่ี น และเช่ือมโยงข้อมลู สารสนเทศได้ อยา่ งมี ประสิทธิภาพ• 9.พฒั นาระบบบริหารจดั การองค์การภาครัฐ ให้สามารถเชื่อมโยงข้อมลู ระหวา่ ง สว่ นราชการด้วยกนั ในลกั ษณะโครงขา่ ยข้อมลู ที่เชื่อมตอ่ ถงึ กนั เพ่อื ให้กระบวนการ ทางานมปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ ้ และสง่ เสริมการ จดั ตงั้ ศนู ย์ปฏิบตั ิการในระดบั ตา่ ง ๆ เพอื่ สามารถเช่ือมโยงข้อมลู ท่ี สาคญั ตอ่ การบริหารราชการแผ่นดินและการตดั สนิ ใจ ไปยงั ศนู ย์ ปฏบิ ตั กิ ารนายกรัฐมนตรี (PMOC) เพอ่ื ให้เกิดการตดั สินใจบน พืน้ ฐานของ ข้อมลู ที่มีความเป็ นปัจจบุ นั และถกู ต้อง เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 10.สง่ เสริมให้สว่ นราชการมีแผนการบริหารความตอ่ เน่ืองในการ ดาเนินงาน (Business Continuity Plan) เพ่ือให้สามารถ เตรียมความพร้อมรับมือตอ่ สถานการณ์ฉกุ เฉิน ได้ทนั ทว่ งที โดยกาหนด แนวทาง ขนั้ ตอนการช่วยเหลอื การซกั ซ้อม และ การประชาสมั พนั ธ์ รวมทงั้ กาหนดหนว่ ยงานรับผิดชอบหลกั และสนบั สนนุ ให้มี การจดั ตงั้ ศนู ย์ปฏิบตั กิ ารฉกุ เฉิน (Crisis Management Center) ใน การบริหาร จดั การสภาวะวกิ ฤตแตล่ ะประเภท ทงั้ ในสว่ นกลางและสว่ น ภมู ภิ าค เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 11.วางแผนกาลงั คนเชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Workforce Plan) ให้มีความเหมาะสม ไม่เป็ น ภาระตอ่ งบประมาณของประเทศ พฒั นาและบริหารกาลงั คนเพื่อเพ่ิมขีดสมรรถนะของบคุ ลากร และ ประสทิ ธิภาพของระบบราชการ สร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) สามารถ รองรับตอ่ การเปลยี่ นแปลงและสอดคล้อง กบั ทศิ ทางการพฒั นาระบบราชการ รวมทงั้ การขบั เคลอ่ื น ยทุ ธศาสตร์ ประเทศไปสกู่ ารปฏิบตั ิ เพง่ บวั หอม

• 12.ส่งเสริมให้มกี ารวางระบบเตรียมความพร้อมเพือ่ ทดแทนบคุ ลากร เชน่ แผนการสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) เป็นต้น ทงั้ ในระยะสนั้ และระยะยาว และเปิ ดโอกาสให้ บคุ คลภายนอกสามารถเข้าสรู่ ะบบราชการ ได้โดยง่ายมากขนึ ้ ในทกุ ระดบั รวมทงั้ สนบั สนนุ ให้มี การ แลกเปลี่ยนบคุ ลากรระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน (Talent mobility) ซง่ึ สามารถเช่ือมโยง ได้ทงั้ สองทางจากภาครัฐ ไปสภู่ าคเอกชนและจากภาคเอกชนไปสภู่ าครัฐ เพง่ บวั หอม

การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ตามแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556 - พ.ศ.2561)• 13.สง่ เสริมให้หนว่ ยงานของรัฐให้ความสาคญั ตอ่ การเพิ่มผลติ ภาพ (Productivity) ในการปฏบิ ตั ิ ราชการ โดยเฉพาะการวดั ผลการ ปฏิบตั งิ านในเชิงเปรียบเทียบอ้างองิ กบั เกณฑ์มาตรฐานและ/ หรือ แนวทางการปฏิบตั ิท่ีเป็ นเลศิ รวมถึงปรับปรุงการทางาน โดยนาเทคนิค ตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั การเพม่ิ ผลติ ภาพมาใช้ มงุ่ ขจดั ความสญู เปลา่ ของการ ดาเนนิ งานในทกุ กระบวนการ ตดั กิจกรรม ที่ไมม่ ีประโยชน์หรือไม่มีการ เพิม่ คณุ คา่ ในกระบวนการออกไป เพม่ิ ความยดึ หยนุ่ ขององค์การ ด้วย การออกแบบกระบวนการใหมแ่ ละปรับปรุงกระบวนการเพ่ือสร้างคณุ คา่ ในการปฏิบตั งิ าน เชน่ Lean Management เป็ นต้น เพง่ บวั หอม

• 14.สง่ เสริมให้มีการนารูปแบบการใช้บริการร่วมกนั (Shared Services) เพอ่ื ประหยดั ทรัพยากร ลดคา่ ใช้จ่าย ยกระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานและเพิ่มประสทิ ธิภาพการทางานของหน่วยงานของรัฐ โดยรวมกิจกรรมหรือกระบวนงานลกั ษณะ/ประเภทเดยี วกนั (Common Process) ซง่ึ เดมิ ตา่ งหนว่ ยงานตา่ งดาเนินงานเอง เข้ามาไว้ในศนู ย์บริการร่วมโดยเฉพาะงานสนบั สนนุ (Back Office) ได้แก่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบการเงินการคลงั และระบบ บคุ ลากร เป็ นต้น• 15.สง่ เสริมให้การปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานของรัฐ จะต้องคานงึ ถงึ ความ รับผิดชอบตอ่ สงั คม (Social Responsibility) เกิดความผาสกุ และความเป็ นอยทู่ ่ีดีของประชาชน ความสงบ และปลอดภยั ของสงั คม สว่ นรวม รวมทงั้ สนบั สนนุ เสริมสร้าง พฒั นาและสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่สงั คมและชมุ ชน เพอ่ื อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสขุ เพง่ บวั หอม

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 : การเพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหาร สินทรัพยข์ องภาครัฐใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด• 1. มีเป้ าหมายเพอื่ วางระบบการบริหารจดั การสนิ ทรัพย์ของราชการ อยา่ งครบวงจร โดยคานงึ ถึงคา่ ใช้จ่ายท่ีผกู มดั / ผกู พนั ตดิ ตามมา (Ownership Cost) เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สดุ หรือสร้าง มลู คา่ เพิ่ม สร้างโอกาส และ สร้างความมนั่ คงตามฐานะเศรษฐกิจของ ประเทศ ลดความสญู เสยี สนิ ้ เปลอื งและเปลา่ ประโยชน์ รวมทงั้ วาง ระบบและมาตรการที่จะมงุ่ เน้นการบริหารสนิ ทรัพย์เพ่ือให้เกิด ผลตอบแทนค้มุ คา่ สามารถลดต้นทนุ คา่ ใช้จ่าย โดยรวม มีต้นทนุ ท่ี ตา่ ลงและลดความต้องการของสนิ ทรัพย์ใหมท่ ่ีไมจ่ าเป็น เช่น เพง่ บวั หอม

• 2. สง่ เสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารสนิ ทรัพย์และ บรู ณาการเข้ากบั ระบบ บริหารจดั การทรัพยากรขององค์การ (Enterprise Resource Planning: ERP) เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารสนิ ทรัพย์และการบริหารจดั การองค์การ โดยรวม และ การลดต้นทนุ โดยจดั ให้มีระบบและข้อมลู เพ่อื ให้หน่วย ราชการใช้ประกอบการวดั และวเิ คราะห์ การใช้สนิ ทรัพย์เพอ่ื ให้เกิดผลติ ภาพ (Asset Productivity) และเกิดประโยชน์สงู สดุ (Asset Utilization) เป็ นต้น เพง่ บวั หอม

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 : การวางระบบการบริหารงาน ราชการแบบบูรณาการ• มีเป้ าหมายเพื่อสง่ เสริมการทางานร่วมกนั ภายในระบบราชการด้วย กนั เองเพอื่ แก้ปัญหาการแยกสว่ นในการปฏิบตั ิงาน ระหวา่ งหน่วยงาน รวมถงึ การวางระบบความสมั พนั ธ์และประสานความร่วมมือระหวา่ ง ราชการบริหารสว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค และสว่ นท้องถิ่น ในรูปแบบของ การประสานความร่วมมือท่ีหลากหลาย ภายใต้วตั ถปุ ระสงค์ เดยี วกนั คอื นาศกั ยภาพเฉพาะของแตล่ ะหน่วยงานมาสร้างคณุ คา่ ให้กบั งาน ตามเป้ าหมายที่กาหนด เพอื่ ขบั เคล่ือนนโยบาย/ยทุ ธศาสตร์ของประเทศ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรอยา่ งค้มุ คา่ เชน่ เพง่ บวั หอม

• 1.วางระบบการบริหารงานแบบบรู ณาการในยทุ ธศาสตร์ สาคญั ของประเทศ (Cross Functional Management System) ตามหว่ งโซแ่ หง่ คณุ คา่ (Value Chains) ครอบคลมุ กระบวนการ ตงั้ แตต่ ้นนา้ กลางนา้ จนกระทงั่ ปลายนา้ รวมทงั้ กาหนดบทบาทภารกิจให้มี ความชดั เจนวา่ ใคร มีความรับผิดชอบในเร่ืองหรือกิจกรรมใด รวมทงั้ การจดั ทาตวั ชีว้ ดั ของกระทรวงทม่ี ีเป้ าหมาย ร่วมกนั (Joint KPIs) เพง่ บวั หอม

• 2.การออกแบบโครงสร้างและระบบบริหารงานราชการ ใหมใ่ นรูปแบบของหนว่ ยงานรูปแบบพิเศษ เพอ่ื ให้สามารถ รองรับการขบั เคลอ่ื นประเด็นยทุ ธศาสตร์สาคญั ของประเทศท่ี ต้องอาศยั การดาเนินงานทม่ี คี วามยืดหยนุ่ คลอ่ งตวั ไม่ยดึ ติด กบั โครงสร้างองค์การและระบบราชการแบบเดมิ• 3.ปรับปรุงการจดั สรรงบประมาณให้มีลกั ษณะแบบยดึ ยทุ ธศาสตร์และเป้ าหมายร่วมเป็นหลกั เพ่อื ให้เออื ้ ตอ่ การ ขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตร์สาคญั ของประเทศและการบริหารงาน แบบบรู ณาการ เพง่ บวั หอม

• 4.พฒั นารูปแบบและวธิ ีการทางานของภาครัฐในระดบั ต่าง ๆ (Multi-Level Governance) ระหวา่ งราชการ บริหารสว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค และสว่ นท้องถิ่น โดยเน้นการยดึ พืน้ ทเี่ ป็นหลกั เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ประสานสมั พนั ธ์กนั ใน การปฏิบตั งิ านและการใช้ทรัพยากรให้เป็นไป อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ เกิดความค้มุ คา่ และไม่เกิดความซา้ ซ้อน และ ปรับปรุงการจดั สรรงบประมาณ ให้เป็นแบบยดึ พืน้ ทเ่ี ป็นตวั ตงั้ (Area-based Approach) รวมทงั้ วางเงือ่ นไขการ จดั สรร งบประมาณให้กระทรวง/กรม ต้องสนบั สนนุ การ ขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาจงั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั ในสดั สว่ นวงเงนิ งบประมาณท่ีเหมาะสม เพง่ บวั หอม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook