Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการผลิตปาล์มน้ำมัน

หลักการผลิตปาล์มน้ำมัน

Published by ACE, 2021-09-15 04:16:18

Description: หลักการผลิตปาล์มน้ำมัน

Search

Read the Text Version

มาตรฐานสินค้าเกษตร หลักการผลิตปาลม์ นํา้ มนั และนา้ํ มนั ปาลม์ อยา่ งยั่งยืน (Principles for Sustainable Production of Oil Palm and Palm Oil) นางสาวจริ าภรณ์ บาลชนื่ สาํ นักงานมาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ

สํานักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ (มกอช.) หนว่ ยงานระดบั กรม ภายใตก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หนว่ ยงานกลางด้านมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร กําหนด ตรวจสอบรบั รอง ควบคุม และส่งเสริมมาตรฐานสินค้าเกษตรตัง้ แต่ระดบั ไร่นา จนถงึ ผู้บรโิ ภค การเจรจาแกไ้ ขปัญหาทางการค้าเชงิ เทคนิค เพื่อปรบั ปรุงและยกระดับคุณภาพสนิ คา้ เกษตรและอาหารของไทยให้ได้มาตรฐาน รวมทง้ั เพือ่ ใหม้ คี ุณภาพและความปลอดภัย ตามมาตรฐานสากล สามารถแข่งขนั ได้ในเวทีโลก

พ.ร.บ. มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร พ.ศ. 2551 ควบคุมการผลิต และส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร ควบคมุ ตรวจสอบ รับรอง ผผู้ ลติ สินค้าเกษตรและอาหาร โดยเฉพาะระดับฟาร์มและ เพ่ือการสง่ ออก ควบคมุ ตรวจสอบ รบั รองสนิ ค้าเกษตรและอาหารเพอ่ื สง่ ออก กาํ หนดมาตรฐานดา้ นคณุ ภาพ / ความปลอดภยั ของสินค้าเกษตรและอาหารในขอบเขต ท่เี กยี่ วขอ้ ง

บทบาทกระทรวงเกษตรและสหกรณด์ า้ นมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร กําหนดมาตรฐาน พชื ประมง ปศสุ ตั ว์ สง่ เสรมิ การผลิต มกอช. ปศุสัตว์ ให้การรับรอง มกอช. กรมประมง ปศุสัตว์ ทบทวนมาตรฐาน กรมประมง ปศสุ ตั ว์ กรมสง่ เสริมการเกษตร มกอช. มกอช. กรมการข้าว กรมหมอ่ นไหม กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมหม่อนไหม มกอช.

ประเภทของมาตรฐานสินค้าเกษตร มาตรฐานท่วั ไป มาตรฐานทใ่ี ช้เพือ่ ส่งเสรมิ ระบบการ ผลิตสินค้าเกษตรใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน มีลักษณะเปน็ การ ดาํ เนนิ การตามความสมคั รใจ มาตรฐานบงั คบั มาตรฐานที่กาํ หนดใหผ้ ู้ผลติ ผนู้ ําเขา้ หรือ ผู้สง่ ออกสินค้า เกษตรต้องปฏบิ ตั ิตามมาตรฐาน • มีขอ้ กําหนดสง่ิ ท่ตี ้องทาํ สงิ่ ทไ่ี ม่ควรทํา และขอ้ ห้ามต่างๆ • ตอ้ งดาํ เนินการใหส้ อดคล้องกบั กฎหมาย ได้แก่ การขอรบั ใบอนุญาต การขอ การรับรองมาตรฐาน การแสดงเครอ่ื งหมายรับรองมาตรฐาน รวมถงึ มี บทลงโทษในกรณีทพ่ี บการกระทําฝา่ ฝืนกฎหมาย

ลักษณะของมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร มาตรฐานสินคา้ มาตรฐานระบบ มาตรฐานขอ้ กาํ หนดท่ัวไป กําหนดขึ้นสาํ หรบั สินคา้ ใชเ้ ปน็ เกณฑ์ กําหนดขึ้นสําหรับการจดั การกระบวนการ ข้อกําหนดทเี่ กยี่ วข้องกบั ในการผลิต การค้าและ ความปลอดภยั สุขอนามยั สัตว์ การตรวจสอบรบั รองผลิตผลหรือสินค้า ผลติ ใช้เปน็ แนวทาง ใน และสุขอนามยั พืช น้นั ๆ โดยเน้นความปลอดภัยและ คณุ ภาพของผลิตผลหรอื สินคา้ ดังกลา่ ว การปฏบิ ัติและเกณฑ์การตรวจสอบ รับรองระบบผลติ ประกอบด้วย GAP, GMP และ GHP

มาตรฐานสินค้าเกษตร 128 มาตรฐานสนิ คา้ 191 มาตรฐานระบบ 375 56 มาตรฐานข้อกาํ หนดทั่วไป

มาตรฐานบังคับ มกษ. 1004-2557 มกษ. 6401-2558 หลกั ปฏิบัตสิ าํ หรับกระบวนการรมผลไมส้ ด การปฏิบตั ทิ ด่ี สี ําหรับศนู ยร์ วบรวมนํา้ นมดิบ ด้วยกา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ มกษ. 4702-2557 มกษ. 2507-2559 เมล็ดถ่วั ลิสง : ขอ้ กําหนดปริมาณอะฟลาทอกซนิ หลักปฏบิ ตั ิสําหรับการผลิตเช้ือเห็ด มกษ. 9046-2560 การปฏบิ ตั ทิ ด่ี สี าํ หรบั การผลิตทุเรยี นแชเ่ ยอื กแข็ง มกษ. 7432-2558 มกษ. 69ม0ก9ษ-.26596029-2562 การปฏิบกัตาิทรปี่ดฏีสบิ ําตัหิทราบั งกกาารรเผกลษิตตทรทเุ ร่ดี ียี น การปฏบิ ตั ทิ างการเพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ํ ทดี่ ีสาํ หรบั ฟาร์ม แชเ่ ยือกแสําขหง็ รบั ฟารม์ ไก่ไข่ ผลิตลกู กุ้งขาวแวนนาไมปลอดโรค

มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรท่เี กย่ี วขอ้ งกับปาลม์ นาํ้ มนั มาตรฐาน ประกาศใชค้ ร้งั แรก ฉบบั ปจั จบุ นั 2552 2562 มกษ. 5702 ทะลายปาลม์ น้าํ มนั 2553 2564 มกษ. 5904 2555 อยรู่ ะหว่างการทบทวน การปฏบิ ัตทิ างการเกษตรท่ีดสี ําหรบั ปาล์มนาํ้ มัน จะประกาศใชป้ ี 2565 มกษ. 9037 การปฏิบัตทิ ่ีดีสําหรับลานเททะลายปาลม์ นํ้ามัน 2563 ทบทวนมาตรฐาน ปี 2565 มกษ. 5909 หลกั การผลิตปาลม์ นา้ํ มันและนาํ้ มันปาลม์ อยา่ งยงั่ ยนื

ทะลายปาลม์ นา้ํ มนั (มกษ. 5702-2562) ประเด็นท่ีมีการทบทวน • นิยาม โดยกําหนดนยิ ามของทะลายปาลม์ สุกเต็มท่ี ทะลายปาล์มสุก ทะลายปาลม์ ไมส่ ุก และ ทะลายปาล์มสุกมากเกินไป • ขอ้ กาํ หนดขัน้ ตํา่ โดยกาํ หนดเปอร์เซ็นตค์ วามเสยี หายของทะลายปาล์มน้ํามนั จากศตั รูพชื การปนเป้ือนของโคลน ทราย สง่ิ สกปรก • การแบ่งช้ันคณุ ภาพ โดยใช้จาํ นวนทะลายปาลม์ สุกเต็มที่และทะลายปาล์มสกุ สัดส่วนนา้ํ มนั ตอ่ ทะลาย (oil/bunch) และอัตราการสกดั (Oil Extraction Rate; OER) • ขอ้ กาํ หนดด้านความปลอดภยั ไดแ้ ก่ สารปนเปื้อน สารพิษตกค้าง และสขุ ลักษณะ

ทะลายปาล์มนํ้ามนั (มกษ. 5702-2562) ขอบขา่ ย ข้อกาํ หนดข้ันต่ํา ชั้นคณุ ภาพ • ทะลายปาลม์ นํ้ามนั (oil palm bunch) • ตรงตามพนั ธุ์ • เกณฑใ์ นการแบ่งชน้ั คณุ ภาพ • ชอ่ื วิทยาศาสตรว์ า่ Elaeis guineensis • เป็นทะลายปาล์มสกุ เตม็ ทีแ่ ละทะลายปาลม์ สกุ • จํานวนทะลายปาลม์ สกุ เตม็ ทแ่ี ละ • มีความสด ทะลายปาล์มสกุ วงศ์ Arecaceae • ไม่มกี ารรดนา้ํ หรือการปฏิบัติใดๆ ท่ที ําให้ผลร่วง • สดั ส่วนน้าํ มนั ตอ่ ทะลาย • พันธท์ุ ผ่ี ลิตเปน็ การคา้ ได้แก่ ลกู ผสมเทเนอรา (oil/bunch) อย่างไม่เป็นธรรมชาติ • อตั ราการสกดั (Oil Extraction (Tenera) และลูกผสมท่ีไดจ้ ากการปรบั ปรงุ • ไม่มีโคลน ทราย หรือสงิ่ สกปรก ปนเป้อื นใน Rate; OER) พนั ธ์ุ • จําหน่ายในลกั ษณะของทะลาย ทะลายปาลม์ น้าํ มันมากกวา่ 50% ของทะลาย • ช้นั คณุ ภาพ ปาลม์ สด (fresh fruit bunch) • ไมม่ ีความเสียหายจากศัตรูพืชมากกว่า 30% ของ • ชน้ั พิเศษ • ช้นั หน่ึง ทะลาย • ชน้ั สอง • ไม่มีทะลายปาล์มนํา้ มันท่มี ีผลลีบ หรือมี ความผิดปกตดิ า้ นขนาดและความหนาแนน่ ของ ทะลาย มากกว่า 50% ของทะลาย • ก้านทะลายยาวไมเ่ กนิ 5 cm

ทะลายปาลม์ นํ้ามนั (มกษ. 5702-2562) เอกสารกาํ กบั สินคา้ เครือ่ งหมายรบั รองมาตรฐาน ความปลอดภยั สินค้าเกษตร • ชือ่ และทอ่ี ยู่ของผู้ผลิตหรอื ผรู้ วบรวม • สารปนเป้อื น สารพิษตกค้าง • นํ้าหนกั สทุ ธิ • ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง กําหนด สขุ ลักษณะ ให้เป็นไปตามกฎหมาย • ชั้นคณุ ภาพ ลักษณะของเครื่องหมาย การใช้ หรือขอ้ กาํ หนดของมาตรฐานสนิ คา้ เครอ่ื งหมาย และการแสดง เกษตรทเ่ี ก่ยี วข้อง เคร่ืองหมายรบั รองมาตรฐานสนิ ค้า เกษตร พ.ศ. 2553

การปฏิบตั ทิ างการเกษตรท่ีดสี ําหรับปาล์มน้ํามัน (มกษ. 5904-2564) ประเดน็ ท่มี กี ารทบทวน • มาตรฐานฯ ฉบับเดมิ มงุ่ เนน้ ด้านความปลอดภัยอาหาร • มาตรฐานฯ ฉบับทบทวนม่งุ เน้นดา้ นความปลอดภัยอาหารและผลกระทบดา้ น เศรษฐกจิ ส่งิ แวดลอ้ ม สุขภาพ และความปลอดภัยของผ้ปู ฏิบัติงาน

การปฏบิ ตั ิทางการเกษตรที่ดสี าํ หรับปาล์มนา้ํ มนั (มกษ. 5904-2564) ขอบข่าย ขอ้ กําหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดสี ําหรบั ปาล์มน้ํามัน ต้งั แต่การปลูกจนถึงการขนสง่ ทะลาย ปาลม์ น้ํามนั ไปยงั แหลง่ รวบรวมผลิตผล (ลานเท) หรอื โรงงานสกัดนํ้ามนั เพอ่ื ให้ไดท้ ะลายปาล์มนา้ํ มนั มคี ณุ ภาพเหมาะสมสําหรบั เปน็ วัตถุดิบในการผลิตนาํ้ มนั ปาลม์ ท่ปี ลอดภยั ต่อการบรโิ ภค โดยคํานึงถงึ ผลกระทบ ด้านเศรษฐกิจและสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถึงสุขภาพและความปลอดภัยของผ้ปู ฏิบตั งิ าน

การปฏบิ ัติทางการเกษตรทด่ี สี ําหรับปาล์มน้าํ มนั (มกษ. 5904-2564) พนื้ ท่ีปลกู และนา้ํ วัตถุอนั ตรายทางการเกษตร การเลือกพน้ื ที่ปลกู และแหลง่ นํ้าที่เหมาะสม ใช้วตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรอย่างถกู ตอ้ ง เพือ่ ใหไ้ ด้ โดยต้องมกี ารจดั การเพือ่ ไม่ให้เกดิ ผลกระทบต่อผลผลิต ผลิตผลท่ีปลอดภยั ไม่สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ และ สงิ่ แวดลอ้ มและชุมชน ความปลอดภยั ตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และสง่ิ แวดล้อม การจัดการสวนปาลม์ การเก็บเกี่ยวและการปฏบิ ตั ิหลงั การเกบ็ เก่ยี ว มกี ารจัดการทด่ี ีในแปลงปลูกเพ่ือส่งเสริมให้การ มกี ารเก็บเกีย่ วและการปฏิบตั ิหลงั การเก็บเกยี่ วทดี่ ี ปฏิบตั ิงานเป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและย่งั ยนื เพ่อื ให้ไดท้ ะลายปาลม์ น้ํามันทมี่ คี ณุ ภาพ การขนส่ง บุคลากร บันทกึ และการตามสอบ ต้องขนสง่ ทะลายปาล์มนํา้ มนั ไปยงั แหลง่ รวบรวม ผู้ปฏบิ ัติงานต้องมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการจดั การด้าน ผลิตผลหรอื โรงงานสกดั น้ํามันโดยเร็ว การผลิตและสุขลักษณะทีด่ ี และต้องมกี ารบันทกึ ข้อมูล เพื่อการตามสอบสนิ ค้าและใช้เปน็ แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ตอ่ ไป

การปฏิบตั ิท่ีดีสาํ หรับลานเททะลายปาล์มนํา้ มนั (มกษ. 9037-25XX) ประเด็นทีม่ ีการทบทวน • มาตรฐานฯ ฉบบั เดมิ มงุ่ เนน้ ด้านความปลอดภยั อาหาร • มาตรฐานฯ ฉบบั ทบทวนมงุ่ เนน้ ด้านความปลอดภยั อาหารและผลกระทบ ดา้ นเศรษฐกิจ ส่งิ แวดลอ้ ม สขุ ภาพ และความปลอดภัยของผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน

การปฏบิ ตั ทิ ่ีดีสาํ หรบั ลานเททะลายปาลม์ น้าํ มัน (มกษ. 9037-25XX) ขอบข่าย ข้อกําหนดการปฏิบตั ทิ ด่ี สี าํ หรับลานเททะลายปาล์มนา้ํ มัน ตงั้ แตก่ ารรบั ทะลายปาลม์ นํ้ามนั การเก็บ รกั ษา ตลอดถงึ การขนส่งไปยงั โรงงานสกัดน้ํามันปาล์มดิบ เพอ่ื ใหไ้ ด้ทะลายปาล์มน้ํามันทีม่ คี ณุ ภาพ ปลอดภยั และเหมาะสมสําหรับเปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลิตของโรงงานสกัดน้ํามนั ปาลม์ ดบิ ทั้งน้ี ลานเท ทะลายปาลม์ นาํ้ มนั ในมาตรฐานนคี้ รอบคลุมถงึ สถานทรี่ ับซอื้ ทะลายปาลม์ น้ํามนั ภายในโรงงานสกดั น้าํ มันปาลม์ ดบิ ดว้ ย

การปฏบิ ตั ิท่ดี ีสําหรบั ลานเททะลายปาลม์ นํา้ มนั (มกษ. 9037-25XX) สถานประกอบการ เครอื่ งมอื อุปกรณ์ และ การควบคุมการปฏบิ ตั ิงาน • มีทําเลท่ีตัง้ เหมาะสม มีระบบ สงิ่ อํานวยความสะดวก • ระบบการจัดการขัน้ ตอน • เคร่ืองมอื และอุปกรณอ์ ยใู่ น สาธารณปู โภคและ ตาํ แหนง่ ทเ่ี หมาะสมและมี การปฏบิ ัตงิ านทเ่ี หมาะสม การคมนาคมทีส่ ะดวก พืน้ ที่ สภาพพรอ้ มใช้งาน มกี ารสอบ ตั้งแตก่ ารรับทะลายปาลม์ ปฏิบตั ิงาน มเี พยี งพอและ เทียบ หรือทวนสอบเครอ่ื งชั่ง น้าํ มนั การเก็บรกั ษา และการ แบ่งเปน็ สดั ส่วน เพื่อทาํ ให้ เพ่อื ใหม้ ัน่ ใจในความถูกตอ้ ง ขนส่ง เพอ่ื ให้ไดท้ ะลายปาลม์ กระบวนการรวบรวมทะลาย แม่นยํา รวมถึงมสี งิ่ อาํ นวย น้ํามันท่ีมีคุณภาพ และ ปาล์มนาํ้ มันดําเนินการไดอ้ ยา่ ง ความสะดวกอย่างเพียงพอและ ปลอดภัย มีประสทิ ธภิ าพ เหมาะสมเพอ่ื ให้สะดวกต่อการ ปฏบิ ัติงาน

การปฏิบตั ทิ ดี่ ีสาํ หรบั ลานเททะลายปาล์มน้ํามัน (มกษ. 9037-25XX) การบาํ รุงรกั ษาและ บุคลากร เอกสารและบันทกึ ขอ้ มลู การทําความสะอาด • ผปู้ ระกอบการและผู้ปฏิบัตงิ าน • มีขอ้ มลู ท่ีสาํ คัญตา่ งๆ เพอ่ื การ • มวี ธิ ีการทมี่ ปี ระสิทธิภาพใน การบาํ รุงรกั ษา การทําความ ต้องมีความรู้ความเขา้ ใจ ตามสอบสนิ ค้าและใช้เปน็ แนว สะอาด การป้องกันสตั ว์เล้ยี ง เกย่ี วกบั การคดั คณุ ภาพ การ ทางการปรับปรงุ และพฒั นา เขา้ ในบริเวณปฏิบัติงาน การ รกั ษาคณุ ภาพทะลายปาล์ม การปฏิบัติงานได้ จัดการขยะ เพ่อื ช่วยปอ้ งกนั นํ้ามนั และผ้ปู ระกอบการจดั การปนเปือ้ นตอ่ ทะลายปาลม์ สวสั ดกิ ารให้แกผ่ ูป้ ฏบิ ตั ิงาน น้าํ มนั อย่างเหมาะสม เพ่ือช่วย สนับสนุนการปฏิบัตงิ านให้มี ประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐานสินคา้ เกษตร เร่ือง หลักการผลิตปาลม์ นํา้ มันและน้ํามันปาลม์ อย่างย่งั ยนื (มกษ. 5909-2563) แนวปฏิบัตใิ นการใช้มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร เรอ่ื ง หลกั การผลติ ปาลม์ นํ้ามันและน้ํามันปาลม์ อยา่ งย่งั ยืน (มกษ. 5909 (G) -2563)

หลักการผลติ ปาล์มนํ้ามันและนาํ้ มันปาลม์ อยา่ งย่ังยืน • ความต้องการน้ํามันปาลม์ เพือ่ การบรโิ ภค การใช้เป็นพลงั งาน การรวมตวั ของผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี หลายประเทศสร้างมาตรฐานทีเ่ รียกว่า ทดแทน และอตุ สาหกรรมโอลิโอเคมคิ อลมากขึน้ Roundtable on Sustainable Palm Oil • มีการขยายพน้ื ทปี่ ลกู ปาล์มนาํ้ มันอย่างตอ่ เน่อื ง (RSPO) เพอื่ ใช้รับรองระบบการผลิตนา้ํ มนั • ปญั หาการรกุ ลาํ้ พื้นทปี่ า่ ทาํ ลายธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ปาลม์ อย่างย่งั ยนื จากตน้ น้ําจนถึงปลาย • ปัญหาการเอารัดเอาเปรยี บแรงงานและเกษตรกรรายยอ่ ย • ผลกระทบต่อสังคมและชมุ ชนทอ้ งถ่ิน

หลักการผลิตปาล์มนํ้ามันและน้าํ มนั ปาลม์ อยา่ งยงั่ ยืน • ประเทศไทยในฐานะผู้ผลิตและส่งออกน้ํามันปาล์มและสินค้าท่ีมีส่วนประกอบของน้ํามัน ปาล์ม จาํ เปน็ ต้องคาํ นึงถงึ แนวทางการจดั การท่ยี ั่งยืนและการเปล่ยี นแปลงของตลาดโลก • สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ จึงได้กําหนดมาตรฐานหลักการ ผลิตปาล์มนํ้ามันและน้ํามันปาล์มอย่างย่ังยืน เพ่ือยกระดับการผลิตปาล์มน้ํามันและ นํ้ามันปาลม์ ของประเทศ และเพ่มิ ความสามารถการแขง่ ขันในตลาดโลก

หลกั การผลติ ปาลม์ น้ํามนั และนํา้ มันปาลม์ อยา่ งยั่งยนื

หลักการผลติ ปาล์มน้ํามนั และน้าํ มนั ปาลม์ อยา่ งยง่ั ยืน ขอบขา่ ย  หลกั การและเกณฑก์ าํ หนดในการบริหารจดั การเพ่ือใหก้ ารผลิตปาล์มนํา้ มนั และนํา้ มนั ปาล์มของประเทศไทยมคี วามยง่ั ยนื โดยคาํ นึงถึงผลกระทบดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และ สง่ิ แวดลอ้ ม  สาํ หรบั สวนปาล์มทม่ี ีพ้ืนท่ีปลูกปาล์มน้ํามันไม่ตาํ่ กวา่ 312.5 ไร่ (50 เฮกตาร)์ หรอื สวน ปาล์มของผู้ประกอบการโรงสกดั

หลกั การ จาํ นวนข้อกาํ หนด 3 1. ความมงุ่ ม่ันให้เกิดความโปรง่ ใส 3 2. การปฏิบัตติ ามกฎหมายและกฎระเบียบ 1 3. ความมุ่งมนั่ ในการทําให้เกิดความมน่ั คงเศรษฐกิจและการเงินในระยะยาว 8 4. การวิธปี ฏบิ ัตทิ ด่ี ีของผปู้ ลกู ปาล์มน้ํามนั และผู้ประกอบการโรงสกัด 5. ความรับผดิ ชอบด้านสิ่งแวดลอ้ ม และการอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย 6 ทางชวี ภาพ 6. ความรับผดิ ชอบทมี่ ีตอ่ พนกั งาน ลูกจา้ ง บุคคล ชุมชนทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากผ้ปู ลกู ปาล์มนํา้ มนั และ 13 ผู้ประกอบการโรงสกดั 7. การพฒั นาการปลกู ปาลม์ น้าํ มันในพ้นื ทใ่ี หม่อยา่ งมคี วามรับผดิ ชอบ 8 8. ความม่งุ มั่นในการปรับปรงุ กจิ กรรมหลักอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 1 43 รวมจํานวน

หลักการข้อที่ 1 ความมุง่ มนั่ ให้เกดิ ความโปรง่ ใส 1. มขี อ้ มูลเกี่ยวกบั เกณฑ์กําหนดของมาตรฐาน ในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดล้อม และกฎหมาย อย่างเพียงพอใหก้ บั ผทู้ ี่มีส่วนไดส้ ่วนเสยี เพ่ือใหเ้ กิดการมีสว่ นร่วมในการตดั สินใจ 2. มีเอกสารเก่ยี วกบั การบริหารจดั การท่พี รอ้ มเปดิ เผยต่อสาธารณะ แต่ไมร่ วมถึงเอกสารท่เี ปน็ ความลับ ทางการค้า หรอื เอกสารที่หากเปดิ เผยแลว้ สง่ ผลกระทบเชิงลบต่อส่ิงแวดลอ้ มและสงั คม 3. มงุ่ มั่นที่จะดําเนนิ ธุรกจิ และธุรกรรมอยา่ งมจี รยิ ธรรม มนี โยบายด้านจรรยาบรรณและความซ่ือสตั ยใ์ นการ ดําเนินงานรวมทัง้ ธรุ กรรมตา่ งๆ จัดทาํ เป็นเอกสาร และสอื่ สารไปยงั พนักงานและลกู จ้างทุกระดับ

หลักการขอ้ ท่ี 2 การปฏบิ ัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ 1. ปฏิบตั ติ ตามกฎหมายและกฎระเบยี บตา่ งๆ 2. มีหลักฐานแสดงสิทธิในการใช้ท่ีดินและไมถ่ กู คัดค้านสิทธโิ ดยชมุ ชนท้องถ่นิ 3. การใชท้ ี่ดินตอ้ งไมล่ ดิ รอนสิทธิตามกฎหมาย หรือสทิ ธิตามจารตี ประเพณีของผู้อน่ื และชมุ ชน

หลกั การข้อที่ 3 ความมงุ่ ม่นั ในการทาํ ให้เกิดความม่ันคงเศรษฐกจิ และการเงนิ ในระยะยาว มีแผนการบรหิ ารจดั การทมี่ เี ปา้ หมาย เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงทางเศรษฐกิจและการเงนิ ในระยะยาว • แผนงบประมาณธรุ กิจประจาํ ปี โดยคาดการณอ์ ย่างนอ้ ย 2 ปี • แผนการปลูกทดแทนประจาํ ปี โดยคาดการณ์อย่างนอ้ ย 3 ปี และมีการทบทวนประจําปี

หลกั การขอ้ ท่ี 4 การวธิ ีปฏบิ ตั ทิ ด่ี ขี องผ้ปู ลูกปาลม์ นาํ้ มัน และผู้ประกอบการโรงสกัด 1. จดั ทําเอกสารขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานที่เหมาะสม นาํ ไปปฏบิ ัติใหส้ อดคล้อง และมีการตรวจติดตาม 2. รกั ษาความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ปรับปรุงสภาพดินให้มคี วามอดุ มสมบูรณ์เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลผลิตทด่ี ี และยงั่ ยืน 3. ลดและควบคมุ การชะลา้ งพงั ทพลายของดนิ และการเส่อื มโทรมของดิน

หลกั การข้อท่ี 4 การวิธีปฏิบัติทด่ี ขี องผปู้ ลกู ปาล์มนาํ้ มัน และผ้ปู ระกอบการโรงสกัด 4. รักษาคณุ ภาพและปรมิ าณทีเ่ หมาะสมของน้าํ ผวิ ดินและนา้ํ ใต้ดนิ 5. บริหารจัดการศัตรูพืชและสิ่งมีชีวิตต่างถ่ิน โดยการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (Integrated Pest Management; IPM) 6. ใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตรในลักษณะที่ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ สุขภาพและสง่ิ แวดล้อม

หลักการขอ้ ท่ี 4 การวิธีปฏบิ ตั ิที่ดขี องผปู้ ลูกปาลม์ นาํ้ มนั และผปู้ ระกอบการโรงสกัด 7. มแี ผนงานดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ทเ่ี ปน็ เอกสาร มกี ารสอื่ สาร และนาํ ไปปฏิบตั ิ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 8. พนกั งาน คนงาน และผรู้ ับเหมาไดร้ ับการฝกึ อบรมที่เหมาะสม

หลกั การข้อท่ี 5 ความรบั ผดิ ชอบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ระบุผลกระทบด้านส่งิ แวดล้อมทอี่ าจเกดิ ข้นึ จากการบรหิ ารจดั การสวนปาลม์ และโรงสกดั และมแี ผนการลดผลกระทบเชงิ ลบและแผนส่งเสริมท่ีเอือ้ ประโยชนต์ ่อส่ิงแวดลอ้ ม 2. ระบสุ ถานภาพของพนั ธพุ์ ืชหรือพนั ธส์ุ ตั วห์ ายาก หรอื ถกู คุกคาม หรือใกลส้ ูญพันธ์ และ สิ่งที่มีคุณค่าสูงในการอนุรักษ์ หากมีอยู่ในพื้นท่ีสวนปาล์มหรือได้รับผลกระทบจากการบริหารจัดการสวน ปาลม์ หรือโรงสกดั ใหพ้ จิ ารณาไวใ้ นแผนบริหารจัดการและการดําเนินการ 3. ลดของเสีย หมุนเวียนของเสียกลับมาใชใ้ หม่ นําของเสียกลับมาใชซ้ าํ้ และจํากัดของเสียท่แี สดงถงึ ความ รบั ผิดชอบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม

หลกั การข้อท่ี 5 ความรบั ผดิ ชอบด้านสิง่ แวดลอ้ ม และ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชวี ภาพ 4. มกี ารใช้เช้อื เพลิงฟอสซสิ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และการใชพ้ ลงั งานหมนุ เวยี นอยา่ งเหมาะสม 5. หลกี เลย่ี งการใชไ้ ฟเผาเพือ่ เตรยี มพนื้ ทีป่ ลูก 6. มีแผนการลดมลพษิ การปลอ่ ยมลพิษและกา๊ ซเรือนกระจก และมกี ารนาํ แผนไปปฏบิ ตั ิและ ตดิ ตามผล เพือ่ แสดงถงึ ความมุ่งมน่ั ทจ่ี ะลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก

หลกั การข้อท่ี 6 ความรบั ผดิ ชอบทมี่ ตี อ่ พนกั งาน ลกู จา้ ง บุคคล ชมุ ชนทไ่ี ดร้ ับ ผลกระทบจากผูป้ ลกู ปาล์มน้ํามนั และผปู้ ระกอบการโรงสกดั 1. ระบผุ ลกระทบด้านสงั คม โดยกระบวนการมีสว่ นร่วมจากการบรหิ ารจดั สวนปาล์มและโรงสกดั และมแี ผนการลดผลกระทบเชงิ ลบ และแผนส่งเสริมที่เอื้อประโยชนต์ อ่ สังคม 2. มกี ารสื่อสารและการปรกึ ษาหารอื อยา่ งเปดิ กว้างและโปรง่ ใสระหวา่ งผปู้ ลูกปาล์มนํา้ มนั ผูป้ ระกอบการ โรงสกดั ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ และกลมุ่ ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ หรือกลมุ่ อื่นๆ ทเี่ กีย่ วข้อง 3. มรี ะบบการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี นและข้อรอ้ งทกุ ข์ท่ีตกลงรว่ มกนั จัดทําเปน็ เอกสาร นาํ ไปปฏิบตั ิและเปน็ ท่ี ยอมรบั จากทุกฝา่ ย

หลักการข้อท่ี 6 ความรับผดิ ชอบทมี่ ตี อ่ พนกั งาน ลูกจา้ ง บคุ คล ชุมชนทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากผู้ปลกู ปาล์มนา้ํ มันและผปู้ ระกอบการโรงสกัด 4. การเจรจาทเี่ กยี่ วกับการชดเชยความสูญเสียสทิ ธิตามกฎหมาย สทิ ธติ ามจารตี ประเพณี หรอื สิทธิการใช้ ประโยชน์ ตอ้ งมรี ะบบการบันทกึ ที่เปน็ เอกสารท่ีชนเผ่าพ้นื เมอื ง ชมุ ชนท้องถน่ิ และผมู้ สี ว่ นได้ส่วนอ่ืนๆ สามารถแสดงความคดิ เหน็ ผ่านผ้แู ทนองค์กรของตนได้ 5. คา่ จ้าง และเง่อื นไขการจ้างของพนกั งานและคนงานรบั เหมา ตอ้ งเป็นไปตามกฎหมายแฃะพอเพยี งตอ่ การ ดํารงชวี ิต 6. นายจ้างเคารพสทิ ธขิ องพนักงานและลกู จา้ งในการจดั ต้งั และเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน

หลกั การขอ้ ที่ 6 ความรับผดิ ชอบทมี่ ตี อ่ พนักงาน ลกู จา้ ง บคุ คล ชมุ ชนทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากผู้ปลกู ปาล์มน้ํามันและผปู้ ระกอบการโรงสกดั 7. การใชแ้ รงงานเดก็ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย 8. ไม่มีการเลอื กปฏิบัติใดๆ บนพืน้ ฐานของความแตกต่างดา้ นเชื้อชาติ วรรณะกําเนดิ ศาสนา ความพกิ าร เพศ ภาพ การแสดงออกทางเพศ สมาชิกสหภาพแรงงาน การสังกัดกลมุ่ การเมอื ง 9. ไม่มีการคุกคามทางเพศหรอื การปฏิบัติที่ไมเ่ หมาะสม มกี ารคมุ้ ครองสิทธิในการมคี รอบครวั และดแู ลบตุ ร

หลักการข้อที่ 6 ความรับผดิ ชอบทม่ี ตี ่อพนกั งาน ลกู จา้ ง บคุ คล ชมุ ชนที่ไดร้ บั ผลกระทบจากผู้ปลกู ปาลม์ น้ํามนั และผปู้ ระกอบการโรงสกัด 10. ผ้ปู ลกู ปาล์มนํ้ามนั และผู้ประกอบการโรงสกัด มกี ารดาํ เนินธรุ กจิ ทเี่ ป็นธรรมและโปรง่ ใสกับเกษตรกร รายย่อย และธรุ กิจอืน่ ๆ ในทอ้ งถิ่น 11. ผู้ปลกู ปาลม์ น้ํามนั และผู้ประกอบการโรงสกดั มีส่วนสนบั สนนุ ในการพฒั นาท้องถิน่ อย่างย่งั ยนื ตามความ เหมาะสม 12. ไมม่ ีการใชแ้ รงงานในลกั ษณะการบังคบั หรอื การค้ามนษุ ย์ 13. ผปู้ ลูกปาลม์ น้ํามนั และผู้ประกอบการโรงสกัดตอ้ งเคารพสทิ ธมิ นุษยชน

หลักการขอ้ ที่ 7 การพัฒนาการปลูกปาลม์ น้ํามันในพ้ืนทีใ่ หม่ อยา่ งมีความรับผดิ ชอบ 1. ก่อนการปลูกปาลม์ ในพืน้ ท่ใี หม่หรอื กอ่ นการดําเนินการหรอื ก่อนการขยายพน้ื ทปี่ ลูกท่ีมอี ยเู่ ดิม ตอ้ งมกี าร ประเมนิ ผลกระทบดา้ นสงั คมและสิง่ แวดล้อมอย่างครบถว้ น มีส่วนรว่ มและเปน็ อิสระ และนําผลประเมินมา วางแผน บริการจดั การ และดําเนินการ 2. นําข้อมูลสาํ รวจดนิ และขอ้ มูลสภาพภูมิประเทศมาใช้ในการวางแผนท่ีตง้ั พื้นที่ปลูกใหม่ 3. ไมใ่ ห้มีการปลูกปาลม์ นํา้ มนั ใหมใ่ นป่าปฐมภูมิ หรอื เขตพื้นทีท่ ่ตี อ้ งคงรกั ษษหรอื ส่งเสริม หรือเปน็ พื้นที่ทเ่ี ข้า ข่ายสิ่งทีม่ ีคุณค่าสงู ในอนรุ กั ษ์

หลกั การขอ้ ที่ 7 การพฒั นาการปลูกปาล์มนาํ้ มันในพน้ื ท่ใี หม่ อยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ 4. หลกี เลบี่ งการปลกู ปาล์มเป็นบริเวณกวา้ งในพน้ื ท่สี งู ชัน พ้ืนทด่ี นิ ด้อยคุณภาพ ดนิ ที่เปราะบาง ต่อการถูกชะลา้ ง และดินพรุ 5. ไม่ปลกู ปาลม์ ใหมใ่ นทด่ี นิ ของคนทอ้ งถ่ินทม่ี สี ทิ ธติ ามกฎหมาย จารตี ประเพณหี รอื สิทธิของ ผู้ประโยชน์ การปลกู ปาล์มใหมต่ อ้ งดาํ เนนิ การผ่านระบบเอกสารท่เี ปิดโอกาสใหช้ ุมชนทอ้ งถน่ิ และ ผ้ทู ่มี สี ว่ นไดส้ ่วนเสียสามารถแสดงความคิดเห็นผา่ นผแู้ ทนขององคก์ รของตนได้ 6. ในกรณีท่คี นทอ้ งถ่ินมีสิทธิถูกต้องตามกฎหมาย สิทธติ ามจารตี ประเพณีหรอื สิทธิของผู้ประโยชน์ คนท้องถน่ิ ตอ้ งได้รบั การชดเชยสาํ หรบั การได้มาซงึ่ ดนิ และการโอนสิทธิในทท่ี าํ กิน

หลกั การข้อที่ 7 การพฒั นาการปลูกปาลม์ น้าํ มันในพน้ื ทใ่ี หม่ อย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ 7. ไม่ให้มกี ารใชไ้ ฟเผาเพอ่ื เตรยี มพนื้ ท่ีปลกู ใหม่ 8. การพฒั นาสวนปาลม์ ในพื้นทีใ่ หมต่ อ้ งมกี ารออกแบบเพื่อลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกสทุ ธิให้เหลอื นอ้ ยที่สดุ

หลักการขอ้ ท่ี 8 ความมงุ่ มนั่ ในการปรับปรงุ กิจกรรมหลัก อย่างตอ่ เน่อื ง ผู้ปลูกปาล์มน้าํ มนั และผู้ประกอบการโรงสกัด ติดตามและทบทวนกิจกรรมต่างๆ อย่างสมํ่าเสมอ จดั ทาํ แผน ปฏิบัตงิ านและนาํ ไปปฏิบัติ เพื่อแสดงให้เหน็ ถงึ การปรบั ปรุงการดําเนนิ งานหลักอยา่ งต่อเน่ือง



โครงสร้างและเกณฑก์ าํ หนดของ RSPO 2018 ความเจริญรุ่งเรอื ง คน โลก

โครงสร้างและเกณฑก์ าํ หนดของ RSPO 2018 ความเจรญิ รุ่งเรอื ง หลกั การข้อท่ี 1 ประพฤตอิ ย่างมจี รยิ ธรรมและโปรง่ ใส หลักการข้อที่ 2 ดําเนินการตามกฎหมายและเคารพสิทธิ หลกั การข้อท่ี 3 ทาํ ใหเ้ กิดความเหมาะสมทส่ี ุดต่อผลติ ภาพ ความมปี ระสทิ ธิภาพ การ เกดิ ผลกระทบเชงิ บวกและความสามารถในการปรับตัวต่อสถานการณ์

โครงสรา้ งและเกณฑ์กําหนดของ RSPO 2018 หลักการขอ้ ท่ี 4 เคารพสทิ ธชิ ุมชนและสทิ ธมิ นุษยชนและสง่ มอบผลประโยชน์ หลกั การขอ้ ท่ี 5 คน สนับสนุนการรวมตัวของเกษตรกรรายย่อย หลกั การขอ้ ที่ 6 เคารพสิทธิและเงื่อนไขของคนงาน

โครงสรา้ งและเกณฑก์ าํ หนดของ RSPO 2018 หลกั การขอ้ ท่ี 7 การปกป้อง อนุรักษ์และปรบั ปรุงระบบนิเวศและส่งิ แวดลอ้ มให้ดขี ้นึ โลก

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook