Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1-2

บทที่ 1-2

Published by thipphawan8796, 2019-09-11 23:24:48

Description: บทที่ 1-2

Search

Read the Text Version

๑ แบบประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องงาน พนักงานราชการ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่าศาลา สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดนครศรธี รรมราช รอบการประเมนิ คร้งั ท่ี 1 ครงั้ ที่ 2 กาหนดตัวช้ีวดั / ผลงานจริง แตล่ ะรอบการประเมินฯ ไม่น้อยกวา่ 4 ตวั ชวี้ ัด ภายใตอ้ งค์ประกอบ ของปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเรว็ หรอื ความตรงตอ่ เวลา และการใชท้ รัพยากรอยา่ งคมุ้ คา่ ชอ่ื ผูร้ บั การประเมิน นาย นายทรงชัย ชปู ระสูติ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอท่าศาลา สังกดั สานักงาน กศน.จังหวัดนครศรธี รรมราช ช่ือผูบ้ งั คบั บัญชา หรือผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย นางกลั ยา สุทนิ  ประวตั สิ ่วนตัว ช่ือ-สกลุ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ วุฒกิ ารศึกษา ปริญญาตรี อตุ สาหกรรมศิลป์ (คบ.) ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล ศนู ย์ กศน.อาเภอท่าศาลา สงั กดั สานักงาน กศน.จังหวดั นครศรธี รรมราช โทรศัพท์ 081 - 2724491 E-mail : [email protected] ความสามารถพิเศษ และทักษะทีท่ าให้ประสบความสาเรจ็ ทาใหป้ ฏบิ ัติงานในหนา้ ท่ไี ดผ้ ลดี ความสามารถพเิ ศษ วิทยากรกระบวนการเชิงวิชาการ ข้าพเจ้ามีการสร้างสมความรู้ความสามารถ โดยการศึกษา เรียนร้ดู ้วยตนเองและประสบการณ์จัดกระบวนการเรียนรู้และการเข้าอบรมในหลายๆด้าน เช่น อบรมการจัด กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อบรมเชิงปฏิบัติการโครงงานวิทยาศาสตร์อบรมการใช้หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อบรมวิทยากรแกนนาประชาธิปไตย การจัดทาแผนประจาตาบล และได้ไปศึกษาเพ่ิมเติม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู จากการท่ีข้าพเจ้าได้ เข้ารับการอบรม ได้นาความรู้ กระบวนการ เทคนิควิธีการ ข้ันตอน มาบูรณาการเข้าด้วยกันใช้ในการจัด กจิ กรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยระดับกลุ่มโซน ชุมชน และนามาบรู ณาการใหเ้ กิด ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อการจัดกระบวนการเรยี นร้กู จิ กรรมงาน กศน. ใน กศน.ตาบลโพธ์ิทอง การใชค้ อมพิวเตอร์ ขา้ พเจา้ มีการสรา้ งสมความรคู้ วามสามารถในใชค้ อมพิวเตอรเ์ บ้อื งต้น โดย การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและสร้างสมประสบการณ์ ซ่ึงสามารถเป็นวิทยากรอบรมการใช้คอมพิวเตอร์ เบื้องต้น โปรแกรม Microsoft Office ท้ัง Word ,Excel ,Power Point และ Internet และการใช้เทคโนโลยี เขา้ มาในการชว่ ยสอน เชน่ Facebook Line ทักษะทที่ าให้ประสบความสาเร็จเพ่อื ทาให้ปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ใี หมไ่ ด้ผลดี ๑.การมีปฏิสัมพันธ์กับเครือข่าย กศน.ตาบลโพธิ์ทอง จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายในชุมชน จานวน ๕๖๐ คนในแต่ละปีงบประมาณ กศน. ตาบลโพธ์ิทอง จงึ ต้องสร้างและขยายเครือข่าย เพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในชมุ ชน ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครั้งที่ 2)

๒ ๒.สนับสนุนกระบวนการทางานและเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตรระหว่างองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่นิ องค์กรภาครฐั ภาครฐั และทกุ ฝ่ายในสังคม ๓.คุณธรรม จริยธรรม เราคนไทยรู้รักสามัคคี มีน้าใจไมตรีช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ร่วมมือร่วมใจ ให้เกียรติกัน โดยไม่มีการแบ่งเช้ือชาติ ศาสนา หรือสถานภาพทางสังคม เพื่อสร้างเสริมสังคมให้อยู่ร่วมกัน อยา่ งมีความสขุ ๔.ความรับผิดชอบ การยอมรับผลการกระทาของตนเอง ทั้งในส่ิงที่ดีและไม่ดี สามารถควบคุม ตนเองได้ มีความมุ่งมนั่ เพียรพยายามในการเรยี นรู้รว่ มกันอย่างมีความสุข ๕. ความเชื่อมั่นในตนเอง มีความม่ันใจ แน่ใจในแนวความคิดและการกระทาของตนเองอย่างมี เหตุผล มีหลักการในการทางานใหป้ ระสบผลสาเร็จ ถกู ต้องและเหมาะสม รายละเอียดการปฏิบัตงิ าน : ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล/ แขวง หนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ ปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ให้แก่กลุ่มเปา้ หมาย ในพื้นท่ีรับผิดชอบ ประสานงานรว่ มกับภาคีเครอื ข่าย องคก์ รภาครฐั ภาคเอกชน และชุมชน โดยเฉพาะภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชน จัดทาฐานข้อมูลชุมชนเพ่ือ ใหบ้ ริการขอ้ มลู ข่าวสารในชุมชน และปฏิบตั หิ นา้ ทอี่ ืน่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ด้านการวางแผน (P) 1. สารวจ รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลกลมุ่ เปา้ หมาย และข้อมูลบรบิ ทของชมุ ชนในตาบลท่ี รับผิดชอบ ตามรูปแบบการวางแผนจลุ ภาคอย่างมีคุณภาพ 2. การจัดทาแผนการเรียนร้รู ายชมุ ชน 3. จัดทาคารบั รองการปฏิบตั ิราชการกบั ผู้บังคับบัญชา 4. จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน. ตาบล ประจาปงี บประมาณ 5. บนั ทึกข้อมูลในฐานข้อมลู กศน.ตาบล (DMIS) 6. ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆตามที่ไดร้ ับมอบหมาย จากผบู้ งั คบั บัญชา (4 ศนู ย์ และอื่นๆ) ดา้ นการดาเนนิ การ (D) นาแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีงบประมาณและแผนการเรียนรูร้ ายชมุ ชนไปส่กู ารปฏบิ ตั ิโดย 1. จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาพ้ืนฐาน พ.ศ. 2552 แผนการเรียน รายบคุ คล (ทาหน้าทีค่ รปู ระจากล่มุ ) 2. จัดและส่งเสริม สนับสนุน และประสานงาน การจัดการเรียนรู้ ในภารกิจศูนย์เรียนรู้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยประจาตาบล และศูนยก์ ารศกึ ษาตลอดชีวติ ประจาตาบล โดยยึดหลักการใช้ กศน.ตาบล เปน็ ฐาน ด้านการตรวจสอบและประเมินผล (C) พิจารณาจานวนร้อยละผู้จบหลักสูตรในแต่ละหลักสูตรของผู้เรียนและผู้รับบริการให้เป็นไปตาม ตัวชีว้ ัดท่ีกาหนด ด้านการปรบั ปรุงและพัฒนาผลการปฏิบตั งิ าน (A) 1. สรปุ ผลการปฏบิ ัติงาน หรอื ความสาเร็จของงานท่ีไดด้ าเนินการ 2. ผลปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice) อย่างน้อย 1 ผลงาน ผลการปฏบิ ตั งิ านพนักงานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (คร้งั ที่ 2)

๓ การดาเนินงานตามภารกิจหน้าทค่ี รู กศน.ตาบล  การศกึ ษานโยบายยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งาน โดยครู กศน.ตาบลได้ปฏิบัติงานโดยยึดการทางานที่ถูกต้องและตามนโยบายโดยการศึกษานโยบายท่ี เก่ียวข้องกับการทางาน และนามาวิเคราะห์เพื่อจัดทาแผนประจาปีงบประมาณ ๒๕๖2โดยการร่วมรับมอบ นโยบายและประชุมเพ่ือวิเคราะห์การนโยบายการจัดทาแผนรวมเป็นระดับตาบล และภาพรวมของอาเภอ พรหมคีรี โดยมคี ณะบุคลากรทกุ คน ร่วมกนั วิเคราะห์นโยบายเพื่อให้มีความครอบคลุมและให้เกิดประโยชน์กับ ประชาชนมากท่สี ดุ ผลการปฏิบตั ิงานพนักงานราชการ นายทรงชยั ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครั้งท่ี 2)

๔ นโยบายและจุดเนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2 วิสัยทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตท่ีเหมาะสม กบั ชว่ งวยั สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกั ษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ พันธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง บริบททางสงั คม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย ในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่ง การเรียนรอู้ ืน่ ในรปู แบบตา่ งๆ ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ ับประชาชนอยา่ งทวั่ ถึง ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับบรบิ ทในปัจจุบนั ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหม้ ีประสทิ ธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ มคี ุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่องและการศึกษา ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ อย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย ๒. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมือง อนั นาไปสูก่ ารยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยงั่ ยืน ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดล้อม ๓. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรยี นรแู้ ละมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถ คดิ วเิ คราะห์ และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั รวมทัง้ แก้ปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ ๔. ประชาชนไดร้ ับการสร้างและส่งเสริมใหม้ ีนิสยั รกั การอา่ นเพอื่ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๕. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การขับเคลือ่ นกจิ กรรมการเรยี นร้ขู องชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ในการยกระดับ คุณภาพในการจัดการเรยี นรู้และเพม่ิ โอกาสการเรียนร้ใู ห้กบั ประชาชน ๗. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู้เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิต ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดล้อม รวมทง้ั ตามความตอ้ งการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย ผลการปฏบิ ตั ิงานพนักงานราชการ นายทรงชัย ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครง้ั ท่ี 2)

๕ ๘. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๙. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ตัวชีว้ ดั ๑. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามสทิ ธทิ ่กี าหนดไว้ ๒. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศกึ ษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่สี อดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความต้องการ ๓. จานวนผู้รับบรกิ ารในพน้ื ท่เี ป้าหมายไดร้ ับการส่งเสริมด้านการรหู้ นงั สอื และการพฒั นาทกั ษะชีวิต ๔. ร้อยละการอ่านของคนไทยเพ่ิมข้ึน ๕. จานวนนักเรียนนักศึกษาท่ไี ด้รบั บริการติวเขม้ เต็มความรู้ ๖. จานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปที่เข้าถึงบริการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ใน รูปแบบตา่ ง ๆ ๗. จานวนประชาชนท่ีไดร้ ับการอบรมให้มีความรู้ ในอาชีพการเกษตรท่ีเหมาะสมกับสภาพบรบิ ท และ ความต้องการของพื้นท่ี/ชุมชน ๘. จานวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตาบลท่ีมีความพร้อมในการให้บริการการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๙. จานวนทาเนยี บศนู ยเ์ รียนร้เู กษตรพอเพยี งของตาบล และจานวนกลุม่ เกษตรชุมชนดเี ด่น ๑๐. จานวนประชาชนได้รบั การอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ระยะสั้น) สาหรบั ประชาชนในศนู ยอ์ าเซยี นศกึ ษา กศน. ๑๑. มีการพัฒนาอุปกรณ์การผลติ และการเผยแพร่ขา่ วโทรทัศนเ์ พือ่ การศกึ ษาสาหรบั ศนู ย์ขา่ วโทรทศั น์ เพอื่ การศึกษา ๑ ระบบ ๑๒. จานวนบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ได้รับการอบรมให้มีความรู้และทักษะใน การปฏิบัติงานเพ่ือรองรบั การปฏิบตั งิ านในสถานีวทิ ยโุ ทรทัศน์ระบบดิจทิ ัล ๑๓. จานวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยผ่านช่องทางส่อื เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยกี ารส่อื สาร ๑๔. จานวนรายการโทรทศั น/์ CD/แอพพริเคชั่น ในการให้ความร้ดู ้านการเกษตร ๑๕. จานวน/ประเภทของส่ือท่ีมีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/ ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๑๖. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทา ฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อธั ยาศัยขององค์การ ๑๗. จานวนระบบฐานข้อมูลกลางด้านการศึกษาของประเทศที่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยและเป็น ปัจจุบนั ๑๘. จานวนผู้ผา่ นการอบรมตามหลักสตู รที่กาหนดของโครงการสร้างเครือข่ายดจิ ิทัลชุมชนระดบั ตาบล ๑๙. ร้อยละของตาบล/แขวง มีปรมิ าณขยะลดลง ๒๐. จานวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏบิ ตั งิ านการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒๑. ร้อยละของสถานศกึ ษาในสังกัดทม่ี รี ะบบประกันคณุ ภาพภายในและมกี ารจดั ทารายงานการประเมินตนเอง ผลการปฏิบตั งิ านพนักงานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (คร้ังท่ี 2)

๖ ๒๒. จานวนองค์กรภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ท่ีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตวั ชว้ี ดั เชิงคณุ ภาพ ๑. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ๒. ร้อยละของกาลังแรงงานทีส่ าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทยี บเท่า ไดร้ ับการศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ๓. ร้อยละของนักเรยี น/นักศึกษาท่มี ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในวิชาท่ีได้รับบรกิ ารติวเข้มเติมเตม็ ความรเู้ พ่มิ สูงขึ้น ๔. ร้อยละผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบที่สามารถนาความรคู้ วามเข้าใจไปใช้ได้ตาม จดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร/กจิ กรรมที่กาหนด ๕. ร้อยละของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมทสี่ ามารถอา่ นออกเขียนได้และคิดเลขเป็น เปน็ ไปตามจุดมุ่งหมายของ กจิ กรรม ๖. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายท่ีลงทะเบียนเรยี นท่มี ีรายได้เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาอาชีพตาม โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ๗. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รบั การพัฒนาศักยภาพ ทักษะอาชีพ สามารถมีงานทาหรือนาไปประกอบอาชีพได้ ๘. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายที่ผ่านการอบรมตามหลกั สตู รภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารดา้ น อาชีพ (ระยะสน้ั ) มคี วามรู้ในการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ ๙. จานวนครู กศน. ต้นแบบการสอนภาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารทสี่ ามารถเปน็ วิทยากรแกนนาได้ ๑๐. ร้อยละของครู กศน. ทัว่ ประเทศ ท่ีสามารถจัดกระบวนการเรียนร้ภู าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้อย่าง สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน ๑๑. ร้อยละของผ้เู ข้ารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สงู อายุกระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเกณฑ์การอบรม ตามหลักสูตรทก่ี าหนด ๑๒. ร้อยละของหนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. ทีส่ ามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกิจทีร่ ับผดิ ชอบไดส้ าเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไวอ้ ย่างโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากรอยา่ งคุ้มคา่ /ตาม แผนทีก่ าหนดไว้ ๑๓. ร้อยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของการดาเนินงานของหนว่ ยงาน ผลการปฏิบตั งิ านพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครงั้ ที่ 2)

๗ นโยบายเรง่ ดว่ นเพ่อื ร่วมขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ ๑. ยุทธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง ๑. ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ตามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ รชั กาลท่ี ๑๐ ๑.๑ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมทงั้ สังคมพหวุ ัฒนธรรม ๑.๒ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ความยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรม อน่ื ๆ ตลอดจนสนบั สนนุ ให้มกี ารจัดกจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ บั บุคลากรในองค์กร ๒. พฒั นาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในเขตพื้นท่ีพิเศษ ๒.๑ เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพ้ืนทชี่ ายแดน ๒.๑.๑ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี ความสอดคล้องกบั บรบิ ทของสังคม วัฒนธรรม และพืน้ ที่ เพ่อื สนบั สนุนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพืน้ ที่ ๒.๑.๒ เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสาหรับหน่วยงาน และสถานศึกษา รวมทัง้ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในพน้ื ท่ีเขตพฒั นาพเิ ศษ โดยบรู ณาการแผนและปฏบิ ัติงานรว่ มกับ หนว่ ยงานความม่นั คงในพ้ืนท่ี ๒.๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบตา่ งๆ ที่หลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การ ยดึ มั่นในหลกั คุณธรรมและสถาบันหลักของชาติ ๒.๑.๔ สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะที่สูงขึ้น เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๒.๒ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยส่งเสริม การจัดการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สร้างงานและพัฒนาอาชีพท่ีเป็นไป ตามบรบิ ทและความต้องการของประชาชนในพืน้ ท่ี ๒. ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นากาลงั คน การวิจัย และนวตั กรรมเพือ่ สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๑. ขับเคลอ่ื น กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ทีเ่ สริมสรา้ งศักยภาพของ ประชาชนใหส้ อดคล้องกบั การพฒั นาประเทศ ๑.๑ พัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร และขยายผล ไปยังการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น Boot Camp หลักสูตร ภาษาอังกฤษ การจัดหลกั สตู รภาษาเพ่ืออาชพี ๑.๒ พัฒนาทักษะการใช้ Social Media เพื่อการจัดการเรียนการสอน ของครูและบุคลากร ทางการศึกษา ๑.๓ พัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านการศึกษา กับระบบฐานข้อมูลกลางของ กระทรวงศึกษาธกิ าร เพื่อการบรหิ ารจดั การและบรู ณาการขอ้ มูลของประชาชนอย่างเป็นระบบ ๑.๔ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือช่วยในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งระบบ E- office ระบบการจัดทาแผน ระบบการรายงานผลการดาเนินงาน ผลการปฏบิ ตั งิ านพนักงานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครง้ั ที่ 2)

๘ ๒. พัฒนากาลังคนใหเ้ ปน็ “Smart Digital Persons (SDPs)” ทมี่ ีทักษะด้านดจิ ิทัลเพอื่ รองรบั การ พัฒนาประเทศ ๒.๑ พัฒนาความรู้และทักษะด้าน Digital ให้กับครูและบุคลากร กศน.ในการใช้เทคโนโลยี เพ่ือการจัดการเรียนการสอน ๒.๒ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชน มีความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน รวมท้งั การพัฒนาและการเข้าส่อู าชีพ ๒.๓ สร้างความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานให้กับประชาชน เก่ียวกับการทาธุรกิจและ การค้าออนไลน์ (พาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์) เพอื่ ร่วมขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ ดิจิทัล ๓. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนใหม้ คี ณุ ภาพ ๑. เตรยี มความพรอ้ มการเข้าสสู่ งั คมผู้สูงอายุอย่างมีคณุ ภาพ (Smart Aging Society) ๑.๑ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมใหก้ ับประชาชนเพื่อสรา้ งตระหนักถงึ การเตรยี มพร้อมเข้าสู่สงั คม ผู้สูงอายุ (Ageing Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมท้ังเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รบั ผดิ ชอบผู้สูงอายใุ นครอบครัวและชุมชน ๑.๒ พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เขา้ ส่วู ยั สงู อายทุ ีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ ๑.๓ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรจู้ ักใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ๑.๔ สรา้ งความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผู้สูงอายุ และใหม้ สี ่วนร่วมในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชมุ ชน เช่น ดา้ นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒. สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรดู้ ้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปร่ือง) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้าน เกษตรกรรมท่ีเหมาะกับบริบทของพื้นที่และความต้องการของชุมชน รวมทั้งการเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร และสร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้าผ่านช่องทางต่างๆ โดยตระหนักถึงคุณภาพของผลผลิตความปลอดภัย ตอ่ ระบบนเิ วศน์ ชุมชน และผูบ้ ริโภค ๓. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั การเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศกึ ษา” (STEM Education) สาหรับนักศึกษา และประชาชน โดยบรู ณาการความร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์ ควบคู่กบั เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพอ่ื ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั พัฒนาทักษะชีวติ สูก่ ารประกอบอาชีพ ๔. เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่าน คล่อง เข้าใจความ คิดวิเคราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้องและทันเหตุการณ์ รวมทั้งนาความรู้ ทีไ่ ดร้ บั ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั จิ ริง ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (คร้ังที่ 2)

๙ ๕. ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน สู่ “วิสาหกิจชมุ ชน : ชุมชนพงึ่ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” ๕.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการ ของตลาด รวมทงั้ สร้างเครอื ข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ใหช้ ุมชนพงึ่ พา ตนเองได้ ๕.๒ ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า การทาช่องทางเผยแพร่และ จาหนา่ ยผลิตภณั ฑข์ องวิสาหกิจชุมชนให้เป็นระบบครบวงจร ๖. จัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยงั่ ยนื ๖.๑ พัฒนาบุคลากรและแกนนาเกษตรกรในการเผยแพร่และจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม แนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ๖.๒ จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบระดับตาบลด้านเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม เพือ่ ถ่ายทอดความร้ดู ้านเกษตรธรรมชาตสิ ู่การพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมใหก้ ับชุมชน ๖.๓ ส่งเสริมใหม้ กี ารบรู ณาการระหวา่ ง ศฝช. และ กศน.อาเภอ ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมใหก้ บั ประชาชน ๔. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๑. ส่งเสรมิ การนาระบบคูปองการศึกษา มาใชเ้ พื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประชาชนผ้รู บั บริการ ๒. สร้างกระบวนการเรียนรใู้ นรูปแบบ E-learning MOOC ท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการ เรียนรู้ เพ่ือเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้สะดวก รวดเร็ว ตรงตามความ ตอ้ งการของประชาชนผู้รบั บรกิ าร ๓. เพิ่มอัตราการร้หู นังสือและยกระดบั การรหู้ นงั สือของประชาชน ๓.๑ เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชน สามารถอ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยใช้ส่ือและกระบวนการที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ กล่มุ เป้าหมาย ๓.๒ ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือ ในรปู แบบตา่ งๆ รวมท้ังทักษะดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพอื่ เป็นเครื่องมอื ในการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตของประชาชน ๔. ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการให้จบการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สามารถนาความรู้ทไี่ ด้รับไปพฒั นาตนเองได้อย่างตอ่ เน่อื ง ๕. พลิกโฉม กศน. ตาบล สู่ “กศน.ตาบล 4 G” ๕.๑ พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teacher ให้เป็นตัวกลางในการเช่ือมโยงความรู้กบั ผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ที่ดี รวมท้งั เป็นผปู้ ฏบิ ัตงิ านอยา่ งมคี วามสขุ ๕.๒ พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง : Good Place Best Check-In มีความพรอ้ มในการให้บริการการศกึ ษาและการเรยี นรู้ มสี ่ิงอานวยความสะดวก เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งสร้างสรรค์ ดึงดูดความ สนใจ และมคี วามปลอดภยั สาหรับผูร้ ับบริการ ผลการปฏิบตั งิ านพนกั งานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครง้ั ที่ 2)

๑๐ ๕.๓ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย นา่ สนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทงั้ เปิดโอกาสให้ ชมุ ชนเข้ามาจัดกิจกรรมเพ่อื เชื่อมโยงความสัมพันธข์ องคนในชมุ ชน ๕.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ และการมีส่วนร่วมของชุมชน : Good Partnership เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมอื ใน การส่งเสริม สนบั สนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ให้กบั ประชาชนอยา่ งมคี ุณภาพ ๕. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นสง่ เสริมและจัดการศึกษาเพ่อื เสริมสรา้ งคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ๑. ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศและภัยพบิ ัตธิ รรมชาติ ๒. สร้างความตระหนกั ถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขยี ว การกาจดั ขยะและมลพษิ ในเขตชมุ ชน ๓. ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมท้ังลดการใช้ทรัพยากร ท่สี ่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ๖. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพฒั นาประสิทธิภาพระบบบริหารจดั การ ๑. พฒั นาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพอ่ื การบรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ ๒. ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เป็นตน้ ๓. ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับ สายงานหรือความชานาญ ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง ๑. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ื นฐาน โดยดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือตาราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ คา่ เล่าเรียนอยา่ งท่ัวถึงและเพียงพอเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรับการศึกษาทมี่ คี ุณภาพโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่านการ เรียนแบบเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรยี นแบบช้ันเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล ๓) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๔) ส่งเสริมให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อดาเนินกิจกรรม เสริมสร้างความสามัคคี ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด บาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และส่งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ ยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตร มาใชเ้ พมิ่ ชว่ั โมงกจิ กรรมใหผ้ ้เู รียนจบตามหลักสูตรได้ ๕) จัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรู้หนังสือให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้หลักสูตร การรหู้ นงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ ของสานกั งาน กศน. และสอ่ื ท่ีเหมาะสมกับสภาพและพน้ื ที่ของกลุ่มเปา้ หมาย ผลการปฏบิ ตั งิ านพนักงานราชการ นายทรงชัย ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครงั้ ที่ 2)

๑๑ ๑.๒ การศึกษาตอ่ เน่อื ง ๑) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมงี านทา และอาชพี ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผเู้ รียนและศักยภาพของแต่ละพ้ืนท่ี ๒) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษา ในรูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ ที่ มุ่ งเน้ น ให้ ทุ ก ก ลุ่ ม เป้ าห ม ายมี ค วาม รู้ ค วาม สาม ารถ ใน ก ารบ ริ ห ารจั ด ก ารชี วิ ต ข องต น เองให้ อยู่ ใน สั งค ม ไดอ้ ย่างมคี วามสุข มีคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งสามารถใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสรา้ งชุมชนนักปฏิบัติ และรปู แบบอืน่ ๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ ละพื้นที่ โดยเน้นการดาเนินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความ เป็นพลเมืองดี การบาเพ็ญประโยชน์ การอนุรกั ษ์พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๔) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสานึกและวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสริมคุณธรรมและ จริยธรรมในชุมชน การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การจัดกิจกรรมจิตอาสา ศนู ยเ์ รยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล ๕) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับคนพิการอย่างมีคุณภาพสอดคล้องกับความ ต้องการจาเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล และมีทักษะการดารงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ เต็มศักยภาพอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสร้างความ ตระหนักถงึ คุณคา่ และศักดศิ์ รีของผดู้ ้อยโอกาสใหส้ ามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ๑.๓ การศึกษาตามอัธยาศยั ๑) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัด กิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในชมุ ชนได้อย่างท่ัวถงึ ๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถ ในการอา่ นและศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ๓) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอยา่ งกวา้ งขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายออก ให้บริการประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์ เพ่อื สนบั สนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสริมการอ่านอย่างหลากหลาย ๔) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชนและเป็นแหล่งท่องเที่ยวประจาท้องถ่ิน โดยจัดสร้างและพัฒนานิทรรศการ พัฒนาสื่อที่สร้างแรง บันดาลใจสูง และจัดกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้ สอดแทรกวิธีการคิดแบบวิทยาศาสตร์ การฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยบูรณาการความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ อย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง บริบทของของชุมชน ประเทศ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมี ความรู้ มีความสามารถในการคดิ เชิงวิเคราะห์ มที ักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ มีความสามารถในการปรบั ตัว รองรับการผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และทักษะไป ผลการปฏบิ ตั งิ านพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครัง้ ท่ี 2)

๑๒ ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ ๒. ด้านหลักสูตร ส่อื รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา ๒.๑ ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยทหี่ ลากหลาย ทนั สมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถ่ินที่สอดคล้องกับสภาพ บริบทของพื้นท่ี และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน ๒.๒ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน์ ๒.๓ พฒั นาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ ให้มคี ุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๔ ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืนๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของผเู้ รียนกลุ่มเป้าหมายทว่ั ไปและกลุ่มเปา้ หมายพิเศษ ๒.๕ พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๒.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อใหม้ กี ารนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิอย่างกว้างขวางและมีการพฒั นาให้เหมาะสมกับบริบทอย่างต่อเน่ือง ๒.๗ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ๓. ดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ๓.๑ ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาให้เช่ือมโยงและตอบสนองต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษา สาหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้ รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทา รายการติวเข้ม เติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ น็ต ๓.๒ พัฒนาช่องทางการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบออนไลน์ เพื่อส่งเสริมให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และ การออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนที่ทั่วประเทศ และเพิ่มช่องทางให้สามารถรับชม รายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะรองรับการพัฒนาเป็นสถานี วิทยุโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครง้ั ท่ี 2)

๑๓ ๓.๔ พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพ่ือให้กลมุ่ เป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ ๓.๕ สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเน่ือง และนาผลมาใช้ใน การพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ได้อยา่ งแท้จริง ๔. ดา้ นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ์ ๔.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอัน เก่ียวเน่อื งจากราชวงศ์ ๔.๒ จัดทาฐานข้อมลู โครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ ที่สามารถนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การพฒั นางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๔.๓ ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔.๔ พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าทท่ี ่ีกาหนดไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๕ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิน่ ทุรกันดาร และพน้ื ทช่ี ายขอบ ๕. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพน้ื ทบ่ี รเิ วณชายแดน ๕.๑ พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๑) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหาและ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายรวมท้ังอัตลักษณ์และความเป็นพหุวฒั นธรรมของพื้นท่ี ๒) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเขม้ ข้นและต่อเน่ืองเพื่อให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ ๓) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นกั ศึกษา กศน. ตลอดจนผู้มาใชบ้ ริการอย่างท่ัวถึง ๕.๒ พฒั นาการจดั การศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ๑) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ บรบิ ทของแต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ ๒) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเน้นสาขาท่เี ป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด การพฒั นาอาชีพได้ตรงตามความตอ้ งการของพื้นที่ ๕.๓ จัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงชายแดนของศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) ๑) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เป็นศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ต้นแบบด้านเกษตรกรรม เป็นศูนย์สาธิตการประกอบอาชีพ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดารปิ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธีการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ๒) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพ่ือการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนาด้านอาชีพ ท่เี นน้ เร่อื งเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (คร้งั ท่ี 2)

๑๔ ๖. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๖.๑ การพัฒนาบคุ ลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อน และระหว่างการดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดาเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดพัฒนา ตนเองเพื่อเล่ือนตาแหน่งหรือเล่ือนวทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์ ๒) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจัดการ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความสะดวกในการเรยี นรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรทู้ ่มี ีประสิทธภิ าพอย่างแท้จริง ๓) พัฒนาครู กศน. และผู้ท่ีเกี่ยวข้องให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการวิจยั เบ้ืองต้น ๔) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง เพื่อการมีส่วนร่วมใน การบริหารการดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตาบล/แขวง อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชพี ในการจัดบริการสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน ๖) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่เป็นผู้จัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๗) เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคลากร รวมท้ังภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ ในทุกระดับเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานร่วมกัน โดยจัดให้มีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้าง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคลากร และภาคีเครอื ข่ายในรูปแบบท่หี ลากหลายอย่างต่อเน่ือง ๖.๒ การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและอัตรากาลัง ๑) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความพรอ้ มในการจดั การศึกษา ๒) บริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน ๓) แสวงหาภาคีเครือข่ายในท้องถ่ินเพ่ือการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังระดมทรัพยากรเพื่อนามาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ใหม้ คี วามพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของประชาชน ๖.๓ การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ ๑) เรง่ ผลกั ดนั ให้มกี ารประกาศใชก้ ฎหมายว่าด้วยการศึกษาตลอดชีวติ ๒) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และ เรง่ รดั การเบกิ จ่ายงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้ ๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศอย่าง เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การตดิ ตามประเมินผล และการนาผลมาพัฒนาการดาเนินงานอย่างตอ่ เนื่อง ตามวงจรคณุ ภาพเดมมิ่ง (PDCA) รวมทงั้ จัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธภิ าพ ผลการปฏิบตั งิ านพนักงานราชการ นายทรงชัย ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครั้งท่ี 2)

๑๕ ๔) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผเู้ รียนและการบรหิ ารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ๕) ส่งเสรมิ ให้มีการจดั การความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจยั เพ่ือ สามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและชุมชน พร้อมทง้ั พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขันของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ๖) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ๖.๔ การกากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล ๑) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ้ ช่ือมโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือข่ายท้ังระบบ ๒) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและ รายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ือง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ ๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาที่กาหนด ๕) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และ การพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ผลการปฏิบตั ิงานพนักงานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖2 (ครัง้ ท่ี 2)

๑๖ กลยุทธ์การดาเนินงาน ยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2 ปรัชญา “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ ปรัชญาคดิ เปน็ ” วิสยั ทศั น์ กศน.ร่วมสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาให้กบั คนไทยอยา่ งเสมอภาค เท่าเทียม ทว่ั ถึง และมีคณุ ภาพ พนั ธกจิ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาอัธยาศัย ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาอธั ยาศยั ๔. พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทุก รปู แบบ ๕. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการ เพ่ือมุ่งจัดการศึกษาท่ีมคี ุณภาพโดยยึดหลกั ธรรมมาภิบาล และการมสี ่วนร่วม เปา้ ประสงค์ ๑. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทีม่ ีคุณภาพ อยา่ งทวั่ ถงึ และเท่าเทยี ม ๒. ประชากรกลุ่มเป้าหมายพิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของแตล่ ะกลุ่ม ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและปรัชญาคดิ เปน็ อาทิ หมบู่ ้านตามรอยพระยุคลบาท หม่บู ้านแห่งการอ่าน บ้านหนังสือชุมชน แหล่ง การเรียนร้ชู ุมชน ๔. ประชาชนได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรูเ้ พ่อื แก้ปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตและเสรมิ สร้าง ความเข้มแขง็ ให้กับชมุ ชน โดยมี กศน.ตาบล ศนู ย์การเรียนชมุ ชน และแหล่งการเรยี นรอู้ ื่นในชุมชนเป็นกลไกใน การจดั การเรียนรู้ ๕.. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถประยุกต์ใชใ้ นการแก้ปัญหา และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได้อยา่ งสร้างสรรค์ ๖. ชุมชนมีการจัดการความรู้ของชุมชน เพ่ือพฒั นาไปสู่ความม่ันคงและย่ังยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม ๗. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๘. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาและนาสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร มาใช้ในการเพม่ิ โอกาสและยกระดบั ตามคุณภาพในการจดั การเรียนรู้ ผลการปฏิบตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชัย ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครัง้ ท่ี 2)

๑๗ ๙. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งท่ัวถึง ๑๐. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภบิ าล ตัวช้ีวดั ๑. จานวนกลุ่มเปา้ หมายผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษาทไ่ี ด้รบั บรกิ ารการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานโดยไมเ่ สียคา่ ใช้จ่าย ๒. จานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายกลุ่มต่างๆ (ผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษากลุ่มคน ไทยทั่วไป เป็นต้น) ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริจาคกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตาม อธั ยาศยั ทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ ๓. ร้อยละของผู้เรียนและผู้รับบริการที่มีผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ของแต่ละหลกักสูตร/ กจิ กรรม ๔. ร้อยละของผู้ไมร่ ู้หนงั สอื ท่ีผ่านการประเมนิ การรู้หนังสอื ตามหลักสูตรสง่ เสรมิ การรูห้ นงั สือ ๕. ร้อยละของชุมชนท่ีมีการจัดการความรู้ และกระบวนการเรียนรู้อันเป็นผลเนื่องจากการเข้าร่วม กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๖. รอ้ ยละของชมุ ชนทใ่ี ชแ้ หล่งเรยี นรชู้ มุ ชนในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ในชุมชน ๗. จานวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการศึกษาอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษา กล่มุ ประเทศอาเซยี น ๘. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษากลุ่มประเทศอาเซียนและ อาเซียนศึกษาทผี่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามหลักสูตร ๙. จานวนกิจกรรม/หลักสูตรท่ีใช้กกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเป็น กระบวนการ/สาระในการเรียนรู้ ๑๐. จานวนองค์กรภาคส่วนต่างๆท้ังในและต่างประเทศ ที่ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑๑. จานวน/ประเภทของสื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีมีการจัดทา/พัฒนาและนาไปใช้เพ่ือ สง่ เสริมการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น/ผ้รู บั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๑๒. จานวนนักเรียน นักศึกษา และประชนทั่วไปท่ีเข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยผ่านช่องทางสอ่ื เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีการส่ือสาร ๑๓. จานวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะ ในการ ปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๑๔. ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทารายงานการ ประเมนิ ตนเอง ๑๕. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีผ่านการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ๑๖. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน.ที่มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสารในการจัดทาฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ขององค์การ ๑๗. รอ้ ยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน.ที่สามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกิจท่ีรับผิดชอบได้สาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากรอย่าง ประหยดั /ตามแผนทีก่ าหนดไว้ ผลการปฏบิ ตั ิงานพนกั งานราชการ นายทรงชยั ชูประสตู ิ ครู กศน.ตาบล ปงี บประมาณ ๒๕๖2 (ครง้ั ที่ 2)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook