Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 การศึกษางานเพื่อการเพิ่มผลผลิต+

หน่วยที่ 1 การศึกษางานเพื่อการเพิ่มผลผลิต+

Published by thipyaporntyp, 2020-03-23 09:54:50

Description: หน่วยที่ 1 การศึกษางานเพื่อการเพิ่มผลผลิต+

Search

Read the Text Version

หนวยท่ี 1 การศกึ ษางานเพื่อการเพิ่มผลผลิต การเพิม่ ผลผลติ ในอุตสาหกรรม (Productivity in Industry) ในการดําเนินธรุ กิจการคาใดๆ กต็ ามความสําคัญอยูทก่ี ารจําหนา ยสนิ คา และการบริการ ตา งๆ แตการทจี่ ะใหกจิ การคา ม่นั คงและเจรญิ อยูไดตลอดไปจาํ เปนตองดําเนินตามหลัก 3 ประการ 1. ตองมีลูกคา ฉะนั้นกิจการดานการตลาดจึงเปนสิ่งที่ตองพิจารณาโดยละเอียดและถือได วาเปนงานสําคญั อันดบั แรก เพราะธรุ กิจใดๆ ก็ตามจะยื่นอยูไดตองอาศัยลูกคาเทาน้ัน ถากิจการใดมีลูกคามาก และความตองการสินคา ในตลาดสงู กิจการนนั้ จะเจรญิ และขยายกิจการไดแตในกรณีที่ลูกคามีจํานวนลดนอยลง การขายตกตํ่า กิจการก็จะซบเซาลง ดังน้ันเพ่ือใหกิจการดําเนินไปอยางเจริญรุงเรืองจึงจําเปนตอง “ผลิตแต สินคาท่ีเปน ท่ีตองการของตลาดในราคาท่ีไมแ พง” 2. ตองปรับปรุงคุณภาพของสินคาและบริการใหดียิ่งข้ึนเปนลําดับ โดยวิธีการปรับปรุงไม แกไขเปล่ียนแปลงกิจการทุกดาน เชน การออกแบบผลิตภัณฑ กรรมวิธีการผลิต ระเบียบการบริหาร การ ดําเนินงานในดานการตลาด ดานเทคนิคการจัดการ การฝกอบรมเจาหนาท่ีระดับตางๆ และพนักงาน เหตุผล สาํ คญั ท่ที าํ ใหก ิจการสวนมากตกตํ่าหรือตอ งลม เลิกไปน้ันก็เพราะไมพยายามปรับปรุงกิจการใหดีข้ึน โดยเฉพาะ การปรับปรุงในเร่ืองผลิตภัณฑแ ละวิธกี ารดาํ เนินงานในดา นการตลาด 3. ตองใชทรัพยากรหรือปจจัยการผลิต อันไดแก คน เคร่ืองจักร วัสดุ อาคารที่ดิน และเงิน ใหเ กดิ ประโยชนสงู สุด เพราะส่ิงเหลาน้ีเปนสวนประกอบสําคัญที่กอใหเกิดเปนสินคาและบริการตางๆ ขึ้น เปน สวนที่จะทําใหกิจการมั่นคงและเจริญกาวหนาได ฉะนั้นธุรกิจอุตสาหกรรมซึ่งมีทรัพยากรอยูอยางจํากัดจึง จําเปน ตอ งนําหลกั วิชาการเพิม่ ผลผลติ มาใช ความหมายของการเพมิ่ ผลผลิต (Definitions of Productivity) การเพิ่มผลผลิต (Productivity) มีความหมายกวางขวางมากและอาจใหคําจํากัดความหลาย อยางสุดแตจ ะนําคาํ นไี้ ปใชก ับเรอื่ งอะไร ถาการผลิต คือ การนําปจจัยการผลิต (Inputs) เชน วัตถุดิบ แรงงาน เคร่ืองจักร มาปอนสู กระบวนการผลติ (Process) เพอื่ ใหไดผลติ ผล (Output) ซึง่ สนิ คา หรอื บริการตามท่ตี องการ กระบวนการผลิต INPUT PROCESS OUTPUT การทาํ งาน ปจจยั การผลิต/ ผลงาน/ผลผลิต การเพิม่ ผลผลิต การดาํ เนนิ งาน/ ทรพั ยากร การทาํ งาน Product ประสิทธภิ าพ คงคณุ คา การทาํ งาน ลดการใชทรพั ยากร เพ่ิมคุณคา Efficiency ใชท รพั ยากรคงเดิม Effectiveness Productivity Process แผนภูมแิ สดงกระบวนการผลิตเพอ่ื การเพิม่ ผลผลติ

2/14 การเพิ่มผลผลิตหาไดจากอตั ราสว นของผลิตผลตอ ปจ จัยการผลติ สามารถเขียนเปนสมการได ดังน้ี ผลผลิต ผลิตผล (Outputs) (Productivity = ปัจจยั การผลิต (Inputs) ดังนัน้ การเพ่มิ ผลผลติ ทาํ ไดหลายวิธี คือ 1. เพม่ิ ผลผลิตโดยลดปจ จัยนําเขา แตใหผ ลผลิตเพิม่ ขน้ึ 2. เพิ่มผลผลติ โดยใชป จ จัยนาํ เขา เทา เดมิ แตใ หผ ลผลิตเพิ่มขน้ึ 3. เพ่มิ ผลผลติ โดยใชป จ จัยนาํ เขา ลดลงแตใ หผ ลผลิตเทา เดิม 4. เพมิ่ ผลผลิตโดยใหผลผลติ ลดลงแตใ ชป จ จัยนําเขา ลดลงมากกวา 5. เพม่ิ ผลผลิตโดยใชปจ จัยนาํ เขาเพม่ิ ขน้ึ แตใหผลผลิตเพมิ่ ข้นึ อัตรามากกวา ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในการเพิ่มผลผลิต คือ ความสามารถของบุคคล หนวยงานเทคโนโลยีหรือ ปจจัยการผลิตอ่ืนๆ ที่ทําใหการดําเนินงาน/การทํางานไดผลงาน/ผลผลิตที่มีคุณภาพปริมาณ/คุณคา ตาม เปา หมายที่กาํ หนดไว โดยใชทรัพยากรเพ่อื การผลิตนอยทส่ี ุด ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ในการเพิม่ ผลผลติ มี 2 ความหมาย คอื 1. การคงคณุ คา คุณภาพหรอื ปรมิ าณเทา เดิมขณะทสี่ ามารถลดการใชทรัพยากรการผลิตท่ีสําคัญคือ พลังงานและแรงงาน หรือลดความสิน้ เปลอื งวตั ถุดบิ ท่เี กดิ ขึน้ ในกระบวนการผลติ เปนตน 2. การเพม่ิ คุณคา คณุ ภาพหรือปริมาณขณะทีย่ งั ใชท รพั ยากรเทาเดมิ หรือใชเทา ที่มอี ยู การใชทรัพยากรหรือปจจัยการผลิต เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุเปาหมายจึงมีการจัดหาหรือปอน ปจจัยการผลิตเขาสูกระบวนการผลิต ปจจัยการผลิต คือ ตนทุน (Cost) ของการดําเนินงานไมวาจะเปน แรงงาน (Man) เงนิ ทนุ (Money) เครือ่ งจักร (Machine) และการบริหารจดั การ (Management) ผลงาน/ผลผลิต (Product) คือ เปาหมายของการดําเนินงานนอกจากผลงานหรือผลผลิตที่ได ยัง รวมถึงคุณคาหรือคุณภาพ(Quality) ของผลงานหรือผลผลิตน้ันตองตรงตามความตองการหรือขอกําหนดหรือ ขอตกลงดว ย การเพิ่มผลผลิตทําไดทุกระดับไมวาจะเปนบุคคล องคกรหรือประเทศ การเพ่ิมผลผลิตควรเปน พฤติกรรมและเปนทักษะ การทํางานของทุกคน เพราะการเพิ่มผลผลิตคือหัวใจของคุณภาพ ดังนั้นการเพิ่ม ผลผลติ จึงมีความสมั พันธกับการบรหิ ารงานคุณภาพ คอื 1. เปา หมายคุณภาพ เปนคุณภาพทตี่ อ งการตอบสนองความตองการของลูกคาหรือผเู กย่ี วของ 2. ประสิทธภิ าพการดําเนินงาน ท่มี ุงใชทรัพยากรการผลติ ใหเ กดิ ประโยชนสงู สุด 3. ประสิทธิผล ท่ีมุงใหเกิดผลงานหรือผลผลิตที่มีคุณภาพตรงกับความตองการของลูกคาหรือ ผเู ก่ยี วของ

3/14 พฤตกิ รรมและทักษะในการเพ่ิมผลผลิต (Productivity Competency) เกิดจากทัศนคติและจิตสํานึก ในการสรางคุณคาแกตนเอง องคกร และประเทศ จึงใหความสําคัญตอ การสรา งพฤตกิ รรมและทักษะ ดังตอ ไปนี้ 1. การใชท รพั ยากรอยา งคมุ คา หรอื กอใหเ กดิ คณุ คามากท่สี ุด หรอื ทาํ ใหเ กดิ การสญู เสียนอยทีส่ ุด เชน - การใชนาํ้ ประปา ไฟฟา นํ้ามันปรโิ ตรเลยี ม - การบาํ รุงรักษาเคร่ืองจักร อุปกรณ 2. การตระหนกั รแู ละปองกนั อันตราย และภยั ตางๆ 3. การบริหารเวลาไมวาจะเปนการทํางาน การพักผอนหรือการทําสิ่งตางๆ สามารถทําไดตาม กาํ หนดเวลาอยา งเหมาะสม 4. ความรับผิดชอบตอการปฏิบัติงานของตนเอง เพ่ือมิใหเกิดผลกระทบตองานของผูอื่นและเกิดผล เสยี ตอ คณุ ภาพ 5. ความมงุ มั่นสรา งผลงาน/ผลผลติ ทมี่ คี ุณภาพ/คุณคา สูงสดุ ดงั นน้ั การเพิ่มผลผลติ จึงมใิ ชก ารเนนใหเ พมิ่ ปริมาณการผลติ แตเปน การเนน ใหน ําปจ จยั การผลติ มา กอใหเ กิดประโยชนส งู สดุ ซงึ่ เทากบั เปนการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิตน่ันเอง การทีจ่ ะทราบวาผลผลติ เพิ่มข้นึ หรอื ไมใหด ทู ่ีอัตราสว น ผลิตผลตอปจจัยการผลติ ถาอัตราสวนเพ่ิมขน้ึ แสดงวาผลผลติ เพ่ิมขนึ้ สาเหตขุ องการเพม่ิ ผลผลติ เหตทุ ีต่ องมีการเพม่ิ ผลผลติ เพราะ 1. มกี ารแขง ขนั เพมิ่ ขึ้น 2. ปจจยั การผลติ มีราคาสงู ขึ้น 3. ตอ งการลดตนทนุ การผลิต 4. ตองการทําไรเพ่มิ ขึ้น วธิ ีการเพ่มิ ผลผลิต การเพิ่มผลผลิตทําไดโดยหาวิธีการทํางานที่ดีกวามาใช เพ่ือที่จะไดใชทรัพยากรหรือปจจัยการผลิต ตางๆ อันไดแก คน เครื่องจักร อุปกรณ วัสดุ เงิน และพลังงานใหเกิดประโยชนมากที่สุด วิธีการเพิ่มผลผลิตมี หลายวธิ ี อาทิ 1. การนาํ วธิ ีการทาํ งานทมี่ ีประสิทธภิ าพดกี วา มาใช 2. การจดั รปู แบบของงานทเ่ี ก่ียวของกบั การผลติ การตลาด และการบริหารใหก ระชับและ คลองตัวย่ิงข้ึน 3. การฝก คนงานและเจาหนา ทฝ่ี า ยจดั การใหมีความสามารถและชํานาญมากย่งิ ข้ึน 4. การใชว ตั ถุดิบใหเกดิ ประโยชนม ากขึน้ โดยการลดการสญู เสียและเศษที่ใชไมไ ดใหอง นอ ยลง โดยการออกแบบผลติ ภัณฑใ หม ลี ักษณะท่จี ะใชว ัตถดุ ิบไดอยางประหยัด 5. การปรับปรุงคณุ ภาพและลักษณะของผลติ ภัณฑใ หดีข้นึ เพ่ือใหถูกใจลกู คา

4/14 เทคนคิ การปรบั ปรงุ งานเพอ่ื การเพิม่ ผลผลติ ปญหาที่มักเกิดข้ึนในการผลิต ในการดําเนินการผลิตน้ันมักจะเกิดปญหาตางๆ มากมายที่ทําให ประสิทธิภาพของการผลติ กไ็ มเ ปน ไปตามเปา หมาย ซงึ่ ปญ หาทมี่ กั เกดิ บอยๆ ไดแ ก 1. การแบงงานไมเทาเทียมกันทําใหเกิดการวางงานที่หนวยงานหน่ึง และอีกหนวยงานหน่ึง หรือ หนว ยงานอื่นๆ เกิดปญ หางานลน มอื ทาํ งานไมทันทาํ ใหตองเรงงานโดยการทํางานลว งเวลา 2. การมีงานหรือการปฏิบัติงานท่ีลาสมัย สิ้นเปลืองเวลา สิ้นเปลืองแรงงาน และส้ินเปลืองเงินทอง และส่งิ ของโดยเปลาประโยชน 3. งานไมเดินไปตามจังหวะ งานค่ังคาง งานเดินไมสะดวก งานชา งานหยุดชะงักไมเปนไปตาม กําหนดเวลาเทาท่ีควรจะเปน 4. งานมีวิธีการปฏิบัติงานที่ยุงยาก สลับซับซอน ทําใหผูปฏิบัติงานเขาใจยาก, ปฏิบัติถูกๆ ผิดๆ เปน งานทน่ี าเบ่ือหนาย หรอื บางครง้ั เปนงานท่ีเปลาประโยชนแตก็ยงั ตองทาํ อยู 5. เครื่องมอื เครื่องใชไ มม หี รือมีไมพ อ หรอื มแี ตชาํ รุดหรอื ลา สมยั 6. การวางแผนผังของหนวยผลิตหรือโรงงาน ไมดีทําใหเกิดการติดขัดในการเคลื่อนยายวัสดุใน กระบวนการผลติ 7. การผลิตทที่ ําใหเ กิดของเสียในกระบวนการผลติ มาก 8. การปฏบิ ัตงิ านทที่ าํ ใหผ ูปฏบิ ตั ิงานหรือคนงานเกิดความเหน่อื ยลาเกินไป ปญ หาตางๆ ดงั กลาวจําเปน จะตอ งไดรบั การแกไขและปรับปรุงเพอ่ื ใหสามารถบรรลุเปาหมายในการ ผลติ ของโรงงาน ซ่ึงการแกป ญ หาดงั กลา วสามารถทจี่ ะทาํ ไดโ ดยอาศัยเทคนคิ ของการปรับปรงุ งาน เทคนิคการปรับปรงุ งาน การปรับปรุงงาน ไดแก การใชสามัญสํานึกที่จัดเปนระบบแลวเพื่อคนหาวิธีการทํางานท่ีดีกวาและ งายกวา และเพื่อหลีกเหลี่ยงการสูญเปลาทุกประเภท เปนตนวา แรงงาน เวลา เงิน วัสดุสิ่งของและอุปกรณ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช ทง้ั นีก้ ็เพ่อื ใหก ารดําเนินงานหรอื ปฏบิ ัตงิ านเปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ การปรับปรงุ งาน เพ่อื ใหไดม าซึ่งงานหรือบริการหรือผลิตผลทั้งปริมาณ และคุณภาพตลอดจนวิธีการ ทํางานท่ดี กี วา และงา ยกวา นั้นมี เปาหมายหรอื จดุ มุงหมายทส่ี ําคญั ดังนีค้ อื 1. การกําจัดหรือลดการตองใช วัสดุอยางฟุมเฟอยโดยเปลาประโยชน หรือมีของเสียในกระบวนการ ผลติ มาก 2. เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของพนักงานโดยการหาวิธีทํางานที่ดีกวาและขจัดข้ึนงานท่ีไม จําเปนออก 3. ชวยในการปรบั ปรงุ การวางแผนผังโรงงานใหด ขี ึ้น 4. ชวยในการปรบั ปรุงสภาพการทาํ งานในโรงงาน 5. ชว ยในการหาวธิ ขี นยายสิง่ ของทีเ่ หมาะสม 6. ชวยใหก ารใชเ คร่อื งจกั รและอปุ กรณไดเตม็ ที่ 7. ชวยลดความเหนอ่ื ยลา ของพนกั งาน เทคนิคการปรับปรุงงานเพื่อเพ่ิมผลผลิตมีอยูหลายวิธีดวยกัน แตกอนที่จะนําเทคนิคอันใดอันหน่ึง โดยเฉพาะมาดาํ เนนิ งานมีความจําเปนตอ งทราบวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน อยูใ นปจ จุบันเสียกอนวาเวลาและแรงงานที่ ไดใ ชไ ปนน้ั ใชไปในทางใด จํานวนเทา ใด และใชอ ยา งไร สามารถทราบขอมลู เหลา นไ้ี ดโดยวิธกี ารศกึ ษางาน

5/14 วิธีการศึกษางานนเี้ มือ่ ไดดําเนินการไปตามหลักวิชาการแลว จะแสดงใหทราบจํานวนงานและเวลาท่ี เสียไปในการผลิตแตละข้ันตอนอยางชัดเจน งานใดที่เพ่ิมข้ึนเนื่องจากความบกพรองของการออกแบบ ผลิตภัณฑ หรือเน่ืองจากการผลิตท่ีไมมีประสิทธิภาพ ทั้งยังแสดงถึงจํานวนเวลาท่ีเสียไปโดยไมเกิดประโยชน เนือ่ งจากความบกพรองในดานการจดั การและการปฏบิ ตั งิ านของคนงาน การศึกษางานเปนเทคนิคอยางหน่ึงของการเพิ่มผลผลิต ชวยใหฝายจัดการสามารถปรับปรุงแกไข ขอบกพรองตา งๆ ใหดีขน้ึ ทาํ ลดสิง่ ที่ส้นิ เปลอื งลดตนทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธภิ าพของการผลติ ใหสงู ขึ้น สว นเทคนิคของฝา ยจัดการท่จี ะเพิม่ ผลผลติ ก็มอี ยหู ลายประการ จําแนกไดโ ดยสงั เขปดังตอ ไปนี้ 1. ผลิตภัณฑออกแบบมาไมดี แกไขโดยใชเทคนิคท่ีเรียกวา Product Development เพื่อได ผลิตภัณฑเปน ท่ีถกู ใจของผซู ้อื มีคุณภาพทเ่ี หมาะสม ปองกันมใิ หผ ูซ ้อื เส่ือมความนิยม 2. ตองวางแผนการผลิตกอนลงมอื ผลิต ตองรลู ว งหนา วาจะใชเครื่องจักรชนิดใดผลิตสินคาตัวใด เวลา เร่มิ ตนและสิ้นสุดของการผลิตอยูที่ใด คอื มตี ารางการผลิตลวงหนา 3. การควบคุมวัสดุ ตองคอยระมัดระวังมิใหเคร่ืองจักรและคนงานวางเพราะขาดวัสดุปอนงาน ใน ขณะเดียวกันตองระมัดระวังใหมีสต็อกของวัสดุมากเกินไปซ่ึงเปนการปองกันมิใหเงินทุนไปจมอยูใน วตั ถุดิบ หรอื วัสดุก่งึ สําเร็จรูป หรือสนิ คาสําเร็จรปู มากเกินไป 4. การดแู ลและบาํ รงุ รักษาเคร่ืองจกั รใหอ ยูใ นสภาพท่ีสามารถใชงานไดตลอดเวลา โดยวิธีการปองกัน การชํารุด (Preventive Maintenance) ซ่ึงเปนวิธีการปองกันมิใหโรงงานตองหยุดเน่ืองจากตอง เสียเวลาซอมเครอ่ื งจักรในขณะเวลางาน 5. มีเทคนิคในการขนถายและเคล่ือนยายวัสดุ (Materials Handling) ท่ีเหมาะสมชวยลดเวลาและ แรงงานในการขนถายวสั ดุ 6. เมือ่ วิธกี ารผลิตเปลีย่ นแปลงใหม คนงานจาํ เปน ตอ งฝก ฝนวธิ ใี หมนี้ใหเกิดความชํานาญจึงตองมีการ วางแผนการฝกอบรมคนงานอยา งสมาํ่ เสมอ 7. โครงสรางขององคการหรอื บริษทั และการจัดรปู แบบการผลติ ตอ งมีการปรับปรุงอยูเสมอเพ่ือใหการ ทาํ งานดาํ เนนิ ไปโดยไมต ิดขดั หรอื มีอุปสรรคนอยที่สุด ดวยวิธีการอบรมใหเจาหนาท่ีรูจักวิธีการจัดการ วิธีการสั่งงาน การปรับปรงุ งานและการรักษาความปลอดภัยในการทํางาน เปนตน 8. การทําใหเจาหนาท่ี และคนงานเขาใจตนทุนการผลิตของช้ินสวนประกอบตางๆ ของสินคาท่ีตนมี หนา ทผ่ี ลติ เพอื่ ใหเกดิ การผลิตทเ่ี สียคาใชจายนอยท่ีสุด ดังนั้นวิชาการบัญชีตนทุนและการจัดการดวย การบัญชีจงึ เปนวิชาการสําคัญทจ่ี าํ เปน จะตอ งใหเ จาหนา ท่ไี ดร บั ความรบู า งพอสมควร 9. การชกั ชวนใหค นงานชวยตดั เวลาทเ่ี สยี ไปโดยไมไดรบั ประโยชน การกอ ใหเกดิ สัมพนั ธภาพในงานท่ี ดี การปรับปรุงงานในหนาท่ีของตน การสรางกลุมสรางคุณภาพส่ิงตางๆ เหลาน้ียอมกอใหเกิดการลด ตนทุนการผลิต ฉะนั้นฝายบริหารตองวางนโยบายทางดานบุคคลใหมีการอบรมเจาหนาที่และคนงาน ใหเขา ใจในเร่ืองเหลา น้ีดว ย

6/14 หลักทว่ั ไปของการศึกษางานเพือ่ การเพ่มิ ผลผลิต หลักท่ัวไปในการปรับปรุงงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวขางตนนั้น ไมวาจะเปน มีงาน ประเภทใด หรือลักษณะใด มีหลักใหญๆ ทีใ่ ชไ ดโ ดยท่วั ๆ ไปและเหมอื นกนั อยู 4 ประเภทดวยกนั คอื 1. กําจัดขั้นงานบางสวนที่ไมจําเปนหรือไมมีประโยชนออกไป (Eliminate) ทั้งน้ีเพราะงานหรือ ปฏิบัติการท่ีไมจําเปนยอมหมายถึงการสูญเปลาของแรงงาน เวลา วัสดุสิ่งของ หรือเงินทองคาใชจายที่นํามา ลงทนุ หรือดําเนินกิจการหรอื จัดงานน้นั ขึ้น การพจิ ารณาขั้นงานเพือ่ การกาํ จัดออกนน้ั จะเร่ิมโดยการพิจารณาวา “จะกําจดั ข้นั งานไดไหม” โดยพิจารณาวา - งานขนั้ นี้อาจจะไมมคี วามสําคัญอกี ตอไปแลว - งานขน้ั น้อี าจจะมีเพื่อความสะดวกของพนักงานเทานัน้ - งานข้นั น้อี าจจะตัดออกได ถา มกี ารจดั ลําดบั ข้ันงานใหม - งานขั้นนอ้ี าจจะตัดออกได ถามีการใชเคร่ืองมอื ทดี่ ีกวา เดมิ 2. รวมขัน้ งานหลายๆ สวนเขาดวยกันใหเปน งานชั้นเดียวกัน (Combine) เมื่องานที่ไมจําเปนถูก กําจัดตัดทอนออกไปแลว และเหลือแตสวนหรือขั้นงานท่ีจําเปนหรือไมสามารถกําจัดตัดทอนออกไปได ขั้น ตอ ไปกค็ อื หาทางเอาขน้ั งานหรอื สวนของท่ีจําเปน น้ันมารวมเขากันใหมหรอื จดั ทาํ ใหม เชน รวมเอางานหรือขั้น งานท่มี กี ารปฏิบัติการท่ีใกลเคียงกันมาใหคนคนเดียวทํา แทนท่ีจะมอบใหคนหลายคนทํา หรือทําทีละข้ัน หรือ ทําทลี ะแหง ในการรวมขั้นงานหรือสวนของงานเขาดวยกันนั้นกระทําไดโดยพิจารณาวา “จะรวมข้ันงานเขา ดว ยกันไดไหม” โดย - การออกแบบสถานท่ีทาํ งานและเครื่องมือใหม - การเปลี่ยนลําดับขน้ั งาน - การเปลย่ี นชนดิ ของวตั ถุดิบและรายละเอยี ดของชนิ้ สวน - การเพม่ิ ทกั ษะใหแ กพนกั งานผลติ 3. จัดลําดับขั้นของงานใหม (Rearrange) หากหลักการตามขอ 1 และขอ 2 ไมไดผลก็อาจจะทํา การปรับปรงุ ไดโดยเปล่ียนคน เปล่ียนสถานที่ หรือเปล่ียนลําดับการปฏิบัติงาน หรือขั้นตอนการปฏิบัติงานเสีย ใหมใ หเ หมาะสม เชน คนนี้ไมเหมาะสมกับงานอยางนี้ก็เอาไปทํางานอื่นที่เขาสนและถนัด สวนลําดับข้ันในการ ผลิตหรอื การปฏิบัติงานก็เชนเดียวกัน ข้ันไหนกอนขั้นไหนหลังมันจะตองไปตามกระบวนการ ตามเหตุผล ตาม สามัญสํานึก ถาลําดับขั้นตอนผิดงานจะเดินไมสะดวกทันที จําเปนที่จะตองจัดลําดับเสียใหม การจัดลําดับขั้น งานน้ันพิจารณาวา “จะจดั ลาํ ดับขน้ั งานใหมไดไหน” เพ่อื ใหเ กดิ - การลดข้ันงานบางขน้ั ใหสนั้ ลงหรอื งา ยข้นึ - การลดขั้นงานขนยายวัสดุและการเดิน - การประหยัดพ้นื ที่ในการทํางานและประหยดั เวลา - การใชเ ครือ่ งมอื อยางมีประสิทธภิ าพขน้ึ 4. ปรับปรุงงานขั้นหน่งึ ๆ ใหงายขึ้น (Simplify) ไดแก การทําการปรับปรุงงานใหการปฏิบัติการท่ี งายข้นึ และมีประสทิ ธิภาพสงู เชน งานทม่ี ขี ้ันตอนการปฏิบัตทิ ี่ยงุ ยากสลับซับซอนปฏิบัติยาก เขาใจยาก ก็ตอง หาทางทําใหงายขึ้น หาทางใชเครื่องผอนแรงหรือเคร่ืองมือเครื่องจักรที่ทันสมัยและสามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ถา สามารถทําไดในการปรบั ปรุงขั้นงานน้ันจะพจิ ารณาวา “จะปรบั ปรุงข้นั งานไดไ หม” โดย - การวางผังสถานทที่ าํ งานใหม

7/14 - การใชเครื่องมือทดี่ ีขนึ้ - การฝกพนักงาน การคมุ งานอยางดีและมีการบริการอยางดี - การแบง ขัน้ งานไดย อ ยลงถา จําเปน จากหลกั การของการปรับปรุงงานเพ่ือการเพมิ่ ผลผลิตนั้นจะเห็นวา “การกําจัด” ควรจะมากอนทั้งน้ีก็ เพื่อไมใหเ กดิ ปญ หางานบางข้นั ไดเ สียเวลาจดั รวม จดั ลําดับหรือปรับปรุงไปแลวจงึ พบวาไมจําเปนตองทํา สวน” การรวม” ควรจะทําถัดมาเพื่อไมใหเกิดกรณีท่ีมีการจัดลําดับข้ันงานกอนจนโอกาสที่จะรวมขั้นงานหมดไป การ”จัดลําดบั ” ควรจะทาํ ภายหลังจากทไี่ ดมีการกําจัดและยบุ งานเขารวมกันแลว สวน”การปรับปรุง” งานนั้น เปนเรื่องทไี่ มก ระทบกระเทอื นกระบวนการทํางาน เนือ่ งจากเกี่ยวขอ งเฉพาะงานแตละชิ้น จึงควรมาหลังสุดเม่ือ แนใ จวาทุกงานจาํ เปน เปนงานที่กะทัดรดั และมลี าํ ดับท่ีถกู ตองแลว ประโยชนข องการปรบั ปรุงงาน ประโยชนของการปรับปรงุ งานน้นั สามารถมองในแงต างๆ ไดด งั น้ีคอื (1) การปรับปรุงงานเปน ผลดตี อ สมาชกิ ของบรษิ ทั หรอื งคการแตละคนคอื - เพมิ่ ความมนั่ คงในการทาํ งานมากขึน้ - ทําใหค าจางแรงงานของตนเองเพ่ิมสงู ข้ึนเรื่อยๆ - ลดความเหน็ดเหนื่อยจากการใชแ รงงานใหน อยลง - ทาํ ใหม าตรฐานการครองชีพสงู ข้นึ - ทําใหส ถานที่ทํางานสะดวกสบายข้ึน - เปดโอกาสใหส มาชิกพฒั นาความสามารถของคนเองมากขนึ้ - เปด โอกาสใหสมาชกิ พิสูจนว ามคี วามสามารถคนหน่งึ - ทาํ ใหสมาชิกเกิดความเพลิดเพลินและเราใจชวนใหอยากทํางาน เพราะลกั ษณะของงานเปลย่ี นไป ในทางทด่ี ี (2) การปรับปรงุ งานเปนผลดตี อ บรษิ ัทหรอื องคการ คือ - ลดคา ใชจ ายในการผลติ หรอื บริการแตล ะหนว ยใหน อยลง - ทาํ ใหมเี งนิ เหลอื เพอื่ ใชจ ายทางอื่นมากขนึ้ - ทาํ ใหสามารถลดราคาของสนิ คา ลงเพื่อแขงขันกบั คูแขงได - เพ่มิ ความม่นั คงทางดา นเศรษฐกจิ ใหมากขนึ้ เพราะมีรายไดห รือกาํ ไรมากขน้ึ เรื่อยๆ - ทาํ ใหสามารถปรบั ปรงุ คณุ ภาพของสนิ คา หรอื บริการดขี นึ้ - ชวยทําใหก ารตดั สินใจเกี่ยวกับการเลือกซ้อื เคร่ืองมือ เครื่องใชประเภทตา งๆ ไดด ีขนึ้ - ชวยลดการตา นทานการเปลีย่ นแปลงของสมาชกิ - ทาํ ใหไดรบั ความรวมมือและมีการทาํ งานเปน แบบทีมเวิรค ดีขึ้น - ทาํ ใหสัมพนั ธภาพทีม่ ีตอผบู ริโภคและประชาชนดีข้ึน - ชวยทาํ ใหบ ริษทั หรือองคการสามารถจัดทําสัญญาในฐานะเปนผูรับจางบางอยางอันสืบเนื่องมาจาก การประมลู ในราคาต่าํ กวา บรษิ ัทหรือองคการอ่ืน เพราะไดม ีการปรับปรุงงานเพื่อลดคาใชจายตางๆ ลง แตใหปรมิ าณและคุณภาพดีเทาเดมิ ได

8/14 (3) การปรับปรงุ งานเปนผลดตี อสงั คมสว นรวมคือ - ทําใหสินคาหรือบริการมีราคาถูกลง ทุกคนสามารถซ้ือไดมีไดเปนการยกมาตรฐานการครองชีพให สูงขึ้น ดีขึ้น สะดวกสบายข้ึน มีความสุขมากขึ้นสนองความตองการไดมากข้ึน ดํารงชีพประจําวันงาย ขนึ้ - ลดความสูญเปลา ในดา นแรงงาน และวัสดสุ งิ่ ของใหนอยลง - ทาํ ใหสมั พันธภาพระหวา งนายจางกบั ลูกจา งดขี ึ้น การปรบั ปรุงงานกับการตานทานการเปลยี่ นแปลง การปรับปรงุ งานแมจ ะดเี ลศิ หรือมปี ระโยชนเพยี งใดกต็ าม ถา ไมมีการนาํ ไปใชอ ยางจริงจังแลวก็เทากับ เปนการลงทนุ ลงแรงโดยไมไดประโยชนอะไรเปน การตอบแทน ผูท ่ีจะนําไปใชก็คือสมาชิกของบริษัทหรืองคการ ทุกคน ซ่ึงสําหรับในโรงงานอุตสาหกรรมก็คือ ฝายบริหาร วิศวกร หัวหนางาน คนงาน และเจาหนาที่ทุคนใน โรงงานนั่นเอง ในการปรับปรุงงานน้ันถาหากไมมีการทําความเขาใจกันเปนอยางดีระหวางผูท่ีทําการปรับปรุง งานหรอื ฝา ยจัดการกับฝายปฏิบัติงานหรือฝายคนงานก็มักจะเกิดปญหาข้ึนเสมอ ปญหาดังกลาวมักจะเกิดจาก การไมคอยยอมปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามวิธีการปฏิบัติการท่ีนําเอาไปใชอยางไมเต็มใจ ซ่ึงจะทําให ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติการไมเ ปน ไปตามแผนงานทีไ่ ดว างไวห รือทาํ ใหเ กิดความลม เหลวในการปรบั ปรงุ งาน พฤติกรรมดงั กลา วของฝายปฏบิ ัตกิ ารหรอื ฝายคนงานดงั กลาวเรียกวา “การตอตานการเปล่ียนแปลง” ซงึ่ มสี าเหตุมาจาก 1. ตองการทํางานวิธีเดิมเพราะเห็นวายังเปนวิธีท่ีดีอยู คือเคยปฏิบัติอยูอยางไรก็อยากจะทําอยาก ปฏิบัติอยางนั้นเร่ือยๆ ไปเพราะเคยทํามาจนชินและไดสะสมความรูความชํานาญในเร่ืองๆ น้ันไวมาก แลว จึงไมคอยอยากใหมีการเปล่ียนแปลงไปใชวิธีอ่ืนซึ่งแตกตางไปจากของเดิม เพราะจะตองเร่ิมตน ศกึ ษาหาความรูความชาํ นาญกนั ใหม 2. เชื่อวาการเปล่ียนแปลงวิธีการทํางานหรือวิธีปฏิบัติงานหรือวิธีการปฏิบัติการใหมนั้นไมเปน สิ่งจําเปนเพราะเกิดความรูสึกวาไมมีประโยชนอะไรท่ีจะเปล่ียนแปลงเน่ืองจากเห็นวาเปนเร่ืองเล็กๆ นอยๆ 3. ไมเ ขาใจในการเปล่ยี นแปลงวธิ กี ารทํางานหรือการปฏบิ ัตกิ ารนั้น 4. ไมมีสวนรูเห็นในการวางแผนเพ่ือเปล่ียนแปลงและปรับปรุง จึงเกิดความคิดวาตัวเองไมมีสวน เก่ียวขอ งในการปรบั ปรุงงาน 5. เกดิ ความรูส กึ วา วิธีการใหมจะทําใหเขาสญู เสียงานหรอื ไดคา จางนอยลง 6. เกดิ ความคิดวา วิธีการใหมจะทาํ ใหต องทํางานหนักขึน้ กวาเดมิ 7. เชื่อวาการปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงจะนาํ ไปสคู ณุ ภาพงานท่ีตาํ่ หรือเลวลงกวา เดิม ดังนั้น จะเห็นไดวาการปรับปรุงงานเพื่อการเพิ่มผลผลิตน้ันเปนเร่ืองที่จะตองใชหลักมนุษยสัมพันธ อยา งมากเพราะการปรบั ปรุงงานไมไ ดเ กย่ี วขอ งกับงานอยางเดียว แตยังเกี่ยวของกระทบกระเทือนถึงคนทํางาน ดวย เม่ือเก่ียวของกับคนดังน้ันจึงจําเปนตองใชหลักมนุษยสัมพันธ ยิ่งใชหลักน้ีมากเทาใดก็จะทําการปรับปรุง งานประสบผลสําเรจ็ และมลี ทู างในการปรบั ปรุงกวา งขวางยง่ิ ข้นึ

9/14 วิธีเอาชนะการตานทานการเปลีย่ นแปลง เพ่อื เอาชนะการตา นทานการเปลีย่ นแปลงและหลกี เลย่ี งความไมพ อใจ มขี อ ควรปฏบิ ตั ดิ งั น้คี อื (1) จะตองมีการประชุมชี้แจง หรือแจงใหทราบแตเน่ินๆ วาการปรับปรุงคืออะไรสําคัญและ จาํ เปนอยา งไรและมีประโยชนอ ะไรบา ง (2) กอ นจะเร่มิ วางโครงการปรับปรุง จะตอ งปรกึ ษาหารือกับคนบางคนท่ีเก่ียวของกับงานน้ัน โดยเฉพาะวาทาํ ไมจะตอ งปรับปรงุ งานนนั้ ทัง้ นี้เพอื่ ใหม ีสว นรวมและจะไดฟ ง ความคิดเหน็ ของเขาดว ย (3) ปรึกษาหารือกับผูปฏิบัติงานเพื่อทราบวาการเปลี่ยนแปลงกระทบกระเทือนเขาเปนการ สวนตวั อยา งไรบา ง แผนการปรับปรงุ งานจะตอ งพิจารณาถงึ ผลทจ่ี ะมีตอผปู ฏบิ ัติเปน รายบุคคลดว ย (4) จะตองมีการทดลองปฏิบัติสักระยะหนึ่งกอน และมีการตรวจสอบดวยความละเอียด รอบคอบอีกคร้ังหนงึ่ ทงั้ นี้โดยใหบุคคลทเ่ี ก่ยี วของเขา มามสี ว นรว มทกุ คน (5) จะตอ งทาํ การเปลี่ยนแปลงปรบั ปรงุ ใหเหมาะสมกับเวลา คุณสมบัตขิ องผูท่ีทําการปรบั ปรงุ งาน คุณสมบัตขิ องนกั ปรับปรุงงานนั้นจะตอ งประกอบดว ย - มคี วามสามารถในการวเิ คราะหปญหาหรอื สถานการณตา งๆ - มคี วามสามารถชแ้ี จงแสดงเหตผุ ล - มีสามัญสาํ นึก - มคี วามคิดสรางสรรค - มีมนษุ ยส มั พันธทด่ี ี - มเี ปา หมายมีจุดประสงค - สรา งความรว มมือจากคนอ่นื - มกี ลวธิ ที าํ งานหรือดําเนนิ งาน - มีใจคอหนักแนน - มีความสามารถคิดและเขียนออกมาเปนแผนภมู ิหรอื แบบฟอรมตา งๆ - มีความสามารถเสนอคดิ เห็น - รักและชอบงานดานการปรับปรุง ปรัชญาและทศั นคติของการปรับปรงุ งานเพ่ือการเพ่ิมผลผลิต ในการปรบั ปรุงงานนน้ั เรามีปรัชญาท่จี ะตองยึดถอื อยู 4 ประการ 1. ในการทาํ งานใดๆ กต็ ามยอมตอ งมวี ธิ ีการทํางานทีด่ ีกวาวิธีทท่ี าํ อยูในปจจุบันเสมอ 2. วธิ กี ารทํางานท่ดี ที ส่ี ดุ น้ัน ยงั ไมเ คยปรากฏวา คน พบหรือคานหาไดโ ดยแทจ รงิ เลยจะพบ ก็แตเ พยี งวธิ ีการทํางานทด่ี ีกวาเทานน้ั 3. เทคนคิ ในการปรบั ปรงุ งานนัน้ สามารถนําไปใชก บั งานทุกชนดิ 4. การแกปญหาทม่ี รี ะบบ ระเบยี บ ยอ มใหผ ลแนนอนกวา จะดกี วาลทู างแกปญ หาโดยวธิ ี สุกเอาเผากิน และปญหาทุกอยางทกุ ประเภทสามารถทีจ่ ะแกไขปรบั ปรงุ ไดเสมอ

10/14 สรปุ การเพ่ิมผลผลิตวัดในรูปของอัตราสวนผลิตผลปจจัยการผลิต กิจการตางๆ ที่ตองการเจริญเติบโต จําเปนตองมกี ารปรับปรุงงานอยเู สมอเพอ่ื ใหผ ลผลติ เพิ่มขึน้ การปรับปรุงงานเพ่ีอการเพิ่มผลผลิตทําไดหลายวิธี วิธหี นงึ่ คือ การศึกษางานเพ่ือการเพ่ิมผลผลิตซง่ึ มหี ลักการสาํ คญั อยู 4 ประการ คือ 1. กําจัดข้ันงานทไ่ี มจําเปน 2. รวมขั้นงานหลายๆ ข้ันเขาดวยกัน 3. จัดลําดบั ข้ันงานเสียใหมและ 4. ปรับปรุงขัน้ งานตา งๆใหงายขึน้

11/14 ชือ่ วิชา การศกึ ษางาน ใบงาน รหสั วิชา 3100-0112 หนว ยที่ 1 เวลา 20 นาที ชือ่ -สกุล ชอื่ หนวย การศกึ ษางานเพอื่ การเพมิ่ ผลผลิต จาํ นวนคาบ 2 คาบ รหัส จงตอบคาํ ถาม พรอ มทั้งอธิบาย 1. หลกั การดําเนนิ ธรุ กิจใหม่นั คง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ความหมายของการเพิ่มผลผลติ (Definitions of Productivity) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วิธกี ารการเพิ่มผลผลติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ประสทิ ธิผล (Effectiveness) ในการเพิ่มผลผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................................

12/14 5. สาเหตขุ องการเพิ่มผลผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ............................................................................................................................................................................ 6. วธิ ีการเพิ่มผลผลติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 7. เทคนคิ การปรับปรุงงานเพ่ือการเพ่มิ ผลผลติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. เทคนิคการปรับปรงุ งาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………...………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................................

13/14 9. สวนเทคนิคของฝายจดั การทีจ่ ะเพิม่ ผลผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................................................................. 10. หลักทัว่ ไปของการศกึ ษางานเพอื่ การเพิม่ ผลผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… .……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… 11. ประโยชนของการปรบั ปรุงงาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… 12. สาเหตุการตอ ตานการเปลยี่ นแปลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ............................................................................................................................................................................

14/14 13. วธิ ีเอาชนะการตา นทานการเปลี่ยนแปลง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… 14. คุณสมบตั ิของผูที่ทําการปรบั ปรงุ งาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 15. ปรัชญาและทัศนคตขิ องการปรับปรุงงานเพ่ือการเพ่ิมผลผลิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………..……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………........................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook