Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book ศึกษาเปรียบเทียบห้องสมุดดิจิทัลในประเทศไทย 2 แห่ง

E-book ศึกษาเปรียบเทียบห้องสมุดดิจิทัลในประเทศไทย 2 แห่ง

Published by HADIBAH RESOH, 2021-07-11 09:16:48

Description: E-book

Search

Read the Text Version

DIGITAL LIBRARIES IN THAILAND 421-354 (DIGITAL INFORMATION MANAGEMENT)

ศึ ก ษ า เ ป รี ย บ เ ที ย บ ห อ ง ส มุ ด ดิ จิ ทั ล ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 2 แ ห ง

ห้ องสมุ ดดิ จิ ทั ลเกษตรไทย (THAI AGRICULTURAL DIGITAL LIBRARY) Kasetsart University Knowledge Repository : คลงั ความรูดิจทิ ลั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (ku.ac.th))

ประวตั /ิ ทีมา สาํ นักหอสมุด ไดพัฒนาฐานขอมลู เพ่อื รวบรวมองคความรแู ละผลงาน สรา งสรรคของมหาวทิ ยาลยั โดยเร่ิมดาํ เนินการรวบรวมและจัดเกบ็ ผลงานอยา ง เป็นระบบตัง้ แตปี พ.ศ. 2543 เป็นตนมา โดยพัฒนา \"ฐานขอมูลภูมิปัญญา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร\" เพ่ือรวมเฉลมิ ฉลองในวาระครบรอบ 60 ปี แหงการ สถาปนามหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร (2 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2546) และไดพัฒนา ตอยอดขยายผลฐานขอ มูลภูมิปัญญามหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เป็น \"คลงั ความรดู จิ ทิ ลั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร\" เปิดใหบ รกิ าร ในวาระครบรอบ 72 ปี (2 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2558)

ประวตั ิ/ทีมา ต่อ การพัฒนาคลังความรดู ิจิทลั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เป็นงานความรว ม มอื ของทุกสว นงานของมหาวิทยาลยั ในทุกวิทยาเขต โดย 24 สวนงานของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน ไดทาํ ความตกลงและลงนามความรวม มือในการพฒั นาคลงั ความรดู จิ ิทัลและฐานขอ มลู จดหมายเหตุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร รว มกนั เม่ือวนั ท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยมหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร ไดมอบใหสาํ นักหอสมุดเป็นหนวยประสานงานรวบรวมผลงาน ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร เพ่ือจดั เก็บ เผยแพรและใหบ รกิ าร เร่ิมจาก การรวบรวมผลงานในบางเขนและขยายผลสวู ิทยาเขต โดยทุกหนวยงาน ความรว มมอื จะรวมกันรวบรวมและบันทกึ ผลงานสรางสรรคของ มหาวิทยาลยั และขอมูลจดหมายเหตุ เพ่อื เตมิ เตม็ คลงั ความรูของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรใ หค รบถวนสมบรู ณ

ัพนธกจิ คลงั ความรดู จิ ิทัล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เป็นคลงั ขอ มูลทีจ่ ัดเกบ็ และ รวบรวมผลงานสรางสรรคข องบุคลากร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ในรปู แบบ ดิจิทลั ตามมาตรฐานสากล ทัง้ ประเภทผลงานวจิ ยั ผลงานทางวชิ าการ หนังสอื ตาํ รา เอกสารคาํ สอน บทความ และผลงานสรางสรรคทกุ ประเภท ไมจ ํากัดปีพมิ พ ท่ไี ดรบั การอนญุ าตสิทธใิ์ นการเผยแพรจ ากเจาของผลงาน สามารถสืบคน ขอ มูลได จากทกุ ท่ีทุกเวลา โดยไมเ สยี คา ใชจ าย เพ่อื เผยแพรความรแู ละถา ยทอดองคค วาม รูสูสังคม และผลงานถูกนําไปใชป ระโยชนในการตอ ยอดความรูและไดรับการ อา งอิงทงั้ ในระดบั ชาติและระดับนานาชาติ

ระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิทใี ช้ ใหขอมลู บนเว็บไซต ระบบงานสืบคน รายการทรัพยากร (Online Public Access Catalog) ระบบงานวารสารและเอกสาร (Serial Control) ระบบสมาชกิ (Patron) ระบบงานวเิ คราะหห มวดหมแู ละ ลงรายการ (Cataloging) โปรแกรม KOHA

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ทํา ง า น ข อ ง ห้อ ง ส มุ ด อั ต โ น มั ติ

ผใู ชงานสามารถเขา ถึงและสบื คน ผลงานของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรจ ากคลงั ความรู ดิจทิ ลั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไ ดท กุ รายการ โดยสามารถเรยี กดูรายละเอียด บรรณานุกรม ตลอดจนเปิดอานและดาวนโหลด ตามการอนญุ าตสิทธิเ์ ผยแพรของผเู ป็น เจา ของผลงาน โดยผูใชสามารถ ใชงานระบบไดจ ากเคร่ืองคอมพิวเตอร หรืออปุ กรณอ่ืน ๆ ทส่ี ามารถเช่อื ม ตอ กบั อินเทอรเน็ตได เชน โทรศัพทมือถือ Tablet เป็นตน การเขา ใชร ะบบมีขนั้ ตอนดงั นี้ 1) เปิดโปรแกรมเว็บเบราวเซอร เชน Google Chrome, Mozilla Firefox, Internet Explorer เป็นตน 2) ไปที่ URL https://kukr.lib.ku.ac.th/ 3) ผูใ ชทัว่ ไปสามารถเขา ใชร ะบบ สืบคนขอ มลู และดาวนโหลดผลงานตามสิทธิท์ ่เี จาของ อนุญาตไดทันที 4) ผใู ชท ีเ่ ป็นสมาชกิ ของระบบ นิสติ หรือบุคลากร มก. เขาสูระบบ โดยคลกิ ปุม ทเี่ มนดู านบน เพ่ือการเขาใชงานฟงกชนั พเิ ศษเพ่ิมเติม ไดแก บันทึกผลการสบื คน และเรยี กดูประวัตกิ ารคน เป็นตน

วยั เกษียน วยั ทํางาน วยั รุน่ วยั เด็ก

จาํ กดั เฉพาะกลมุ ที่สนใจเร่ืองเกษตรกร ไมส ามารถเขาใชบริการ และเขา ถึงรายละเอยี ดบัญชีของทาน ไฟลเ อกสารใด ๆ หรอื เน้ือหาอ่ืน ๆ ท่อี ยใู นบัญชขี องทานได ในกรณี ที่ เราหยดุ ใหบ รกิ ารเป็นการถาวร หรือยกเลกิ บริการแกท า น เรามสี ิทธิใน การลบขอมลู ตา ง ๆ ทอี่ ยใู นบัญชขี องทานไดโดยไมตองแจงใหท านทราบ ลว งหน า

แนวโนม้ ในอนาคต 1. เพ่ือสรา งคลังความรมู หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรใ นรูปดจิ ทิ ัล ทม่ี มี าตรฐานและสามารถเขาถึงไดโ ดยงา ย 2. เพ่ือสรา งเครอื ขา ยการพัฒนาคลงั ความรแู ละการบรกิ ารความรู ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร 3. เพ่ือเผยแพรผ ลงานสรางสรรคข องมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ใหไ ดรบั การอา งอิง และใหประชาชนและผสู นใจไดใ ชป ระโยชน อยา งแพรหลาย

e-Book และ e-Magazine สามารถอ่านได้ ทกุ ที ทกุ เวลา DLT E-LIBRARY หอ งสมดุ ดิจิทัล

ประวตั /ิ ทีมา ตามที่แผนแมบ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร พ.ศ. 2555 -2559 ของกรมการ ขนสง ทางบก จะสิน้ สดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นี้เพ่อื ใหก รมฯ ไดม แี ผนแมบ ทฯ ดาํ เนินการตอไป จึงไดว า จาง ทีป่ รึกษา ท่เี ชยี่ วชาญทางดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่อื สาร เพ่ือจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารของกรมการขนสงทาง บก พ.ศ. 2560-2564 ฉบับใหม โดยทําการวเิ คราะหแ ละประเมินผลแผนแมบ ทฯ ฉบับเดิม พรอ มทงั้ ศึกษาและวางแนวทางการพฒั นาระบบคอมพิวเตอรร ะบบสารสนเทศ ระบบเครือ ขาย สถาปัตยกรรมการรกั ษาความมัน่ คงของระบบ การพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศ รวมทัง้ โครงสรา งการบรหิ ารภายในศนู ยเ ทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมกบั สถานการณเพ่อื นํามาใชเ ป็นแนวทางและเป็นแผนปฏบิ ัติการในการพฒั นาระบบบริหาร ภายในหนวยงานและการบรกิ ารประชาชนในระบบราชการแบบใหมท ม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ โปรง ใส เหมาะสมกบั ความกา วหน าทางเทคโนโลยีและเพ่ือเป็นประโยชนในการจดั ทําคาํ ของบประมาณประจาํ ปีดานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารของกรมฯ

ประวตั /ิ ทมี า ต่อ ประกอบกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไดม ีการพฒั นาเปลีย่ นแปลงมา โดยตลอดและเป็นไปอยางรวดเร็ว กรมการขนสงทางบกเป็นหนวยงานที่นําเทคโนโลยีดงั กลาวมาใชอยา งกวางขวางและเพ่ิมข้นึ อยางตอเน่ือง โดยมุงเน นการยกระดบั คุณภาพและ ประสทิ ธิภาพการดําเนินงานตามภารกจิ ของกรม และการบรหิ ารจัดการขององคกร จงึ มี ความจําเป็นที่จะตองจัดจางทปี่ รกึ ษาทเ่ี ป็นผูเ ชยี่ วชาญดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร เพ่ือใหก ารแนะนํา ใหความรแู ละขอ เสนอแนะถึงการดําเนินการพัฒนา ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศของกรมฯ อยางบรู ณาการและมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ โดยไดจ ดั จางทป่ี รึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ.) เพ่อื จดั ทําแผนแมบท เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร พ.ศ. 2560-2564 และเป็นที่ปรกึ ษาดานเทคโนโลยสี ารสนเทศของกรมฯ ตามโครงการจดั จางทีป่ รกึ ษา ดา นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดวยคณะ รัฐมนตรมี ีมติเหน็ ชอบแผนพฒั นาดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม เพ่อื เป็นกลไกสาํ คญั ใน การขบั เคล่ือนการพฒั นาประเทศท่ยี งั่ ยนื โดยใชเ ทคโนโลยีดจิ ิทลั และใหห นวยงานของรฐั จัดทําแผนปฏิบตั กิ ารดจิ ทิ ัลของหนวยงานแทนการจดั ทาํ แผนแมบทเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่อื สารกรมการขนสง ทางบกจึงไดปรบั ปรุงแกไขรายละเอียดขอบเขตงาน (TOR) เปลี่ยนเป็นจัดทําแผนปฏบิ ตั ิการดิจิทัลของกรมการขนสง ทางบกระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564)

นโบบาย/พันธกิจ วิสัยทศั น “เป็นองคก รแหงนวัตกรรมในการควบคมุ กํากบั ดแู ล ระบบการขนสง ทางถนน ใหมีคุณภาพและ ปลอดภัย” พันธกิจของกรมการขนสงทางบก 1) พัฒนาระบบ ควบคมุ กํากับ ดูแลระบบการขนสง ทางถนนใหได มาตรฐานและมคี วาม ปลอดภยั รวมถงึ เช่ือมโยงกับการขนสงรปู แบบอ่ืน 2) พัฒนานวตั กรรมการควบคุม กาํ กบั ดแู ลระบบการขนสงทางถนน และบังคบั ใชกฎหมาย 3) พฒั นา และสง เสรมิ การใหบ ริการระบบการขนสง ทางถนน ใหมี คุณภาพและมสี ํานึก รับผดิ ชอบ 4) บริหารจดั การองคก รตามหลกั ธรรมาภิบาล

ระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ทิ ีใช้ Website Mobile Application ระบบหลากส่อื (Multimedia) ระบบจองและบริหารการจอง (Reservation) ระบบสมาชกิ (Patron) ระบบงานวิเคราะหหมวดหมูและลงรายการ (Cataloging) ระบบงานบรกิ ารยืม-คนื (Circulaion) ระบบงานสืบคน รายการทรัพยากร (Online Public Access Catalog) ระบบงานวารสารและเอกสาร (Serial Control) โปรแกรม(E-Library)

ลั ก ณ ะ ก า ร ทํา ง า น ข อ ง ห้อ ง ส มุ ด อั ต โ น มั ติ

Website– เป็นสถานีหลกั สําหรบั บรหิ ารจดั การทัง้ ระบบ และการอานแบบผาน อินเตอรเ น็ต (Online) การเขาใชงานระบบ มี 3 ชองทางใหเ ลือก ดงั นี้ 1) ใหผูใชงานเปิด Internet Browser Chrome หรือ Firefox แลว เขา เวบ็ กรม การขนสงทางบก ตรงแถบป าย แบนเนอร ใหคลกิ ท่แี บนเนอรห องสมุดฯ หน า จอแสดงการเขาระบบหองสมดุ ฯ ผานเวบ็ ไซตกรมการขนสง ทางบก 2) เขาใชระบบผานเวบ็ ไซตก องการเจาหน าท่ี แลว คลกิ ทแี่ บนเนอรหน าจอแสดง การเขา ระบบหอ งสมุดฯ ผานเวบ็ ไซตกองการเจา หน าท่ี 3) เขาระบบโดยตรง โดยเปิด InternetBrowser Chrome หรือ Firefox แลว พิมพ URL : http://library.dlt.go.th/

Mobile Application - เป็นระบบที่สนับสนุนระบบแบบ Offline โดยไมตองใช การเช่อื มตออนิ เตอรเน็ต ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ไปท่ี Google Play Store และคนหาแอปพลิเคชนั ของหอ งสมดุ ดิจิทลั กรมการขนสง ทางบก โดยพมิ พช่ือ แอปพลิเคชนั “DLT Library” และทาํ การติดตงั้

กล่มุ ผใู้ ช้ เปิดใหบริการบคุ ลากรภายในกรม การขนสง ทางบกและประชาชนทวั่ ไป ทเี่ ขามาติดตอราชการ คน ควา หาความรไู ดจากทรัพยากรในหองสมดุ HTTPS://BIT.LY/3DY5NJP

ข้อจํากดั ของหอ้ งสมุด 1.ทรพั ยากรสารสนเทศดิจทิ ัลควรมกี ารเก็บรักษาทด่ี ี การจัดเกบ็ ขอมลู 2.จดั เก็บวัตถุสารสนเทศดจิ ิทัลควรคํานึงถึงประโยชนใน ปัจจบุ ันและอนาคต 3.คา ใชจายในการดําเนินงาน การบรหิ ารงบประมาณ การบาํ รุงและการพฒั นา 4.ปั ญหาและลิขสิทธิ์ 5.คณุ ลกั ษณะของวตั ถสุ ารสนเทศดิจทิ ลั ควรคาํ นึงถึง การปรับเปล่ียนเปลยี่ นแปลของ soft ware และ hard ware เทคโนโลยกี ารเช่ือมตอ ความปลอดภัย

แนวโน้มในอนาคต รปู แบบหอ งสมุดอตั โนมัติเรมิ่ เปลีย่ นไปตามพฒั นาการของ เทคโนโลยีสารสนเทศ กลา วคอื ระบบหอ งสมดุ อตั โนมัติเป็น ลกั ษณะของการใชคอมพิวเตอรใ นการสบื คน ขอ มลู ดวยระบบ ออนไลนในขณะทท่ี รพั ยากรสารสนเทศของหอ งสมุดสว นมากจะ ใหบรกิ ารในรูปของส่อื สิง่ พิมพ ปัจจบุ ันไดมีการนําเทคโนโลยี ดจิ ติ อลมาใชในการบันทกึ ขอ มูลในส่ือสิง่ พมิ พมากข้นึ ทําใหหอ ง สมุดกลายสภาพมาเป็นหองสมดุ ดิจติ อล หรือหองสมุด อเิ ล็กทรอนิกส การสืบคนขอ มลู มีการเพ่ิมความสามารถในการ สืบคน ในลักษณะ Web Onling Catalog หรอื WebOPAC ที่ สามารถสบื คนเน้ือหา (Content) ของเอกสารเตม็ รปู และส่อื ประสมได ทําใหสามารถเขาถงึ สารสนเทศท่สี ะดวกรวดเรว็ ย่งิ ข้ึน

เ ป รี ย บ เ ที ย บ ค ว า ม แ ต ก ต า ง ห อ ง ส มุ ด ดิ จิ ทั ล ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย 2 แ ห ง

ความแตกตา่ ง หอ งสมดุ ทัง้ สองแหลง มรี ูปแบบของเพลตฟอรมท่ีแตกตา ง และทรัพยากรทีแ่ ตกตางกัน การจัดแสดงเน้ือหาของหองสมดุ ดจิ ิทลั กรมการ ขนสง ทางบก มีรูปแบบทจ่ี ัดเน้ือหาไดน าสนใจและโดดเดน กวาของคลงั ความ รดู ิจทิ ัลมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร หอ งสมุดทงั้ สองมกี ลุมผูใชท่แี ตกตา งกนั โดยคลังความรดู จิ ทิ ัลมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรจะเน นผูใชง านทมี่ คี วาม สนใจเกยี่ วกบั การเกษตรเป็นสวนใหญ แตกตางจากหองสมดุ ดิจิทัลกรมการ ขนสง ทางบก เป็นผูใ ชง านท่ีหลากหลาย ระบบอัตโนมัติท่ีใชใ นหอ งสมดุ ทัง้ สองแตกตางกนั คลังความรดู ิจิทลั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรนัน้ ไมมีระบบยมื -คืน แตจ ะเน นไปทางทางการนําเขา ผลงานการวจิ ัยแตกตางกับองสมดุ ดจิ ทิ ลั กรม การขนสง ทางบกจะมรี ะบบยมื คนื และมบี รกิ ารใชง านผานแอปพลเิ คชนั

ความแตกต่าง หอ งสมุดดจิ ิทัลกรมขนสงทางบกมีการอพั เดตขอมูลทท่ี ันสมยั ตางจาก หองสมดุ ดิจทิ ลั เกษตรไทยท่ีใหขอมลู เฉพาะทมี่ อี ยู และเน นความรทู างวิชาการมากไป หอ งสมุดดิจิทลั กรมขนสงทางบกเวบ็ ไซตไมคอ ยเสถียร มีการติดขดั ระหวางสืบคนทาํ ให ตองใชเ วลานาน และระบบคอ นขางไมป ลอดภยั ตา งจาก หอ งสมุดดิจทิ ลั เกษตรไทยทม่ี ี เอกลักษณทีช่ ดั เจนเฉพาะทาง มีการคัดกรองขอมลู และจัดหมวดหมมู าใหเ รยี บรอ ย ระบบ มคี วามนาเช่ือถอื และปลอดภัยสงู

ความแตกต่างระบบ และโปรแกรมทีใช้ การใชร ะบบรว มกนั (shared system) ใชโ ปรแกรม KOHA ในการพฒั นา โปรแกรม(E-Library)

จดั ทาํ โดย นางสาวฮาดบี ะห รือเสาะ 6120210011 นางสาวสไุ รดา ดาโอะ 6120210461 นางสาวฮาซูรา ตาตา 6120210010

เสนอ ด ร . ร่ ม ฉั ต ร ขุ น ท อ ง thang you มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขยปัตตานี