Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ_211020_145736 (1)

หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ_211020_145736 (1)

Published by Guset User, 2021-10-20 08:05:30

Description: หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ_211020_145736 (1)

Search

Read the Text Version

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักทดสอบโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ Software Tester นิยามอาชพี ผวู้ างแผน ศกึ ษา วิเคราะห์ ทดสอบ และประเมิน ผลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหม่ ว่าสามารถท�ำงานได้จริง ตามทไี่ ดอ้ อกแบบไวห้ รอื ไม่ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการ ตัดสินใจลงทุนในการพฒั นาโปรแกรมตอ่ ไป ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� 1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ ทดสอบโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ทจี่ ะนำ� เขา้ มาใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ 2. ออกแบบรายงานของคอมพวิ เตอรใ์ หต้ รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชแ้ ละฝา่ ยบรหิ ารเพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ 3. อาจจะต้องท�ำข้อมูลเปรียบเทียบการได้เปรียบในการใช้โปรแกรมหรือระบบที่ตนได้พัฒนาขึ้น เสนอต่อ ผู้บริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ใหม่ นน้ั ใหก้ ับฝา่ ยบริหารในการตัดสินใจ 4. เมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ นกั ทดสอบโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ตอ้ งทดสอบใหม้ นั่ ใจวา่ โปรแกรมทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั นิ น้ั 89 ทำ� งานไดจ้ ริงตามที่ไดอ้ อกแบบไว้ 5. ต้องทำ� งานรว่ มกับผ้เู ขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพ่ือหาขอ้ บกพร่องของโปรแกรมวเิ คราะห์ 6. แนะน�ำผู้เขียนโปรแกรมในการทำ� งาน สภาพการจา้ งงาน ผ้ปู ระกอบอาชพี น้ี สำ� เร็จการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ สาขาคอมพวิ เตอร์ หรอื สาขาท่เี กีย่ วข้อง ทำ� งานในสถานประกอบการดา้ นเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ หรือซอฟตแ์ วรต์ า่ ง ๆ จะได้ค่าตอบแทน แตกต่างกันไปตามความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญ จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนทร่ี ะดับเร่ิมต้นการท�ำงานในอัตรา เดือนละประมาณ 15,000 - 20,000 บาท สวสั ดกิ าร ค่ารกั ษาพยาบาล และโบนสั เป็นไปตามเงอ่ื นไขขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จ้าง ท�ำงานวันละ 8 ชว่ั โมง อาจท�ำงานลว่ งเวลา วันเสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยุดตามความจ�ำเปน็ เรง่ ด่วน สภาพการทำ� งาน ทำ� งานในสำ� นกั งานทมี่ สี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกสบายเชน่ สำ� นกั งานทว่ั ไป และตอ้ งออกไปตดิ ตอ่ ตา่ งสำ� นกั งาน บา้ งเปน็ ครงั้ คราวตามความจำ� เปน็ การทำ� งานลว่ งเวลาเปน็ เรอ่ื งปกตใิ นอาชพี น้ี ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี น้ี จะตอ้ งนงั่ ทำ� งาน อยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ ซึ่งอาจจะเป็นอันตรายต่อสายตาได้ การท่ีต้องพิมพ์บนแป้นพิมพ์นาน ๆ อาจจะมีปญั หาการปวดข้อมือ ปวดแขน และการนง่ั ตวั ตรงนาน ๆ กจ็ ะทำ� ให้ปวดหลังได้

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมงี านท�ำ Department of Employment แนวโน้มความต้องการจ้างงานนักทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีอีกมาก ยิ่งการพัฒนาทางด้าน คอมพวิ เตอร์ซบั ซอ้ นย่งุ ยากมากขน้ึ เท่าใด ความต้องการก็เพมิ่ สูงมากข้นึ อย่างรวดเร็วตามไปดว้ ย และในขณะที่การ ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏบิ ตั งิ านในองคก์ รตา่ ง ๆ แทบทกุ แหง่ กำ� ลงั ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ ทงั้ นผี้ ปู้ ระกอบอาชพี นต้ี อ้ ง ปรบั ตวั รบั กบั ความรแู้ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ อยตู่ ลอดเวลา เพอ่ื ใหท้ นั กบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ ดงั นนั้ การเรยี น ร้สู ิง่ ใหม่ ๆ ทางดา้ นเทคโนโลยคี อมพิวเตอรจ์ งึ เปน็ สง่ิ ท่สี �ำคญั ส�ำหรับผู้ประกอบอาชีพนี้ คณุ สมบัตขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป สาขาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ สาขาคอมพวิ เตอรห์ รอื สาขาอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. ทักษะในการวเิ คราะห์และแก้ปัญหาอย่ใู นเกณฑด์ ี 3. ทกั ษะทางด้านคณติ ศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์ดี 4. มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและมีมนุษยสมั พนั ธด์ ี 5. มีทักษะในการท�ำงานเปน็ ทีม 6. สามารถเขียนภาษาคอมพวิ เตอร์ได้ 7. ต้ังใจอดทน มีความรับผดิ ชอบสงู สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา สาขาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ และวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ในสถาบนั การศกึ ษา สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวิทยาลัยพายัพ เว็บไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศัพท์ 0-5330-4805 (เอกชน) 90 - มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี เว็บไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม เวบ็ ไซต์ http://www.spu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-9120-39 (เอกชน) - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล เวบ็ ไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษา ท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 - มหาวิทยาลยั รงั สิต เวบ็ ไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศัพท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เว็บไซต์ http://www.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-1030-49 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี นักทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการส่ือสารดีจะมีโอกาสเลื่อน ตำ� แหนง่ ขน้ึ เปน็ หวั หนา้ ฝา่ ย จนถงึ ระดบั ผจู้ ดั การระดบั ตา่ ง ๆ หรอื สามารถเปดิ สถานประกอบการทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การ ผลิตและพัฒนาซอฟตแ์ วร์

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชพี ที่เกย่ี วเนอ่ื ง นกั ออกแบบระบบงานคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหร์ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหก์ ารสอ่ื สารคอมพวิ เตอร ์ นกั วเิ คราะหง์ านฐานขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ นกั บรหิ ารงานฐานขอ้ มลู วศิ วกรเกย่ี วกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ วศิ วกรเกย่ี วกบั ซอฟต์แวร์ แหล่งข้อมูลอน่ื ๆ - ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) http://www.nectec.or.th/ite โทรศัพท์ 0-2642-5001-10 - สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย เว็บไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศัพท์ 0-2962-1348 - สมาคมธุรกิจคอมพวิ เตอร์ไทย เว็บไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - ศนู ย์การศกึ ษาตอ่ เน่อื งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th โทรศัพท์ 0-2215- 0871-3 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยมี หานคร เว็บไซต์ http://www.mut.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-2988-3666, 0-2988- 3655 91

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักพฒั นาซอฟตแ์ วร์ Software Developer นยิ ามอาชพี วิจยั วิเคราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ านทดสอบ วธิ กี าร / กระบวนการ ตลอดจนเทคโนโลยเี พอื่ สนบั สนนุ การพัฒนาซอฟต์แวร์ท่เี ป็นระบบใหญใ่ หม้ ีคณุ ภาพสงู ลักษณะของงานท่ีทำ� 1. ส�ำรวจความต้องการ ท�ำการวิเคราะห์ ระบบงานท่ีใช้อยู่ปัจจุบัน โดยข้อมูลที่ใช้และระบบ ซอฟต์แวร์จะต้องก�ำหนดได้อย่างเด่นชัด เพื่อให้ได้ชุด ของข้อก�ำหนดของระบบเพ่ือน�ำไปใช้ในการออกแบบ ซอฟต์แวร์ 2. พฒั นาทางดา้ นเทคนคิ เพอ่ื แบง่ แยก จดั การเฉพาะสว่ นไดโ้ ดยงา่ ย เรยี กวา่ มอดลู (Module) และสามารถ น�ำมาเชือ่ มรวมกันเปน็ ระบบใหญ่ 3. ตรวจสอบซอฟต์แวร์ ว่าท�ำงานได้ครบถ้วนตามต้องการหรือไม่ โดยมีการตรวจแก้ไขซอฟต์แวร์เป็น ชดุ มอดลู และตรวจสอบการทำ� งานรว่ มกนั ของมอดลู ต่าง ๆ 92 4. ออกแบบ พฒั นาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยด�ำเนินการตามขนั้ ตอน เพื่อใหไ้ ด้ระบบซอฟต์แวรท์ ีส่ มบรู ณ์ มีขอ้ ผดิ พลาดน้อยที่สุด ในทกุ ขั้นตอนจะต้องเขยี นเอกสารประกอบอย่างครบถว้ น สภาพการจา้ งงาน นักพัฒนาซอฟต์แวร์ จะปฏิบัติงานในภาคเอกชน ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาโท ในสาขาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ หรือสาขาอน่ื ๆ ท่เี กยี่ วข้อง จะไดร้ ับค่าตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื น ตามวฒุ ิการศกึ ษา และจะมากหรอื นอ้ ย ข้นึ อยกู่ ับประสบการณ์ ได้รับสวัสดิการต่าง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนสั แลว้ แต่นโยบายของหน่วยงานน้ัน ๆ ท�ำงานวนั ละ 8 ชวั่ โมง อาจท�ำงานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เป็น สภาพการทำ� งาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ จะต้องใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในการออกแบบและทดสอบ ต้องใช้ประสาทสัมผัสของ สายตาและมอื บางคร้ังอาจมปี ัญหากับสายตาได้ เนอ่ื งจากตอ้ งอยูก่ บั จอคอมพวิ เตอร์เปน็ เวลานาน โอกาสในการมงี านทำ� อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งท่ีมีความส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แตย่ งั ขาดแคลนบคุ ลากรดา้ นซอฟตแ์ วรอ์ กี เปน็ จำ� นวนมากถงึ 80,000 คน ทง้ั นด้ี า้ นอปุ ทานสามารถทจ่ี ะผลติ บคุ ลากร ได้เพียง 40,000 คน ท�ำให้อุตสาหกรรมยังต้องการก�ำลังคน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ ดา้ นนกั ออกแบบ

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชีพ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป สาขา วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2. มีทักษะ ความช�ำนาญท่ีควรมีความรู้ในการ เขยี นภาษาคอมพวิ เตอร์ อยา่ งนอ้ ย 1 ภาษา : VB, ASP.net, C/C++, Delphi HTML, Script Language (ASP, PHP, JSP) JavaScript DBMS, OODBMS / Database Design SQL Statement / MS SQL2000 Server 3. มีความรดู้ า้ นระบบปฏบิ ัติการ Windows, Windows 2000/2003 Server 4. สนใจเทคโนโลยใี หม่ ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ เพอื่ น�ำมาพัฒนาออกแบบซอฟต์แวรใ์ ห้ดีข้นึ เรือ่ ย ๆ น�ำมา ใชใ้ นระบบและการควบคุมการทำ� งานของคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมปฏิบัติการตา่ ง ๆ 5. สามารถท�ำงานเปน็ ทมี ได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ในสถาบันการศึกษาสงั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา อาทิ - มหาวิทยาลยั พายัพ เว็บไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศพั ท์ 0-5330-4805 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เว็บไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศัพท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เว็บไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 93 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ http://www.spu.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-9120-39 (เอกชน) สาขาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศกึ ษาอื่น ๆ ที่สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยเกษมบัณฑติ เว็บไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศัพท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 02-942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั รงั สติ เวบ็ ไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศัพท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th/ โทรศัพท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผทู้ ป่ี ระกอบอาชพี นักออกแบบซอฟต์แวร์ท่ีรับราชการหรือเป็นพนักงานรัฐวสิ าหกจิ จะได้เลอ่ื นตำ� แหนง่ และเงินเดือน ตามกฎระเบียบที่วางไว้ และในภาคเอกชนเม่ือมีความรู้ ความช�ำนาญมากขึ้น สามารถเลื่อน ต�ำแหน่งเป็นผู้จัดการ และสามารถประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านการให้บริการด้านซอฟต์แวร์แก่ภาครัฐและ ภาคเอกชน

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชพี ท่ีเกีย่ วเนื่อง ผูจ้ ดั การโครงงาน สถาปนกิ และวศิ วกรด้านซอฟตแ์ วร์ นักออกแบบซอฟตแ์ วร์ในทุก ๆ ระบบ แหล่งข้อมลู อ่นื ๆ - สมาคมธรุ กจิ คอมพิวเตอรไ์ ทย เวบ็ ไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวรไ์ ทย เว็บไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศัพท์ 0-2962-1348 - ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (ซิป้า) เว็บไซต์ http://www.sipa.or.th โทรศัพท์ 0-2554-0400 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เว็บไซต์ http://www.mut.ac.th/ โทรศัพท์ 0-2988-3666, 0-2988-3655 - ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th/ite โทรศัพท์ 0-2642-5001-10 - ซอฟต์แวรป์ ารค์ เว็บไซต์ http://www.swpark.or.th โทรศัพท์ 0-2583-9992, 0-2962-2900 94

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั พฒั นาภาษาจาวา Java Developer นยิ ามอาชพี ผทู้ ีว่ างแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ าน ทดสอบ ประเมินผลการใช้ภาษาจาวาส�ำหรับการพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ ระบบงาน ลักษณะของงานที่ท�ำ 1. ภาษาจาวา (JAVA) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ทใ่ี ช้เขียนโปรแกรมทีถ่ ูกน�ำไปใชท้ ำ� งานในการออกแบบเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ (Web Browser) 2. ผพู้ ฒั นาจะตอ้ งออกแบบรายละเอยี ดงานทตี่ อ้ งการ ตลอดจนขน้ั ตอนของการทำ� งานตา่ ง ๆ ของภาษาจาวา 3. นกั พฒั นาภาษาจาวา ตอ้ งทำ� งานรว่ มกบั ผเู้ ขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื หาขอ้ บกพรอ่ งของโปรแกรม 4. ทดสอบโปรแกรมที่โปรแกรมเมอรเ์ ขยี นข้ึน วิเคราะห์ และแนะน�ำผเู้ ขยี นโปรแกรมในการทำ� งาน 5. อธิบายความต้องการของแต่ละขั้นตอนของการท�ำงานของคอมพิวเตอร์ให้กับผู้เขียนโปรแกรม และ ทดสอบโปรแกรมท่เี ขยี นขึ้นใหมว่ ่าสามารถเข้ากันได้กบั ระบบเดมิ ทม่ี ีอยู่แลว้ หรอื ไม่ 95 สภาพการจา้ งงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ หรอื สาขาอนื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทำ� งานในสถานประกอบการดา้ นเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ จะไดค้ า่ ตอบแทน แตกต่างกันไปตามความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญ จะได้รบั ค่าตอบแทนที่ระดับเรมิ่ ต้นการท�ำงานในอตั รา เดือนละประมาณ 15,000 - 20,000 บาท สวสั ดกิ าร ค่ารักษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเงื่อนไขขอ้ ตกลงกับ ผวู้ า่ จา้ งทำ� งานวนั ละ 8 ชวั่ โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ น วางแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ าน ทดสอบ ประเมนิ ผลการใชภ้ าษาจาวาสำ� หรบั การพฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของระบบงาน สภาพการทำ� งาน ส่วนใหญท่ �ำงานในส�ำนกั งาน มีสง่ิ อำ� นวยความสะดวกเช่นส�ำนกั งานทว่ั ไป มกี ารออกไปตดิ ตอ่ ต่างสำ� นกั งาน บา้ งเปน็ ครงั้ คราวตามความจำ� เปน็ การท�ำงานล่วงเวลาเป็นเรอ่ื งปกตใิ นอาชพี น้ี ผู้ประกอบอาชีพนจ้ี ะตอ้ งน่ังอย่หู น้า จอคอมพิวเตอรเ์ ปน็ เวลานาน ๆ อาจจะเป็นอนั ตรายต่อสายตาได้ และการที่ต้องพิมพบ์ นแปน้ พิมพน์ าน ๆ อาจจะมี ปัญหาการปวดข้อมอื ปวดแขน และการนงั่ ตวั ตรงนาน ๆ กจ็ ะท�ำให้ปวดหลงั ได้

2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานท�ำ Department of Employment ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมี ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ประเทศไทย มีความต้องการผู้ประกอบอาชีพนักพัฒนา ภาษาจาวาเป็นอย่างมาก โดยทุกหน่วยงาน จะต้องน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาเพื่อพัฒนา องค์กรให้มีความทันสมัย จึงจะสามารถ แข่งขันกับผู้อ่ืนได้ การเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จึงเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญส�ำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ ต้องเข้ารับการอบรม สัมมนา เพ่ือรับรู้เทคนิคใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา ฉะนั้นย่ิงการพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์ซับซ้อนยุ่งยากมากข้ึนเท่าใด ความตอ้ งการผู้ประกอบอาชพี นก้ี จ็ ะเพ่มิ สงู มากข้นึ ตามไปดว้ ย คณุ สมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ หรอื สาขาอน่ื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง 2. ทักษะในการวิเคราะห์และการแกป้ ญั หาอย่ใู นเกณฑ์ดี 3. ทกั ษะทางดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษอยูใ่ นเกณฑด์ ี 4. มที ักษะในการตดิ ตอ่ สือ่ สาร 5. มนษุ ยสมั พนั ธด์ ี 6. สามารถทำ� งานเปน็ ทีมได้ 96 7. ตง้ั ใจ อดทน มีความรับผดิ ชอบสูง สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา อาทิ - มหาวิทยาลยั พายัพ เว็บไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศพั ท์ 0-5330-4805 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เว็บไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม เวบ็ ไซต์ http://www.spu.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-9120-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษา ท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ กรมการ ัจดหางาน การอดุ มศึกษา อาทิ Department of Employment - มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศพั ท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เว็บไซต์ http://www.kku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั รังสิต เว็บไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เว็บไซต์ http://www.swu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2664-1000 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผู้ท่ีมีประสบการณ์ในการท�ำงานและมีความสามารถในการวิเคราะห์ระบบการท�ำงาน ท�ำงานเป็นทีมได้ดี มีทกั ษะในการส่อื สารดี และมีความสามารถในด้านการบริหารจดั การ จะมีโอกาสเลอื่ นต�ำแหน่งข้นึ เป็นหวั หนา้ ฝ่าย หรือผู้จดั การฝ่าย อาชีพท่ีเกีย่ วเนือ่ ง นักออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์การส่ือสาร คอมพิวเตอร ์ นกั วเิ คราะห์งานฐานขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ นกั บริหารงานฐานข้อมูล วิศวกรเก่ยี วกบั ระบบคอมพิวเตอร์ วศิ วกรเกี่ยวกับซอฟต์แวร์ แหลง่ ข้อมูลอืน่ ๆ - ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เว็บไซต์ http://www.nectec.or.th/ite โทรศัพท์ 97 0-2642-5001-10 - สมาคมอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วรไ์ ทย เวบ็ ไซต์ http://www. atsi.or.th โทรศพั ท์ 0-2962-1348 - ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) เว็บไซต์ http://www.tkc.go.th/ โทรศัพท์ 0-2505-7370 - โครงการจดั ท�ำเอกสารบนเว็บ เว็บไซต์ http://www.ohoipst.net โทรศัพท์ 0-2392-4021 - โครงการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ http://ccp.nectec.or.th/ โทรศัพท์ 0-2564-6900

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั พัฒนาเว็บไซต์ Web developer นิยามอาชพี ออกแบบ สรา้ ง ดดั แปลง ทดสอบและแกไ้ ข ปรับปรุงเว็บไซต์และข้อมูลต่าง ๆ จากเว็บไซต์ ให้ทนั สมยั ลักษณะของงานท่ีท�ำ 1. ผู้พัฒนาจะต้องปรึกษารายละเอียด ความตอ้ งการของผมู้ อบหมาย และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ี ได้รบั แล้วนำ� มากำ� หนดล�ำดบั ขั้นตอนน�ำเสนอ และ กำ� หนดประเดน็ และแผนของการเขียนโปรแกรม 2. ต้องทำ� งานร่วมกบั ผ้คู มุ งาน หรอื ผูเ้ ขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พ่ือหาขอ้ บกพร่องของโปรแกรม 3. จดั วางเน้อื หาเชอื่ มสู่รายละเอยี ดที่ต้องการนำ� เสนอและโครงรา่ งของเวบ็ ไซต์ 4. ทดสอบความถกู ตอ้ งโปรแกรมทโี่ ปรแกรมเมอรเ์ ขยี นขน้ึ วเิ คราะห์ และแนะนำ� ผเู้ ขยี นโปรแกรมในการทำ� งาน 98 5. ทดสอบโปรแกรมท่ีเขียนขึ้นใหม่ว่าสามารถเข้ากันไดก้ ับระบบเดมิ ท่ีมอี ยแู่ ลว้ หรือไม่ สภาพการจ้างงาน สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวทิ ยาศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ สาขาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ หรอื สาขาอนื่ ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ท�ำงานด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ จะได้ค่าตอบแทนแตกต่างกันไปตามความรู้ ความสามารถ และ ความชำ� นาญ สวสั ดกิ าร ค่ารกั ษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่อื นไขขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จ้าง สภาพการทำ� งาน ผปู้ ระกอบอาชพี น้ี ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการออกแบบเขยี นโปรแกรม จะตอ้ งนงั่ อยหู่ นา้ จอคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เวลา นาน ๆ อาจจะเป็นอันตรายต่อสายตา มปี ัญหาการปวดขอ้ มือ ปวดแขน และปวดหลังได้ โอกาสในการมีงานทำ� ปัจจุบัน การสื่อสารเพื่อการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร นอกจากตามส่ือต่าง ๆ แล้ว ยังมีระบบอินเทอร์เน็ตท่ี สามารถเผยแพรข่ อ้ มลู ได้รวดเรว็ และกระจายได้พรอ้ ม ๆ กันท้งั โลก ความร้ทู างด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จึงเป็น สงิ่ ส�ำคัญ โดยทุกหน่วยงานจะต้องนำ� เทคโนโลยใี หม่ ๆ มาเพ่อื พัฒนาองค์กรใหม้ คี วามทันสมัย จงึ จะสามารถแข่งขนั กบั ผ้อู ่นื ได้ ฉะนัน้ ยิ่งการพฒั นาทางด้านคอมพิวเตอร์ซบั ซอ้ นยุ่งยากมากข้นึ เทา่ ใดความต้องการผู้ประกอบอาชพี นก้ี ็ จะเพ่มิ สงู มากขน้ึ ตามไปด้วย

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีขึ้นไป สาขาวทิ ยาศาสตร์คอมพวิ เตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ หรือสาขาอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2. มที กั ษะในการเขียนโปรแกรมการสรา้ งและออกแบบเวบ็ ไซต์ เชน่ Java HTML 3. ทักษะในการวเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ัญหาอย่ใู นเกณฑ์ดี 4. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ชอบและสนใจที่จะพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ ในการใชร้ ะบบงานคอมพิวเตอร์ 5. มที ักษะในการตดิ ต่อสอ่ื สาร 6. สามารถท�ำงานเปน็ ทมี ได้ 7. ตัง้ ใจ อดทน มคี วามรับผิดชอบสงู สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา สาขาวศิ วกรรมซอฟต์แวร์ และวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ ในสถาบนั การศกึ ษา สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการ การอุดมศกึ ษา อาทิ - มหาวิทยาลยั พายัพ เวบ็ ไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศัพท์ 0-5330-4805 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เว็บไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เว็บไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427- 0039, 0-2427-0059 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http:// www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 99 - มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ เวบ็ ไซต์ http://www. spu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-9120-39 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา อาท ิ - มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศพั ท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวิทยาลัยขอนแก่น เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั รงั สิต เว็บไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศัพท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เวบ็ ไซต์ http://www.swu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2664-1000 โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผทู้ มี่ คี วามสามารถประสบการณใ์ นการออกแบบเวบ็ ไซต์ วเิ คราะหร์ ะบบการท�ำงาน มที กั ษะในการสอื่ สารดี มโี อกาสจะไดเ้ ลอื่ นตำ� แหนง่ เปน็ ผชู้ ำ� นาญการในการออกแบบเวบ็ ไซต์ สามารถตง้ั กจิ การของตน โดยรบั เขยี นโปรแกรม และออกแบบเว็บไซต์ใหก้ บั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ รบั เป็นอาจารย์สอนพเิ ศษตามสถาบนั คอมพวิ เตอรไ์ ด้

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชพี ท่ีเกย่ี วเนอ่ื ง ผู้ควบคุมระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์การส่ือสารคอมพิวเตอร์ นกั วเิ คราะหง์ านฐานขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ นกั บรหิ ารงานฐานขอ้ มลู วศิ วกรเกย่ี วกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ วศิ วกรเกยี่ วกบั ซอฟต์แวร์ ผ้เู ขียนโปรแกรมควบคุมระบบงานคอมพวิ เตอร์ และผ้ใู ชร้ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ แหลง่ ข้อมูลอ่นื ๆ - ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เว็บไซต์ http://www.nectec. or.th/ite โทรศพั ท์ 02-642-5001-10 - สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศัพท์ 02-962-1348 - ศูนยก์ ลางความรู้แห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) เวบ็ ไซต์ http://www. tkc.go.th/ โทรศพั ท์ 02-505-7370 - โครงการจัดท�ำเอกสารบนเวบ็ เว็บไซต์ http://www.ohoipst.net โทรศพั ท์ 02-392-4021 - โครงการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ http://ccp.nectec.or.th/ โทรศัพท์ 02-564-6900 100

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ Electronic Commerce นยิ ามอาชีพ ท�ำหน้าท่ีเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การขายสินค้าให้กับ สถานประกอบการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงจะต้องเจรจา สื่อสารกับผู้ซ้ือในเรื่องการปิดการขาย เงื่อนไขการซื้อขาย การ แก้ปัญหาก่อนและหลังการขาย และการให้บริการหลังการขาย ลกั ษณะของงานท่ีทำ� ผู้ประกอบอาชีพน้ี มีหน้าท่ีในการขายสินค้าให้กับสถาน ประกอบการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงมีลักษณะงานครอบคลุม งานในด้านต่าง ๆ ดงั นี้ 1. เจรจาส่ือสารระหว่างผู้ซื้อหรือกลุ่มผู้ที่คาดหวังว่าจะเป็นลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย โดยมีจุดมุ่งหมาย เพือ่ ชว่ ยให้ผู้ซื้อรจู้ กั สินคา้ กระต้นุ ความสนใจ สร้างความพอใจในตวั สินค้า 2. ท�ำการปิดการขาย และเจรจาเร่ืองเงื่อนไขการซ้ือขาย และให้ค�ำปรึกษาแก่ลูกค้า รวมท้ังแก้ปัญหา ทอ่ี าจเกดิ ขึน้ กอ่ นการขายและหลงั การขาย ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 101 3. ประสานงานกับพนักงานฝ่ายอ่ืน ๆ ของสถานประกอบการ เช่น ฝ่ายจัดส่งสินค้าให้แก่ผู้บริโภค และ ฝ่ายการเงนิ เม่อื มกี ารจา่ ยเงนิ ค่าสินค้า เพื่อจะไดอ้ อกใบเสรจ็ รับเงินแก่ลกู ค้าตอ่ ไป 4. อาจต้องให้บริการหลังการขายแก่ลูกค้า เช่น การตรวจสอบผลิตภัณฑ์หลังการซื้อสินค้าหรือเปล่ียน ช้ินส่วนทีช่ �ำรดุ ให้แกล่ ูกคา้ ก็ติดตอ่ ประสานงานฝ่ายชา่ งเทคนคิ เปน็ ผดู้ ำ� เนินการให้บริการแก่ลูกค้าตอ่ ไป เป็นตน้ สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขา การตลาด หรอื สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สามารถปฏบิ ตั งิ านในสถานประกอบการภาคเอกชนหรอื รฐั วสิ าหกจิ ทตี่ อ้ งการขยาย ช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าหรือบริการของตน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ตามวุฒิการศึกษา สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงื่อนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงาน วันละ 8 ชวั่ โมง อาจท�ำงานลว่ งเวลา วันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยดุ ตามความจ�ำเปน็ สภาพการทำ� งาน ผู้ประกอบอาชีพนี้จะท�ำงานในส�ำนักงานทั่วไป ในการท�ำงานต้องมีความรู้และใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาประกอบการทำ� งาน อาจมกี ารสือ่ สารดว้ ยภาษาอังกฤษในการทำ� งาน ลักษณะการท�ำงานจะตอ้ งทำ� งานกันเป็น ทมี ใหญร่ ว่ มกบั ฝา่ ยบญั ชี ฝา่ ยผลติ ฝา่ ยจดั จำ� หนา่ ย ฝา่ ยขาย ฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ การเขา้ ถงึ ลกู คา้ รายบคุ คล และ จะตอ้ งติดตามสถานการณ์ทางการตลาดอย่างสม�ำ่ เสมอ

2ท0ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานท�ำ Department of Employment ปจั จบุ นั ภาวการณต์ ลาดของอตุ สาหกรรมโดยมาก ซง่ึ รวมถงึ อตุ สาหกรรมไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ะเปน็ ของ ผซู้ อื้ หรอื ผบู้ รโิ ภคโดยแทจ้ รงิ เพอื่ สนองความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค นกั พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ อ้ งหาชอ่ งทางการตลาด เฉพาะกลมุ่ เพ่ือเจาะกลุม่ ผู้บริโภคโดยตรง ทำ� ให้สามารถน�ำสนิ คา้ หรอื ผลิตภัณฑ์ไปสูต่ ลาดท่ตี อ้ งการ เป็นทรี่ ูจ้ กั แพร่ หลาย ขณะนี้การตลาดของโลกส่วนหนึง่ หรือมากกวา่ ครึ่งหนึง่ ซอื้ ขายกันอยู่บนอนิ เทอรเ์ น็ต ซง่ึ พนักงานขายสนิ ค้า จะสง่ั สนิ คา้ ดว้ ยระบบเทคโนโลยอี นั ทนั สมยั จากคลงั สนิ คา้ ทใ่ี กลท้ ส่ี ดุ ไปสง่ ใหล้ กู คา้ ซงึ่ อาจอยใู่ นบรเิ วณเดยี วกนั หรอื ขา้ มทวปี ดังนน้ั ตอ้ งคำ� นึงถงึ การให้ขอ้ มูลของสินคา้ ใหผ้ ูบ้ รโิ ภคทราบมากที่สดุ เท่าท่ีจะมากได้ เนอ่ื งจากการแขง่ ขันทางการคา้ ท้ังภายในและต่างประเทศมีความรนุ แรงมากขน้ึ นักพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกลและสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารท่ีมีได้ และมีประสบการณ์ จึงเป็นท่ีต้องการของ องคก์ รธุรกจิ 102 คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี คณะ บรหิ ารธรุ กจิ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการตลาด หรอื สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. รจู้ กั การใช้เทคโนโลยขี ้อมลู ขา่ วสารและ การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการท�ำงาน 3. ใชภ้ าษาองั กฤษไดด้ ี 4. เขา้ ใจธรุ กจิ การตลาดและสนิ คา้ ตอ้ งรอบรู้ ในสินค้าของตนเองและค่แู ข่งขัน 5. เขา้ ใจกฎระเบยี บการค้าระหวา่ งประเทศ และมคี วามรู้เกย่ี วกบั กฎหมายธุรกรรมพาณชิ ยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ 6. กล้าทีจ่ ะตัดสินใจในการแกไ้ ขปญั หา 7. กระตอื รือรน้ มีมนษุ ยสมั พนั ธด์ ี สามารถท�ำงานเปน็ ทีมได้ดี สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาวชิ าการตลาด หรอื สาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในสถาบนั การศกึ ษาทสี่ งั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาเทคโนโลยรี าชมงคล เว็บไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศัพท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี เวบ็ ไซต์ http://www.sut.ac.th โทรศพั ท์ 0-4422-3000 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เว็บไซต์ http://www.psu.ac.th โทรศพั ท์ 0-7421-1030-49

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ นักพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในระดับต้นต้องสั่งสมเรียนรู้ประสบการณ์ในหน้าที่ต่าง ๆ ของแผนกอย่างครบ ถ้วน ซงึ่ ต้องรแู้ ละเข้าใจธรรมชาติของตลาดอปุ โภค และบรโิ ภคแลว้ ยังตอ้ งรจู้ ักธรรมชาตผิ ลิตภณั ฑ์ สินคา้ แตล่ ะตัว ขององคก์ รและควรเขา้ รบั การอบรมการทำ� แผนทางการตลาดและแผนธรุ กจิ เพอ่ื เพมิ่ พนู ความร ู้ เมอื่ มปี ระสบการณ์ มากขึ้นสามารถเลอ่ื นต�ำแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้จัดการแผนกการตลาด หรือเปน็ ผอู้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดขององค์กรได้ อาชีพที่เกีย่ วเนื่อง นกั ประชาสัมพนั ธ์ พนักงานขาย นกั การวิจัยทางการตลาด วิจัยพฤติกรรมผบู้ ริโภค เจา้ หน้าทีฝ่ า่ ยวางแผน การผลิต ฝ่ายขายโฆษณา ผู้จดั การผลติ ภณั ฑ์ ผจู้ ดั การตราผลติ ภณั ฑ์ แหล่งขอ้ มลู อ่นื ๆ - ศูนยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th โทรศัพท์ 0-2564-6900 - ศนู ยพ์ ฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวบ็ ไซต์ http://www.cdit.co.th โทรศัพท์ 0-2421-7278-9 - สมาคมธรุ กจิ คอมพวิ เตอรไ์ ทย เวบ็ ไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - บริษัท เวอร์ชวลคิวบ์ จำ� กัด เวบ็ ไซต์ http://www.virtualcube.biz โทรศพั ท์ 0-2715-0892 - บริษัท อินเทอรเ์ นต็ เวนเจอร์ จำ� กัด เวบ็ ไซต์ http://www.iv.co.th โทรศพั ท์ 0-263-96339 103

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักวิเคราะห์ระบบงานคอมพวิ เตอร์ System Analyst นยิ ามอาชีพ วางแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใช้ งาน ทดสอบ ประเมนิ ผลและบ�ำรุงรักษาระบบงาน คอมพวิ เตอร์ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. นกั วิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์ เร่ิม งานโดยการหาข้อมูล ศึกษาและค้นหาปัญหาหรือ ความต้องการขององค์กร ความต้องการของผู้ใช้งาน ระบบคอมพิวเตอร์ ก�ำหนดเป้าหมายของการท�ำงาน ค้นหาปัญหาและแบ่งปัญหาต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกระบวนการท�ำงานย่อย เพ่ือสะดวกในการพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์และการแก้ปญั หา 2. ออกแบบรายงานของคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้และฝ่ายบริหารเพ่ือประกอบการ ตัดสินใจอาจจะต้องท�ำข้อมูลเปรียบเทียบการได้เปรียบในการใช้โปรแกรมหรือระบบท่ีตนได้พัฒนาข้ึนเสนอ ต่อผู้บริหารเพ่ือประกอบการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 104 ใหม่น้นั 3. ประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยในการพฒั นาระบบนนั้ ๆ ใหก้ บั ฝา่ ยบรหิ ารในการตดั สนิ ใจ เมอ่ื ไดร้ บั อนมุ ตั แิ ลว้ ต้องทดสอบให้มั่นใจว่าโปรแกรมหรือระบบปฏิบัติการ ท�ำงานได้จริงตามที่ได้ออกแบบไว้ จากน้ันต้องออกแบบ รายละเอยี ดงานทีต่ อ้ งการ ตลอดจนขน้ั ตอนของการทำ� งานตา่ ง ๆ ของผูเ้ ขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 4. ทำ� งานร่วมกบั ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พ่ือหา ข้อบกพรอ่ งของโปรแกรม และทดสอบโปรแกรมท่ี เขียนขึ้นใหม่ว่าสามารถเขา้ กันไดก้ ับระบบเดมิ ท่มี ีอยู่แล้วได้หรอื ไม่ 5. วิเคราะหร์ ะบบเครอื ข่ายต่าง ๆ เชน่ LAN WAN Internet หรือ Intranet เพอ่ื ให้การสอื่ สารเปน็ ไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ต้องจ�ำลองแบบเครือข่าย (Network) ทดสอบประสิทธิภาพในการท�ำงาน ระบบความ ปลอดภัยของข้อมลู (Security) และวธิ ีการปอ้ งกนั การลักลอบเข้ามาในระบบโดยไม่ได้รบั อนุญาต วเิ คราะหก์ ารใช้ ฮารด์ แวร์และโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ เี่ หมาะสมกับเครอื ข่าย (Network) ขององคก์ ร สภาพการจา้ งงาน ผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีใหม่ ๆ ถ้าท�ำงานกับธุรกิจเอกชนจะมีรายได้อยู่ระหว่าง 17,000 - 20,000 บาทต่อเดือน ขึ้นอยู่กับความสามารถและประสบการณ์ของแต่ละคนในระหว่างการศึกษาว่าได้ฝึกฝน ด้วยตนเองหรือฝึกงานกับองค์กรใด ได้ตรงกับสายงานท่ีตนได้งานนั้น ๆ หรือไม่ เงินเดือนสูงสุดอาจขึ้นไปได้ถึง 80,000 - 150,000 บาท หลังจากน้นั ต้องมีการเล่ือนตำ� แหน่งสูงข้ึนไป อน่งึ ส่วนมากผูท้ ีม่ คี วามรู้ สูงกว่าปริญญาตรี จะไม่สนใจงานประเภทน้ี เพราะเหน็ ว่าไม่ใชง่ านสำ� หรับผูบ้ รหิ าร โดยปกติ นกั วเิ คราะหร์ ะบบงานคอมพวิ เตอรท์ ำ� งานวนั ละ 8 ชว่ั โมง เวน้ แตม่ งี านเรง่ ดว่ นและจ�ำเปน็ กอ็ าจจะ ต้องท�ำงานมากกวา่ วนั ละ 8 ชว่ั โมง แตก่ ็จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนการท�ำงานตามระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์ท่ี แต่ละองค์กร จะก�ำหนดขนึ้

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สว่ นใหญท่ ำ� งานในสำ� นกั งานมสี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกสบายเชน่ ส�ำนกั งานทว่ั ไป มอี อกไปตดิ ตอ่ ตา่ งส�ำนกั งาน บา้ งเป็นครงั้ คราวตามความจำ� เป็นทำ� งานสปั ดาห์ละ 40 ช่ัวโมง แตก่ ารท�ำงานล่วงเวลาเป็นเรื่องปกติในนักวิเคราะห์ ระบบงานคอมพิวเตอร์อาจจะต้องมาท�ำงานในวันเสาร์ อาทิตย์ เพราะความต้องการท่ีเร่งรีบให้ทันกับการใช้งาน ในวนั ปกตทิ ว่ั ไปของแผนกอน่ื การนงั่ อยหู่ นา้ จอคอมพวิ เตอรน์ าน ๆ อาจจะเปน็ อนั ตรายตอ่ สายตาได้ การทตี่ อ้ งพมิ พ์ บนแป้นพิมพ์นาน ๆ อาจจะมีปญั หาทางดา้ นปวดขอ้ มือปวดแขน และการนง่ั ตัวตรงนาน ๆ ก็จะท�ำให้ปวดหลงั ได้ โอกาสในการมงี านท�ำ นายจา้ งมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งการจา้ งผทู้ ม่ี คี วามรทู้ างดา้ นเทคโนโลยใี หม่ ๆ นอี้ ยตู่ ลอดเวลา ดงั นน้ั จงึ มแี นวโนม้ ที่จะมีการว่าจ้างนักวิเคราะห์ระบบงานคอมพิวเตอร์อิสระที่มีความช�ำนาญเฉพาะด้านมาท�ำงานให้กับองค์กรเป็น งาน ๆ ไป เช่น ท�ำเป็นโครงการ หรือเป็นปี หรือจ�ำนวนเดือนท่ีแน่นอน เพราะเมื่อจบโครงการแล้ว นายจ้าง ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งจ้างนกั วิเคราะหร์ ะบบงานคอมพิวเตอร์อกี ต่อไป แตเ่ มอ่ื มีการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีใหม่ ก็วา่ จา้ งมา ดำ� เนนิ การอกี ผู้ท่ีมีประสบการณ์ทางด้านธุรกิจมาแล้วและมีความสามารถทางด้านการวิเคราะห์ระบบงาน คอมพิวเตอร์ จะมโี อกาสหางานไดง้ า่ ยกว่าผทู้ ี่มีประสบการณท์ างดา้ นคอมพิวเตอรอ์ ย่างเดยี ว คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. มีความรูด้ ้านการเขยี นโปรแกรม 2. ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านคอมพิวเตอร์เป็นอย่างน้อย และมีความรู้ในการเขียนภาษา คอมพิวเตอร์ 3. มีทกั ษะในการก�ำหนดออกแบบระบบทั้งหมด วิเคราะหแ์ ละการแกป้ ญั หา 4. สามารถแนะน�ำทางเทคนิคกบั โปรแกรมเมอร์ได้ 5. มที ักษะในการตดิ ต่อส่ือสารและมมี นุษยสมั พนั ธด์ ี 105 สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา สถาบนั อุดมศึกษาทุกสถาบันทง้ั ภาครัฐและเอกชน โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ระบบการท�ำงาน การท�ำงบประมาณรายจ่ายขององค์กร และมีทักษะ ในการส่ือสารดีจะมีโอกาสเล่ือนต�ำแหน่งขึ้นเป็นผู้จัดการฝ่ายคอมพิวเตอร์ และเป็นผู้บริหารขององค์กรในท่ีสุด ส�ำหรับผทู้ ีร่ กั อาชีพอสิ ระสามารถจดั ตัง้ กิจการของตนเองเพอ่ื เปน็ ทป่ี รึกษาทางดา้ นคอมพิวเตอรใ์ หก้ บั องค์กรต่าง ๆ อาชพี ทีเ่ กยี่ วเนื่อง คอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ด้านการเงิน นักสถิติ นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์ด้าน การบรหิ าร เปน็ ตน้ แหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ - ศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์แหง่ ชาติ (NECTEC) - สมาคมคอมพวิ เตอรแ์ ห่งประเทศไทย

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั แสดง Actor / Actress นิยามอาชีพ แสดงบทบาทตา่ ง ๆ ในละคร ภาพยนตร์ รายการ หรือการแสดงอื่น ๆ ศึกษาเน้ือเรื่องและบทบาทท่ีได้ รับมอบหมายให้แสดง ซ้อมและแสดงบทบาทโดยการ ใช้ถ้อยค�ำ สีหน้า แววตา กิริยาท่าทาง อาจร้องเพลง เต้นร�ำ หรือฟ้อนร�ำ อาจช�ำนาญในการแสดงบทบาท อย่างใดอย่างหน่ึง หรือการแสดงประเภทใดประเภท หน่ึง และอาจมีชื่อเรียกตามบทบาทหรือประเภท ของการแสดง ลกั ษณะของงานที่ท�ำ แสดงบทบาทตา่ ง ๆ ในการแสดงละครหรือภาพยนตร์ ซอ้ มบทบาททตี่ ้องแสดงโดยการศึกษาเนือ้ เรื่อง และ บททไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหแ้ สดง แสดงบทตลก บททเ่ี ครง่ เครยี ด โดยการใชถ้ อ้ ยค�ำหรอื กริ ยิ าทา่ ทาง แสดงประกอบ อาจ ร้องเพลง เตน้ รำ� หรือฟอ้ นร�ำ อาจชำ� นาญในการแสดงบทบาทอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรอื การแสดงประเภทใดประเภท 106 หนึ่งและอาจมีชอื่ เรยี กตามบทบาทหรือประเภทของการแสดง สภาพการจ้างงาน “นักแสดงสาธารณะ” หมายถึง นักแสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ นักร้อง นักดนตรี นักแสดง เพ่ือความบันเทิงใด ๆ รวมถึงนักกีฬาอาชีพ ไม่ว่าจะแสดงเดี่ยว เป็นหมู่หรือคณะ หรือแข่งขันเป็นทีม และค�ำว่า “รายได้ของนักแสดงสาธารณะ” หมายถึง เงินได้พึงประเมินหรือค่าตอบแทนจากการประกอบการอาชีพ รวมถึง รางวัลและประโยชน์ใด ๆ ทไ่ี ด้เนือ่ งจากการแสดง แขง่ ขัน จ่ายเหมา หรอื การกระท�ำในทำ� นองเดียวกนั ละครหน่ึงเร่ือง คิดเป็นตอน เฉลี่ยตอนละ 8,000 บาท (ในกรณีที่เป็นนักแสดงหน้าใหม่) ส่วนรายได้ ของนักแสดงต่อหน่ึงตอนท่ีมีราคาแพงที่สุด ตกอยู่ประมาณตอนละ 150,000 บาท ถ้าได้รับบทพระเอก/ นางเอกของภาพยนตร์ รายได้เฉล่ียสูงถึงหลักล้านต่อเรื่อง ในละครยาวต่อตอน มีเฉลี่ย 40-60 ฉาก คิดเฉล่ียต่อหนึ่งเร่ืองมีประมาณ 20 - 28 ตอน ใช้เวลาถ่ายท�ำแล้วแต่ความยากของบทและสถานที่ (Location) สว่ นใหญ่ถา้ เรง่ ถา่ ยทำ� จะใชเ้ วลาประมาณ4เดอื นหรอื อยา่ งชา้ ใชเ้ วลาประมาณ6-8เดอื นสว่ นการออกอากาศ(ออนแอร)์ นนั้ ใชเ้ วลาครง้ั ละหนงึ่ ตอน/วนั ทงั้ น้ี การถา่ ยทำ� ขน้ึ อยกู่ บั ควิ นกั แสดงแตล่ ะคน ความยากของแตล่ ะฉากและสถานทถี่ า่ ยทำ� ในหนงึ่ วนั จะถา่ ยประมาณ 20 ฉาก โหดสดุ ก็ 50 ฉากขนึ้ ไป โดยเฉพาะกรณที ถี่ า่ ยไปออกอากาศไป ส่วนตัวประกอบหรือท่ีเรียกกันว่าเอ็กซ์ตร้า (Extra) ถ้าแสดงบทเดินผ่านไปมา จะได้ประมาณ 500 บาท แตไ่ มร่ วมกบั การหกั คา่ หวั กบั โมเดลลงิ่ ถา้ มบี ทพดู กต็ กเฉลยี่ 700 - 1,500 บาท ถา้ ระดบั พรติ ตจ้ี ะจา้ งมาเดนิ หรอื พดู จะอยทู่ ปี่ ระมาณ 2,500 บาทขนึ้ ไป

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment งานทที่ ำ� ไมใ่ ชง่ านประจำ� แบบไมม่ สี ญั ญาผกู ขาด บางครง้ั งานเขา้ มาเยอะกต็ อ้ งทำ� งานทกุ วนั เหมอื นงานประจำ� ในวนั ทอี่ อกกองอาจจะตอ้ งทำ� งานในวนั เสาร์ อาทติ ย์ หรอื อาจจะเรมิ่ งานและเลกิ งานไมต่ รงเวลา เวลาเลกิ งานอาจไมต่ รงตามทร่ี ะบไุ ว้ บางวนั อาจเลกิ เรว็ กวา่ เวลาทก่ี ำ� หนด บางวนั อาจจะตอ้ งเลกิ ชา้ กวา่ เวลา ทกี่ ำ� หนด โอกาสในการมีงานท�ำ อาชีพนักแสดงเป็นอาชพี ที่ไม่มคี วามมั่นคง อายุในการทำ� งานอาชีพนจ้ี ะไมย่ นื ยาว แต่รายได้ค่อนข้างสงู คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชพี 1. ขยนั ขนั แขง็ ในการฝกึ ซอ้ ม ทอ่ งบท จะชว่ ยใหม้ คี วามคลอ่ งตวั ชว่ ยเพม่ิ พนู ฝมี อื เพมิ่ พนู ความเขา้ ใจ เพมิ่ พนู ความเร็ว การขยันฝึกซอ้ มน้นั จะตอ้ งทำ� ให้เปน็ นสิ ัยแม้จะไดช้ ื่อวา่ เป็นนกั แสดงที่เก่งแล้ว มฝี ีมอื เปน็ ทยี่ อมรับของคน โดยท่วั ไปแล้ว กย็ งั ตอ้ งหม่นั ฝกึ ซ้อมอยู่เสมอ 2. หมนั่ ศกึ ษาหาความรทู้ างศลิ ปะการแสดงเพม่ิ เตมิ อยเู่ สมอ จากครอู าจารย์ เพอ่ื นรว่ มงาน จากตำ� รบั ตำ� รา จากการฟัง ฯลฯ วิทยาการและเทคโนโลยีนั้นก้าวไปข้างหน้าตลอดเวลา หากไม่หมั่นศึกษาจะกลายเป็นคนล้าหลัง และตามเพ่ือนพ้องไม่ทนั 3. มีความละเอียดลออในการดู การอ่านบท การเขียนบท และการเล่นละคร อย่าปล่อยให้รายละเอียด ความสวยงามท่นี ่าสนใจ หรือกลเม็ดตา่ ง ๆ ผา่ นไป โดยมไิ ดก้ ระทบโสตประสาทของเรา 4. ลดอัตตาในตวั เองใหม้ ากท่สี ดุ จงเป็นคนถ่อมตัว อย่าถอื เอาความคดิ ของตวั เองเปน็ ใหญ่ อย่าคิดวา่ เรา ตอ้ งเป็นฝา่ ยถูกตลอดกาล การคิดเชน่ นั้น จะท�ำให้เราไม่ไดอ้ ะไรใหม่ ๆ และกลายเป็นคนโง่ท่คี ดิ วา่ ตัวเองฉลาด ละครนน้ั เปน็ ศลิ ปะอสิ ระทไี่ รข้ อบเขต ความสวยงามมไิ ดอ้ ยทู่ เี่ ลน่ ไดถ้ กู ตอ้ งตามบทตน้ ฉบบั เทา่ นน้ั แตอ่ ยทู่ ผี่ เู้ ลน่ 107 สามารถสอื่ ถงึ ผชู้ มไดด้ เี พยี งไร การมอี ตั ตามากจะทำ� ใหเ้ ราถกู ขงั อยแู่ ตใ่ นความคดิ คำ� นงึ ของเราคนเดยี ว ไมอ่ าจขา้ มพน้ ไป รบั ความเปน็ อสิ ระในทางความคดิ ใหม่ ๆ ทง้ั ทเ่ี รากม็ คี วามสามารถในการสรา้ งสรรคไ์ ดด้ อี กี คนหนง่ึ 5. อย่าต�ำหนิติเตียนผู้ที่มีฝีมือการแสดงด้อยกว่า แนะน�ำสิ่งท่ีน่าสนใจแก่เขาตามก�ำลังความสามารถของ เขาที่จะรบั ได้ จงให้กำ� ลงั ใจเขาและส่งเสรมิ ให้เขามีฝมี อื ข้ึนมาเสมอเรา หรอื ก้าวไปไกลกวา่ เรา ความเจรญิ และความ ดงี ามของสังคมขน้ึ อย่กู ับบุคคลที่มีคุณภาพเป็นจำ� นวนมาก 6. เปน็ ผทู้ ม่ี มี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ี ไมว่ า่ ในหมเู่ พอื่ นรว่ มงานหรอื ผเู้ กย่ี วขอ้ งอนื่ ๆ ในธรุ กจิ การละคร รบั ฟงั และ เคารพในความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื อยา่ เปน็ ตวั สรา้ งปญั หาในกลมุ่ คนทรี่ ว่ มงานกบั เรา จะทำ� ใหเ้ ราเปน็ บคุ คลทนี่ า่ เบอ่ื หนา่ ย 7. เปน็ ผทู้ ี่ตรงต่อเวลา ไมว่ า่ จะเปน็ การนัดฝกึ ซ้อมหรอื ในการแสดงจริง ต้องตรงต่อเวลาจริง ๆ ท้ังยงั ต้อง เผื่อเวลาไวส้ �ำหรบั อปุ สรรคในการเดินทางด้วย งานทกุ งานควรเรม่ิ ตน้ และจบลงตามก�ำหนดการ ไม่มเี หตผุ ลใด ๆ ท่ี ฟังไดแ้ ละอภยั ใหไ้ ด้สำ� หรับความผดิ พลาดเร่ืองเวลา 8. เมื่อมีโอกาสถ่ายทอดความรู้สึกผู้อ่ืน จงกระท�ำในลักษณะแนะน�ำ แจกแจงช้ีให้เห็น จงค�ำนึงถึงความ ยอมรบั ในตวั เราจากผเู้ รยี นใหม้ ากทสี่ ดุ และถา่ ยทอดความรทู้ มี่ โี ดยไมป่ ดิ บงั อำ� พราง ผรู้ บั จะรบั ความรทู้ เ่ี ราถา่ ยทอด ให้ได้ตามความสามารถในการเรียนรู้ของเขา การถ่ายทอดความรู้โดยไม่ปิดบังจะก่อให้เกิดลักษณะท่ีเรียกว่าการต่อ ยอดทางการเรียน ศิษย์ที่รับความรู้ได้เร็วจะน�ำความรู้ท่ีได้ไปฝึกฝนหรือค้นคว้าต่อออกไปอีก ท�ำให้ความรู้ ความสามารถแตกสาขาออกไปเร่อื ย ๆ ไมม่ ีทสี่ ้ินสดุ

ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 9. จงเคารพในสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลของผอู้ น่ื อยา่ ถอื วสิ าสะหยบิ หรอื เคลอื่ นยา้ ยของใชข้ องผอู้ นื่ โดยเจา้ ของมไิ ด้ Department of Employment อนุญาตเสยี กอ่ น 10. นักแสดงตอ้ งรหู้ น้าทข่ี องตนเอง เมือ่ แสดงละครอยูบ่ นเวทีหรอื หนา้ กลอ้ งตอ้ งรู้จักรบั ผิดชอบในการเล่น ละครใหส้ มบทบาททตี่ นเองไดร้ บั ใหด้ ที ส่ี ดุ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สง่ั ในบทละครของตนเองอยา่ งดที สี่ ดุ ไมค่ วรกา้ วกา่ ยไปเลน่ บทพดู ทม่ี ผี เู้ ลน่ อยแู่ ลว้ จะทำ� ใหเ้ กดิ ความสบั สนในการตอ่ บทและเกดิ การผดิ ควิ เนอ่ื งจากการเลน่ ผดิ เลน่ ถกู ซงึ่ ไมเ่ ปน็ ผลดตี ่อการแสดงละครเลยแม้แตน่ อ้ ย 11. จงเปน็ ผมู้ องโลกในแงด่ เี สมอใหอ้ ภยั คน อยา่ เปน็ คนโกรธงา่ ย อยา่ ใชย้ าเสพตดิ ชว่ ยสรา้ งอารมณใ์ นการเลน่ ละคร นกั แสดงควรมอี ารมณส์ นุ ทรยี โ์ ดยธรรมชาติ มองโลกในแงด่ ี มองโลกใหก้ วา้ งเพอ่ื ความมสี ขุ ภาพจติ ทดี่ ใี นชวี ติ 12. อยา่ เปรียบเทียบตนเองกบั ผอู้ ่ืน ท้งั ฝีมือและพฤติกรรม คนแตล่ ะคนมจี รติ และส่งิ เอ้ืออำ� นวยที่แตกตา่ ง กนั โดยธรรมชาติ ไมม่ อี ะไรทจี่ ะเปรยี บเทยี บกนั ได้ ความกระตอื รอื รน้ และทะเยอทะยานทจี่ ะมฝี มี อื และความรทู้ มี่ าก ข้ึน ควรขึ้นอย่กู บั ความท้าทายจากสง่ิ ทเ่ี ราเรียนรู้ มิควรให้เกิดจากความคิดที่จะเอาชนะผอู้ น่ื เราจะไม่มวี ันชนะใคร ตราบเท่าท่ีเราอยากเอาชนะดี สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - สาขาศลิ ปการละคร ภาควชิ าศลิ ปการละคร คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สำ� นกั งาน ชนั้ 8 อาคารบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0559-7252, 0-218-4802 โทรสาร 0-2218-4803 - สาขาส่ือสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทมุ วนั กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-3555, 0-2218-2205 อีเมล [email protected] - คณะนเิ ทศศาสตร์ สาขาวชิ าการแสดง มหาวทิ ยาลยั รงั สติ อาคาร 15 (Digital Multimedia Complex) 108 52/347 พหลโยธนิ 87 ถนนพหลโยธนิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12000 โทรศพั ท์ 08-3856-0068 เวบ็ ไซต์ http://ca.rsu.ac.th - คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาศิลปะการแสดง มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ 9/1 หมู่ที่ 5 ถนนพหลโยธิน ต�ำบล คลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 เว็บไซต์ http://buca.ac.th โทรศัพท์ 0-2902-0299 ตอ่ 2650, 2399 โทรสาร 0-2516-6118 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี รบั ราชการหรอื ท�ำงานเอกชน เปน็ นกั แสดง นกั ร้อง นักดนตรี โอกาสก้าวหน้าขึน้ อยกู่ บั ความสามารถของ ผูแ้ สดง และความนยิ มของผู้ชม อาชีพท่เี กย่ี วเนือ่ ง นกั เขยี นบทละครและบทบาทการแสดงตา่ ง ๆ นกั ออกแบบงานดา้ นการสอื่ สารการแสดง ผฝู้ กึ สอนการแสดง ผกู้ �ำกบั การแสดง ผ้ปู ระสานงานองค์กรการแสดง นักวิจารณ์งานสอ่ื สารการแสดง แหลง่ ข้อมลู อน่ื ๆ - ข่าวประสมั พนั ธจ์ ากทางโทรทัศน์ หรอื เว็บไซตจ์ ากทางสถานโี ทรทัศน์ - เวทีการประกวดหานักแสดงหนา้ ใหม่ จากทางสถานีโทรทัศนช์ อ่ งตา่ ง ๆ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักหนังสอื พิมพ์ Journalists นยิ ามอาชีพ ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้สื่อข่าว หรือนักข่าวให้กับ สื่อมวลชน หนังสือพิมพ์รายวัน หนังสือพิมพ์ รายสปั ดาห์ นติ ยสารรายปกั ษ์ หรอื นติ ยสารรายเดอื น ลกั ษณะของงานทที่ ำ� นักหนังสือพิมพ์ ท�ำหน้าท่ีเหมือนผู้ส่ือข่าว ทุกประการ คือหาข่าว ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ การถ่ายภาพ บันทึกเทป เข้าร่วมฟังการแถลงข่าว ซักถาม ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม จากแหล่งข่าว ท้ังจากบุคคล เพื่อให้เนื้อหาของข่าวชัดเจน ครอบคลุมข้อมูลทุกด้านให้ตรงกับข้อเท็จจริง มีความเป็นกลาง มีสารประโยชน์ตอ่ ผู้บริโภคขา่ วสาร และทนั เหตกุ ารณจ์ รงิ นักหนังสือพิมพ์จะต้องมีอุปกรณ์และเคร่ืองมือส่ือสารท่ีทันสมัยทุกชนิด เพื่อให้สามารถส่งข่าวให้ทันเวลา หรือเหตกุ ารณ์ กรอบของหน้าที่ ความรับผิดชอบ และจรรยาบรรณนักหนังสอื พมิ พ์ มีดงั น้ี - หาขา่ วและรายงานขา่ วดว้ ยความซอื่ ตรง สภุ าพ การเสนอขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สารประโยชนแ์ ละไมบ่ ดิ เบอื น 109 ข้อเท็จจริงด้วยประการใด ๆ - ปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซึง่ ข่าว ดว้ ยวิธีการอันชอบธรรม - แสดงตนเองว่าเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ก่อนสัมภาษณ์บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ด้วยการให้เกียรติแหล่งข่าว ในการตงั้ ค�ำถามและข้อซักถาม และตอ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมในการนำ� มาเผยแพร่ดว้ ย - ส่งรายงานขา่ วให้บรรณาธิการพจิ ารณาเพอ่ื พิมพเ์ ผยแพร่ตอ่ ไป - ต้องท�ำงานท้ังในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ หรือในสถานท่ีท่ีอันตราย มีความเสี่ยงสูง สภาพการจ้างงาน นักหนังสือพิมพ์ท่ีมีความสามารถมีรายได้หรือเงินเดือน รวมทั้งค่ายานพาหนะเป็นค่าตอบแทนค่อนข้างสูง นอกเหนือจากสวัสดิการ จากการประกันชีวิตและสุขภาพ ค่าครองชีพ โบนัส หรือเงินสะสมอ่ืนใด ซ่ึงขึ้นอยู่กับ ผลประกอบการ และนโยบายขององค์กรหรือธุรกิจของเจ้าของสื่อ ถ้ามีความสามารถในการถ่ายภาพด้วย จะได้รับค่าถ่ายภาพ หรือค่าเช่าซ้ือลิขสิทธิ์ภาพในอัตราภาพสูงหรือต่�ำกว่าน้ีขึ้นอยู่กับความส�ำคัญของภาพ หรอื ประเทศที่ตอ้ งการซอื้ ภาพ สภาพการทำ� งาน ต้องพร้อมท�ำงานทันทีที่ได้รับมอบหมายงาน ในบางคร้ังต้องท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมง จะผันแปรไปตาม เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในแตล่ ะวนั แตม่ ีกำ� หนดเวลาในการสง่ งานที่แน่นอน ของการปิดต้นฉบบั ข่าว ไดร้ ับมอบหมายจาก หัวหนา้ ข่าว หรอื หวั หน้ากองบรรณาธิการ

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ช่ัวโมงการทำ� งาน ต้องท�ำงานแข่งกับเวลาเพื่อให้ข่าวเสร็จทันเวลาที่จะเข้าสู่กระบวนการบรรณาธิกรและ Department of Employment การพมิ พ์ การทำ� งานจงึ อยภู่ ายใตค้ วามกดดนั ของเงอื่ นไขธรุ กจิ ของสอื่ สง่ิ พมิ พแ์ ตล่ ะประเภท รวมถงึ ความกดดนั ของ สภาวการณท์ �ำขา่ ว และจรรยาบรรณของนกั หนังสือพิมพ์ นกั หนงั สอื พมิ พใ์ นปจั จบุ นั สามารถสง่ ขา่ วผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ มลเ์ ขา้ กองบรรณาธกิ ารไดท้ นั ที นับว่าเป็นการทำ� งานทีส่ ะดวกและมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ ผู้ท่ีปฏิบัติงานนักหนังสือพิมพ์ มีความเสี่ยงสูงในการท�ำงาน เมื่อต้องออกไปท�ำข่าวที่อยู่ในพ้ืนที่ที่มีอิทธิพล หรอื มีอนั ตราย เช่น จากการจลาจล สงคราม หรือภยั พิบตั ิจากธรรมชาติ ซึง่ ไดร้ ับบาดเจ็บ หรือถึงแก่เสยี ชีวติ ได้ คณุ สมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาในสาขาสอื่ สารมวลชน วารสารศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์ หรอื สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ รฐั ศาสตร์ การเมอื งการปกครอง หรอื เศรษฐศาสตร์ เป็นตน้ 2. มคี วามสนใจความเคลอ่ื นไหวของเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งภายในประเทศ และสถานการณข์ องประเทศทวั่ โลก 3. มคี วามตงั้ ใจ รกั ในอาชพี และคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ความจรงิ ของขา่ ว ในเชงิ ลกึ และเชงิ กวา้ ง 4. มคี วามร้ภู าษาต่างประเทศ สามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณส์ ่อื สารทุกชนิด 5. มีทศั นคตทิ ่ดี ี มีความเปน็ กลาง และพรอ้ มท่ีจะถกู ตรวจสอบ 6. สามารถเข้าใจสถานการณ์ คาดการณ์ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ หรือข่าวท่ีเกิดข้ึนได้อย่าง ถูกตอ้ งสมเหตสุ มผล 7. มีความรบั ผิดชอบสงู ซอื่ สตั ย์ สขุ มุ รอบคอบ กลา้ หาญอดทน มีความม่นั ใจในตนเอง ไมท่ ้อถอยในงานที่ ตอ้ งรบั ผิดชอบ 8. สามารถเดนิ ทางไปทำ� ขา่ วได้ทกุ หนทกุ แห่งทวั่ โลก 110 9. มสี ุขภาพแขง็ แรง 10. มมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ี สามารถสรา้ งความสมั พนั ธ์ และเปน็ ทไี่ วว้ างใจของแหลง่ ขา่ ว สามารถเกบ็ รกั ษาความ ลับที่มาของแหลง่ ข่าว อนั อาจทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ แหล่งข่าวได้ 11. เคารพต่อหน้าที่และวชิ าชีพ รักษาและสง่ เสริมเกยี รตคิ ุณ และช่อื เสยี งแหง่ ความเปน็ นกั หนังสือพิมพไ์ ว้ เปน็ อยา่ งดี ไมร่ บั สนิ จา้ งรางวลั หรอื ผลประโยชนใ์ ด ๆ อนั เปน็ จรรยาบรรณของนกั หนงั สอื พมิ พท์ ก่ี ำ� หนดขน้ึ โดยสมาคม นักข่าวและนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2498 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2507 และต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในเรอื่ งสิทธิมนุษยชนอย่างลกึ ซง้ึ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา สถาบันอดุ มศึกษาท้งั ในกรงุ เทพฯ และต่างจงั หวัด โอกาสในการมงี านทำ� การรายงานขา่ วในปจั จบุ นั มคี วามเป็นสากลมากขนึ้ ทัง้ ในระดบั ประเทศ ภมู ิภาค และโลก จงึ นบั เป็นโอกาส อนั ดีของนักส่ือสารมวลชนรนุ่ ใหม่ ๆ มคี วามสามารถในหลาย ๆ ดา้ น หลากหลายภาษา ทงั้ ในการเขยี นขา่ ว เปน็ ภาษาไทยแลว้ ตอ้ งมคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจในภาษาตา่ งประเทศและภาษาคอมพวิ เตอร์ เพราะในวงการนม้ี กี ารซอ้ื ขา่ ว ขายขา่ วทงั้ ในประเทศ และตา่ งประเทศ อกี ท้ังส่อื สง่ิ พมิ พ์มคี วามจำ� เป็นต้องขยายฐานธุรกิจ และปรับตัวให้ก้าวทันการพัฒนาของธุรกิจการสื่อสาร

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักหนังสือพิมพ์ท่ีมีคุณภาพ นอกจากจะได้รับการว่าจ้างจากส�ำนักข่าวต่างประเทศที่ตั้งข้ึนในประเทศ กรมการ ัจดหางาน หนังสือพมิ พ์ฉบับภาษาไทย อังกฤษ จนี และญี่ปนุ่ แลว้ ยังมโี อกาสไดร้ ับการว่าจ้างจากหนงั สอื พิมพต์ ่างประเทศดว้ ย Department of Employment สว่ นในประเทศ สอื่ สงิ่ พมิ พไ์ ทยไดป้ รบั กลยทุ ธก์ ารเสนอขา่ วโดยสง่ นกั หนงั สอื พมิ พ์ ออกทำ� ขา่ วในตา่ งประเทศมากขน้ึ เช่นกัน และยงั มคี วามต้องการนกั หนงั สอื พิมพส์ ายพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทั้งสือ่ อยา่ งอนิ เทอร์เนต็ และเวบ็ ไซต์ ของหนังสอื พมิ พ์ทกุ ฉบบั โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี มโี อกาสเจรญิ เตบิ โต กา้ วหนา้ ไปตามลำ� ดบั คอื หวั หนา้ ขา่ ว บรรณาธกิ ารสายขา่ ว จนถงึ บรรณาธกิ ารหนงั สอื พมิ พ์ หรอื เลอื่ นเปน็ บรรณาธกิ ารผพู้ มิ พ์ ผโู้ ฆษณา ซงึ่ มคี วามรบั ผดิ ชอบ สงู มากเทา่ กบั ผเู้ ปน็ เจา้ ของกจิ การ ในกรณที นี่ กั หนงั สอื พมิ พ์ มคี วามสามารถใชภ้ าษาตา่ ง ประเทศได้ กม็ โี อกาสกา้ วไปสกู่ ารทำ� งานในสำ� นกั ขา่ วตา่ งประเทศ หรอื อาจพฒั นาจากการเขยี นขา่ วมาเปน็ นกั เขยี น นกั ประพนั ธ์ นบั เปน็ การกา้ วหนา้ และการพฒั นาฝมี อื ไปอกี ระดบั หนง่ึ อาชีพที่เก่ียวเนอื่ ง นักประชาสัมพันธ์ นักเขียนบท นักเขียนสารคดี นวนิยาย บรรณาธิการข่าววิทยุและโทรทัศน์ เคเบิ้ลทีวี ข่าวทางอินเทอร์เน็ต นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ พิธีกร นักวิเคราะห์ข่าว อาจารย์พิเศษ ผู้ประกาศข่าว เจา้ หน้าที่ฝ่ายข่าวประจำ� สถานทูต หรือองค์กรระหวา่ งประเทศ แหล่งข้อมลู อ่ืน ๆ 111 - คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการโฆษณา และการประชาสมั พันธ ์ - หนงั สือพิมพ์ เวบ็ ไซต์ แหลง่ จดั หางานของหนังสอื พมิ พ์แต่ละฉบบั - อินเทอร์เน็ต สำ� นกั ข่าวต่างประเทศ - สโมสรผูส้ ื่อขา่ วต่างประเทศ - สโมสรผสู้ ื่อข่าวเศรษฐกิจ - กรมประชาสัมพนั ธ์

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั ออกแบบและสรา้ งภาพการต์ นู ภาพเคลอื่ นไหว Animator นยิ ามอาชีพ ออกแบบและสร้างสรรค์ภาพการ์ตูน ภาพ เคลื่อนไหว เพื่อใช้ในภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ ท้ังบน แผ่นฟิล์มภาพยนตร์ 3 มิติ และ 2 มิติ ผ่านสื่อสาร มวลชนหลากหลายประเภท ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� ผู้ประกอบอาชีพน้ี จะตอ้ งสร้างสรรค์งานภาพ ตัวการ์ตูนท่ีออกมาจากจินตนาการ และใช้เทคนิคทาง คอมพวิ เตอรท์ ำ� ใหเ้ ปน็ ภาพเคลอื่ นไหวไดเ้ สมอื นจรงิ โดย การบนั ทกึ เปน็ ภาพยนตร์ ประกอบดว้ ยรปู ตวั ละคร การต์ นู แสง สี เสยี ง จดั ลำ� ดบั ภาพ มมุ กลอ้ งและการตดั ตอ่ ภาพ เคลอ่ื นไหว องคป์ ระกอบของฉาก และการซอ้ นภาพ ซง่ึ มลี กั ษณะของงานทที่ ำ� ดงั นี้ 1. วาดตวั ละครลงบนภาพวาดบนแผ่นฟลิ ม์ โดยใชเ้ ทคนคิ ทางคอมพิวเตอร์ใหส้ มั พนั ธ์กบั ต�ำแหนง่ เพือ่ สรา้ ง เปน็ ภาพเคล่ือนไหวทำ� ตน้ แบบ 112 2. สอดแทรกบคุ ลกิ ลกั ษณะทางกายภาพใหก้ บั ตัวละคร 3. ควบคมุ ภาพในจินตนาการ หรือแบบจำ� ลองทั้งหมด บนั ทกึ ลงเป็นภาพยนตร์ วิดีโอ หรอื ฮาร์ดดสิ ก์ 4. วาดองค์ประกอบอน่ื ให้ตรงกับการเคลอื่ นไหวในทศิ ทางตา่ ง ๆ 5. ใส่เสียงพากยโ์ ดยก�ำหนดการเคลื่อนไหวของปากให้ตรงกับคำ� พูด การแสดง ใสเ่ พลงประกอบ สภาพการจ้างงาน ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขามัลติมีเดีย หรือสาขาท่ีเกี่ยวข้อง ท�ำงานในสถานประกอบการท่ี เกี่ยวเนือ่ งกบั เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ จะไดค้ ่าตอบแทนแตกตา่ งกันไปตามความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญ ไดร้ บั เงินเดือน สวสั ดกิ าร คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเงอ่ื นไขข้อตกลงกบั ผ้วู า่ จา้ ง ท�ำงานตามเวลาปกติ อาจมีลว่ งเวลา ตามความเรง่ ดว่ นของงาน สภาพการทำ� งาน นักออกแบบและสร้างภาพการ์ตูน ภาพเคลื่อนไหว ต้องท�ำงานกับคอมพิวเตอร์ในการผลิตงาน โดย ต้องท�ำงานร่วมกับผู้ก�ำกับภาพยนตร์การ์ตูน ซึ่งเป็นคนคัดเลือกตัวละครและเหตุการณ์ต่าง ๆ ผู้ประกอบอาชีพนี้ ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมืองใหญ่ ๆ โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร และอาจต้องท�ำงานภาคสนามแล้วแต่ความต้องการ ของลกู คา้

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ความต้องการบุคลากรท่ีประกอบอาชีพนี้ มีแนวโน้มสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ที่มีความสามารถด้านแอนิเมช่ัน กลบั มีจำ� นวนน้อย จึงท�ำใหเ้ ป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. สำ� เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ในสาขามลั ติมเี ดีย หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง 2. ทกั ษะพืน้ ฐานทางดา้ นศิลปะและการออกแบบอยู่ในเกณฑด์ ี 3. มีความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ รกั งานศลิ ปะ 4. มคี วามรบั ผิดชอบสงู สรรคส์ รา้ งผลงานใหไ้ ด้มาตรฐาน 5. มนษุ ยสัมพันธด์ ี สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขา วิชาเอกภาพเคล่ือนไหวและมัลติมีเดีย มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ http://www. bu.ac.th โทรศัพท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) - คณะวิทยาลัยนานาชาติ สาขา มัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยศิลปากร เว็บไซต์ h t t p : / / w w w . s u . a c . t h โ ท ร ศั พ ท ์ 0-2880-7374 113 - คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน สาขามัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศัพท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการออกแบบ มหาวิทยาลัย ศิลปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.su.ac.th โทรศัพท์ 0-3259-4026, 0-3259-4030 - สาขาเทคโนโลยีมลั ตมิ ีเดียและการสรา้ งภาพเคล่ือนไหว มหาวทิ ยาลัยแม่ฟ้าหลวง เวบ็ ไซต์ http://www. mfu.ac.th โทรศพั ท์ 0-5370-61737 - สถาบันการศึกษาท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ที่สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทุกแห่งที่ เปิดสอนในสาขามัลติมีเดยี โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ประกอบอาชพี อสิ ระ หรอื ทำ� งานในบรษิ ทั ผผู้ ลติ ภาพยนตรห์ รอื บรษิ ทั โฆษณา เมอ่ื มปี ระสบการณก์ ารทำ� งานมาก ขนึ้ อาจไดเ้ ลอ่ื นตำ� แหนง่ เปน็ หวั หนา้ งานหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั ตา่ ง ๆ อาชีพทเ่ี กย่ี วเน่อื ง นักพัฒนาภาพเคล่ือนไหวและมัลติมีเดีย นักพัฒนาเกม นักออกแบบมัลติมีเดีย นักออกแบบเว็บกราฟิก นกั ออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ อาจารย์ กราฟิกดีไซน์

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 แหลง่ ข้อมลู อ่ืน ๆ - บรษิ ทั กนั ตนากรปุ๊ จ�ำกดั เวบ็ ไซต์ http://www.kantana.com โทรศัพท์ 0-2275-0046 - ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th/ite โทรศพั ท์ 0-2642-5001-10 - สมาคมอตุ สาหกรรมซอฟต์แวรไ์ ทย เวบ็ ไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศพั ท์ 0-2962-1348 - สมาคมธุรกจิ คอมพวิ เตอร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 114

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักออกแบบเว็บไซต์ Website Designer นยิ ามอาชีพ ออกแบบ สร้าง ดัดแปลง ทดสอบและแก้ไข ปรบั ปรุงเวบ็ ไซต์ และข้อมลู ต่าง ๆ จากเวบ็ ไซตใ์ ห้ทนั สมยั ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ 1. รบั รายละเอยี ดความตอ้ งการของผมู้ อบหมาย งาน ศกึ ษาขอ้ มลู สง่ิ ทตี่ อ้ งการน�ำเสนอ เชน่ ผลติ ภณั ฑ์ สาระ ความรู้ เปน็ ตน้ รวมทง้ั รปู แบบการนำ� เสนอ เพอื่ ดงึ ดดู ความ สนใจต่อกล่มุ เป้าหมาย 2. สรา้ งเวบ็ ตน้ แบบหรอื เดโมโดยใชโ้ ปรแกรมตามถนดั เชน่ โฟโตช้ อ็ ป (Photoshop) อลิ สั เตเตอร์ (Illustator) 3. ออกแบบ การจดั วางเน้ือหาและการเชื่อมสรู่ ายละเอียดในแตล่ ะรายการทต่ี ้องการน�ำเสนอ (Sitemap) และโครงรา่ ง (Outline) ของเว็บไซต์ 4. ปรกึ ษาหารอื กบั ผคู้ วบคมุ งาน และผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื พจิ ารณาแกไ้ ขปญั หา การนำ� ขอ้ มลู เขา้ ระบบ ขอบเขต ของการแสดงขอ้ มลู 115 5. ให้โปรแกรมเมอร์แปลเปน็ ภาษาอนิ เทอรเ์ นต็ และใสร่ หสั ซอสโคด้ 6. เพื่อใหเ้ กดิ การเคลื่อนไหว ท�ำให้การน�ำเสนองานมีความสมบรู ณ์ กอ่ นจะสง่ ใหผ้ ู้ว่าจ้างพจิ ารณา 7. เปลยี่ นขอ้ มลู และภาพใหเ้ ป็นขอ้ มูล 8. ทดสอบความถกู ตอ้ งของโปรแกรมและขอ้ มลู ทน่ี ำ� เสนอ และแกไ้ ขความคลาดเคลอ่ื นของโปรแกรมใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ ง 9. จดั เตรยี มคมู่ อื การใชง้ านระบบนน้ั ๆ และชแ้ี จงใหผ้ ใู้ ชเ้ ครอ่ื งไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการทำ� งาน สภาพการจา้ งงาน นักออกแบบเว็บไซต์ จะมีรายได้แตกต่างกันตามประสบการณ์และความสามารถของแต่ละคน นอกจาก ปฏบิ ตั งิ านตามเวลาปกตแิ ลว้ อาจตอ้ งทำ� งานลว่ งเวลา ในกรณที ตี่ อ้ งการใหร้ ะบบงานเสรจ็ ทนั ตอ่ การใชง้ าน ส�ำหรับผู้ที่รับงานอิสระ จะได้รับค่าตอบแทนเป็นช้ินงานซึ่งมีอัตราแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับความยากง่าย ของงาน สภาพ ปรมิ าณ และระยะเวลาการทำ� งาน สภาพการทำ� งาน นกั ออกแบบเวบ็ ไซต์ จะตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ นการเขยี นและทดสอบ มกี ารออกไปตดิ ตอ่ ผใู้ ชง้ านระบบ สำ� หรบั นกั ออกแบบเวบ็ ไซตอ์ สิ ระสามารถใชร้ ะบบการสอื่ สารทางอนิ เทอรเ์ นต็ ชว่ ยโดยไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปสถานประกอบการกไ็ ด้ งานออกแบบเวบ็ ไซตเ์ ปน็ งานทต่ี อ้ งนง่ั อยหู่ นา้ จอคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เวลานาน อาจมปี ญั หาทางสายตา คอ และมอื

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานทำ� จะเห็นได้ว่าเกือบทุกหน่วยงาน หรือบุคคลธรรมดาพยายามที่จะมีเว็บไซต์ของตนเองเพื่อการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ กิจกรรม หรือสินค้าของตน องค์กรขนาดใหญ่ จึงต้องมีบุคลากรที่ช�ำนาญทางด้านนี้ออกแบบ และสร้างเว็บไซต์ได้เอง ส�ำหรับองค์กร ขนาดเลก็ หรือบุคคล อาจจะจดั จา้ งบริษัท หรอื จัดจ้างผูป้ ระกอบอาชพี อิสระ ดงั นน้ั บคุ ลากรทางดา้ นนย้ี งั มแี นวโนม้ ความตอ้ งการในตลาดแรงงานคอ่ นขา้ งสงู และใหผ้ ลตอบแทนสงู สำ� หรบั ผูท้ ่มี ปี ระสบการณ์และความสามารถมาก คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาขัน้ ตำ่� ตามระเบียบบังคบั ของกระทรวงศึกษาธกิ าร มีปฏิภาณไหวพริบดี 2. มคี วามสามารถในการเขยี นโปรแกรมการสรา้ งเว็บไซต์ และออกแบบได้ เชน่ Java HTML 3. มีความคิดสร้างสรรคเ์ ฉพาะตวั 4. มีความสามารถในการเรียนรู้สงิ่ ใหม่ ๆ และพรอ้ มท่จี ะพฒั นาตนเองอยู่เสมอ 5. รูจ้ กั วธิ สี ังเกตส่งิ รอบตัว ประยกุ ตแ์ ละดัดแปลงชิน้ งานใหอ้ อกมาตามตอ้ งการ 6. มคี วามคดิ กว้างไกล หลากหลายมุมมองและมีจินตนาการ 7. มคี วามซ่ือสตั ย์ในอาชีพ ไม่ใชค้ วามรู้ ความสามารถในการดัดแปลงข้อมูลเพ่อื ประโยชนส์ ว่ นตวั 8. มีทัศนคติทด่ี ี ความรบั ผดิ ชอบในงานที่ได้รบั มอบหมาย 9. ควรจะมมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ตี อ่ ผวู้ า่ จา้ งและผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ และคำ� แนะนำ� ใหข้ อ้ เสนอแนะแกผ่ ใู้ ชร้ ะบบงาน 116 สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา ศกึ ษาทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ อาจเข้ารบั การอบรมการเรยี นการสอนตามสถาบนั สอนคอมพวิ เตอร์ท่วั ไป และ สถาบนั อุดมศึกษาทุกแห่ง ท้ังกรุงเทพฯ และตา่ งจังหวัด โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ หากมีความสามารถและมีทักษะในการส่ือสารท่ีดีจะมีโอกาสได้เลื่อนต�ำแหน่งเป็นผู้ช�ำนาญการในการ ออกแบบเวบ็ ไซต์ (Web Master) หรอื สามารถเปน็ Insurance โดยรบั เขยี นโปรแกรมและออกแบบเวบ็ ไซตใ์ หห้ นว่ ย งานหรอื องคก์ รตา่ ง ๆ หรอื หากมคี วามสามารถในการสอนและมคี วามเชย่ี วชาญในภาษาคอมพวิ เตอร์ อาจจะรบั สอน ได้ตามสถาบนั อบรมคอมพวิ เตอรท์ ว่ั ไป อาชพี ที่เก่ียวเนือ่ ง ผู้วิเคราะห์ ผูค้ วบคุม ผู้เขยี นโปรแกรมควบคุมระบบงานคอมพวิ เตอร์ และผใู้ ช้ระบบงานคอมพวิ เตอร์ทัว่ ไป แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ - สมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย (NECTEC) - สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรัฐและเอกชนทกุ แห่งทีเ่ ปิดสอน - เวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ ทป่ี ระกาศรบั สมคั รนกั ออกแบบเวบ็ ไซต์ หรอื เปดิ อบรมหลกั สตู รการออกแบบและเขยี นโปรแกรม

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment บรรณาธกิ ารนิตยสาร Magazine Editor นยิ ามอาชีพ ผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำ รวบรวม ตรวจแก้ คัดเลือก หรือควบคุมเนื้อหา และภาพทั้งหมด ที่จะตีพิมพ์เป็นหนังสือ หรือเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีก�ำหนดว่าจะออก เรอื่ ยไปตามล�ำดบั ลักษณะของงานท่ที ำ� 1. ประชุมเนื้อหา คอลัมน์ต่าง ๆ ท่ี ตอ้ งเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั ภาพประกอบ กราฟิก จากน้ันก็หาขอ้ สรปุ จากทป่ี ระชมุ 2. ในชว่ งปฏบิ ตั งิ านจรงิ ทกุ ตำ� แหนง่ หน้าทก่ี จ็ ะแยกยา้ ยไปทำ� งานของตวั เอง นักเขียนตอ้ งไปหาแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ ใหต้ รงกับคอลมั น์ สมั ภาษณ์บุคคลที่ เกย่ี วข้อง สไตลิสต์รับผิดชอบเรือ่ งเสอื้ ผ้า เครอื่ งประดับ ชา่ งภาพ กราฟิก และหน้าท่อี ่ืน ๆ 117 3. รวบรวมชนิ้ งานจากทกุ ฝ่ายสง่ มายงั บรรณาธิการ บรรณาธิการกจ็ ะเปน็ คนตรวจทง้ั หมด มีสว่ นไหนทผี่ า่ น หรอื ผิดพลาด ไม่เหมาะสม จะต้องแก้ไข 4. หลงั จากทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากบรรณาธกิ ารแลว้ ถงึ ขน้ั ตอนตอ้ งนำ� หนงั สอื เขา้ ไปตพี มิ พ์ โรงพมิ พก์ จ็ ะตรวจและ ส่งกลับมาให้จนกว่าจะถูกต้องท้งั หมด และเขา้ สู่กระบวนการตีพมิ พ์ และเมอื่ เสร็จแลว้ กน็ �ำออกไปจัดจำ� หน่ายต่อไป สภาพการจ้างงาน ผลตอบแทนข้ึนอยู่กับรูปแบบของนิตยสาร ขนาดของธุรกิจ บรรณาธิการต้องดูแลภาพรวมท้ังหมดของ นิตยสาร ผลตอบแทนค่อนข้างสงู แตก่ ต็ อ้ งข้ึนอยู่กับความสามารถและประสบการณใ์ นการทำ� งานดว้ ยเชน่ กนั สภาพการทำ� งาน ทำ� งานเปน็ ทมี รว่ มกบั ทกุ ๆ ฝา่ ย ซง่ึ บรรณาธกิ าร ตอ้ งทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ และดแู ลรบั ผดิ ชอบงานทงั้ หมดรวมไป ถึงการพูดคยุ กบั ลกู คา้ และพร้อมทีแ่ ก้ไขสถานการณจ์ ะเกิดขนึ้ เฉพาะหนา้ เป็นการท�ำงานบนพื้นฐานของงานศลิ ปะ และงานบริหารจดั การควบคกู่ ันไป สถานทที่ นี่ งั่ ทำ� งานประจำ� ตอ้ งเปน็ สถานทที่ ท่ี ำ� ใหส้ ามารถคดิ งานและสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ การจดั ตกแตง่ โตะ๊ ของแตล่ ะคนกจ็ ะแลว้ แตไ่ ลฟส์ ไตลข์ องตวั เอง มคี วามอสิ ระในการใชช้ วี ติ ในทท่ี ำ� งานมากกวา่ งานทอี่ อฟฟศิ ทวั่ ๆ ไป ลูกคา้ ของการทำ� นิตยสารกจ็ ะแบง่ ออกเปน็ สองประเภทใหญ่ ๆ ดังน้ี

2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - ผอู้ า่ นนติ ยสาร คอื กลมุ่ เปา้ หมายทใ่ี หค้ วามสนใจในภาพรวมของนติ ยสารเลม่ นน้ั ๆ จนกลายเปน็ ลกู คา้ ยกตวั อยา่ ง Department of Employment เชน่ นติ ยสารสำ� หรบั ผหู้ ญงิ วยั 20 ปขี น้ึ ไป อาจมคี อลมั นเ์ กยี่ วกบั เรอ่ื งการแตง่ หนา้ แตง่ ตวั การทอ่ งเทย่ี ว หรอื แมแ้ ตเ่ ทคนคิ การสมคั รงาน หรอื กลมุ่ แมบ่ า้ น ทสี่ นใจในเรอื่ งสขุ ภาพ อาหารการกนิ การเลยี้ งดู เปน็ ตน้ ดงั นน้ั ทมี ผผู้ ลติ จงึ ตอ้ งสรรหาเรอื่ ง ทตี่ รงกบั ความตอ้ งการ และแปลกใหมอ่ ยเู่ สมอ นา่ สนใจกวา่ นติ ยสารฉบบั อน่ื ๆ เพอื่ ครองใจลกู คา้ ในกลมุ่ เปา้ หมายเดยี วกนั - ลูกค้าทเ่ี ปน็ สปอนเซอรข์ องนติ ยสาร ไม่วา่ จะเป็นผลิตภณั ฑ์ ผู้ผลิต งานบรกิ าร หรือการสนับสนนุ ในเรอื่ ง ของเงนิ ลงทุน เพราะฉะนัน้ นติ ยสารจะตอ้ งมีความชดั เจนในเรอ่ื งของกล่มุ เปา้ หมาย ซงึ่ จะต้องเป็นลูกคา้ ที่อยูใ่ นกลมุ่ ทีม่ ีความสนใจ และต้องการผลิตภัณฑห์ รอื บริการนน้ั ๆ และเป็นลูกค้าทอ่ี า่ นนิตยสารเลม่ น้นั ด้วย โอกาสในการมงี านทำ� ปจั จบุ นั ตลาดธรุ กจิ สง่ิ พมิ พเ์ ตบิ โตขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ วงการหนงั สอื โตเรว็ ในชว่ ง 2-3 ปที ผ่ี า่ นมาจงึ ทำ� ใหว้ งการ หนังสือในยุคน้ีหา “บรรณาธิการ” ได้ยากเต็มที หรือถ้าหากจะเรียกว่า ‘บรรณาธิการขาดแคลน’ บรรณาธิการ ขาดแคลนคงเป็นเพราะกลุ่มทุนต่าง ๆ หันมาลงทุนธุรกิจนี้มากข้ึน โดยเฉพาะกลุ่มทุนบันเทิงซ่ึงไม่ใช่เร่ืองยาก เลยที่บริษัทบันเทิงจะมาลงทุนเปิดตัวแมกาซีนหรือท�ำพ็อกเก็ตบุ๊ค ดังนั้น จึงท�ำให้บรรณาธิการไม่พอต่อความ ต้องการ เดก็ ทมี่ อี ายไุ มเ่ ยอะ หรอื คณุ วฒุ ยิ งั ไมถ่ งึ ขน้ั ทจี่ ะเปน็ บรรณาธกิ าร จงึ ไตเ่ ตา้ ขนึ้ มาไดเ้ รว็ ซงึ่ บรรณาธกิ ารมอื เกง่ จรงิ ๆ เขาต้องใช้เวลามากกว่านี้ ท�ำงานหนังสือมาอย่างน้อย 5 ปีขึ้นไป” สมัยก่อนบรรณาธิการต้องถูกเทรนมาจาก ปรู๊ฟ ต้องดูทุกกระบวนการการท�ำหนังสือ เริ่มจากต้องอ่านหนังสือให้แตก อ่านหนังสือเป็น กว่าจะโตข้ึนมาเป็น บรรณาธิการจะต้องผ่านตรงนี้มาก่อน แต่ปัจจุบันบรรณาธิการลักษณะน้ันมีน้อยลง บางคนจะมาจากมาร์เก็ตต้ิง หรือพีอาร์ 118 คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ควรมพี ืน้ ฐานความรู้ ความสามารถในฝา่ ยตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2. ต้องสามารถทำ� งาน และส่อื สารงานกบั คนอื่น ๆ ได้ดี และรวมทง้ั การบริหารคนในการท�ำงาน 3. มคี วามคิดสร้างสรรคแ์ ละไอเดยี ใหม่ ๆ อยูเ่ สมอเพ่ือสรา้ งความแปลกใหมใ่ หน้ า่ ติดตาม 4. มคี วามอดทน ทตี่ อ้ งแกไ้ ขปญั หาตลอดเวลา อาจจะตอ้ งปรบั ทศั นคตใิ นหลาย ๆ เรอื่ งเพอ่ื ใหท้ ง้ั คนและงาน สามารถท�ำงานควบคกู่ ันได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5. มีการเรยี นรสู้ ่ิงใหม่ ๆ อยู่เสมอ ทั้งในดา้ นเทคโนโลยี สงั คม และส่ิงแวดล้อม เพ่ือน�ำมาพฒั นาใหผ้ ลงาน แตล่ ะเลม่ ออกมา 6. รักและมีความถนัดในเนื้อหาของนิตยสาร จะมีวิธีการหาข้อมูลหรืออัปเดตเร่ืองราวใหม่ ๆ มีไอเดีย สรา้ งสรรค์เกดิ จากความชอบเละความถนัด และกท็ ำ� ให้เรามคี วามสุขในการทำ� งานอกี ด้วย สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา บรรณาธิการส่วนใหญ่จะเรียนมาทางด้านคณะอักษรศาสตร์ นิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ สื่อสารมวลชน และสายศลิ ปะ เปดิ หลกั สตู รในทกุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา แตต่ รงนนั้ เปน็ การเรยี นการสอนในเชงิ ทฤษฎี แตม่ กี ารเปดิ สอน บรรณาธิการ หลักสูตรบรรณาธกิ ารศึกษา พ.ศ. 2549 ซึ่งเกดิ จากความร่วมมือระหวา่ งภาควชิ าบรรณารักษศาสตร์ คณะ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา กับภาคผ้ปู ระกอบการผลิตและเผยแพรส่ ่อื สิ่งพิมพ์ ในลกั ษณะ ทวภิ าคี เพือ่ ผลิตบรรณาธกิ ารอาชพี ออกไปปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการโดยเฉพาะ

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ความก้าวหน้าของสายอาชีพ เมื่อเป็นบรรณาธิการแล้ว ก้าวต่อไป คือ พัฒนานิตยสารของเราให้ดีข้ึนไปเร่ือย ๆ จนติดตลาด คุณค่า ของอาชพี นตี้ อ่ คนรอบขา้ งและสงั คม สามารถพฒั นาภาพรวมของนติ ยสารใหด้ ขี น้ึ เรอ่ื ย ๆ จนตดิ ตลาดเปน็ ทต่ี อ้ งการ ของลกู ค้า และรักษาระดับให้เปน็ ท่ีพอใจ 119 อาชพี ที่เกี่ยวเนื่อง สำ� นกั พมิ พ์ ผู้จัดจ�ำหน่ายหนงั สอื และนติ ยสารทว่ั ไป แหลง่ ขอ้ มูลอื่น ๆ - เวบ็ ไซตส์ ำ� นักพิมพน์ ิตยสารต่าง ๆ

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้กำ� กบั ภาพยนตร์ fFi ilm Director นยิ ามอาชีพ ท�ำหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดจินตนาการของผู้เขียน บทภาพยนตร์ และผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ให้เกิดเป็น ภาพเคล่ือนไหว ท่ีสามารถเล่าเรื่องราวให้ผู้ชมได้รับรู้ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกตรงตามจินตนาการของ ผเู้ขยี นบทและผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ ลักษณะของงานทที่ ำ� ผู้ก�ำกับภาพยนตร์จะต้องศึกษาท�ำความเข้าใจกับบทบาทของแต่ละตัวแสดงอย่างละเอียด สามารถก�ำหนด และเลือกองค์ประกอบทุกอย่างในการท�ำงานกับทีมเบื้องหลังได้ มีหน้าที่ควบคุมงานเกือบทุกอย่างในกองถ่าย ท่ีเก่ียวข้องกับภาพและเสียง การด�ำเนินเร่ือง มุมกล้อง บทสนทนา สเปเชียลเอฟเฟกต์ ก�ำกับนักแสดงให้เล่นได้ ตามบทบาท อยา่ งเชน่ ฝา่ ยกำ� กบั ภาพ ซาวน์เอน็ จเิ นยี ร์ ฝ่ายจดั แสง ฝ่ายจดั หาโลเคชั่น ฝ่ายคอสตูม ฝา่ ยสเปเชยี ล เอฟเฟกต ์ เปน็ ตน้ และวธิ กี ารกำ� กบั ของผกู้ ำ� กบั แตล่ ะคนอาจจะไมเ่ หมอื นกนั เลย เนอื่ งจากศลิ ปะการกำ� กบั หนงั ไมม่ ี 120 ทฤษฎที ตี่ ายตัว ซึ่งหนา้ ท่ขี องผู้กำ� กบั มีดังน้ี 1. ทำ� ความเขา้ ใจ ตคี วามบทละคร 2. เลือกผ้อู อกแบบ และผรู้ ่วมงานฝา่ ยตา่ ง ๆ 3. ใหค้ ำ� แนะนำ� และรบั ฟังความเหน็ ของการคดั เลอื กนกั แสดงทกุ ฝ่าย เพอ่ื ตกลงกันถงึ รูปแบบการทำ� งาน 4. เตรยี มการในทุกขน้ั ตอน เชก็ ความถกู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยทุกกระบวนการ 5. ฝกึ ซอ้ มการแสดงกอ่ นถา่ ยทำ� จรงิ ในระหวา่ งถา่ ยทำ� และรบั ผดิ ชอบในภาพรวม จนกวา่ ภาพยนตรเ์ รอื่ งนน้ั ๆ จะดำ� เนนิ การเสรจ็ สมบูรณ์ สภาพการจ้างงาน รายได้มาจากเงินทุนของผู้สร้างภาพยนตร์ คิดกันเป็นเร่ือง ๆ เร่ืองหน่ึงใช้งบไม่ต่�ำกว่า 500,000 บาท ไปจนถึงหลักล้านขน้ึ ไป สภาพการทำ� งาน มีทง้ั ถ่ายท�ำในโรงถา่ ย สตดู ิโอนอกสถานทีท่ ัง้ ในกรุงเทพฯ ต่างจงั หวัด และต่างประเทศ ซ่งึ จะตอ้ งใหเ้ ข้ากัน กับการด�ำเนินเร่อื ง ถึงจะมีปัญหา อปุ สรรคในการถ่ายทำ� เช่น สภาพอากาศ อาจจะต้องยกกองรอ หรอื แกไ้ ขปญั หา เฉพาะหน้าได้

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานทำ� กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผทู้ ่ีเลอื กเข้าศกึ ษาสาขาภาพยนตร์สามารถทำ� งานในสายงานภาพยนตรไ์ ด้ตามทักษะ ความรู้ ความชำ� นาญ และประสบการณ์ ดังน้ี - เปน็ นกั สร้างสรรค์งานโฆษณา ผูเ้ ขยี นบทงานโฆษณา - เป็นผู้ก�ำกับภาพยนตร์ งานโฆษณา สารคดตี ่าง ๆ - เป็นผูก้ �ำกบั ศิลป์ ถ่ายภาพ ตดั ต่อ ใชเ้ ทคนิคพิเศษตา่ ง ๆ - เป็นผู้คมุ แสง สี เสียง - เปน็ ผอู้ �ำนวยการผลิตภาพยนตร์ - เป็นนักเขียน นกั วิจารณภ์ าพยนตร์ เป็นต้น คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศกึ ษาจากคณะนิเทศศาสตร์ และสาขาทเ่ี ก่ยี วข้อง 2. มจี นิ ตนาการ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ 3. สามารถเข้าใจ ตคี วามภาพรวมทุกอย่าง อาทิ องค์ประกอบทุกอยา่ งในบทภาพยนตร์ 4. มคี วามสามารถจงู ใจให้ทมี งานทุกฝ่ายมีความผูกพนั ท�ำงานเปน็ นำ�้ หน่ึงใจเดยี วกัน สรา้ งบรรยากาศทีด่ ี และใหม้ ีส่วนรว่ มในการแสดงศักยภาพในการสรา้ งสรรค์ เพือ่ จะได้ผลงานทดี่ ีออกมา 5. มีความพร้อม มีไหวพริบในการแก้ไขปัญหา แก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยความฉับไว ตัดสินใจอย่าง ละเอยี ดรอบคอบ 6. มีความกระตอื รอื ร้น มที กั ษะในการปฏบิ ัติงาน การพูด บุคลิก ใหเ้ ป็นท่นี า่ เชือ่ ถือแก่ทีมงาน 7. มีความร้ใู นการใชอ้ ปุ กรณเ์ กี่ยวกับการผลิตภาพยนตร์ 121 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา คณะนเิ ทศศาสตร์ สถาบันอุดมศกึ ษาทกุ แห่งทัว่ ประเทศ โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี สามารถเลอื กทำ� งานไดห้ ลากหลายในวชิ าชพี ดา้ นภาพยนตร์ เชน่ ผอู้ ำ� นวยการผลติ ผกู้ ำ� กบั นกั เขยี นบท ชา่ งภาพ ผกู้ ำ� กับดา้ นศลิ ป์ นักสร้างสรรคง์ านโฆษณา ผูก้ �ำกับภาพยนตร์ ผู้ก�ำกับดา้ นศลิ ปง์ านโฆษณา ผ้อู อกแบบฉาก อาชพี ท่ีเก่ยี วเนอ่ื ง ผจู้ ัดงานอีเวนต์ (Event) นักโฆษณา ธุรกจิ ผู้ผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารตา่ ง ๆ แหลง่ ขอ้ มูลอ่นื ๆ - เว็บไซต์คณะนเิ ทศศาสตร์ และสาขาที่เกี่ยวข้อง

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผเู้ ขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programmer นิยามอาชีพ เขยี น สรา้ ง ดดั แปลง ทดสอบและแกไ้ ขซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) และหรือซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดของโปรแกรม รวมถึง การให้ค�ำแนะน�ำด้านเทคนิคและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวข้อง ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. นำ� ขอ้ มลู การออกแบบรายละเอยี ดการวางโครงสรา้ ง ภาพจากนักวเิ คราะห์ระบบงานมาเขยี นโปรแกรมตา่ ง ๆ ใชภ้ าษาเขียนตามลกั ษณะเคร่อื งของระบบฐานขอ้ มูล 2. รับรายละเอียดของความต้องการของผู้ใช้ระบบ (User) จากนักวิเคราะห์ระบบ มาจัดท�ำแผนภูมิ (Flowchart) ด้วยข้ันตอนการท�ำงานทลี่ ะเอยี ดและถกู ตอ้ งตามหลกั วิชา 3. วิเคราะห์แผนภูมิงาน โดยน�ำความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์มาใช้สร้างหรือก�ำหนดล�ำดับขั้นของ 122 การประมวลผล (โปรแกรม) 4. ปรึกษาหารือกับผู้ควบคุมงาน เพ่ือพิจารณาแก้ไขปัญหา ในการท�ำขอบเขตของการเขียนโปรแกรม การใชร้ หัส และการดดั แปลงเพม่ิ เตมิ 5. เขียนแผนภูมิสายงานท่ีละเอียดถูกต้องตามหลักวิชาให้เป็นรูปสัญลักษณ์ ให้เป็นภาษาที่ใช้กับ การประมวลผลดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ขอ้ มูลมาส่งเข้าหรอื นำ� ออกมาจากเครือ่ ง 6. ทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม โดยใช้ข้อมูลตัวอย่าง หรือข้อมูลจริงส่ง เพ่ือทดสอบโปรแกรม ทีเ่ ขา้ รหสั กับเคร่อื งคำ� นวณ และแกไ้ ขความคลาดเคล่อื นของผงั ประมวลผลโปรแกรมใหม่ให้ถูกตอ้ ง 7. จัดเตรยี ม ค่มู ือการใชง้ านระบบน้นั ๆ และช้ีแจงให้ผู้ใช้เครอ่ื งไดใ้ ชเ้ ป็นแนวทางในการท�ำงาน 8. วิเคราะห์ ตรวจสอบและเขียนผังประมวลผลโปรแกรมใหม่เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เพ่ือดดั แปลงแกไ้ ขให้เปน็ ไปตามความตอ้ งการ สภาพการจา้ งงาน ผเู้ ขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ อตั ราคา่ จา้ งแตกตา่ งกนั ไปตามความรแู้ ละความเชยี่ วชาญ มรี ายไดค้ อ่ นขา้ งดี อตั ราคา่ จา้ งแตกตา่ งกนั ไปตามความรแู้ ละความชำ� นาญ สว่ นใหญท่ ำ� งานตามเวลาปกติ อาจทำ� งานลว่ งเวลา ในกรณี ทีต่ ้องการใหร้ ะบบงานเสรจ็ ให้ทันต่อการใช้งาน

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ปฏิบัติงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะต้องใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในการเขียนและทดสอบ เป็นงานที่ต้อง น่ังอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ต้องใช้ประสาทสัมผัสของสายตาและมือ บางคร้ังอาจมีปัญหากับสายตา และความปวดเมอ่ื ยของมือและขอ้ ได้ โอกาสในการมงี านท�ำ บุคลากรที่ผ่านการอบรมศึกษาการเขียน โปรแกรมที่เป็นภาษาเฉพาะ เช่นการเขียนโปรแกรม COBOL FORTRAN RPG หรือการเขียนโปรแกรม ส�ำเร็จรูปประเภท 4GL เช่น ORACAL Informix Progress เป็นต้น องค์กรและธุรกิจในปัจจุบันมีความจ�ำเป็น ที่ จ ะ ต ้ อ ง ใ ช ้ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ เ พ่ื อ ช ่ ว ย ใ น ก า ร ด�ำเนินงาน ดังนั้น มีแนวโน้มความต้องการในตลาด แรงงานคอ่ นข้างสูงและให้ผลตอบแทนสูง สำ� หรับผ้ทู ่ีมี ประสบการณ์และความสามารถมาก คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. มคี วามรูใ้ นการเขยี นภาษาคอมพวิ เตอร์ 2. ควรมีความคิดสร้างสรรค์ และซ่ือสัตย์ในอาชีพ ไม่ใช้ความรู้ความสามารถในวิชานี้ดัดแปลงโปรแกรม หรอื ขอ้ มลู เพอื่ ประโยชนส์ ่วนตวั 123 3. ต้องพยายามหาความรูใ้ หม่ ๆ อย่เู สมอ 4. มคี วามรบั ผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย 5. ควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีเนื่องจากเป็นงานท่ีให้บริการในการให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ต้องให้ความ ชว่ ยเหลือและค�ำแนะนำ� ในด้านการใชง้ านแกผ่ ูใ้ ชร้ ะบบ จึงต้องมคี วามสามารถช้แี จง 6. ตอ้ งรบั ฟงั ความคดิ เหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะจากผอู้ น่ื สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา สถาบันอุดมศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการ คอมพวิ เตอร์ หรือสาขาท่ีเกยี่ วข้อง หรือตามสถาบันสอนคอมพิวเตอรท์ ว่ั ไป โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผทู้ ม่ี คี วามสามารถในการเขยี นโปรแกรม หากมคี วามสามารถในการวเิ คราะหร์ ะบบและมที กั ษะในการสอ่ื สาร ท่ีดีจะมีโอกาสได้เล่ือนต�ำแหน่งเป็นนักวิเคราะห์ระบบงาน ส�ำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพอิสระสามารถที่จะต้ัง กจิ การของตนเองโดยรบั เขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ ห้หน่วยงานหรอื องคก์ รตา่ ง ๆ หรือหากมีความสามารถในการ สอนและมีความเชยี่ วชาญในภาษาคอมพิวเตอรอ์ าจจะรบั สอนตามสถาบนั อบรมคอมพวิ เตอร์ทั่วไป

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชีพที่เกีย่ วเนื่อง ผู้วิเคราะห์ระบบงานฯ ผู้ควบคุมระบบงานฯ ผู้เขียนโปรแกรมควบคุมระบบงานฯ รวมทั้งผู้ใช้ระบบงาน ท่วั ไป แหลง่ ข้อมูลอน่ื ๆ - ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) - สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั และเอกชนทุกแห่งทท่ี �ำการเปิดสอน - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล - สถาบันเทคโนโลยีนานาชาตสิ ริ ินธร มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 124

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผจู้ ดั การดา้ นไอที IT Manager นยิ ามอาชพี วางแผน ก�ำกับ ดูแลและประสานงานในการให้บริการ งานทางด้านโทรคมนาคม ดาวเทียม อินเทอร์เน็ต หรือโทรศัพท์ เคลอ่ื นท่ี : ควบคมุ ดแู ลการดำ� เนนิ งานของเจา้ หนา้ ทใี่ นการปฏบิ ตั งิ าน ประจำ� วนั ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บ และกฎขอ้ บงั คบั ; การตอ้ นรบั และ ให้บริการแก่ลูกค้าคนส�ำคัญ; แก้ไขปัญหาการบริการที่เกิดข้ึน อบรมให้ค�ำแนะน�ำแก่เจ้าหน้าที่ อาจมีชื่อเรยี กตามประเภทกิจการ ที่ให้บรกิ าร ลักษณะของงานที่ทำ� 1. กำ� หนดนโยบาย แผน ข้อมลู และจัดการโครงสรา้ งพ้นื ฐานไอทีทงั้ หมดของบรษิ ัทในการทีจ่ ะสนบั สนนุ ธรุ กจิ หรอื กจิ กรรมของบรษิ ทั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ พฒั นาโปรแกรมซอฟตแ์ วร์ กำ� หนดนโยบายวางแผนและจดั การระบบ และอ่ืน ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับการสอื่ สารระหว่างองค์กร การวางแผนและจดั การการเชอ่ื มตอ่ ของระบบสารสนเทศ 2. ตรวจสอบ รวบรวม วเิ คราะห์ และรายงานผลขอ้ มลู ปญั หาจากการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทง้ั ดา้ น ระบบงาน และอปุ กรณ์ IT สำ� หรับร้านสาขา 125 3. วเิ คราะหห์ าสาเหตแุ ละกำ� หนดแนวทางแกไ้ ข (Root Cause Analysis) กำ� หนดแนวทางแกป้ ญั หาระยะ ส้ัน (Work Around) โดยคำ� นงึ ถึงระยะเวลาและผลกระทบตอ่ ธุรกิจ 4. ก�ำหนดมาตรการการปอ้ งกันปญั หา (Preventive Actions) หรือ แนวทางแก้ไขปัญหา (Corrective Actions) รวมถึงกระบวนการทำ� งานท่เี หมาะสม ร่วมกบั ผู้เกี่ยวข้องทัง้ ภายในและภายนอกบริษัท 5. ก�ำหนดเปา้ หมาย จัดท�ำแผนดำ� เนนิ การ และตดิ ตามแผนการปรบั ปรงุ คณุ ภาพ (Improvement Plan) เพื่อให้ระบบงานและอุปกรณ์ IT ส�ำหรับรา้ นสาขา ใชง้ านไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง พรอ้ มใชง้ าน สภาพการจา้ งงาน สถานประกอบการภาคเอกชน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงานประมาณ 15,000 - 18,000 บาท สวัสดิการต่างๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 ชว่ั โมง อาจทำ� งานล่วงเวลา วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเป็น สภาพการทำ� งาน ผู้ที่ประกอบอาชีพน้ี จะท�ำงานในส�ำนักงาน มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกสบายเช่นเดียวกับส�ำนักงานทั่วไป ท่ีมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย จ�ำเป็นต้องน่ังท�ำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ อาจจะเป็น อันตรายตอ่ สายตาได้ และมีอาการปวดเมอ่ื ยหลงั ได้

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมงี านทำ� Department of Employment เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นมีลกั ษณะเด่นคือมีการเปล่ียนแปลงทร่ี วดเรว็ มาก เทคโนโลยใี หม่ ๆ ทีท่ นั สมัยเกิด ข้นึ มาเรือ่ ย ๆ ทกุ วัน เชน่ เราจะเห็นว่ามกี ารใช้อนิ เทอรเ์ น็ตกนั อย่างแพร่หลาย มีการส่งอเี มล มกี ารท่องเว็บตา่ ง ๆ มกี ารสง่ ขอ้ มลู ผา่ นเวบ็ มกี ารเลน่ เกมออนไลนผ์ า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ นอกจากอนิ เทอรเ์ นต็ แลว้ ยงั มเี ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทเี่ กยี่ วกบั มอื ถอื เชน่ มกี ารสง่ ขอ้ มลู ผา่ นทางมอื ถอื มกี ารดาวนโ์ หลดขอ้ มลู ตา่ ง ๆ รวมทง้ั เพลงผา่ นมอื ถอื มกี ารสบื คน้ ขอ้ มลู หรอื เลน่ เกมผา่ นมอื ถอื เปน็ ตน้ ในทางอตุ สาหกรรมกม็ กี ารนำ� ระบบสารสนเทศเขา้ ไปชว่ ยเพม่ิ ผลผลติ ในโรงงาน ชว่ ยควบคมุ ดแู ลเครอื่ งจกั รเพอื่ ผลติ สนิ คา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และทำ� ใหก้ ระบวนการผลติ เปน็ แบบอตั โนมตั ิ นอกจากนี้ มกี ารนำ� สารสนเทศไปใชใ้ นงานดา้ นธรุ กจิ เพอื่ ทำ� ใหก้ ารบรหิ ารงานมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยสามารถดขู อ้ มลู ตา่ ง ๆ ไดท้ นั ที ทง้ั ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ รายละเอยี ดและขอ้ มลู สรปุ และชว่ ยในการสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ บรษิ ทั ทท่ี นั สมยั ทกุ บรษิ ทั ตอ้ งมรี ะบบ สารสนเทศภายในองคก์ ร ในยคุ ตอ่ ไป คอมพวิ เตอรจ์ ะมขี นาดเลก็ ลง มคี วามเรว็ สงู ขน้ึ และมหี นว่ ยความจำ� มากข้ึน และทีส่ �ำคัญ ราคาของคอมพิวเตอร์จะถกู ลงมาก ดงั นนั้ คอมพวิ เตอรจ์ ะเขา้ มามบี ทบาทในสงั คมของเรามากขนึ้ โดยเราจะเรยี กสงั คมนวี้ า่ สงั คมยบู คิ วิ ตสั (Ubiq- uitous) คอื คอมพวิ เตอรอ์ ยทู่ ุกหนทกุ แหง่ ดงั นนั้ การจัดการข้อมลู สารสนเทศทเ่ี กดิ จากคอมพิวเตอรเ์ หลา่ น้ี จงึ เป็น สง่ิ สำ� คญั มาก นอกจากนก้ี ารบรหิ ารจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศภายในบรษิ ทั กเ็ ปน็ สงิ่ สำ� คญั อกี อยา่ งหนง่ึ จะเหน็ ได้ วา่ บรษิ ทั หรอื องคก์ รใหญจ่ �ำเป็นต้องมีหนว่ ยงานด้านการจัดการระบบสารสนเทศ ปจั จุบันในโลกของธุรกิจ มธี รุ กิจที่ เกย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศมากมาย ซง่ึ นกั ธรุ กจิ ทร่ี �่ำรวยทส่ี ดุ กค็ อื นกั ธรุ กจิ ดา้ นไอที ซงึ่ ความจรงิ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ไอทีได้เปน็ ศาสตร์ที่รบั ความสนใจและมีความสำ� คญั มากในสังคมปจั จบุ นั และต่อไปในอนาคต คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชพี 1. การศึกษาระดับปริญญาตรี/โท สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์, วิทยาการคอมพิวเตอร์, เทคโนโลยี 126 สารสนเทศ หรอื สาขาท่ีเกย่ี วข้อง 2. มปี ระสบการณอ์ ยา่ งนอ้ ย 6 ปี ในการบรหิ ารคณุ ภาพการใหบ้ รกิ ารดา้ น IT ในองคก์ รขนาดใหญแ่ ละการ บริหารโครงการ IT 3. มีทักษะด้าน IT Service Management, IT Project Management 4. มที กั ษะดา้ นการวเิ คราะหป์ ญั หา (Problem Analyst), การตดั สนิ ใจอยา่ งเปน็ ระบบ (Decision Making) และการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) 5. มที กั ษะทางด้านการสื่อสารและเจรจาต่อรอง สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต เลขที่ 80 หมู่ 1 ถนนวิชิตสงคราม ต�ำบลกะทู้ อ�ำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 83120 โทรศัพท์ 0-7627-6106, 0-7627-6118 โทรสาร 0-7627-6102 - ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง 2086 ถนนรามค�ำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2310-8406 อีเมล [email protected] ติดต่อ คณะอาคารปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ ตึก SCL ชัน้ 2 โทรศพั ท์ 0-2310-8406 ต่อ 0 - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500 ตอ่ 1690 โทรสาร 0-2240-1926

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เลขท่ี 228-228/1-3 ถนนสิรินธร แขวงบางพลดั เขตบางพลดั กรุงเทพฯ โทรศัพท/์ โทรสาร 0-2423-9401-6 - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา 1 ถนนอทู่ องนอก แขวงวชิระ เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2160-1143-45 โทรสาร 0-2160-1146 - ฯลฯ โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ปัจจุบันเปน็ ยคุ ท่ี IT เข้าไปมบี ทบาทสำ� คญั ในทุก ๆ ดา้ น ไม่วา่ จะเปน็ ภาคธรุ กจิ ภาคการศึกษาฯ ซึ่ง IT มี การพฒั นาไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในขณะท่ปี รมิ าณบคุ ลากร IT ในตลาดแรงงานนัน้ ยังมีไมเ่ พียงพอต่อความตอ้ งการของ ภาคอตุ สาหกรรม เราขาดแคลนผทู้ ม่ี พี นื้ ฐานและความรอบรดู้ า้ น IT อกี มาก แมว้ า่ จะพยายามใชร้ ะบบการศกึ ษาเขา้ มาสนบั สนนุ แตก่ ย็ งั ไมส่ ามารถพฒั นาคนเพอ่ื ใหท้ นั ตอ่ สงั คมยคุ IT ซงึ่ มคี วามกา้ วหนา้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง อกี ทง้ั จำ� เปน็ ตอ้ ง เตรียมบคุ ลากรให้พร้อมรับกับการทป่ี ระเทศไทยจะก้าวเขา้ สเู่ วทีประชาคมอาเซียน (AEC 2015) ท่ีก�ำลังจะมาถงึ ใน ระยะอนั ใกลน้ ้ี เทคโนโลยสี ารสนเทศนนั้ มกั มกี ารนำ� มาใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวาง เกอื บทว่ั ทกุ วงการลว้ นมองเหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศกนั แทบทัง้ สนิ้ และถือเปน็ หนง่ึ ในสามศาสตรห์ ลกั (เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยนี าโน เทคโนโลยชี วี ภาพ) ทถ่ี กู กลา่ ววา่ จะมผี ลตอ่ สงั คมในอนาคตมากทสี่ ดุ แมว้ า่ รฐั บาลไทยของเราเองนน้ั กย็ งั เลง็ เหน็ ความ สำ� คญั ดา้ นนม้ี าก จงึ มกี ารจดั ตงั้ กระทรวงใหมท่ เ่ี กย่ี วกบั งานทางดา้ นนข้ี น้ึ ชอื่ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสาร หรือเรยี กย่อ ๆ ว่า กระทรวงไอซที ี อาชพี ทเ่ี กย่ี วเน่อื ง เจ้าหน้าที่เทคโนโลยีสารสนเทศ นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน 127 สารสนเทศ เจา้ หนา้ ทพ่ี ฒั นาโปรแกรม ผดู้ แู ลระบบเครอื ขา่ ยและเครอื่ งแมข่ า่ ย ผจู้ ดั การแผนกคอมพวิ เตอร์ นกั พฒั นา เวบ็ ไซต์ ผจู้ ดั การซอฟตแ์ วร์ เจา้ หนา้ ทค่ี วามมนั่ คงระบบสารสนเทศ นกั ดแู ลระบบจดั การฐานขอ้ มลู นกั พฒั นาสอื่ ประสม แหลง่ ข้อมลู อนื่ ๆ - ศูนย์เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th โทรศัพท์ 0-2564-6900 - สมาคมธรุ กจิ คอมพิวเตอรไ์ ทย เว็บไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - ศูนยว์ จิ ัยระบบเครือขา่ ย เว็บไซต์ http://www.noc.mut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2988-3655 - สถาบันพัฒนาผู้เชี่ยวชาญระบบเครือข่ายและความปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ http://www. acisonline.net โทรศพั ท์ 0-2650-5771 - หลักสตู รอบรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ http://www.itdestination.com โทรศพั ท์ 0-2509-8444, 0-2509-0484 - ศูนย์พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ เวบ็ ไซต์ http://www.cdit.co.th โทรศพั ท์ 0-2421-7278-9

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา Managers Advertising นิยามอาชพี อ�ำนวยการวางแผน และก�ำกับดูแลงานนโยบายและ แผนงานดา้ นการโฆษณาผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ และบรกิ ารของหนว่ ยงาน : ก�ำหนดกลยุทธ์ แนวทางการสร้างสรรค์โฆษณา ออกความคิด และพิจารณาเลือกสื่อโฆษณาและเทคนิคโฆษณาท่ีจะน�ำไปใช้; ควบคมุ ดแู ลการผลติ งานโฆษณาใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและแผนงาน ท่ีก�ำหนดไว้; ประสานงานกิจกรรมต่าง ๆ กับหน่วยงานที่ เกยี่ วข้อง เช่น กิจกรรมการขาย กราฟิกอาร์ต สอ่ื โฆษณา การเงนิ และการวิจัย; ปรึกษาหารือกับลูกค้าเพื่อให้ค�ำแนะน�ำด้านเทคนิค และการตลาด; ทดสอบ ตดิ ตามและวเิ คราะหผ์ ลการสง่ เสรมิ การขายเพอื่ วดั ประสทิ ธผิ ลดา้ นตน้ ทนุ ; ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสาร เพอื่ การพมิ พเ์ ผยแพร่ เช่น ใหส้ ัมภาษณ์นกั ขา่ ว หรือใหบ้ ทความเกีย่ วกบั กิจกรรมของหน่วยงาน ใกลช้ ดิ กบั ผจู้ ดั การ ฝา่ ยประชาสัมพนั ธ;์ ประเมินผลการโฆษณา 128 ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. สอ่ื ทตี่ ้องการใช้ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาและงบประมาณของผู้วา่ จ้าง 2. ตอ้ งทราบประเภทของสนิ คา้ หรอื บรกิ าร กจิ กรรม หรอื โครงการตา่ ง ๆ ทล่ี กู คา้ ตอ้ งการใหท้ ำ� การโฆษณา 3. เม่ือได้ข้อมูลทุกอย่าง และตกลงรับงานแล้ว ประชุมกับทีมงาน โดยให้ข้อมูลรายละเอียดและประเภท สื่อท่ใี ชใ้ นการท�ำการลงโฆษณา พรอ้ มรบั ฟังความคดิ เห็นข้อเสนอจากพนักงานทกุ ฝา่ ย 4. คอยเปน็ ทปี่ รึกษาให้คำ� แนะน�ำและพรอ้ มท่ีจะแก้ไขปัญหา แก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าได้ 5. ประสานงานกับลูกค้า 6. ทำ� หนา้ ท่ตี อ่ รองซอื้ สือ่ ในการโฆษณา หรอื ขอใหก้ บั ผู้จดั การฝา่ ยของสอื่ นัน้ ๆ หรือขอใหส้ อื่ นนั้ ท�ำการ ประชาสมั พนั ธผ์ ู้ว่าจา้ งเพ่ิมเตมิ เชน่ การสมั ภาษณ์ ท�ำบทความพเิ ศษ หรือท�ำคลิปปิ้งโฆษณาให้ 7. ประเมนิ วดั ผลความสำ� เร็จในการทำ� โฆษณา ทมี่ ีหลักฐานและเกณฑท์ ใ่ี ชอ้ า้ งองิ ในการวัดได้ 8. ท�ำรายงานแจ้งยอดลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างให้กับผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดหรือรองประธาน ฝา่ ยการตลาดไดท้ ราบ 9. ปรับกลยุทธก์ ารวางแผนได้รวดเรว็ ในการหาลูกค้ารายใหม่ และรกั ษาลกู ค้าเดิมไว้ สภาพการจ้างงาน ผจู้ ดั การฝา่ ยโฆษณา ยอดขายโฆษณาไดร้ บั รายไดเ้ ปน็ เงนิ เดอื น และยงั มรี ายไดจ้ ากเปา้ การขายรวมทง้ั องคก์ ร ทตี่ งั้ ไวอ้ กี จะไดม้ ากหรอื นอ้ ยขน้ึ อยกู่ บั ศกั ยภาพและความสามารถของการบรหิ ารทมี งาน ในฐานะผจู้ ดั การฝา่ ยโฆษณา อาจท�ำงานโดยไม่มกี �ำหนดเวลาทีแ่ น่นอน เพื่อหวังผลสำ� เร็จของงาน

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มีการใช้เทคโนโลยีในการจัดเก็บข้อมูลและสร้างออนไลน์ของหน่วยงาน เป็นข้อมูล ตอบโต้สองทางที่สามารถเก็บข้อมูลลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้ มีพนักงานขายส่ือโฆษณาเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งต้อง ออกไปพบลกู คา้ นอกสถานทแี่ ละเลยี้ งรบั รองลกู คา้ เปน็ ครง้ั คราวตามความจำ� เปน็ ใหค้ ำ� แนะนำ� ปรกึ ษาพนกั งานขาย สอื่ โฆษณาโดยแบ่งเป้าหมายลกู คา้ และเป้าการขายใหร้ ับผดิ ชอบ พนกั งานใหม่แนะนำ� กับลูกคา้ อาจตอ้ งทำ� งานลว่ ง เวลา เมอื่ พนกั งานทำ� ยอดการขายไดต้ ามเปา้ หมายทตี่ งั้ ไว้ ผบู้ รหิ ารควรสรา้ งกำ� ลงั ใจใหก้ บั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา เชน่ การ จัดเล้ยี ง หรือใหร้ างวลั เปน็ การตอบแทน เป็นต้น ให้รางวลั สง่ เสรมิ พนกั งานผ้นู ้ัน เป็นประจ�ำทุกเดอื น หรอื อาจให้ ส่งิ จูงใจอย่างอ่ืน โอกาสในการมีงานท�ำ ผจู้ ดั การฝา่ ยโฆษณาทม่ี คี วามสามารถ เปน็ ทตี่ อ้ งการขององคก์ รธรุ กจิ ไดแ้ ก่ บรษิ ทั ผผู้ ลติ สอ่ื ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ สอื่ สง่ิ พมิ พ์โทรทศั น์ วทิ ยุ สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ และสอ่ื โฆษณาเคลอ่ื นท่ีเชน่ รถโดยสารประจำ� ทางปา้ ยโฆษณากลางแจง้ เปน็ ตน้ คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. จบปรญิ ญาตรี มปี ระสบการณด์ า้ นการขายสอ่ื โฆษณาหรอื ทำ� กจิ กรรมประชาสมั พนั ธส์ ง่ เสรมิ การขายใน ระดบั บรหิ ารประมาณ 3-5 ปี สาขาการตลาดหรอื สาขาทเี่ ก่ียวข้อง 2. มีความสามารถ มีวิสัยทัศน์ในการวางแผนงาน และมีความสามารถในการบริหารทีมงานขายอย่างมี ประสิทธิภาพ 3. มลี กั ษณะเปน็ ผู้น�ำทด่ี ี มคี วามรบั ผิดชอบต่อเปา้ หมายทีต่ ั้งไว้ 4. มไี หวพรบิ และปฏิภาณดี และสามารถตัดสินใจในการแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ไดท้ ันท่วงที 5. มีความซือ่ สตั ย์และจริงใจตอ่ ลกู ค้า 129 6. สามารถวิเคราะห์แนวโน้มทางการตลาดของส่อื ได้ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา เรียนรู้จากประสบการณ์ในการท�ำงาน และส�ำเร็จการศึกษาในสาขาท่ีเกี่ยวข้องจากสถาบันอุดมศึกษาทั่ว ประเทศ โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผจู้ ดั การทม่ี คี วามสามารถจะไดเ้ ลอ่ื นตำ� แหนง่ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการ รองกรรมการผจู้ ดั การ เปน็ กรรมการผจู้ ดั การ ใน กรณที อ่ี งคก์ รนนั้ จดทะเบยี นในตลาดหลกั ทรพั ย์ เปน็ อาชพี ทค่ี อ่ นขา้ งมนั่ คงสำ� หรบั ผทู้ ม่ี วี สิ ยั ทศั นแ์ ละมคี วามสามารถ อาชพี ทเี่ ก่ยี วเนอื่ ง ผอู้ ำ� นวยการ ผู้จดั การฝา่ ยการตลาด ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ผ้วู างแผนธรุ กิจ แหล่งขอ้ มลู อืน่ ๆ - แหล่งโฆษณาหางานจากหนังสือพมิ พ์และเวบ็ ไซต์ - บรษิ ัทโฆษณาเอกชนและคณะนิเทศศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นความปลอดภยั ของไอที Specialist, IT Security นิยามอาชีพ วางแผน ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ านทดสอบ และประเมินงานด้านความปลอดภัยของไอที รวมทั้งแก้ไขปัญหา ต่างๆ ทเี่ กิดข้ึน ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. ปฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกบั การรกั ษาความปลอดภยั ทางขอ้ มลู (Information Security) ซงึ่ จะตอ้ งทำ� การศกึ ษา ถึงความไม่ปลอดภัยในการใชง้ านสารสนเทศท่เี ก่ยี วขอ้ งกับคอมพวิ เตอร์ 2. วางแผนและการจัดระบบความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์ โดยการศึกษาครอบคลุมถึงการรักษา ความปลอดภัยในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล การรักษาความปลอดภัยในระบบฐานข้อมูล รักษาความปลอดภัยใน เครอื ขา่ ยการสอื่ สารขอ้ มลู การปอ้ งกนั ทางกายภาพ การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี ง ประเดน็ ในแงก่ ฎหมาย จรรยาบรรณ ในเร่ือง “ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร”์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับบรรดาผู้ใชง้ านคอมพิวเตอร์เพื่อวตั ถปุ ระสงค์ต่าง ๆ อาทิ แฮกเกอร์ (Hacker) 130 3. ทำ� การอดุ ชอ่ งโหวข่ องระบบหรอื โปรแกรม ซง่ึ หมายถงึ จดุ ออ่ นหรอื ชอ่ งโหวใ่ นระบบ ซงึ่ อาจเกดิ จากบกั๊ หรอื ขอ้ บกพรอ่ งจากการออกแบบระบบ รวมถงึ สาเหตอุ นื่ ๆ ซงึ่ ทำ� ใหร้ ะบบอนญุ าตใหผ้ เู้ ขา้ มาทำ� ลายระบบสงั่ การ ระบบท่ี ควบคมุ แอปพลเิ คชน่ั นน้ั ๆ หรอื อาศยั ขอ้ บกพรอ่ งของระบบเพอื่ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู และความจำ� ของระบบโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ สาขาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือสาขาอื่นท่ีเก่ียวข้องผู้ที่ท�ำงานในภาครัฐจะได้รับค่าตอบแทนเป็น เงนิ เดอื นเดอื นละ 16,700 บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ าร และเบย้ี เลย้ี งตามระเบยี บสำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น ส�ำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ในภาคเอกชน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนที่ระดับเริ่มต้นการท�ำงาน ระดบั ปรญิ ญาตรีประมาณ 18,500 บาท สวัสดกิ ารต่าง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนัสเปน็ ไปตามเง่อื นไขขอ้ ตกลง กบั ผู้ว่าจา้ ง ท�ำงานวันละ 8 ชั่วโมง อาจทำ� งานล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเปน็ เรง่ ด่วน สภาพการทำ� งาน ส่วนใหญ่ท�ำงานในส�ำนักงานมีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกสบายเช่นส�ำนักงานท่ัวไปที่มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ ระบบเครือข่าย ช่วยในการค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ จ�ำเป็นต้องนั่งท�ำงานศึกษาข้อมูลและ เอกสารต่าง ๆ ซง่ึ อาจจะต้องนัง่ อยหู่ น้าจอคอมพวิ เตอร์นาน ๆ อาจจะเป็นอนั ตรายตอ่ สายตาได้การทตี่ ้องพมิ พง์ าน บนแป้นพมิ พเ์ ปน็ เวลานาน ๆ อาจมปี ัญหาการปวดข้อมอื ปวดแขนและการนั่งตัวตรงนาน ๆ จะทำ� ใหป้ วดหลังได้

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านทำ� กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ประกอบอาชีพนี้ ต้องปรับตัวรับความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ท่ีเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลาเพ่ือให้การ ท�ำงานมีประสิทธิภาพ เช่น ในขณะน้ีอาชญากรทาง คอมพิวเตอร์มีการพัฒนารูปแบบโปรแกรมเพ่ือก่อ ให้เกิดความเสียหายมากข้ึน มีการใช้คอมพิวเตอร์ ในการท�ำงานเพ่ิมขึ้น การค้าทางอินเทอร์เน็ตก�ำลัง ขยายตัวอย่างรวดเร็วดังนั้นการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ทาง ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จึงเป็นส่ิงที่ส�ำคัญ แนว โน้มความต้องการจ้างงานคนท�ำงานในต�ำแหน่ง ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นความปลอดภยั ของไอทจี งึ ยงั มอี กี มากยง่ิ การพฒั นาทางดา้ นคอมพวิ เตอรซ์ บั ซอ้ นยงุ่ ยากมากขน้ึ เทา่ ใด ความตอ้ งการกเ็ พม่ิ สงู ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ตามไปดว้ ย เพราะการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ในยุคปัจจบุ นั คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ สาขาดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวิทยาการคอมพวิ เตอร ์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. เชีย่ วชาญดา้ นวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3. สนใจเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์และโปรแกรมปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาระบบป้องกัน ให้ดีขน้ึ เรื่อย ๆ 131 4. สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ กับองคก์ รทปี่ ฏบิ ัติงานได้ 5. เป็นผูน้ ำ� และมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ดี 6. มคี วามเชอื่ ม่นั สูง สามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ไดด้ ี 7. มีความรบั ผิดชอบ 8. ทักษะทางด้านคณิตศาสตร์และภาษาองั กฤษอยใู่ นเกณฑ์ดี 9. มที กั ษะในการติดต่อสือ่ สารท�ำงานเปน็ ทมี ได้ดี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ในสถาบันการศกึ ษาสังกัดสำ� นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาลยั พายพั เว็บไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศัพท์ 0-5933-04805 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม เว็บไซต์ http://www.spu.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-9120-39 (เอกชน)

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ในสถาบนั การศึกษาอื่น ๆ ทสี่ งั กดั สำ� นักงาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยเกษมบณั ฑติ เวบ็ ไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั รงั สิต เว็บไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการระบบการท�ำงาน การท�ำงบประมาณขององค์กร มีความสามารถควบคุม ผู้ใต้บังคับบัญชา และมีทักษะในการสื่อสารดีจะมีโอกาสเลื่อนต�ำแหน่งขึ้นเป็นผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายหรือผู้จัดการฝ่าย และเป็นผูบ้ รหิ ารขององคก์ รในทีส่ ุด อาชพี ทีเ่ กี่ยวเนอื่ ง นกั ออกแบบและวเิ คราะหร์ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหก์ ารสอ่ื สารคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหง์ านฐาน ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ นกั บริหารงานฐานขอ้ มูลวศิ วกรระบบคอมพวิ เตอร์ วศิ วกรซอฟต์แวร์ ครอู าจารย์ ทีป่ รกึ ษาดา้ น คอมพวิ เตอร์ แหล่งขอ้ มูลอนื่ ๆ - ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ (NECTEC) เว็บไซต์ http://www.nectec.or.th 132 โทรศพั ท์ 0-2564-6900 - สมาคมธุรกจิ คอมพวิ เตอร์ไทย เว็บไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216- 5991 - สถาบนั พฒั นาผเู้ ชย่ี วชาญระบบเครอื ขา่ ยและความปลอดภยั ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ เวบ็ ไซต์ http://www.acison- line.net โทรศพั ท์ 0-2650-5771 - ศูนยว์ ิจยั ระบบเครอื ข่าย เวบ็ ไซต์ http://www.noc.mut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2988-3655 - สถาบนั เทคโนโลยีนานาชาตสิ ริ ินธร (SIIT) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.siit.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2986-9009

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นแคดแคม Specialist, CAD/CAM นิยามอาชพี วางแผน ศึกษา วิเคราะห์ สร้างงานด้านการ ออกแบบ และการผลติ โดยใชค้ อมพิวเตอร์ รวมทง้ั นำ� ไป ใชง้ าน ทดสอบ ประเมนิ ผลและใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นเทคนคิ ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. ผปู้ ระกอบอาชพี นจ้ี ะทำ� หนา้ ทเ่ี ขยี นรปู แบบ และรายละเอียดเก่ียวกับเคร่ืองมืออุปกรณ์เกี่ยวกับการ ผลิต เพ่ือก่อสร้างอาคาร โครงสร้างโลหะอุปกรณ์หรือ โครงสร้างของเรือเดนิ ทะเล อปุ กรณต์ ลอดจนเคร่อื งจกั ร เครอื่ งยนต์ ไฟฟา้ -อิเล็กทรอนิกส์ อปุ กรณจ์ ักรกลตา่ ง ๆ 2. ใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ปรแกรมชว่ ยในการวาดภาพ (AutoCAD/Computer Aided Design) ในการออกแบบ ทำ� ใหไ้ ดภ้ าพเสมอื นจรงิ 2 มติ ิ หรอื ภาพ 3 มติ ิ หรอื อาจเขยี นแบบรายละเอยี ดและรปู แบบจากภาพสเกตชท์ จี่ ะเสนอ เปน็ ขนั้ สดุ ทา้ ย 3. ตรวจสอบตัวเลข ระบุขนาดของส่วนต่าง ๆ วัสดุที่จะต้องใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างช้ินส่วน ท่ีมีอยู่ใน 133 โครงสรา้ งทั้งหมด 4. ปรบั ปรงุ หรอื เปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามความจ�ำเปน็ หรอื ความตอ้ งการ เขียนรูปแบบขน้ั สุดท้าย จากภาพสเกตชต์ า่ ง ๆ โดยการคำ� นวณและใชค้ วามรทู้ างดา้ นเครอ่ื งจกั ร ทางดา้ นชา่ ง และวชิ าการอน่ื ๆ มาประกอบ เพอ่ื ความชัดเจนของงาน และมกี ารใชจ้ ินตนาการในการออกแบบ เพ่ือให้ได้ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ ๆ อยูต่ ลอดเวลา สภาพการจา้ งงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า- อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมเคร่ืองกล หรือสาขาอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ท�ำงานในสถานประกอบการด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หรืองานออกแบบในอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ จะได้ค่าตอบแทนแตกต่างกัน ไปตามความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญ จะได้รับค่าตอบแทนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงานระดับ ปริญญาตรี ประมาณเดือนละ 15,000 – 18,000 บาท และปริญญาโท ประมาณเดือนละ 22,000 บาท สวัสดิการ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั เป็นไปตามเง่อื นไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ทำ� งานวนั ละ 8 ช่ัวโมง อาจท�ำงาน ล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยุดตามความจ�ำเปน็ เรง่ ด่วน

กรมการ ัจดหางาน ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน ผปู้ ระกอบอาชพี น้ี จะปฏบิ ตั งิ านในสำ� นกั งาน โดยมอี ปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ โตะ๊ เขยี นแบบและเครอ่ื งมอื ในการ ทำ� งานตา่ ง ๆ การเขยี นรปู แบบของเครอื่ งจกั รอาจตอ้ งดจู ากตวั อยา่ งของจรงิ และจากการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรช์ ว่ ย ทำ� ภาพใหเ้ หมอื นจรงิ อาจตอ้ งตรวจสอบชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ หลงั การผลติ ใหต้ รงกบั คณุ สมบตั ทิ อ่ี อกแบบไว้ ผปู้ ระกอบอาชพี นี้ จะตอ้ งนง่ั อยหู่ นา้ จอคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เวลานาน ๆ อาจจะเปน็ อนั ตรายตอ่ สายตาได้ และการทตี่ อ้ งพมิ พบ์ นแปน้ พมิ พ์ นาน ๆ อาจจะมปี ญั หาการปวดขอ้ มอื ปวดแขน และการนงั่ ตวั ตรงนาน ๆ ก็จะทำ� ใหป้ วดหลังได้ โอกาสในการมีงานท�ำ ในปัจจบุ ันอุตสาหกรรมการผลติ ไดม้ กี ารน�ำเอาเทคโนโลยีหรอื ระบบอัตโนมัติมาใชม้ ากยิง่ ขึ้น ตวั อย่างเช่น การนำ� เอาคอมพวิ เตอรม์ าชว่ ยในการออกแบบและเขยี นแบบ เปน็ ตน้ ซง่ึ เทคโนโลยเี หลา่ นช้ี ว่ ยทำ� ใหก้ ารนำ� ผลติ ภณั ฑ์ ใหม่เข้าสู่ตลาดผู้บริโภคเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน รวมท้ังเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ ในการเป็นผใู้ ชเ้ ทคโนโลยีทีท่ นั สมัยทำ� ใหเ้ กิดความเชอื่ มนั่ แก่ลูกค้าและผู้บริโภคในอันทจ่ี ะได้รบั สินค้าท่ี มีคุณภาพทัดเทียมกบั ผ้ปู ระกอบการช้นั นำ� อืน่ ๆ ท่ัวโลก ซงึ่ เทคโนโลยที ่ีน�ำเอาคอมพวิ เตอรม์ าช่วยในการออกแบบ และการผลิตมีช่ือเรยี กวา่ เทคโนโลยที างด้าน CAD / CAM ซง่ึ ต้องมีการพัฒนาให้ทันสมัย และสะดวกต่อการน�ำมา ใช้งานอยเู่ สมอ ผปู้ ระกอบอาชพี ผเู้ ช่ยี วชาญด้าน CAD / CAM จึงเปน็ อาชพี ที่ตลาดมีความตอ้ งการคอ่ นขา้ งมาก คณุ สมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ -อิเล็กทรอนกิ ส์ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล สาขาวิศวกรรมโยธา สาขาสถาปัตยกรรม หรอื สาขาอื่น ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 134 2. มีความสามารถใช้คอมพิวเตอรช์ ่วยในการออกแบบหรอื เขยี นภาพ 2 มติ ิ 3 มิติ 3. สามารถร่างและเขียนแบบรายละเอียดส่วนประกอบต่าง ๆ และระบบการท�ำงานต่าง ๆ ของเคร่ือง จกั รกล และระบบการท�ำงานตา่ ง ๆ ของวิศวกรรมไฟฟ้า- อิเล็กทรอนิกส์ วศิ วกรรมโยธา 4. มีระเบียบวินัย และความรบั ผดิ ชอบสงู 5. ความรแู้ ละความเข้าใจภาษาองั กฤษอยู่ในเกณฑ์ดี 6. ขวนขวายหาความรใู้ นการใชเ้ ทคโนโลยมี าประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� งาน มคี วาม สามารถในการแก้ไข และจดั เกบ็ ข้อมลู 7. มีความต้ังใจ อดทน มีความรับผดิ ชอบสงู สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ -อิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิศวกรรมเครอ่ื งกล สาขาวิศวกรรมโยธา ในสถาบนั การศึกษาท่ี สงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เว็บไซต์ http://www.mahidol.ac.th/muthai/ โทรศัพท์ 0-2201-5000 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี เว็บไซต์ http://www.sut.ac.th โทรศพั ท์ 0-4422-3000 กรมการ ัจดหางาน - มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เว็บไซต์ http://www.swu.ac.thn โทรศัพท์ 0-2580-3103 Department of Employment - มหาวทิ ยาลัยบูรพา เว็บไซต์ http://www.buu.ac.th โทรศพั ท์ 0-3874-5820 - มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เวบ็ ไซต์ http://www.nu.ac.th โทรศพั ท์ 0-5526-1000-4 - มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี เว็บไซต์ http://www.ubu.ac.th โทรศัพท์ 0-4535-3000-3 - มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เวบ็ ไซต์ http://www.psu.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-1030-49 คณะสถาปัตยกรรม ในสถาบนั การศกึ ษาท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อาทิ - มหาวิทยาลัยศิลปากร เว็บไซต์ http://www.su.ac.th โทรศพั ท์ 0-2880-7374 - มหาวทิ ยาลัยเกษมบณั ฑิต เว็บไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยพายพั เวบ็ ไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศัพท์ 0-5330-4805 (เอกชน) - มหาวิทยาลยั ภาคกลาง เวบ็ ไซต์ http://www.tuct.ac.th โทรศัพท์ 0-5622-3578-9 - มหาวทิ ยาลยั โยนก เว็บไซต์ http://www.yonok.ac.th โทรศัพท์ 0-5426-5170-6 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นแคดแคม ทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ และ มที กั ษะในการสอื่ สารดจี ะมโี อกาสเลอื่ นตำ� แหนง่ ขนึ้ เปน็ หวั หนา้ ฝ่าย จนถึงระดับผู้จัดการระดับต่าง ๆ หรือสามารถเปิดสถาน ประกอบการท่ีเก่ียวข้องกับการออกแบบและเขียนแบบ อาชีพท่ีเก่ยี วเน่อื ง 135 วิทยากร นักออกแบบเฟอร์นิเจอร์หรืออุปกรณ์ ต่าง ๆ นักออกแบบกราฟิก อาชีพอิสระในการท�ำธุรกิจ ซอ้ื ขายอุปกรณ์หรอื ผลิตภณั ฑ์สรา้ งบ้านและตกแต่งบ้าน แหล่งขอ้ มลู อ่ืน ๆ - สมาคมสถาปนกิ สยาม www.asa.or.th โทรศัพท์ 0-2319-6555 - ศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะและวสั ดุแห่งชาติ (MTEC) http://www.mtec.or.th โทรศพั ท์ 0-2564-6500 - สมาคมธรุ กิจคอมพวิ เตอรไ์ ทย http://www.atci.or.th โทรศัพท์ 0-2216 -5991 - บรษิ ัท ซัน ไมโครซิสเตมส์ http://www.sun.co.th โทรศัพท์ 0-2344-6750 - ซอฟตแ์ วรป์ าร์ค http://www.swpark.or.th โทรศพั ท์ 02-583-9992, 02-962-2900 - ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA) http://www.sipa.or.th โทรศัพท์ 0-2554-0400

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผ้เู ช่ยี วชาญดา้ นซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ Specialist, Application Software นยิ ามอาชีพ วางแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ าน ทดสอบ ประเมนิ ผลและบำ� รงุ รกั ษาซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ รวมทั้งแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. สรุปความต้องการการใช้งาน วิเคราะห์ ระบบ ออกแบบ Flow Chart และจัดท�ำ Gap Analyst 2. จัดท�ำเอกสารการพัฒนาโครงการ ซอฟต์แวรเ์ พื่อนำ� เสนอผู้บงั คับบญั ชา 3. ออกแบบ User Interface และฐานข้อมลู (ER Diagram) 4. จัดทำ� Data Flow Diagram 136 5. กำ� หนดความต้องการของระบบ และประเมนิ จาก Resource ทีม่ ีอยู่ 6. ทดสอบ Load Balance 7. ทดสอบหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม ร่วมกับ Programmer 8. ใหค้ �ำปรกึ ษากบั Programmer 9. จัดทำ� คู่มือการใช้งานซอฟต์แวร์รว่ มกับ Programmer 10. ฝกึ อบรมการใชง้ านระบบซอฟต์แวร์ 11. จดั ทำ� คู่มอื การบ�ำรุงรกั ษาระบบ 12. ปฏิบตั ิงานอ่ืน ๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากผู้บงั คบั บญั ชา สภาพการจา้ งงาน ผู้ประกอบอาชีพผู้เช่ียวชาญด้านซอฟต์แวร์ประยุกต์ ส�ำเร็จการศึกษาขั้นต่�ำปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม ซอฟต์แวร์ หรือสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง มีประสบการณด์ า้ นซอฟตแ์ วร์อยา่ งนอ้ ย 5 ปี จะได้รบั คา่ ตอบแทนเป็นเงินเดือน ทร่ี ะดับเร่มิ ตน้ การท�ำงาน วุฒกิ ารศึกษาระดับปริญญาตรี ประมาณ 35,000 - 40,000 บาท และระดบั ปริญญาโท 40,000 บาทขน้ึ ไป ไดร้ บั สวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั ตามเงอื่ นไขขอ้ ตกลงกบั ผวู้ า่ จา้ ง ทำ� งานวนั ละ 8-9 ชัว่ โมง อาจท�ำงานลว่ งเวลา วันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเป็นเรง่ ด่วน วางแผน ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ านทดสอบ ประเมนิ ผล บำ� รงุ รกั ษา ใหค้ ำ� ปรกึ ษา และฝกึ อบรม โปรแกรมซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ รวม ทง้ั แก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดข้ึน

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ส่วนใหญ่ท�ำงานในส�ำนักงาน มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกสบาย เช่น ส�ำนักงานท่ัวไป มีเครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย ช่วยในการค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้จ�ำเป็นต้องนั่งท�ำงานศึกษา ข้อมูลและเอกสารต่าง ๆ ซ่ึงอาจจะต้องน่ังอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ ซ่ึงอาจจะเป็นอันตราย ต่อสายตา การที่ต้องพิมพ์งานลงบนแป้นพิมพ์นาน ๆ อาจจะมีปัญหาการปวดข้อมือ ปวดแขน และการน่ังตัวตรง นาน ๆ ก็จะท�ำใหป้ วดหลงั ได้ โอกาสในการมีงานทำ� อาชีพผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นบุคลากรในกลุ่มของซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ซ่ึงปัจจุบัน จากการคาดการณ์โดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในอีก 5 ปีข้างหน้า (ถึงปี 2552) ประเทศไทยมีความต้องการบุคลากรในกลุ่มน้ีสูงถึง 40,000 คน และปัจจุบันอาชีพน้ีมีความ ต้องการทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยในเชิงคุณภาพพบว่า บุคลากรอาชีพนี้มีความรู้สูง แต่ยังขาด ทกั ษะที่ส�ำคัญในดา้ นของความรู้ทางธุรกจิ การพัฒนาระบบ และทกั ษะด้านการจดั การบริหารขอ้ มลู และเอกสาร คณุ สมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 137 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีข้ึนไป สาขาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 2. สามารถวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบงาน รวมถงึ ความปลอดภัยและการบำ� รงุ รกั ษา 3. มคี วามรดู้ ้านฐานข้อมูล Oracle, SQL Server 4. มคี วามรดู้ ้านเครือขา่ ย, ระบบปฏบิ ัตกิ าร, ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ 5. สามารถเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอรไ์ ด้ 6. เข้าใจในด้านโครงสร้างข้อมลู , Data Flow Diagram สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา สาขาวิศวกรรมซอฟตแ์ วรใ์ นสถาบันการศกึ ษาสังกดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวทิ ยาลยั พายัพ เว็บไซต์ http://www.payap.ac.th โทรศพั ท์ 0-5330-4805 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม เวบ็ ไซต์ http://www.spu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-9120-39 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ เว็บไซต์ http://www.bu.ac.th โทรศัพท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่มีประสบการณ์ มีความสามารถและมีทักษะในการ ส่ือสารดี จะมีโอกาสเล่ือนต�ำแหน่งขึ้นเป็นผู้บริหารระดับสูงขององค์กร หรืออาจเปิดกิจการเป็นที่ปรึกษาด้าน ซอฟต์แวรไ์ ด้

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชพี ทเ่ี กีย่ วเน่ือง ทปี่ รึกษา อาจารย์ นักวเิ คราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นกั สถติ ิ นกั วิเคราะห์โครงการ แหล่งข้อมลู อน่ื ๆ - ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th/ ite โทรศัพท์ 0-2642-5001-10 - สมาคมธุรกิจคอมพิวเตอรไ์ ทย เว็บไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - สมาคมอตุ สาหกรรมซอฟตแ์ วร์ไทย เว็บไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศพั ท์ 0-2962-1348 - ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (ซิป้า) เว็บไซต์ http://www.sipa.or.th โทรศัพท์ 0-2554-0400 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยมี หานคร เวบ็ ไซต์ http://www.mut.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-2988-3666, 0-2988-3655 - ซอฟตแ์ วร์ปารค์ เวบ็ ไซต์ http://www.swpark.or.th โทรศัพท์ 0-2583-9992, 0-2962-2900 138


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook