คำนำ เอกสารฉบับนี้ จัดทาํ ขึ้นเพื่อเปน็ หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนเชยี งคานปทุมมาสงเคราะห์ โดยเน้ือหา ภายในประกอบไปดว้ ย ความนำ วิสยั ทัศนห์ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 255 วิสัยทัศน์ หลักสูตรสถานศึกษาวิสัยทัศน์หลกั สูตรท้องถิน่ เรื่อง กนิ พาแลง แยงเชยี งคาน สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ วิเคราะห์ความสอดคล้องกับสาระ มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลการเรียนรู้ของหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง กินพาแลง แยงเชียงคาน คำอธิบายรายวชิ าหลักสตู รท้องถนิ่ เรอ่ื ง กินพาแลง แยงเชยี งคาน โครงสรา้ งหลกั สตู รท้องถิ่น แนวการจัดการ เรียนรู้ตามหลักสูตร แหล่งการเรียนรู้ และสื่อประกอบหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช้ การประเมินหลักสูตร และการปรับปรุงหลักสูตร ทั้งนี้เอกสารฉบับนี้จะ สําเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากไม่ได้รับคําแนะนําจากคุณครู โรงเรียนเชียงคานปทุมมาสงเคราะห์พร้อมกับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการในครั้งน้ีที่ให้คําแนะนําและเป็นที่ ปรึกษาในการทําเอกสารในครั้งนี้ และขอขอบคุณศูนย์วิทยบริการที่ให้บริการหนังสือ และอินเตอร์เน็ตในการ สืบค้นข้อมูล ที่ใช้ประกอบการจัดทําเอกสารในครั้งนี้ ทางคณะผู้จัดทําขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ และศูนย์ วิทยบรกิ าร ซึง่ ใหข้ ้อมลู ทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการจัดทาํ เอสารฉบับนี้ คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ท่กี ำลงั ศกึ ษาข้อมูล หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทำขอนอ้ มรบั ไว้และขออภัยมา ณ ทน่ี ้ีด้วย คณะผจู้ ดั ทํา
สารบญั คำนำ (1) สารบัญ (2) 1 1. ความนำ 1 2. วิสัยทศั นห์ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 1 3. วสิ ัยทัศนห์ ลักสตู รสถานศกึ ษา 2 4. วิสัยทัศนห์ ลกั สูตรท้องถ่ิน เรือ่ ง กินพาแลง แยงเชียงคาน 3 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 3 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 7. วเิ คราะหค์ วามสอดคล้องกบั สาระ มาตรฐานและตัวชี้วดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา 4 ขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 5 8. ผลการเรียนร้ขู องหลกั สตู รท้องถิ่น เรื่อง กนิ พาแลง แยงเชียงคาน 6 9. คำอธิบายรายวิชาหลักสูตรทอ้ งถ่นิ เรอื่ ง กนิ พาแลง แยงเชยี งคาน 7 10. โครงสรา้ งหลักสตู รท้องถิน่ 9 11. แนวการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร 12. แหล่งการเรยี นรู้ และสื่อประกอบหลกั สูตร 9 10 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 มาฮู้จักพาแลงกนั 10 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เอาะหลาม 11 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 ซุปผักอะยุอะยะ (ซุปผักรวมมิตร) 12 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 เมยี่ งโคน 13 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 แจ่วบองหนงั เคม็ 13 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 ต้มแจ่วปลานำ้ โขง 14 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 มะพรา้ วแกว้ 15 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 8 ข้าวหัวหงอก 15 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 9 ท่องเทย่ี ววิถชี ุมชนคนเชียงคาน 16 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10 ล่องเรือ ขี่รถราง ยา่ งคนเดนิ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 11 มาสเตอร์เซฟ พาแลงกอ๋
สารบญั (ตอ่ ) 13. การนำหลักสูตรไปใช้ 17 14. การประเมินหลกั สูตร 18 15. การปรบั ปรุงหลักสตู ร 18 บรรณานกุ รม 19 ภาคผนวก 20
1 หลกั สูตรท้องถิ่น เรอ่ื ง กนิ พาแลง แยงเชียงคาน ************************************************************************ 1. ความนำ การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเป็นส่วนหนึ่งที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดขึ้นโดยให้ใชเ้ ป็นกรอบ และทิศทางในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็ก และเยาวชนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้าน ความรู้ และทกั ษะท่ีจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมทมี่ ีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพ่ือ พัฒนาหลักสูตรไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยจะช่วยใหม้ องเห็นผลความคาดหวังทีต่ ้องการพัฒนาการเรยี นรู้ ของผู้เรียน และมีการวัดและประเมินผลที่ชัดเจน ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจะต้องสะท้อนคุณภาพ การเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ รวมทั้งเป็นกรอบในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบที่ครอบคลุม ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประกอบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ี คาดหวงั โดยทกุ ฝา่ ยท่เี ก่ียวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และบคุ คลรว่ มรับผิดชอบ โดยทำงาน อย่างเป็นระบบ และมีความต่อเนื่องในการวางแผนดำเนินการส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบตลอดจน ปรับปรุง และแก้ไขจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 การบริหารจัดการหลักสูตรในยุคปัจจุบัน ซึ่งมีการ กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นและสถานศึกษา การกำหนดกรอบหลักสูตรท้องถิ่นจึงเป็นสาระสำคัญที่จะ ช่วยให้ผู้บริหารสถานศึกษาผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาเห็นแนวทางในการดำเนินการส่งเสริม และดูแลด้านคุณภาพให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น โดยมีจุดเน้นที่กำหนด สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่นที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ต้องเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ได้พัฒนาตนเองได้ อย่างเต็มศักยภาพ ผู้เรียนมีโอกาสไดเ้ รียนรู้เรื่องราวของท้องถิ่น ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมในชีวิตจริงทำ ให้เกิดความตระหนัก เห็นคุณค่า สำนึกรักผูกพันกับท้องถิ่น มีความภาคภูมิใจในถิ่นบ้านเกิดเป็น สมาชิกที่ดีของชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนเองในด้านต่างๆ ทั้งด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านคุณธรรม และด้านวัฒนธรรม โดยการมีส่วนช่วยในการส่งเสริมพัฒนาสืบสานวัฒนธรรมหรือ เรื่องราวของท้องถิ่นตน ตลอดจนสามารถแก้ปัญหา พัฒนาอาชีพครอบครัวและสังคมได้ตาม ความสามารถของตน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต 1 ได้จดั ทำกรอบสาระการเรียนรู้ ท้องถิ่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี
2 2 พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 ตามมาตรา 7 ความว่าส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของ ชาตภิ ูมปิ ัญญาไทย มาตรา 27 ความวา่ สถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐานมีหนา้ ทจี่ ดั ทำหลักสตู รในส่วนที่เก่ียวกับ สภาพปัญหาในชุมชน และสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น จะเห็นได้ว่าจุดเน้นของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ตาม หลักสตู รท้องถนิ่ เนน้ ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้เู กย่ี วกบั ความเปน็ มาของทอ้ งถ่ินมีความสำนึกรักผูกพันกบั ท้องถ่ิน มีความภาคภูมิใจในถ่นิ บา้ นเกิด ตลอดจนสามารถพฒั นาชวี ติ และสงั คมได้ ดว้ ยเหตุน้ีทางโรงเรียนเชยี งคานปทุมมาสงเคราะห์ จึงไดจ้ ดั ทำหลักสูตรท้องถิ่น เร่ืองกินพา แลงแยงเชยี งคาน เพอ่ื ให้นกั เรียนไดเ้ รียนร้เู ก่ียวกบั สารสนเทศของเมอื งเชียงคาน จงั หวดั เลย อนั ได้แก่ ขอ้ มลู ทั่วไป ประวัตคิ วามเปน็ มา สภาพภมู ศิ าสตร์ และสภาพทางเศษฐกจิ ในเบื้องต้น เรยี นรู้อาหารใน ทอ้ งถ่ินเมอื งเชียงคาน การเลอื กวสั ดุอุปกรณ์ กรรมวิธีการประกอบอาหารพ้ืนเมือง เมอื งเชียงคาน วิถี ชุมชนคนเชียงคาน วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีเมืองเชียงคาน ทั้งนี้ยังช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมี ความรู้ความเข้าใจต่อวิถีวัฒนธรรมความเป็นอยู่ วัฒนธรรมการรับประทานอาหารของท้องถิ่นเมือง เชยี งคาน ทำให้ผเู้ รียนเกิดความภาคภูมิใจ และมคี วามรักในถิน่ บา้ นเกิดมายงิ่ ขน้ึ 2. วิสัยทัศนห์ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาตใิ ห้เป็น มนุษยท์ ี่มคี วามสมดลุ ทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มคี วามรู้ และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา ตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั บนพืน้ ฐานความเชื่อว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเอง ไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ 3. วสิ ัยทศั นห์ ลกั สตู รสถานศึกษา เสมอภาคทางการศึกษา พัฒนาสสู่ ากล ชุมชนมสี ่วนร่วม 4. วสิ ัยทศั น์หลักสูตรท้องถน่ิ เรื่อง กินพาแลง แยงเชยี งคาน การพฒั นาหลักสูตรทอ้ งถิ่น กินพาแลง แยงเชียงคาน มุ่นพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ตอ่ วฒั นธรรมการกนิ อาหารวิถีชีวิตคนในชุมชน การประกอบอาหารพนื้ เมอื ง เมืองเชียงคานเพอื่ ให้ ผู้เรียนเกดิ กระบวนการเรยี นรู้ทักษะในการใช้ชีวิตความคู่ไปกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทักษะการทำงาน รว่ มกับผู้ได้เปน็ อย่างดรี ่วมทั้งมีจติ สำนึกในการอนุรักษ์ และสืบสานอาหารในท้องถิ่นเมอื งเชียงคานวถิ ี คนในชมุ ชนเมอื งเชยี งคาน ตลอดจนพฒั นาใหผ้ ู้เรียนเกิดความศรทั ธา เกดิ ความภาคภมู ิใจในท้องถ่ิน
3 ของตนเอง สามารถสร้างรายไดแ้ ละพึ่งพาตนเองได้ มกี ารดำเนินชวี ติ อยู่บนพื้นฐานของความ พอเพยี ง 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแก้ปญั หา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซ่อื สตั ย์สจุ รติ 3) มวี ินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยูอ่ ย่างพอเพยี ง 6) มงุ่ ม่ันในการทำงาน 7) รักความเป็นไทย 8) มจี ติ สาธารณะ คา่ นยิ ม 12 ประการ 1 .ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในส่งิ ท่ดี งี ามเพ่ือสว่ นรวม 3. กตัญญตู อ่ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม 6. มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผอู้ ่นื เผ่ือแผ่และแบ่งปนั 7. เข้าใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ ที่ถกู ต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยร้จู ักการเคารพผ้ใู หญ่ 9. มสี ตริ ้ตู วั รู้คดิ รทู้ ำ รปู้ ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว 10. รู้จกั ดำรงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รจู้ กั อดออมไว้ใชเ้ ม่ือยามจำเปน็ มีไว้พอกินพอใช้ ถา้ เหลอื ก็แจกจา่ ยจำหนา่ ย และพร้อมท่จี ะขยายกจิ การเม่ือมีความพร้อม เมื่อมี ภมู คิ มุ้ กนั ท่ีดี
4 11. มคี วามเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออำนาจฝ่ายตำ่ หรือกิเลส มี ความละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา 12. คำนึงถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง 7. วเิ คราะห์ความสอดคล้องกบั สาระ มาตรฐานและตวั ชี้วดั ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั และทักษะ การแสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนสิ ัยในการทำงาน มีจติ สำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพ่อื การ ดำรงชีวิตและครอบครวั ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน ป.4 ง 1.1 ป.4/2 ทำงาน - มารยาทในการทำงานกบั - ความเปน็ มาของอาหาร บรรลุเปา้ หมายทวี่ างไว้ ครอบครัวและผ้อู นื่ และการ ท้องถิน่ เมืองเชยี งคาน อย่างเปน็ ขน้ั ตอน ด้วย รบั ประทานอาหาร - มารจู้ กั อาหารท้องถิ่น ความขยนั อดทน เมืองเชยี งคาน/วตั ถดุ บิ / รบั ผดิ ชอบ และซ่ือสัตย์ การประกอบอาชีพ ง 1.1 ป.4/3 ปฏิบัติตน อย่างมีมารยาท ในการทำงาน ง 1.1 ป.4/4 ใช้พลงั งาน และทรัพยากร ในการทำงานอย่าง ประหยัด และคุม้ ค่า ป.5 ง 1.1 ป.5/1 อธิบาย - ข้นั ตอนการทำงาน การ - ข้ันตอนการเลือกวัตถุดบิ เหตุผลการทำงานแต่ละ ทำอาหาร ข้ันตอนถูกต้องตาม - การจัดการในการทำงาน กระบวนการทำงาน เช่นการจดั โต๊ะอาหาร ตู้ ง 1.1 ป.5/2 ใชท้ กั ษะ อาหาร ตเู้ ย็น และหอ้ งครวั การจดั การในการ ทำงาน อย่างเปน็ ระบบ
5 ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ ประณตี และมีความคดิ - มารยาทในการทำงานกบั สร้างสรรค์ ครอบครวั และผู้อื่น และการ ง 1.1 ป.5/3 ปฏบิ ตั ิตน รับประทานอาหาร อย่างมีมารยาทใน การทำงานกบั สมาชิกใน ครอบครัว ง 1.1 ป.5/4 มจี ติ สำนกึ ในการใชพ้ ลังงานและ ทรัพยากรอย่าง ประหยดั และค้มุ คา่ ป.6 ง 1.1 ป.6/1 อภปิ ราย - การทำงานและการปรบั ปรงุ - วิธกี ารปรุงอาหาร/ แนวทางในการทำงาน การทำงาน ประกอบอาหาร และปรับปรงุ การทำงาน - การจัดการในการทำงาน - ประวตั ิความเปน็ มาของ แต่ละขน้ั ตอน และทักษะการทำงานรว่ มกัน พาแลง ง 1.1 ป.6/2 ใชท้ ักษะ เช่นการเตรียมประกอบจัด - เทคนคิ การจดั พาแลง การจดั การในการ อาหารใหส้ มาชิกในครอบครวั - วธิ ีคนในชมุ ชนเมืองเชยี ง ทำงาน และมีทกั ษะการ - มารยาทในการทำงานกับ คาน ครอบครวั และผู้อน่ื และการ ทำงานรว่ มกัน ง 1.1 ป.6/3 ปฏิบตั ติ น รบั ประทานอาหาร อยา่ งมีมารยาท ในการทำงานกบั ครอบครัว และผู้อ่นื 8. ผลการเรยี นรขู้ องหลกั สูตรท้องถน่ิ เร่ือง กินพาแลง แยงเชยี งคาน 1. นกั เรยี นรู้จักความเปน็ มาของอาหารในท้องถน่ิ เมอื งเชียงคาน 2. นกั เรียนร้จู กั ช่อื ของอาหารในท้องถ่นิ เมืองเชยี งคาน 3. นกั เรยี นรจู้ ักวัตถุดบิ ท่ีประกอบอาหารท้องถ่ินเมอื งเชยี งคาน 4. นักเรยี นสามารถเลือกใชอ้ ุปกรณ์เพอ่ื ประกอบอาหารท้องถิ่นเมืองเชยี งคานได้อยา่ ง เหมาะสม 5. นกั เรยี นมที ักษะในการประกอบอาหารอย่างเปน็ ขั้นตอน 6. นักเรยี นสามารถนำเสนออาหารท้องถนิ่ เมืองเชยี งคานได้อย่างสร้างสรรค์
6 7. นักเรียนได้เรียนรู้วถิ ีคนในชุมชนเมืองเชียงคาน 8. นกั เรียนมีทักษะในการทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน 9. นักเรยี นตระหนักถงึ คุณคา่ ศิลปะ วัฒนธรรมท้องถ่นิ ของเมอื งเชียงคาน 9. คำอธิบายรายวิชาหลักสูตรทอ้ งถ่นิ เร่อื ง กินพาแลง แยงเชียงคาน ศึกษาความเป็นมาของศิลปะวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นเมืองเชียงคานซง่ึ ประกอบดว้ ย ศลิ ปะวัฒน การกิน การดำรงชีวิต วธิ ีชมุ ชนทอ้ งถิ่นของตนการเลือกใชว้ ตั ถดุ บิ วสั ดอุ ปุ กรณ์ รวมไปถึงขั้นตอนการ ประกอบอาหารทอ้ งถ่นิ เมืองเชยี งคาน เช่น เม่ยี งโคน่ ข้าวหลาม ตม้ แจว่ ปลา ข้าวปนุ้ ฮ้อน ซปุ ผักอะ ยุอะยะ เอาะหลาม เป็นต้น นำเสนอวิธกี ารทำอาหารรปู แบบการจัดพาแลง ซึง่ เป็นวิถีของคนในชมุ ชนท้องถ่ินเมืองเชียง คาน มีการพฒั นาหรอื ปรับปรงุ เพ่ือตอบสนองความต้องการของคนในชุมชน เห็นคุณคา่ ของอาหารในท้องถิ่น ศลิ ปะวัฒนธรรมในการจัดตกแต่งการประกอบอาหารการ เลือกวตั ถุดบิ ให้เกิดประโยนชอ์ ยา่ งสูงสดุ คำนึงถงึ ความปลอดภัยของผ้บู รโิ ภค ตลอดจนการสบื สาน ศิลปะวัฒนธรรมวิถชี มุ ชนให้ผูเ้ รยี นเกดิ ความภาคภูมิใจและมคี วามรักในท้องถ่ินบา้ นเกิด ผลการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ( พฤติกรรมที่สำคญั และทกั ษะสำคญั ) 1. รจู้ ักความปน็ มาของอาหารท้องถ่ินเมืองเลย 2. รู้จักช่อื อาหารท้องถิ่นเมืองเชียงคาน 3. รจู้ กั วิธกี ารเลอื กใชว้ ตั ถดุ ิบในท้องถน่ิ มาใชป้ ระกอบอาหาร 4. เลอื กใช้วตั ถุดิบมาใช้ประกอบอาหารในท้องถิ่นอยา่ งเหมาะสม 5. ร้จู กั ข้นั ตอนการและเทคนคิ การประกอบอาหารท้องถิ่นเมืองเชยี งคาน 6. นำเสนออาหารท้องถน่ิ เมืองเชียงคานได้อย่างสรา้ งสรรค์ 7. รจู้ ักวถิ ขี องคนในชมุ ชนเมืองเชียงคาน -ตกั บาตรข้าวเหนยี ว -ผาสาดลอยเคราะห์ -แหป่ ราสาทผ้งึ -ปั่นจกั รยานชมบา้ น 100 ปี -ถนนคนเดินเชยี งคาน -เที่ยวแก่งคุดคู้ -ชมทะเลหมอกภทู อก
7 10. โครงสร้างหลักสูตรท้องถนิ่ ( 20 ชว่ั โมง) หนว่ ย ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั ชัว่ โมง น้ำหนัก ที่ การเรยี นรู้ 1,2,8 คะแนน มารู้จักพาแลง อาหารท้องถิ่นเมืองเชียงคานจะ 2 1 มาแยงเชียง 2,3,4,6,7 มีเอกลักษณ์เป็นการเลือก 2 5 คาน วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นเน้นถูก 10 2,3,4,6,7 หลกั โภชนาการครบ 5 หมู่ 2 2 เอาะหลาม 2,3,4,6,7 เอาะกลามเป็นอาหารประจำ 2 10 2,3,4,6,7 เมอื งเชียงคานซึ่งประกอบไป 2 10 ซุปผกั อะยอุ ะ 2,3,4,6,7 ด้วยหนงั เค็มจ่ี/เน้อื แหง้ /เนอื้ ขา 2 10 3 ยะ (ซปุ ผัก ลาย เลอื กตามความชอบ ผกั ชี/ 10 ตน้ หอม/แมงลัก/มะเขอื เผา/ รวมมิตร) ตะไคร้เผา/หอม/กระเทียม/ข่า/ 4 เม่ียงโค่น ผริกสด นำทุกอย่างเผาให้หอม นำมาโขรกพอบุบๆ นำไปต้มใส่ 5 นำ้ แจว่ บองหนงั เน้อื หรอื หนังเคม็ ปรุงรสด้ยปลา เคม็ ร้า/นำ้ ปลา ซุปผักอะยุอะยะ เป็นอาหารที่ 6 ต้มแจ่วปลาน้ำ อุดมไปด้วยวิตามิน โปรตีนจาก โขง เ น ื ้ อ ห ม ู เ น ื ้ อ ป ล า ซ่ึ ง ประกอบด้วยผักต่าง ๆ ที่มีใน ท้องถิ่น ผักกาด ผักแว่น ผักบุ้ง หน่อไม้ ใบตำลึง ผักคาด เห็ดหู หนู เห็ดบด งาคั่ว ซึ่งผักต่าง ๆ สามารถปรบั ได้ตาม ฤดกู าล เมี่ยงโค่นประกอบไปด้วยผัก สมุนไพรในท้องถิ่น ขิง ข่า ตะไคร้ มะเขือ พริก ถั่วลิสงค่ัว มะเขือเทศ กากหมู ขนมจีน น้ำ เมี่ยงประกอบด้วย น้ำปลาร้า/ นำ้ ตาล/นำ้ มะขามเปียก แจ่วบองหนังเค็มประกอบด้วย พริกแห้งคั่ว หอม กระเทียม ทอดให้สุกนำโขรกให้ละเอียด เอกลักษณ์อยู่ที่หนังเค็มจี่สับ ละเอียดใส่แจ่วบอง และมีผัก เครื่องเคียง ประกอบด้วย แตงกวา มะเขือหรือผักสดที่มี ตามฤดูกาล ตม้ แจว่ ปลานำ้ โขง เป็นอาหารท่ี มีคุณค่าทางโภชนาการ
7 มะพรา้ วแกว้ 2,3,4,6,7 ประกอบด้วย เนื้อปลาน้ำโขง 2 8 สมุนไพร ได้แก่ ข่า ตะไคร้พริก 8 ขา้ วหัวหงอก 2,3,4,6,7 สด มะเขือ แมงลัก ต้นหอม 2 10 ผักชี เคล็ดลับความอร่อยอยู่ท่ี ทอ่ งเทย่ี ววิถี 1,2,8 สมนุ ไพรทกุ อย่างนำไปเผาไฟจะ 2 10 9 ชุมชนคนเชียง 1,8 ไดก้ ล่นิ หอมของสมุนไพร 1 3,4,6,7 มะพร้าวแก้ว เป็นขนมขึ้นช่ือ 5 คาน เมืองเชียงคาน ซึ่งทำจาก 10 รวม มะพร้าว โดยนำมะพร้าวมาผ่า 10 ลอ่ งเรอื ขี่รถราง ควกเอาเนื้อมะพร้าวมาฝานเป็น 100 10 ยา่ งถนนคน แผ่นบาง ๆ น้ำไปต้มให้สุกกับ เดิน น้ำตาลเคี่ยวจนแห้งเก้บไว้ รบั ประทานไดน้ าน ข้าวหัวหงอก เป็นขนมหวาน ประจำท้องถิ่น ประกอบไปด้วย ข้าวเหนียว กล้วยสุก เมล็ด ธัญพืช เกลือ โดยนำข้าวสาร เหนียวแช่น้ำทิ้งไว้ข้ามคืนนำมา ทำให้สเด็ดน้ำ ผสมเมล็ดธัญพืช เกลือ คลุกเคล้าให้เข้ากนั นำมา หอ่ ใบตอง ใส่กล้วยสกุ ตามชอบ ใจหมัดให้แน่นำไปต้มนาน 2 ชั่วโมง และข้าวต้มที่สุกใส่จาน ข ู ด ม ะ พ ร ้ า ว โ ร ย ห น้ า รับประทานร้อน ๆ (เติมน้ำตาล ได้ตามชอบใจ) ตักบาตรข้าวเหนียว เที่ยวชม งานผาสาดลอยเคราะห์/การทำ ปราสาทผึง้ ปนั่ จกั รยานชมเมอื ง เก่า 100 ปี เที่ยวชมแก่งกุดคู่ ล่องเรือดูวิถีชาวประมง ไหว้ พระ 9 วดั - 11 มาสเตอรเ์ ซฟ - 1 พาแลงก๋อ สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 20
9 11. แนวการจดั การเรียนรู้ตามหลกั สูตร หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 มาฮู้จักพาแลงกัน 1. ผลการเรียนรู้ 1,2,8 -รู้จักความปน็ มาของอาหารทอ้ งถิน่ เมืองเลย 2. สาระ อาหารทอ้ งถ่นิ เมืองเชียงคาน จะมีเอกลักษณเ์ ป็นการเลอื กวตั ถดุ บิ ที่มีในท้องถิ่นเน้นถูก หลกั โภชนาการครบ 5 หมู่ 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูนำบัตรภาพอาหารในท้องถน่ิ ของเมอื งเชียงคาน คือ เอาะหลาม ซุปผักอะยุอะยะ (ซปุ ผักรวมมติ ร) เม่ยี งโคน่ นำ้ แจ่วบองหนงั เคม็ ต้มแจว่ ปลาน้ำโขง มะพรา้ วแกว้ ขา้ วหวั หงอก ใหน้ ักเรยี ดู ครกู ระตุ้นใหน้ กั เรียนมีสว่ นร่วมโดยตอบคำถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 จากภาพนกั เรยี นรู้จักอาหารใดบ้าง 1.2 นกั เรียนเคยรบั ประทานอาหารชนดิ ใดบ้าง 2. ครูนำตัวอยา่ งเมนอู าหารของจริง 3 อยา่ ง คือ เม่ียงโคน่ ข้าวหวั หงอก มะพรา้ วแก้ว มาให้ นกั เรียนดแู ละชิม พรอ้ มทัง้ บอกทม่ี าของอาหาแตล่ ะอยา่ งของเมืองเชียงคาน 3. นักเรยี นแบง่ กล่มุ ออกเป็น 8 กลุม่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน ตามความสมัครใจแลว้ ให้ตัวแทน กลมุ่ ออกมาเลอื กหวั ข้อเมนูอาหารของเมอื งเชียงคาน คือ เอาะหลาม ซุปผักอะยอุ ะยะ (ซุปผกั รวม มิตร) เมย่ี งโค่น นำ้ แจ่วบองหนังเคม็ ต้มแจ่วปลานำ้ โขง มะพรา้ วแกว้ ข้าวหัวหงอก แลว้ ให้แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาความเปน็ มาของอาหารท่ีจับสลากไดจ้ ากอินเทอร์เน็ต หนังสือวารสาร เพือ่ ค้นคว้าเพิม่ เตมิ แลว้ สรปุ ท่ีมาของอาหารพืน้ เมืองเชียงคาน ลงในใบกจิ กรรมกลุ่ม เรอ่ื ง มาฮู้จักพาแลงกัน 4. ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ประวัตคิ วามเป็นมาของอาหารพ้ืนเมืองเชียงคาน ทส่ี รุปได้ หนา้ ชั้นเรยี นทีละกลุ่ม 5. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้อาหารพื้นเมืองเชียงคาน จากที่แต่ละกลุ่มออกมา นำเสนอ 4. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. บัตรภาพอาหารพื้นเมืองเชียงคาน คือ เอาะหลาม ซุปผักอะยุอะยะ (ซุปผักรวมมิตร) เม่ียงโคน่ นำ้ แจ่วบองหนังเคม็ ตม้ แจว่ ปลานำ้ โขง มะพร้าวแก้ว ข้าวหัวหงอก 2. อาหารของจริง คือ เมยี่ งโคน่ มะพร้าวแกว้ ข้าวหัวหงอก 3. ใบกจิ กรรมกลมุ่ เรอ่ื ง มาฮจู้ กั พาแลงกนั 4. หนงั สอื เรยี น 5. วารสารเกีย่ วกบั อาหารพน้ื เมอื งเชยี งคาน 5. การวัดและประเมินผล 1. ตรวจใบกิจกรรมกลุ่ม เรื่อง มาฮจู้ ักพาแลงกัน
10 2. สงั เกตการณม์ ีส่วนร่วมของนักเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เอาะหลาม 1. ผลการเรียนรู้ 2,3,4,6,7 - รูจ้ กั ชื่ออาหารท้องถนิ่ เมอื งเชยี งคาน 2. สาระ เอาะกลามเป็นอาหารประจำเมืองเชียงคานซึ่งประกอบไปด้วยหนังเค็มจี่/เนื้อแห้ง/เนื้อขา ลาย เลือกตามความชอบ ผักชี/ต้นหอม/แมงลัก/มะเขือเผา/ตะไคร้เผา/หอม/กระเทียม/ข่า/ผริกสด นำทกุ อยา่ งเผาให้หอม นำมาโขรกพอบบุ ๆ นำไปตม้ ใส่เนื้อ หรอื หนงั เค็มปรงุ รสดย้ ปลาร้า/น้ำปลา 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครนู ำบัตรภาพ เอาะหลามแสดงใหผ้ เู้ รยี นดู 1.1 ครูถาม นกั เรียนวา่ จากภาพมชี อื่ อาหารวา่ อย่างไร นกั เรียนเหน็ วัตถุดบิ อะไรบ้าง 2. ครแู บ่งนกั เรียนออกเปน็ กลมุ่ กลุม่ ละ 5 คน 3. ครูแนะนำวตั ถดุ บิ การทำเอาะหลาม และขน้ั ตอนการทำ ดังน้ี 3.1 วัตถุดิบ ได้แก่ เนื้อสัตว์ เช่น ไก่ หมู หนังเค็ม (ตามที่ต้องการ) พริก ข่า ตะไคร้ มะเขือ หอมแดง ขิง ใบแมงลกั พกั ชีลาว 3.2 ครแู จกใบความรู้ - ให้นกั เรียนศึกษาใบความรู้/วางแผนการทำงาน 3.3 ครแู จกวัตถดุ บิ / อุปกรณ์ การทำ 3.4 ลงมอื ปฏิบัติตามข้ันตอนในใบความรู้ 3.5 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันประเมินการทำงาน 4. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. บตั รกจิ กรรมภาพ เอาะหลาม 2. วตั ถุดบิ และอปุ กรณ์ในการทำเอาะหลาม 3. ใบความรู้ เร่อื ง เอาะหลาม 5. การวัดและประเมินผล 1. ประเมนิ คณุ ภาพการทำงานเอาะหลาม หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 ซุปผักอะยอุ ะยะ (ซปุ ผักรวมมิตร) 1.ผลการเรยี นรู้ 2,3,4,5,6,7 - รจู้ ักวิธกี ารเลอื กใช้วตั ถดุ บิ ในทอ้ งถน่ิ มาใช้ประกอบอาหาร 2. สาระ ซุปผกั อะยุอะยะ เป็นอาหารท่ีอดุ มไปดว้ ยวติ ามนิ โปรตีนจากเนอ้ื หมูเน้ือปลา ซึ่ง ประกอบด้วยผกั ต่าง ๆ ท่ีมใี นท้องถนิ่ ผักกาด ผกั แว่น ผักบุ้ง หน่อไม้ ใบตำลงึ ผกั คาด เห็ดหหู นู เหด็ บด งาคัว่ ซ่ึงผกั ต่าง ๆ สามารถปรับไดต้ าม ฤดูกาล
11 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูนำบตั รภาพ “ซุปผกั อะยอุ ะยะ” แสดงใหน้ ักเรียนดู 1.1 ครูถามว่าจากภาพนักเรียนคิดเห็นวา่ มีประโยชนอ์ ย่างไร(คุณค่าทางโภชนาการ)มผี กั อะไรบา้ ง/ มโี ปรตีนหรือไม่ 1.2 ถา้ นกั เรียนรับประทานอาหารนแี้ ลว้ นกั เรียน ถา้ นักเรยี นรับประทานอาหารนีแ้ ล้วถา้ นกั เรยี นรับประทาน ถา้ นกั เรียนรับประทานอาหารนี้แลว้ ถ้านักเรียนรบั ประทานอาหารนแี้ ลว้ ถา้ นกั เรยี นรบั ประทานอาหารน้ีแล้วถ้านักเรยี นรับประทานอาหารนี้แลว้ จะได้ประโยชนอ์ ยา่ งไร 2. ครแู บง่ กลุม่ กลุ่มละ 7-8 คนศึกษาใบความรู้วางแผนการทำงาน 3. ครใู หน้ ักเรยี นศกึ ษาความรู้จากใบความรู้ 3.1 ศกึ ษาวัตถดุ ิบ/ขนั้ ตอนการทำใหเ้ ขา้ ใจ 3.2 วางแผนการทำงาน 3.3 ลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ 4. สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ 1. บัตรภาพ “ซุปผักอะยุอะยะ” 2. วัตถุดิบ/อปุ กรณ์การทำ ซุปผักอะยอุ ะยะ 3. ใบความรู้เร่อื งซุปผักอะยุอะยะ 5. การวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ คุณภาพรสชาต/ิ ความอร่อย/การเลือกวัตถดุ บิ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เม่ียงโคน 1. ผลการเรยี นรู้ 2,3,4,5,6,7 2. สาระ เมย่ี งโคน่ ประกอบไปดว้ ยผกั สมุนไพรในท้องถน่ิ ขิง ขา่ ตะไคร้ มะเขือ พริก ถว่ั ลสิ งคั่ว มะเขือเทศ กากหมู ขนมจนี น้ำเม่ยี งประกอบด้วย นำ้ ปลารา้ /น้ำตาล/นำ้ มะขามเปียก 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครนู ำบตั รภาพ “เม่ียงโคน่ ” แสดงใหน้ ักเรยี นดู ครถู ามว่าจากภาพนกั เรยี นคิดเหน็ ว่ามปี ระโยชนอ์ ยา่ งไรคุณค่าทางโภชนาการมีผกั อะไรบา้ ง/ มโี ปรตนี หรอื ไม่ 2. ครูแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 7-8 คน 3. ครแู นะนำวตั ถุดบิ ในการทำเมี่ยงโคน่ 3.1 วัตถุดบิ ข่าตะไคร้มะเขือหอมกระเทยี มกากหมูถ่ัวลสิ งน้ำเน่ยี นำ้ ปลารา้ น้ำปลาน้ำมะขามเปยี กน้ำ มะนาว 3.2 ครแู จกใบความรู้
12 - นักเรียนศกึ ษาใบความร้/ู วางแผนการทำงาน 3.4 ลงมอื ปฏบิ ัติตามใบความรู้ 3.5 ครู/นักเรยี นร่วมกนั ประเมนิ การทำงาน การวางแผน/การปฏบิ ัติ/ผลสำเรจ็ 4. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 1. บัตรภาพ 2. วัตถดุ บิ /อุปกรณ์การทำ “เมย่ี งโค่น” 3. ใบความร้เู รือ่ ง “เมยี่ งโค่น” 5. การวัดและประเมินผล ประเมินคุณภาพรสชาต/ิ ความอร่อย/การเลอื กวตั ถดุ บิ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 แจ่วบองหนงั เคม็ 1. ผลการเรยี นรู้ 2,3,4,5,6,7 2. สาระ แจว่ บองหนงั เค็มประกอบด้วย พรกิ แห้งคัว่ หอม กระเทียมทอดให้สุกนำโขรกให้ละเอยี ด เอกลกั ษณ์อย่ทู ห่ี นังเคม็ จ่สี ับละเอยี ดใส่แจว่ บอง และมีผักเครอ่ื งเคยี ง ประกอบดว้ ยแตงกวา มะเขือ หรอื ผกั สดท่ีมตี ามฤดูกาล 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนำบัตรภาพ “แจว่ บอง” แสดงให้นักเรียนดู ครถู ามว่านักเรยี นคดิ วา่ อาหารชนิดรีม้ ีสมุนไพรอะไรบ้าง 2. ครูแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 7-8 คน 3. ครูแนะนำวิธกี ารทำ “แจว่ บองหนงั เค็ม” 4. ครูแจกใบความรกู้ ารทำ “แจ่วบองหนังเค็ม” 5. สมาชิกในกล่มุ ร่วมกันวางแผน/เลอื กวตั ถุดิบในการทำ “แจ่วบองหนงั เค็ม” 6. จากน้ันฝึกปฏบิ ตั ิ “แจ่วบองหนงั เค็ม” ตามใบความรใู้ บงาน 7. ประเมนิ ผลการปฏิบตั รงาน 4. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. บัตรภาพ “แจว่ บองหนงั เค็ม” 2. วัตถุดิบ “แจ่วบองหนงั เค็ม” 3. ใบความรูเ้ ร่ือง “แจ่วบองหนงั เค็ม” 4. ใบงาน 5. การวดั และประเมินผล ประเมนิ คุณภาพการ “แจ่วบองหนังเค็ม”
13 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 ตม้ แจ่วปลาน้ำโขง 1. ผลการเรยี นรู้ 2,3,4,5,6,7 2. สาระ ตม้ แจว่ ปลาน้ำโขง เปน็ อาหารที่มคี ุณค่าทางโภชนาการ ประกอบดว้ ย เน้ือปลาน้ำโขง สมุนไพร ได้แก่ ขา่ ตะไคร้พริกสด มะเขอื แมงลกั ตน้ หอม ผักชี เคล็ดลับความอร่อยอยู่ท่ีสมุนไพรทุก อย่างนำไปเผาไฟจะได้กล่นิ หอมของสมนุ ไพร 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูนำบตั รภาพ “ตม้ แจว่ ปลานำ้ โขง” แสดงให้นักเรยี นดู 1.1 ครูถามนักเรยี นว่าจากภาพมชี อื่ อาหารว่าอย่างไร มวี ตั ถดุ ิบอะไรบา้ ง 2. ครแู บง่ กลมุ่ กลุ่มละ 5 คน 3. ครูแนะนำวธิ กี ารทำ “ต้มแจว่ ปลานำ้ โขง” 3.1 วัติถดุ บิ ไดแ้ ก่ ขงิ ขา่ ตะไคร้ หอมแดง ผกั ชลี าว มะเขือ 4. ครแู จกใบความรู้เร่ือง “ต้มแจ่วปลาน้ำโขง” ใหนักเรียนกลมุ่ ละ 2 แผ่นเพื่อให้นักเรยี นศึกษา ข้ันตอนการทำ “ต้มแจ่วปลาน้ำโขง” 5. นักเรียนลงมือปฏบิ ัติโดยทำตามใบความรู้ 6. เม่อื ทกุ กลมุ่ ทำเสรจ็ ใหต้ วั แทนกลุม่ และครชู ิมอาหารของแต่ละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม และให้คะแนน ในการทำงาน 7. ประเมินผลการปฏิบัตรงาน 4. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ 1. บตั รภาพ “ตม้ แจ่วปลาน้ำโขง” 2. วัตถุดบิ “ต้มแจว่ ปลาน้ำโขง” 3. ใบความรู้เรอ่ื ง “ต้มแจ่วปลาน้ำโขง” 5. การวัดและประเมินผล ประเมินคุณภาพการ“ต้มแจ่วปลานำ้ โขง” หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 มะพรา้ วแก้ว 1. ผลการเรียนรู้ 2,3,4,5,6,7 2. สาระ มะพร้าวแกว้ เป็นขนมขึ้นชือ่ เมืองเชยี งคาน ซ่ึงทำจากมะพร้าว โดยนำมะพรา้ วมาผา่ ควก เอาเนื้อมะพรา้ วมาฝานเปน็ แผ่นบาง ๆ นำ้ ไปต้มให้สกุ กบั น้ำตาลเคยี่ วจนแหง้ เก้บไว้รบั ประทานได้นาน 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครนู ำบตั รภาพ “เมีย่ งโค่น” แสดงใหน้ กั เรยี นดู ครนู ำแหล่งบรรจุผลติ ภัณฑจ์ ากมะพรา้ วแกว้ ใหน้ กั เรียนได้ดู 1.1 ครถู ามวา่ จากหอ่ บรรจผุ ลติ ภณั ฑท์ น่ี ักเรียนได้เหน็ เป็นผลติ ภณั ฑช์ นิดใดจากนน้ั ครไู ด้ถามนกั เรยี น วา่ ผลิตภัณฑ์ชนิดน้มี ปี ระโยชน์คุณค่าทางโภชนาการอยา่ งไร พรอ้ มให้นักเรยี นตอบพร้อมท้ังแสดง ความคิดเห็น และครูได้สรปุ
14 1.2 ตัวแทนนกั เรยี นรบั ประทานอาหารประเภทน้ีแลว้ นักเรียนได้รบั ประโยชนอ์ ยา่ งไร 2. ครแู บง่ กลุม่ กลุ่มละ 7-8 คน ใหศ้ ึกษาใบความรู้และร่วมกบั วางแผนกระบวนการ การทำงาน 3. ครูให้นกั เรียนศึกษาความรู้จากใบความรู้พร้อมทัง้ รับชมวิดีทัศนข์ น้ั ตอนกระบวนการทำมะพร้าว แก้ว 3.1 ศกึ ษาวตั ถดุ ิบข้ันตอนการทำใหเ้ ข้าใจ 3.2 วางแผนการทำงาน 3.3 ลงมือปฏิบตั ติ ามแผนงานทวี่ างไว 3.4 ครูและนกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติพร้อมทั้งสรุปบทเรยี นร่วมกัน 4. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 1. บรรจุผลติ ภณั ฑ์ มะพร้าวแกว้ 2. วตั ถุดิบ/อุปกรณ์การทำ มะพรา้ วแก้ว 3. ใบความรู้เรอื่ ง “เมยี่ งโค่น” 5. การวดั และประเมนิ ผล ประเมินคุณภาพรสชาต/ิ การเลอื กวัตถุดิบ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 ขา้ วหัวหงอก 1. ผลการเรียนรู้ 2,3,4,5,6,7 2. สาระ ข้าวหัวหงอก เป็นขนมหวานประจำท้องถิ่น ประกอบไปดว้ ย ข้าวเหนยี ว กลว้ ยสุก เมลด็ ธัญพชื เกลอื โดยนำขา้ วสารเหนียวแช่น้ำทงิ้ ไว้ขา้ มคืนนำมาทำใหส้ เด็ดนำ้ ผสมเมล็ดธัญพชื เกลอื คลุกเคลา้ ใหเ้ ขา้ กัน นำมาหอ่ ใบตอง ใสก่ ล้วยสุก ตามชอบ 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ นำวัตถดุ บิ ที่ครูบอกในช่วั โมงที่แล้วออกมาตรวจสอบวา่ กลุ่มใดมวี ัตถุดิบ ครบหรอื ไมอ่ ย่างไร 1.1 วัตถดุ ิบทนี่ ักเรยี นเตรียมมา ได้แก่ ข้าวหนียว มะพร้าวอ่อน น้ำตาลมาจากบา้ น 2. ครูเตรียมวตั ถุดิบและอปุ กรณห์ ลักให้นกั เรียนดู 3. ครแู นะนำวัตถุดิบและข้ันตอนการทำให้นกั เรยี นดู 4. ครูแจกใบความรเู้ ร่อื ง “ข้าวหงอก” ให้นักเรียนทุกกลุ่มเพ่ือให้นักเรียนศึกษาเพ่ิมเติม 5. นกั เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิโดยมีครูดูแลอย่างใกล้ชิด 6. เมือ่ ทกุ กลุ่มทำเสร็จให้ตกแต่งจานอยา่ งสวยงามจากนั้นให้ครแู ละตวั แทนของแตล่ ะกลุ่มชมิ อาหาร ของทุกกลุ่มเพ่ือลงคะแนนความอร่อย และคะแนนความสวยงามของการตกแต่ง 4. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ใบความรู้ที่ 8 เร่ือง “ข้าวหวั หงอก” 5. การวดั และประเมนิ ผล ประเมนิ คุณภาพการการทำข้าวหัวหงอก
15 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 ท่องเท่ียววถิ ชี ุมชนคนเชยี งคาน 1. ผลการเรียนรู้ 1,2,8 2. สาระ ตกบาตรข้าวเหนยี ว เท่ียวชมงานผาสาดลอยเคราะห์/การทำปราสาทผง้ึ ป่ันจกั รยานชม เมอื งเกา่ 100 ปี เทย่ี วชมแกง่ กุดคู่ ลอ่ งเรือดูวถิ ีชาวประมง ไหว้พระ 9 วัด 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครนู ำบตั รภาพ แหล่งทอ่ งเท่ยี วเมืองเชียงคาน/ชมวดิ ีทัศน์แหลง่ ทอ่ งเท่ียวเมืองเชยี งคาน 2. ครูถามนักเรียนว่าใครเคยไปเทย่ี วชมที่ไหนบา้ ง 3. นกั เรยี นจะแสดงออกถึงการอนรุ กั ษ์ศิลปะะวัฒนธรรมเหล่าน้นั อยา่ งไร 4. ครแู ละนกั เรยี นทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ชมวิถชี วี ิตของคนในชมุ ชนท้องถิ่นเมืองเชียงคาน 5. นำความรูท้ ่ีได้จากการทศั นศกึ ษาแหล่งเรียนร้มู านำเสนอผลการทัศนศึกษาแหล่งเรยี นร้หู น้าชน้ั เรยี นมานำเสนอผลการทศั นศึกษาแหลง่ เรียนร้หู นา้ ชนั้ เรยี น 6. เสนอแนะวธิ ีการอนุรกั ษ์ศิลปะวัฒนธรรมทัง้ ถ่ินเมืองเชียงคาน 7. ประเมนิ ผลการนำเสนองานหนา้ ชัน้ เรยี น 4. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ 1. บตั รภาพ วิถเี มืองเชียงคาน 2. วดี ิทศั น์ ชมเมอื งโบราณริมฝั่งโขง 3. ใบความรู้ 4. ใบงาน 5. การวดั และประเมนิ ผล ประเมนิ คุณภาพ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 ลอ่ งเรือ ขีร่ ถราง ยา่ งคนเดนิ ผลการเรยี นรู้ 1,8 เวลา 1 ชง่ั โมง กิจกรรม ขน้ั นำ 1. ครนู ำนกั เรียนศึกษานอกสถานท่ีในพ้ืนท่ีอำเภอเชยี งคาน ครูต้ังคำถามกระตู้ผู้เรียนว่าอำเภอ เชยี งคานบา้ นเรามีสถานที่สำคญั ใดบ้างทเี่ ป็นแหล่งทอ่ งเทยี่ ว 2. นกั เรียนได้คำตอบคำถามทค่ี รูต้ังประเด็นไว้ พร้อมทั้งเตรยี มตัวทีจ่ ะศกึ ษานอกสถานท่ี ขัน้ สอน 1. ครูและนกั เรียนศึกษานอกสถานท่ี โดยศึกษาศูนยช์ าวประมงของชาวบา้ น เพอ่ื ศึกษาวิถีการ ทำประมงของชาวบ้าน พร้อมทัง้ ได้รบั คา่ บรรยายจากปราชญช์ าวบ้าน 2. ครูและนักเรียนล่องเรือตามริมน้ำโขงไปยังแก่งคุดคู้ จากนั้นศึกษาตำนานความเป็นมาของ แกง่ คุดคู้ และรบั ชมพิพิธภณั ฑ์ทแี่ กง่ คุดคู้
16 3. ครูและนักเรียนขึ้นรถรางจากแก่งคุดคู้ไปยังวัดท่าคก ศึกษาประวัติความเป็นมาของวัดท่า ดก และเยย่ี มชมวัด พรอ้ มทง้ั ไดร้ บั ค่าบรรยายจากครู 4. ครูและนักเรียนเดนิ ชมวถิ ีชวี ติ ของถนนคนเดิน โดยครใู ห้ผู้เรียนทำการจดบันทึกเส้นทางที่ได้ พบเห็น 5. ครูและนักเรียนศึกษาเยี่ยมชมวัดศรีคุณเมือง โดยมีคุณธรรม ประวัติความเป็นมา และ ศลิ ปวฒั นธรรมของพระอโุ บสกวัดศรคี ณุ เมือง 6. ครใู ห้นกั เรียนเขยี นสรุปกจิ กรรมในรปู แบบ แผนภาพ (mapping) 7. ครูและนกั เรยี นสรุปเน้ือหาร่วมกัน - สือ่ - สถานทสี่ ำคัญของอำเภอเชยี งคาน ศูนยป์ ระมงชุมชน แก่งคุดคู้ วัดท่าคก วดั คณุ เมือง - การวดั และการประเมนิ ผล แบบบันทึกกิจกรรมทศั นศึกษา นอกสถานท่ี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 11 มาสเตอรเ์ ซฟ พาแลงกอ๋ ผลการเรียนรู้ 3,4,6,7 เวลา 1 ชง่ั โมง กิจกรรม ขั้นนำ 1. ครแู ละนกั เรยี นจัดเตรียมสถานท่ี เตรยี มอปุ กรณ์ วสั ดุ การจัดกจิ กรรมมาสเตอร์เซฟ พาแลง ให้พรอ้ มกบั การจัดกิจกรรม และจัดรูปแบบกจิ กรรมในรูปแบบการแข่งขันรายการอาหาร ข้ันสอน 1. ครูให้นักเรียนที่ครูจัดเตรียมไว้ดำเนินรายการ อธิบายขั้นตอนกติกาการแข่งขันในรายการ มาสเตอร์เซฟ พาแลง ใหน้ ักเรยี นเข้าใจลบั รพู้ รอ้ มกัน 2. นักเรียนทุกกลุ่มลงมือทำการแข่งขันการทำอาหาร มาสเตอร์เซฟ พาแลง ตามกลุ่มที่ครูได้ แบ่งเน้ือหา และอาหารพาแลงเชยี งคาน โดยให้ใชเ้ วลาในการทำอาหาร เวลา 20 นาที 3. นักเรียนประกอบอาหารจัดจานให้สวยงาม พร้อมส่งคณะกรรมการ และใช้คณะกรรมการ สอบถามขอ้ สงสยั ในการประกอบอาหาร เวลากลุ่มละ 5 นาที 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเนอื้ หาการทำกิจกรรมมาสเตอร์เซฟ พาแลง 5. นกั เรยี นสรุปเนอื้ หาโดยกจิ กรรมถอดบทเรยี น แบบบรู ณาการกับเศรษฐกิจพอเพียง - สอ่ื
17 กิจกรรมมาสเตอร์เซฟ พาแลง - การวดั และการประเมินผล การสงั เกตพฤติกรรม 12. แหล่งการเรยี นรู้ และส่อื ประกอบหลักสตู ร 1. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ - วารสารเกยี่ วกบั อาหารพ้นื เมอื งเชยี งคาน - หนงั สือเรียน - ใบความรทู้ ่ี 2 เรื่อง เอาะหลาม - ใบความร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง ซปุ ผักอะยุอะยะ - ใบความร้ทู ี่ 4 เรือ่ ง เม่ยี งโคน่ - ใบความรู้ที่ 5 เรอ่ื ง นำ้ แจว่ บองหนงั เคม็ - ใบความรทู้ ี่ 6 เรื่อง ตม้ แจ่วปลาน้ำโขง - ใบความร้ทู ่ี 7 เรื่อง มะพรา้ วแก้ว - ใบความรู้ท่ี 8 เรอ่ื ง ข้าวหัวหงอก - ใบความรทู้ ี่ 9 เรื่อง ทอ่ งเทีย่ ววถิ ีชุมชนคนเชียงคาน 2. แหลง่ เรียนรูภ้ ายในชุมชน - ผู้รู้/ปราชญ์ชาวบ้าน 3. ภาระงาน/ชนิ้ งาน - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง มาฮู้จกั พาแลงกนั - ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง เอาะหลาม - ใบกิจกรรมที่ 3 เรอ่ื ง ซุปผักอะยุอะยะ - ใบกิจกรรมท่ี 4 เรอื่ ง เมี่ยงโคน่ - ใบกิจกรรมที่ 5 เรอ่ื ง นำ้ แจว่ บองหนงั เคม็ - ใบกิจกรรมท่ี 6 เรื่อง ตม้ แจว่ ปลานำ้ โขง - ใบกจิ กรรมรูท้ ่ี 7 เรือ่ ง มะพร้าวแกว้ - ใบกิจกรรมท่ี 8 เรื่อง ข้าวหวั หงอก - ใบกจิ กรรมท่ี 9 เรื่อง ท่องเทย่ี ววถิ ชี มุ ชนคนเชียงคาน 13. การนำหลกั สตู รไปใช้ 1) นำไปในรายวิชาเพิ่มเตมิ 2) นำไปใชก้ ิจกรรมลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้ 3) นำไปใชใ้ นกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน เช่น กจิ กรรมชมุ ชน/ชมุ ชน
18 14. การประเมนิ หลกั สตู ร 1) ประเมินหลกั สตู รโดยผู้เช่ียวชาญ 2) ทดลองใชก้ ลักสตู รกบั ผ้เู รยี นในรายวิชาเพิ่มเตมิ 15. การปรับปรงุ หลักสูตร นำผลการประเมินและการใช้หลักสตู รมาปรับปรุงแกไ้ ข
บรรณานกุ รม ขา้ วหัวหงอก. [ออนไลน]์ (มปป). คน้ หาจาก http://wow.in.th/fwNu [วนั ท่ีสืบคน้ ] 15 มนี าคม 2563. ชิลไปไหน.[ออนไลน]์ (มปป). คน้ หาจาก https://www.chillpainai.com/scoop/9498/ [วนั ที่ สืบคน้ ] 15 มีนาคม 2563. ตวั อยา่ งการเขยี นหลักสูตรท้องถนิ่ . [ออนไลน]์ (6 ตลุ าคม 2552). คน้ หาจาก http://wow.in.th/6z8O [วันทีส่ ืบค้น] 15 มีนาคม 2563. เที่ยวเชยี งคาน. [ออนไลน]์ (มปป). คน้ หาจาก http://wow.in.th/5xRX [วนั ท่สี ืบค้น] 15 มนี าคม 2563. พาแลง.[ออนไลน]์ (16 พฤศจิกายน 2561). คน้ หาจาก http://wow.in.th/9my2 [วนั ท่ีสืบคน้ ] 15 มนี าคม 2563. มะพรา้ วแกว้ . [ออนไลน์] (มปป). ค้นหาจาก http://wow.in.th/2cR8 [วันทีส่ บื ค้น] 15 มีนาคม 2563. โรงเรียนอนุบาลเชยี งคานปทุมมาสงเคราะห.์ [ออนไลน์] (5 มิถุนายน 2560). ค้นหาจาก http://wow.in.th/26nj [วนั ทส่ี บื คน้ ] 15 มนี าคม 2563. เอาะหลาม.[ออนไลน์] (มปป). คน้ หาจาก http://wow.in.th/1fvw [วันที่สืบค้น] 15 มนี าคม 2563. PaaPaii.com. [ออนไลน]์ (มปป). ค้นหาจาก https://paapaii.com/travel-one-day-in-chiang- khan/ [วันท่ีสืบค้น] 15 มนี าคม 2563. Pantip. [ออนไลน]์ (มปป). ค้นหาจาก https://pantip.com/topic/39660943/desktop [วนั ท่ี สบื ค้น] 15 มนี าคม 2563. WONGNAI. [ออนไลน]์ (8 มกราคม 2560). ค้นหาจาก http://wow.in.th/dfDn [วันท่สี ืบค้น] 15 มนี าคม 2563.
ภาคผนวก
ใบความรูท้ ี่ 1 เร่อื ง มารู้จักพาแลง พา หมายถงึ พาข้าว หรอื สำรับกับขา้ ว ส่วนคำวา่ แลง หมายถึง ตอนเย็น พาแลง หมายถึง พาข้าวสำหรับรบั ประทานอาหารตอนเยน็ บางทีก็เรยี ก พา ข้าวแลง ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรมการกินอย่างหน่งึ ที่ทกุ คนในครอบครวั มารว่ มกนั รบั ประทานอาหารพร้อมหน้าพรอ้ มตากนั ในพาแลงจะประกอบไปดว้ ยอาหารท่ี หลากหลายที่ทำด้วยวตั ถุดบิ ในทอ้ งถิน่ เป็นสว่ นใหญ่ ซ่ึงการจดั เตรียมอาหารในพาแลง ขนึ้ อยกู่ ับจำนวนสมาชกิ ในครอบครัว การร่วมกนิ พาแลงก่อใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธ์ทีด่ ี ภายในครอบครัวและผู้รว่ มพาแลง
ใบกิจกรรมท่ี 1 เร่อื ง มารจู้ กั พาแลง พาแลง คอื อะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ให้นักเรยี นหาตัวอย่างอาหารในพาแลงมา 1 ชุด ………………………. ………………………. ………………………. ………………………. ………………………. ……………………….
แบบประเมนิ ใบกิจกรรมท่ี 1 ลงในชอ่ งว่างทต่ี รงกับ เรอ่ื ง “มาฮ้จู กั พาแลง มาแยงเชยี งคาน” คำช้แี จง ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ใบกจิ กรรมกล่มุ แล้วทำเคร่ืองหมาย เกณฑ์การประเมิน เลขท่ี ชอ่ื – สกลุ ความถกู ตอ้ ง รวมคะแนน (6)รายการประเมิน แปลผล หมายเห ุต ของเนื้อหา ทีม่ าของ เน้อื หา ครบถว้ น อาหาร 3 2 1 3 21 6 ผ่าน ไ ่มผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ลงชอ่ื ………………………………………………………….. (……………………………………………………………………) วนั ที่ …………./………………/…………..
เกณฑ์การประเมนิ ใบกิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง “มาฮจู้ ักพาแลง มาแยงเชียงคาน” รายการ เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ประเมนิ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ความถูกต้อง ของเนือ้ หา เนื้อหาทม่ี าของอาหารมี เนื้อหาท่ีมาของอาหารไม่ เนอื้ หาทม่ี าของอาหารไม่ ทมี่ าของ ความถูกตอ้ งสอดคล้อง ถกู ต้องแต่สอดคล้องกับ ถูกต้องและไมส่ อดคล้อง อาหาร กับเรอื่ งทไ่ี ด้ เร่ืองท่ีได้ กับเรื่องท่ไี ด้ เนือ้ หา นักเรียนหาข้องมูลได้ นกั เรยี นหาข้องมลู ได้ไม่ นักเรียนหาข้องมูลไม่ ครบถว้ น ครบถ้วน มปี ระวตั คิ วาม ครบถว้ น มปี ระวตั คิ วาม ครบถ้วน ไม่มีประวัติ เป็นมาของอาหาร และ เป็นมาของอาหาร แต่ไม่ ความเป็นมาของอาหาร วธิ ีการทำอาหาร มีวิธกี ารทำอาหาร และไมม่ ีวิธกี ารทำอาหาร เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ระดบั คะแนน ดีเย่ียม (Excellent) หมายถึง คะแนนอยู่ในระดับ 5-6 คะแนน ดี (Good) หมายถงึ คะแนนอยู่ในระดับ 3-4 คะแนน พอใช้ (Fair) หมายถึง คะแนนอยู่ในระดับ1-2 คะแนน ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
รวมคะแนน (9) แบบประเมินการสังเกตการมีสว่ นรว่ มของนักเรียนในชน้ั เรยี น แปลผลคำชี้แจง: ใหผ้ ้สู อนทำเคร่ืองหมาย ✓ ทชี่ อ่ งประเด็นการประเมนิ รวมคะแนน แล้วแปลผลการ หมายเห ุตประเมินว่าผา่ น / ไม่ผ่านของนกั เรียนตามความเป็นจรงิ ผ่าน รายการประเมิน ไ ่มผ่าน การมีสว่ น ความต้งั ใจ การตอบ รว่ ม เลขที่ ช่ือ – สกลุ ในการเรยี น คำถาม ในกจิ กรรม 321321321 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ลงช่ือ ………………………………………………………….. ผปู้ ระเมนิ (……………………………………………………………………) วนั ที่ …………./………………/…………..
เกณฑ์ประเมนิ การสังเกตการมสี ว่ นร่วมของนกั เรียนในช้นั เรียน รายการ เกณฑก์ ารใหร้ ะดับคะแนน ประเมิน ความตั้งใจ 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ในการเรียน นักเรียนมีความตั้งใจใฝ่ นักเรยี นมีความตัง้ ใจ นักเรียนมีความตั้งใจเปน็ การตอบ คำถาม เรยี นรู้ มีความสนกุ สนาน ใฝเ่ รยี นรู้ ส่วนน้อย มสี ่วนรว่ มใน ในการทำกจิ กรรม กจิ กรรม นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการ นักเรยี นมีสว่ นร่วมใน นกั เรยี นมีสว่ นรว่ มในการ ตอบคาถามของครอู ยู่เสมอ การตอบคำถามของครู ตอบคาถามของครู เป็นบางครง้ั เป็นสว่ นน้อย นกั เรียนมีส่วนร่วมใน นักเรยี นมีสว่ นรว่ มใน นกั เรยี นมีส่วนรว่ มใน กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมการเรียนการ กจิ กรรมการเรยี นการสอน ของครูอยเู่ สมอ สอน ของครูในบางคร้งั ของครูเกือบทุกครัง้ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ ระดับคะแนน ดเี ยี่ยม (Excellent) หมายถงึ คะแนนอยู่ในระดับ 7-9 คะแนน ดี (Good) หมายถึง คะแนนอย่ใู นระดับ 4-6 คะแนน พอใช้ (Fair) หมายถงึ คะแนนอยูใ่ นระดับ 1-3 คะแนน ผ่านเกณฑ์ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ใบความร้ทู ่ี 2 เอาะหลาม วตั ถดุ บิ /อปุ กรณ์ 1. หนังเคม็ 2. ใบแมงลกั 3. เนือ้ สตั ว์ 4. ผกั ชีลาว 5. พรกิ 6. ต้นหอม 7. กระเทยี ม 8. เครื่องปรงุ รส 9. มะเขือ 10. หอมแดง 11. ขิง/ข่า/ตะไคร้ ข้ันตอน/วิธีการทำ 1. นำหนงั เค็มมาเผาไฟแล้วขูดขนออกให้หมด นำมาหัน่ เป็นทอ่ นขนาดพอคำ ต้มใหเ้ ปื่อยพอง แล้วนำลงไปเคยี่ วพร้อมกบั เน้ือย่างทห่ี ้ันเปน็ ชิ้นบาง ๆ 2. นำเครอ่ื งเทศที่ประกอบดว้ ย พริก ขงิ ข่า ตะไคร้ กระเทียม หอมแดง มะเขือ ไปเผาไฟใหส้ กุ แล้วนำไปโขลกให้เข้ากนั 3. นำเคร่อื งเทศทโี่ ขลกแลว้ ใสล่ งในหมอ้ คนให้เข้ากนั และปรงุ รสตามตอ้ งการ 4. กอ่ นยกออกจากเตา ใสผ่ กั ชลี าว ต้นหอม ใบแมงลกั พอผกั สกุ ตกั เสริฟกินกบั ข้าวเหนียว
แบบประเมินคณุ ภาพเอาะหลาม ชือ่ ..............................................สกลุ .................................. ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่...........กลุ่มที่......... คำชแ้ี จง : เขยี นเครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ งระดบั การประเมินทีส่ อดคล้องกบั ความคิดเห็นของ นักเรียน ระดับการประเมนิ มีความหมาย ดังนี้ 5 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมากท่ีสดุ 4 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจน้อย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อยท่สี ุด กลุม่ ท่ี รสชาติของเอาะหลาม ความคิดสรา้ งสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน ในการตกแต่ง (15 คะแนน) 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงช่อื ………………………………………………………….. ผ้ปู ระเมิน (……………………………………………………………………) วนั ที่ …………./………………/………….. เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพซุปผักอะยุอะยะ 13 - 15 คะแนน ดีมาก คะแนน ตอ้ งปรบั ปรุง 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3
ใบความรู้ท่ี 3 เรื่อง ซปุ ผักอะยุอะยะ (ซุปผักรวมมติ ร) วตั ถุดบิ /อปุ กรณ์ 1. ผักตามฤดกู าล เชน่ ผักบ้งุ ผกั กาด ตำลงึ หน่อไม้ มะเขือ เหด็ หหู นู 2. เครือ่ งปรงุ รส เชน่ ปลาร้า น้ำปลา ขา้ วคว่ั พริกป่น งาขาว 3. เนื้อสตั ว์ เชน่ เนื้อปลา เนือ้ หมู เนอ้ื ไก่ (ตามความชอบ) ข้นั ตอนการทำ 1. นำผกั ทุกชนดิ ไปนึ่งจนสุก 2. นำงาค่วั พรกิ คว่ั โขลกให้ละเอยี ด แล้วนำเนื้อต้มสุกคลุกให้เข้ากัน 3. นำผักทีน่ ่งึ สุกมาหน่ั เปน็ ชนิ้ พอดีคำแล้วผสมรวมกัน คนใหเ้ ขา้ กนั กับพริกและงาคว่ั 4. ปรงุ รสด้วยเครอื่ งปรุงรส 5. ตักใส่จานตกแต่งให้สวยงาม พรอ้ มเสริฟ ช่อื ..............................................สกุล................................. ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่...........กลมุ่ ท.่ี ........
แบบประเมินคุณภาพซปุ ผกั อะยอุ ะยะ ชือ่ ..............................................สกุล.................................. ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี...........กลมุ่ ที่......... คำชีแ้ จง : เขียนเคร่ืองหมาย ✓ ในชอ่ งระดบั การประเมินทีส่ อดคล้องกับความคิดเหน็ ของ นักเรียน ระดบั การประเมนิ มีความหมาย ดังนี้ 5 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจมากท่สี ุด 4 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อย 1 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจน้อยทีส่ ดุ รสชาติของซปุ ผัก ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน กลุม่ ท่ี อะยุอะยะ ในการตกแต่ง (15 คะแนน) 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงชอ่ื ………………………………………………………….. ผูป้ ระเมนิ (……………………………………………………………………) วันท่ี …………./………………/………….. เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพซุปผกั อะยุอะยะ 13 - 15 คะแนน ดมี าก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้
0 - 3 คะแนน ต้องปรบั ปใรบุง ความรทู้ ี่ 4 เร่ือง เมีย่ งโคน่ วัตถดุ ิบ/อปุ กรณ์ ขงิ ข่า ตะไคร้ พรกิ สด มะนาว มะเขือ ถั่วลสิ ง แค็ปหมู ขนมจนี ใบชะพลู ผักสลัด น้ำเม่ียง น้ำปลา น้ำตาล นำ้ มะขามเปียก เนื้อมะนาว ขั้นตอน/วิธีการทำ 1. หนั่ วัตถุดิบทีเ่ ตรียมมาเป็นลกู เตา๋ เล็ก ๆ เรยี งให้สวยงาม 2. ทำน้ำเมย่ี ง คอื นำปลารา้ น้ำมะนาว นำ้ มะขามเปียก และปรุงรสตามชอบ 3. นำใบชะพลูหรอื ผกั สลัด ห่อวัตถดุ บิ ที่ห่ันไวแ้ ล้วนำน้ำเมี่ยงราด สามารถรบั ประทานไดเ้ ลย
แบบประเมินคณุ ภาพเม่ียงโค่น ชือ่ ..............................................สกลุ .................................. ชัน้ ประถมศึกษาปีที.่ ..........กลมุ่ ที่......... คำชแี้ จง : เขยี นเครอื่ งหมาย ✓ ในช่องระดบั การประเมนิ ท่ีสอดคล้องกับความคิดเหน็ ของ นกั เรยี น ระดบั การประเมนิ มคี วามหมาย ดงั นี้ 5 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมากทส่ี ุด 4 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจนอ้ ย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อยท่สี ดุ กลุม่ ท่ี รสชาติของเมย่ี งโค้น ความคิดสรา้ งสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน ในการตกแต่ง (15 คะแนน) 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงช่ือ ………………………………………………………….. ผู้ประเมิน (……………………………………………………………………) วนั ท่ี …………./………………/………….. เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพเมยี่ งโคน้ 13 - 15 คะแนน ดมี าก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3 คะแนน ตอ้ งปรบั ปรุง
ใบความรู้ที่ 5 เรอื่ ง แจว่ บองหนงั เค็ม วัตถุดบิ / อปุ กรณ์ 6. นำ้ มนั พืชสำหรบั ทอด 1. พรกิ แห้ง 7. นำ้ ปลารา้ 2. กระเทยี ม 8. นำ้ ปลา 3. หนงั เคม็ 9. นำ้ ตาล 4. หอมแดง 10. ผงชรู ส 5. น้ำกระเทยี มดอง ข้ันตอนการทำ 1. นำหนังเคม็ ไปจี่ไฟใหส้ ขุ และห่นั เป็นชิ้นเลก็ ๆ 2. ตั้งกระทะและนำน้ำมันพืชใสล่ งไปตั้งไฟใหน้ ำ้ มันเดอื ดแล้วทอดพรกิ แหง้ หอมแดงกระเทยี ม ตักขึ้นมาพักไวใ้ หส้ ะเด็ดนำ้ มัน 3. โขลกเครื่องทที่ อดใหล้ ะเอยี ด 4. นำน้ำเคม็ ท่ีหนั่ เปน็ ช้นิ เลก็ ๆเคลา้ ให้เข้ากนั กบั เคร่ืองปรุงทโี่ ขลกละเอียดปรงุ รสตามใจชอบ
แบบประเมนิ คณุ ภาพแจ่วบองหนงั เคม็ ช่ือ..............................................สกุล.................................. ชน้ั ประถมศึกษาปีท.่ี ..........กลุ่มท่ี......... คำชีแ้ จง : เขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ในช่องระดับการประเมนิ ทส่ี อดคล้องกับความคิดเห็นของ นกั เรยี น ระดับการประเมินมคี วามหมาย ดังนี้ 5 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมากทีส่ ดุ 4 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พึงพอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจนอ้ ย 1 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจน้อยที่สดุ รสชาติของแจ่วบอง ความคดิ สร้างสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน กล่มุ ที่ หนังเคม็ ในการตกแตง่ (15 คะแนน) 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงช่ือ ………………………………………………………….. ผปู้ ระเมิน (……………………………………………………………………) วนั ที่ …………./………………/………….. เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพแจ่วบองหนงั เค็ม 13 - 15 คะแนน ดมี าก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3 คะแนน ตอ้ งปรบั ปรุง
ใบความรูท้ ่ี 6 เร่ือง ต้มแจว่ ปลานำ้ โขง วตั ถดุ บิ / อุปกรณ์ 1. ขงิ 6. ตน้ หอมผักชี 2. ขา่ 7. มะเขือ 3. ตะไคร้ 8. นำ้ ปลา 4. พริกแห้งกระเทยี ม 9. ผงชรู ส 5. ปลานำ้ โขง ขั้นตอนวธิ ที ำ 1. นำขิง ขา่ ตะไคร้ พริกแหง้ กระเทียม มะเขอื ไปเผาไฟใหพ้ อสกุ จากนนั้ โขลกเครอ่ื งเทศ ทเ่ี ผาไฟให้ละเอียดแล้วตักพักไว้ 2 ห่นั ปลานำ้ โขงเป็นชน้ิ พอเหมาะแก่การรับประทาน 3 ตม้ น้ำให้เดอื ดแลว้ นำเครอื่ งเทศที่โขลกละเอยี ดใส่ลงไปละลายใหท้ ั่วจากนนั้ ใสเ่ นื้อปลาลงไป รอให้ปลาสุกและปรงุ รสตามใจชอบ
ใบกิจกรรมท่ี 6 เรอ่ื ง ต้มแจ่วปลาน้ำโขง คำชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนบันทึกขั้นตอนการทำตม้ แจ่วปลาน้ำโขง วตั ถดุ บิ อุปกรณ์ การประกอบอาหาร ช่อื -นามสกุล………………………………………………………………………………… ชน้ั ………….. เลขที่……….
แบบประเมนิ คณุ ภาพตม้ แจ่วปลาน้ำโขง ช่อื ..............................................สกุล.................................. ช้ันประถมศึกษาปที ่ี...........กล่มุ ที่......... คำชแี้ จง : เขียนเครื่องหมาย ✓ ในชอ่ งระดบั การประเมนิ ที่สอดคล้องกับความคิดเหน็ ของ นักเรียน ระดับการประเมินมคี วามหมาย ดังน้ี 5 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจมากท่สี ดุ 4 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจน้อย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อยท่ีสุด รสชาติของต้มแจว่ ปลา ความคิดสรา้ งสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน (15 คะแนน) กลุ่มที่ นำ้ โขง ในการตกแต่ง 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงชือ่ ………………………………………………………….. ผ้ปู ระเมนิ (……………………………………………………………………) วันที่ …………./………………/………….. เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพต้มแจ่วปลานำ้ โขง คะแนน ต้องปรับปรงุ 13 - 15 คะแนน ดมี าก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3
ใบความร้ทู ี่ 7 เร่ือง มะพรา้ วแกว้ วตั ถดุ ิบ 1. มะพร้าวนำ้ ตึง 10 ลูก 5. เกลือ 2 มดี สองคม 6. กระทะ 3. มดี บาง 7. ตะหลิว 4 นำ้ ตาล ขั้นตอนการทำ 1. ผ่ามะพร้าวแกะเอาแต่เน้ือมะพรา้ วออกใช้มีดสองคมเพราะผวิ สีเหลอื งออกให้ หมดจะเหลอื เน้อื มะพรา้ วขาวๆ 2. นำมีดบางผ่าเน้อื มะพร้าวตามขนาดทต่ี อ้ งการนำมีดสองคมฝานเป็นแผน่ บางๆ 3. ล้างมะพรา้ วให้สะอาดนำไปตม้ กับนำ้ ตาลเคี่ยวจนแห้ง 4. จดั ใสจ่ านเสิรฟ์ พร้อมรับประทาน
แบบประเมินคณุ ภาพมะพร้าวแก้ว ช่ือ.............................................สกุล........................................ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่...........กลมุ่ ท่ี......... คำชแี้ จง : เขยี นเครือ่ งหมาย ✓ ในชอ่ งระดบั การประเมินท่สี อดคล้องกับความคิดเห็นของนกั เรยี น ระดบั การประเมินมีความหมาย ดงั นี้ 5 คะแนน หมายถึง พึงพอใจมากท่สี ดุ 4 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมาก 3 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง พึงพอใจน้อย 1 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจน้อยท่ีสดุ รสชาติของ ความคิดสร้างสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน กลมุ่ ท่ี มะพร้าวแก้ว ในการตกแตง่ (15 คะแนน) 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงชอื่ ………………………………………………………….. ผปู้ ระเมนิ (……………………………………………………………………) วันที่ …………./………………/………….. เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพมะพร้าวแก้ว 13 - 15 คะแนน ดมี าก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3 คะแนน ต้องปรับปรงุ
ใบความรทู้ ่ี 8 ขา้ วหัวหงอก วตั ถดุ บิ /อุปกรณ์ 5. ใบตอง 6. ไมต้ อก 1. ขา้ วสารแชน่ ำ้ 1 คนื 7. มะพร้าวขูด 2. เมล็ดธญั พืชตามต้องการ 8. กลว้ ยสุก 3. เกลือ 4. น้ำตาล ขั้นตอน/วิธีการทำ 1. นำเข้าเหนียวทแ่ี ช่นำ้ ทิ้งไว้ 1 คืนมาผสมกับเมลด็ ธญั พืชคลกุ เคล้าให้เขา้ กนั 2. นำมาหอ่ ขนาดตามชอบมัดดว้ ยไม้ตอกนำข้าวที่มกั แล้วไปตม้ ให้สกุ ประมาณ 2 ช่วั โมง 3. นำเข้าต้มท่สี ุกแล้วตัดเป็นทอ่ นๆโรยดว้ ยนำ้ ตาลและมะพร้าวขดู
23 แบบประเมนิ คณุ ภาพ ข้าวหัวหงอก ชอ่ื ..........................................สกลุ ......................................... ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่.ี ............กลมุ่ ท.ี่ ........ คำชีแ้ จง : เขยี นเคร่ืองหมาย ✓ ในช่องระดบั การประเมนิ ทีส่ อดคล้องกบั ความคิดเห็นของนักเรียน ระดับการประเมนิ มีความหมาย ดังน้ี 5 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจมากที่สดุ 4 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจมาก 3 คะแนน หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง 2 คะแนน หมายถงึ พงึ พอใจนอ้ ย 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอ้ ยที่สุด รสชาติของ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความสะอาด รวมคะแนน (15 คะแนน) กลุ่มที่ ขา้ วหัวหงอก ในการตกแต่ง 543215432154321 1 2 3 4 5 ลงชื่อ ………………………………………………………….. ผปู้ ระเมนิ (……………………………………………………………………) วันที่ …………./………………/………….. เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพขา้ วหัวหงอก 13 - 15 คะแนน ดีมาก 10 - 12 คะแนน ดี 7 - 9 คะแนน ปานกลาง 4 - 6 คะแนน พอใช้ 0 - 3 คะแนน ต้องปรบั ปรงุ
24 ใบกิจกรรมท่ี 9 เรื่อง ทอ่ งเทย่ี ววถิ ีชมุ ชนคนเชยี งคาน แนวทางการอนุรักษว์ ิถีชุมชน ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในวถิ ีชมุ ชนได้อย่างไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………….
25 ใบกจิ กรรมท่ี 10 คำช้แี จง ให้นกั เรียนบันทกึ การเรยี นรู้ “วิถชี มุ ชน คนเชียงคาน” วิถีชุมชนคนเชียงคาน 1. ช่ือวิถชี มุ ชน_______________________________สถานท_ี่ __________________________ องค์ความรู้ท่ีได้รบั ___________________________________________________________ ผทู้ ่ใี หค้ วามรู้ (ปราชญ์ ชาวบา้ น)__________________________________________________ วนั /เดือน/ปี________________________________________________________________ 2. _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ ชือ่ ____________________________________________เลขท_่ี __________ช้ัน__________
26 แบบประเมินผล แบบสรปุ การแข่งขัน “มาสเตอรเ์ ซฟ” คำชี้แจง นกั เรียนแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 7-8 คน ชอื่ กลุ่ม 1. ความ ิคดสร้างสรรค์ (10 คะแนน) ลำดับท่ี 2. การ ัจดตกแต่ง (10 คะแนน) 3. การนำวัตถุดิบในท้องถิ่น (10 คะแนน) 4. เอก ัลกษ ์ณทาง ัวฒนธรรม (10 คะแนน) คะแนนรวม 40 คะแนน ลงชอ่ื ……………………………………………กรรมการตัดสิน ลงช่ือ……………………………………………กรรมการตัดสิน ลงชอ่ื ……………………………………………กรรมการตดั สิน
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: