Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ คู่มือออนไลน์การเลือกซื้ออุปกรณ์เก็บข้อมูลเเบบพกพาเเละวิธีการใช้งาน

โครงการ คู่มือออนไลน์การเลือกซื้ออุปกรณ์เก็บข้อมูลเเบบพกพาเเละวิธีการใช้งาน

Published by peranutwittavatsivog, 2019-02-05 01:03:42

Description: โครงการ คู่มือออนไลน์การเลือกซื้ออุปกรณ์เก็บข้อมูลเเบบพกพาเเละวิธีการใช้งาน

Search

Read the Text Version

โครงการ คู่มือออนไลน์การเลอื กซ้ืออปุ กรณ์เกบ็ ข้อมลู เเบบพกพาเเละวิธกี ารใชง้ าน ชอ่ื โครงการ : คูม่ ือออนไลนก์ ารเลอื กซือ้ อปุ กรณเ์ กบ็ ข้อมูลเเบบพกพาเเละวิธีการใชง้ าน ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ : ๑.นายพีระณัฐ วทิ วัสชัยวงษ์ ๒.นายสิทธชิ ัย แดงเรือง ๓.นายธรี นยั สมบรู ณ์ชูทัรพย์ อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ : ๑.อาจารยส์ มศริ ิ ทบั ทมิ แกว้ (สมรรถนะวิชาชพี ) ๒.อาจารยป์ ณั นวชิ ญ์ คงสมาน (ICT) ๓.อาจารยพ์ ัชรนิ ทร์ โพธิท์ อง (English Adivisor) ๔.อาจารยอ์ มร สอนแสดง(ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ) หลกั การและเหตผุ ล: ปัจจุบันการใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ มีความแพร่หลายและจานวนเพ่ิงขึ้นในแต่ละปีด้วย วิวัฒนาการที่ทันสมัย ขอ้ มลู ข่าวสารทหี่ ลั่งไหลเข้ามาสามารถสืบคน้ ได้งา่ ย ส่งผลให้ ผ้ใู ช้งานตอ้ งการพ้ืนที่ การรองรับข้อมูล ต้องการเก็บข้อมูลท่ีจาเป็นเพ่ือการใช้งานดังน้ัน การใช้อุปกรณ์ที่ช่วยสนับสนุนให้การ ทางานมปี ระโยชน์และมปี ระสทิ ธิภาพและมีความสะดวกสบาย กเ็ ป็นสงิ่ จาเป็น แฟลชไดร์ฟเป็นหน่วยความจารองของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บข้อมูลเพื่อสารองไฟล์งานต่างๆเป็น อุปกรณ์ในการก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถลบและเขียนใหมไ่ ด้ เพราะมีลักษณะการทางานท่ี เปน็ อิเลก็ ทรอนิกล์ทง้ั หมดแตกต่าง จากฮารด์ ดสิ ท่ีในขณะทางานจะมีแมเ่ หล็กหมนุ ตลอกเวลาแฟรชไดรฟ์ มขี นานเลก็ น้าหนกั เบาเหมาะแก่การพกพา อีกท้ังผูใ้ ชง้ าน ในปจั จุบันสามารถเลอื กซื้อเลือกใช้ใหเ้ หมาะสม กับการทางานเพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้รับผิดชอบโครงการขอนาเสนอโครงการ คู่มือออนไลน์การเลือกซื้อและ วิธีการใช้งานอุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบพกพาในรูปแบบของเว็บไซต์และมีภาพประกอบ วิดีทัศน์เพื่อให้ผู้ท่ี สนใจเขา้ มาศึกษาไดศ้ ึกษาความรู้และนาไปปฏบิ ตั ใิ ช้ในการทางานในชีวิตจรงิ

หนา้ ที่ ๒ วัตถุประสงค์ ๑.เพอ่ื ศกึ ษาวิธกี าร ขั้นตอนการจัดทาคมู่ อื ออนไลน์รปู แบบเว็บไซต์ ๒.เพ่อื สรา้ งคู่มือออนไลน์เลือกซ้อื อุปกรณเ์ ก็บขอ้ มูลแบบพกพาและวธิ ีการใชง้ าน ๓.เพื่อนาไปเผยแพร่ในรปู แบบเวบ็ ไซต์ให้กับบุคคลทีส่ นใจศกึ ษา เนื้อหาโครงการ ความหมาย คือ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลการนาข้อมูลเขา้ สูระบบคอมพิวเตอรโ์ ดยผ่านทางอปุ กรณ์ นาขอ้ มลุ เข้าชนดิ ตา่ งๆ น้นั เม่อื นาขอ้ มูลไปประมลู ผลแล้ว ขอ้ มลู จะถกู เก็บไว้ผ่ายในหนว่ ยความจาหลกั คือ แรม (RAM) แต่เมื่อปิดเครื่องข้อมูลท่ีอยู่ภายในแรมก็จะถกู ลบท้ิงไป ทาให้ไม่สามารถเรียกข้อมูลเหลา่ นน้ั มาใช้ได้อีก ดังนนั้ เมอื่ ข้อมลู ทผี่ ่านการประมูลผลแล้ว และถกู นาไปไว้ในหน่วยความจาหลกั ถ้าเราตอ้ งการ ที่จะนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้อีกในอนาคต จะต้องทาการย้ายข้อมูลหน่วยความจาหลักไปเก็บไว้ในหน่วย เก็บข้อมลู สารอง (Secondary storage) โดยจะมสี ่อื ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลสารองหลายชนิด ได้แก่ ฟลอป ปดี ิสก์ ฮาร์ดดิสก์ แผน่ ซดี ี หนว่ ยความจาชนิดแฟลช เป็นต้น ๑. ส่ือเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk device) เป็นอุปกรณ์ท่ีมีลักษณะเป็นจาน เก็บขอ้ มูล ซ่งึ นิยมนามาใช้งานอยา่ งแพรห่ ลาย ดังนี้ ๑.๑ ฟลอปปดี สิ ก์ (Floppy disk) เป็นส่ือเกบ็ ขอ้ มูลท่ไี ดร้ บั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก โดย มักจะเรียกว่า “ดิสก์เก็ตต์ (Diskette) หรือ แผ่นดิสก์” เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาถูก และไม่ยุ่งยากในการใช้ งาน เนอื้ แผ่นดิสก์ทามาจากแผ่นไมลาร์และเคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ห่อหมุ้ ดว้ ยพลาสตกิ แข็งอยูภ่ ายนอก ทเี่ ปรียบเสมือเกาะป้องกันอันตรายตา่ งๆ ทจ่ี ะมผี ลต่อแผ่นดิสก์ เชน่ ฝ่นุ ละออง รอยขีดขว่ น ในอดีต แผ่นดิสก์จะมีขนาดใหญ่ ๕.๒๕ น้ิว มีความจุน้อย ไม่สะดวกในการพกพา และได้ยกเลกิ การใชง้ านไปแล้ว ปัจจุบันได้นาแผน่ ดิสก์ขนาด ๓.๕ นิว้ มาใชแ้ ทน โดยมรขนาดความจุข้อมูลทีส่ งู ราคาถูก มีความสะดวกในการพกพาและมีความสะดวกในการใช้งานมากกว่าในอดีต เน่ืองจากการนาแผ่นดิสกม์ า ใช้งานนั้นจะต้องทาการจัดโครงสร้างของพ้ืนที่บนแผ่นดิสก์สาหรับการเก็บบันทึกข้อมูลก่อน ด้วยวิธี ฟอร์แมต (Format) ก่อนท่ีจะสามารถนาแผ่นดิสก์ไปใช้งานได้ โดยผู้ใช้จะต้องจัดโครงสร้างของแผ่นดสิ ก์ ดว้ ยตวั เอง แตใ่ นปจั จบุ ันได้สรา้ งความสะดวกให้แกผ่ ู้ใช้ยิง่ ขึน้ เนื่องจากบริษทั ทท่ี าการผลิตแผ่นดิสก์ได้ทา

หน้าที่ ๓ การฟอร์แมต (Format) แผน่ ดิสก์มาตงั้ แต่กระบวนการผลติ ผูใ้ ช้สามารถนามาใชใ้ นทนั ที จงึ ผู้ใชบ้ างคนไม่ รู้จัก ไม่เข้าใจความหมายและวิธีการฟอร์แมตแผ่นดิสก์เม่ือทาการฟอร์แมตแล้วแผ่นดิสก์จะถูกแบ่งพ้นื ที่ ออกเป็น แทรก (Trak) คอื การแบง่ พืน้ ทขี่ องแผ่นดิสกอ์ อกเป็นส่วนๆ ตามแนวเส้นรอบวงรอบแผ่นดสิ ก์ เซกเตอร์ (Sector) คือ การแบ่งพน้ื ที่ของแทรก แตล่ ะแทรกออกเปน็ ส่วนๆ เพือ่ ใช้ในการจดั เกบ็ ข้อมูล การแบ่งพ้ืนที่ของแผ่นดิสก์ออกเป็นจานวนก่ีแทรก และก่ีเซตเตอร์น้ันจะข้ึนอยู่กับชนิดของ แผ่นดสิ ก์ ปัจจุบันแผน่ ดสิ กท์ ่ีใช้สาหรับการจัดเกบ็ ข้อมูล จะมคี วามจุของแผน่ ดิสก์ คอื 1.44 เมกะไบต์(MB) เป็นแผ่นดิสก์ชนิด DS/HD (Double Side High Density) แผ่นดิสก์ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน จะมัจานวน 80 แทรก แต่ละแทรกมีจานวน 18 เซกเตอร์และในแต่ละเซกเตอร์จะสามารถจุข้อมูลได จานวน 512 ไบต์ ภาพที่ ๑ (Floppy disk)

หน้าท่ี ๔ ๑.๒ ฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) คือ อุปกรณ์สาหรับการจัดเก็บข้อมลู มีความจุสูงกวา่ แผ่นดิสก์ แต่มี โครงสร้างคล้ายกับแผ่นดิสก์ ลักษณะของฮาร์ดดิสก์ไว้ภายในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์เพ่อื เปน็ หน่วยเกบ็ ข้อมูล สารองทีใ่ ชใ้ นการจดั เกบ็ ขอ้ มลู โปรแกรม ระบบปฏิบตั ิการ และโปรแกรมประยุกต์ โครงสร้างฮาร์ดดกิ ส์ ประกอบด้วย แพลตเตอร์(Platters) มีลกั ษณะเปน็ จานคล้ายกับแผ่นดิกสท์ าจากแผ่นอลูมเิ นียมแข็งเคลือบด้วย ออกไซต์ของเหล็ก ไซลินเดอร์(Cylinder) คือแทรกที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน ในแต่ละแพลตเตอร์ออกเป็น แทรก เซกเตอร์ เช่นเดียวกับแผ่นดิสก์ เน่ืองจากในแต่ละฮาร์ดดิสก์จะมหี ลายแพลตเตอร์ให้หมนุ ไปพร้อมๆ กนั เรยี กวา่ “สปินเดล(spindle)” การอ่านหรือเขียนข้อมูลลงบนอาร์ดดิสก์จะต้องมีตัวหัวอ่าน/เขียน ข้อมูลลงบนแพลตเตอร์ (Rad/write head)หัวอ่าน/เขียนข้อมูลนั้นไม่สาผัสกับส่วนของแพลตเตอร์โดยตรงแต่จะอาศัย กระแสไฟฟ้าในการอ่าน/เขียนข้อมูล โดยปกตฮิ ารด์ ดิสก์จะมีจานวน6แพลตเตอร์ในแต่ละแพลตเตอร์จะมี 2 ด้านดังน้ันจะมีท้ังหมด 12 หน้า และในส่วนล่างสุดจะไม่นามาใช้งาน ดังนั้นหัวอ่าน/เขียน ข้อมูลจึงมี ทั้งหมด 11 หัว ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องน้ัน สามารถบรรจุฮาร์ดดิสก์ได้มากกว่า 1 ตัว แต่ เนือ่ งจากฮาร์ดดิสก์ที่ใชง้ านอยู่ในปจั จุบนั มีความจุมากเพียงพอตอ่ การบนั ทกึ ขอ้ มูล และใชง้ าน จงึ ไมน่ ิยม บรรจฮุ ารด์ ดิสก์ตวั ที่ 2 ไวภ้ ายในเครื่องคอมพวิ เตอร์แต่ถา้ ต้องการท่ีจะบันทึกข้อมูลจานวนมากเก็บไว้ แต่ ไม่สามารถบันทึกเก็บไว้ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอ่ืนๆได้ เนื่องจากมีปริมาณข้อมูลจานวนมาก ก็ สามารถใชฮ้ าร์ดดิสกช์ นิดพกพา ในการเกบ็ ข้อมูลได้เชน่ เดียวกับหน่วยความจาแบบแฟลช ภาพที่ ๒ hard disk

หนา้ ท่ี ๕ ๑.๓ สื่อเกบ็ ขอ้ มูลชนิดแสง Optical Storage Devices สอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู ชนิดแสง เป็นสือ่ เก็บข้อมูล สารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน มีความจุสาหรับเก็บข้อมูลได้มากกว่าฟลอปปีดิสก์ แต่น้อยกว่า ฮารด์ ดสิ ก์ การบันทึกขอ้ มูลลงในส่ือเกบ็ ข้อมูลชนดิ แสง จะมีความแตกตา่ งจากวธิ ีการบนั ทึกขอ้ มลู ลงในสื่อ ชนิดจากแมเ่ หลก็ โดยวิธกี ารบันทกึ ข้อมูลจะต้องมอี ปุ กรณ์ และซอฟต์แวร์สาหรับการเขียนขอ้ มลู ลงบนสื่อ ชนิดนี้โดยเฉพาะ การบันทึกข้อมูลจะถูกบันทึกตามแนวเส้นรอบวงแบบร่องก้นหอย ลักษณะการบันทึก ข้อมูลจากข้างในออกมาด้านนอก โครงสร้างของสื่อชนิดน้ีจะถูกแบ่งเป็นแทรกแบะมีส่วนย่อยของแทรก เปน็ เซ็กเตอร์ เชน่ เดยี วกับส่ือเก็บข้อมูลชนิดจากแม่เหล็ก แต่ได้นาหลักการของแสงเข้ามาชว่ ยในการอ่าน และบนั ทึกขอ้ มลู ส่อื เกบ็ ข้อมูลแบบแสง ไดแ้ ก่ ในฮาร์ดดิสก์ก็ทาให้ไม่สะดวกในการเคล่ือนน้ายข้อมูล จึงทาสื่อชนิดซีดีเข้ามาช่วยในการบันทกึ ข้อมูล และนอกจากที่ไดัซีดีมาใช้ในการบันทึกข้อมูลต่างๆเหล่าน้ัน ยังนิยมนาซีดีมาใช้สาหรับการบันทกึ ข้อมูลประเภทสื่อมลั ติมีเดีย เพลง ภาพยนต์ ข้อดีของการบันทึกข้อมูลลงบนซีดี คือ สะดวกในการพกพา การเคลอ่ื นย้ายข้อมูลการกาหนดมาตรฐานรูปแบบของการบนั ทึกข้อมูลลงในสอื่ ชนิดนม้ี มี าตรฐานสากลท่ี เรียกว่า \"มาตรฐานไอเอสโอ 9660\" การบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นซีดีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ชนิดใดก็ตาม สามารถที่จะนาแผ่นซีดีน้ันไปอ่านจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ชนิดใดก็ได้ และนอกจากการนาไปอ่านข้อมูล ด้วยเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ล้ว ถ้าเป็นไฟล์ประเภท ภาพ หรือเสียง สามารถนาไปอ่านข้อมูลจากเคร่ืองเลน่ DVD หรือ VCD ได้ แต่ต้องอยู่ในรูปแบบมาตรฐานการรับรองของเคร่ืองเล่นแต่ละประเภทและเป็น รูปแบบขอ้ มูลทีเ่ คร่ืองเล่นสามารอ่านได้ เช่น mpeg ppe เป็นตน้ ถา้ เปน็ ข้อมูล ขอ้ ความ หรอื โปรแกรมก็ ไมส่ ามารถอ่านได้ นอกจากน้ีบริษัทฟิลลิปส์ และบริษัทโซนี ได้ร่วมกับบริษัทโกดัก ที่มีความชานาญด้านการ บนั ทกึ ภาพแชะกล้องถา่ ยรูป ผลิตซดี ีท่ีสามารถบนั ทึกภาพได้แทนการใชฟ้ ิลม์ ถ่ายภาพ และบริษัทโกดักได้ ผลิตกล้องถ่ายภาพท่ีสามารถบันทึกภาพลงบนแผน่ ซีดีได้ พรอ้ มกับเป็นอุปกรณส์ าหรับดภู าพและสามารถ พมิ พ์ภาพออกมาได้โดยตรง ซีดชี นดิ นี้เรียกวา่ โฟโต้ซดี ี สามารถจดั แบ่งประเภทของคอมแพก็ ดิสกอ์ อกเปน็ 3ประเภท ดังน้ี ๑.๔ CD Rom (Compact disc read only memory) เป็นส่ือท่ีใช้สาหรับการบันทึกข้อมูลทาง คอมพิวเตอร์ เช่น ซอฟต์แวร์ชนิดต่างๆ ที่ต้องการนามาติดตั้งเพ่ือใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูล

หน้าที่ ๖ ประเภทมัลติมีเดีย เช่น โปรแกรม คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CD -Training ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลจาก ซีดีรอมไดเ้ พียงอย่างเดียว โดยไม่สามารถบันทึกข้อมูลซ้าลงไปบนแผ่นซีดีรอมได้ ส่วนใหญ่ซีดีรอมจะเปน็ แผ่นทมี่ กี ระบวนการผลิตสาเรจ็ รูปจากโรงงานโดยใช้เครื่องจกั รในการปม๊ั แผ่นสาเนาขึ้นมาในคราวละเป็น จานวนมาก และผู้ใช้ก็สามารถท่ีจะนาแผ่นซีดีรอมเหล่านไ้ี ปใช้งานได้หลายคร้ัง จึงนิยมมาใช้กับงานดา้ น ธุรกิจอัตราความเร็วของเครื่องอ่านซีดีรอมในปัจจุบันจะมีความเร็วมากกว่า 50x ความเร็ว 1x (Single Speed) จะมีอตั ราเร็วในการถ่ายโอนขอ้ มูลประมาณ 150 KBps (Kilobytes Per Secound) ดังนนั้ 50x = (50 x 150) มีอัตราความเร็วเท่ากับ 7500 KBps จะมีอัตราเร็วในกาคถ่ายโอนข้อมูลช้ากว่าฮาร์ดดสิ ก์ มาก ฮาร์ดดิสกม์ อี ัตราเรว็ ในการถ่ายโอนขอ้ มูล ต้งั แต่ 5-15 MBps (Megabytes Per Secound) ๑.๕ CD-R (Compact disc recordable) เป็นสื่อที่ใช้สาหรับการบันทึกข้อมูลท่ีมีราคาถูกมัก นิยมนามาใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารอง มีอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ใช้สาหรับการเขียนข้อมูลลงบนแผ่น CD-R เรียกว่า “ CD Writer” นอกจาก CD Writer สามารถเขียนลงบนแผ่น CD-R แล้วยังทาหน้าท่ีสาหรับ อุปกรณ์ในการอ่านแผ่น CD-R ได้ด้วย การเขียนข้อมูลลงบนแผ่น CD-R นั้น ในแต่ละตาแหน่งที่ได้เขียน ข้อมลู ลงไปแล้วจะสามารถเขยี นข้อมูลได้เพียงครง้ั เดยี ว และจะไม่สามารถลบ หรือแกไ้ ขข้อมูลเหล่านั้นได้ อีก แต่ถ้าการเขียนข้อมูลลงไปยังไมเ่ ต็มพื้นที่ของแผ่นก็จะสามารถเขียนข้อมูลเพิ่มเติมลงบนพืน้ ที่ว่างนั้น ได้อีก ลักษณะการเขียนข้อมูลลงไปบนแผ่น CD-R ได้หลายคร้ังนั้น เรียกว่า “มัลติเซสซัน (Multisession)” เปน็ การแบง่ พืน้ ท่ีในการบันทึกข้อมลู ทล่ี ะส่วนทเ่ี รยี กวา่ เซสซัน (Session) แตล่ ะเซสซัน ประกอบด้วยหลายๆแทรก (Track) การเขียนข้อมูลลงบนCD-R แต่ละคร้ังจะทาการเขียนในเซสซันทต่ี อ่ จากเซสซันเดมิ ที่มีขอ้ มูลอยแู่ ลว้ ไมส่ ามารถเขยี นขอ้ มูลทบั ข้อมลู ในเซสซนั ท่ีไดม้ กี ารเขยี นลงไปแล้วได้ ๑.๖ CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดนี้จะมีลักษณะรูปแบบโครงสร้างของแผ่น วิธีการเขียนข้อมูลลงบนแผ่น สามารถเขียนข้อมูลไดห้ ลายคร้งั เช่นเดียวกับแผ่น CD-R แต่มีข้อดีกว่าการ เขยี นข้อมูลของแผน่ CD-R คอื สามารถทจ่ี ะลบขอ้ มูลและเขียนข้อมูลซา้ ไปบนแผน่ ไดเ้ ชน่ เดียวกบั แผ่นดิสก์ แต่แผ่นชนิดนี้จะมีราคาสูงกว่าแผ่น CD-R เหมาะกับงานที่ต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลอยู่บ่อยๆ ช่วย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซอ้ื แผ่น เพราะแผ่น CD-RW สามารถลบข้อมูลทิ้งและเขียนข้อมูลใหม่แทนท่ีได้ ถึงกว่าพนั ครง้ั

หนา้ ท่ี ๗ สาหรับเคร่ืองอ่านและเขยี นแผ่นซีดีท่ีเรียดว่า CD Writer น้ันสามารถอา่ นและเขียนขอ้ มลู ได้ทั้งแบบแผ่น ที่ได้ทั้งแบบแผ่น CD-R และ CD-RW โดยท่ีตัวเคร่ืองจะระบุความเร็วในการเขียนและอ่านแผ่นซีดีแต่ละ ชนดิ ไว้ เช่น 48x 12x 50x หมายความว่า - ความเรว็ ในการเขยี นแผ่น C-R 48 เทา่ - ความเร็วในการเขียนแผน่ C-RW 12 เทา่ - ความเรว็ ในการอา่ นแผ่นซดี ีทว่ั ไป 50 เทา่ ๒. DVD (Digital Versatile Disc / Digital Video Disc) ส่ือชนิดน้ีจะเป็นส่ือท่ีนิยมนามาใช้กับ การบันทึกข้อมูลที่ต้องการความจุสูง จึงนิยมนามาใช้กับการบันทึกภาพยนตร์มีความจุได้ต้ังแต่ 4.7-17 กิกะไบต์ และจะมีความจุมากข้ึนในอนาคต การจัดเก็บข้อมูลมกี ารแบ่งออกเป็นช้ันๆ ท่ีเรียกว่า “เลเยอร์ (Layer)” การเขียนข้อมูลลงบนแผ่น DVD การบีบอัดข้อมูลท่ีเรียกว่า “MPEG-2” สาหรับในแผ่น DVD นั้น นอกจากจะสามารถจุข้อมลู ได้มากกว่าแผ่นซีดีแล้วนนั้ ความเร็วในการถ่ายโอนข้อมลู ของเครื่องอ่าน แผ่น DVD จะมีความเร็วท่ีสงู กว่าเครื่องอา่ นแผ่นซีดี เพราะสามารถถา่ ยโอนข้อมลู ทีป่ ระมาณ 1,350 KBps ในอัตราความเร็วท่ี 1x (Single speed) นิยมนามาใช้กับการบันทึกภาพยนตร์ ทาให้การเคลื่อนไหวกับ รูปภาพเป็นไปได้อย่างต่อเน่ืองและระบบการบันทึกเสียงลงบนแผ่น DVD จะมีคุณภาพเสียงที่ดีกว่าแผ่น ซดี ี จากคณุ สมบตั ทิ ี่ดีกวา่ แผน่ ซีดี จงึ ทาใหแ้ ผ่น DVD มรี าคาสงู กว่าแผน่ ซีดี การเขียนข้อมูลลงบนแผ่น DVD นั้นจะต้องใช้อุปกรณ์ในการเขียนข้อมูล คือ DVD Writer และสามารถ จัดแบง่ ประเภทของแผ่นซดี ี จงึ ทาให้แผน่ DVD มรี าคาสงู กว่าแผน่ ซดี ี ๒.๑ DVD Rom คือ แผ่นท่ีได้ผ่านกระบวนการผลิตมาจากโรงงานด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เป็น แผ่นท่ีสามารถอ่านได้หลายๆครั้ง แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูล ลบข้อมูล และเปล่ียนแปลงข้อมูลอยู่ภายใน DVD Rom ได้ ๒.๒ DVD-R และ DVD-RW คือแผ่น DVD สามารถเขยี นขอ้ มลู ไดต้ ามมาตรฐาน DVD Forum จะ มคี วามจุขอ้ มูลสงู สุดเท่ากับ 4.7 กิกะไบต์ ในปัจจบุ ัน และจะเพ่มิ มากข้นึ อกี ในอนาคต ทก่ี ารเขยี นข้อมลู ลง บนแผน่ DVD-R นน้ั จะเหมือนกบั การเขียนข้อมลู ลงบนแผน่ CD-R คอื ในแตล่ ะตาแหนง่ บนพน้ื ที่ของแผ่น จะสามารถเขียนข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว สาหรับ DVD-RW จะมีลักษณะเช่นเดียวกับแผ่น CD-R คือ สามารถเขียนข้อมูลซ้าลงบนตาแหน่งเดิมได้หลายๆครั้ง เหมือนกับแผ่นดิสก์และวิธีการเขียนข้อมูลอาจ

หนา้ ท่ี ๘ เป็นการเพ่ิมเติมข้อมูลใหม่ โยการลบข้อมูลเก่าทิ้งทั้งหมด หรือจะเป็นการนาข้อมูลไหม้มารวมกับข้อมูล เกา่ แลว้ นามาเขยี นไปพร้อมๆกนั กไ็ ด้ ๒.๓ DVD+R และ DVD+RW การเขียนข้อมูลลง DVD+R และ DVD+RW จะคล้ายกับวิธีการ เขียนของแผน่ DVD ในกล่มุ มาตรฐานเดิม แตจ่ ะมีความเรว็ ในการเขยี นแผ่นมากกว่า การอ่านขอ้ มูลจากแผ่น DVD จะใชเ้ ครือ่ งอ่าน DVD เทา่ นัน้ โยไม่สามารถนาแผ่น DVD ไปอ่านจากเครื่อง ซีดีได้ แต่ถ้าเป็นแผ่นซีดีท่ัวๆไป สามารถท่ีจะนามาอ่านบนเคร่ืองอ่าน DVD ได้ ปัจจุบันการใช้เคร่ือง คอมพิวเตอร์นอกจากการใช้สาหรับการทางานด้านต่างๆ แล้ว สามารถนาเครื่องคอมพิวเตอร์มาเป็น อุปกรณ์เพ่ือความบันเทิง จึงติดต้ังเคร่ืองอ่าน DVD ไว้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์แทนเครื่องอ่านซีดี เพราะ เคร่อื งอ่าน DVD นอกจากอา่ นขอ้ มลู จากแผน่ DVD ไดแ้ ล้ว สามารถอา่ นขอ้ มูลจากแผน่ ซดี ีประเภทอ่ืนๆได้ อีกด้วย จึงทาให้สะดวกในการใช้งานมากย่ิงขึ้น สาหรับไดรว์ที่ใช้เขียนแผ่น DVD ในปัจจุบันจะสามารถ เขียนไดท้ ั้งแบบ +RW และ –RW เรยี กว่า “แบบ Dual Format” ๓.ส่ือเก็บข้อมูลแบบเทป (Tape Device)สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป เป็นอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมสาหรับ การเก็บข้อมูล (Backup) มีราคาถูก และมีความจุในการบันทึกข้อมูลได้เป็นจานวนมาก ส่ือชนิดน้ีมีการ เข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential Access) เข้าถึงข้อมูลได้ช้ากว่าแบบโดยตรง (Direct Access) ปจั จุบันมีเทปท่ีใช้สาหรบั การบันทกึ ข้อมูลหลายชนิด เช่น แบบม้วนใช้สาหรับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์นอกจากนี้ยงั มีเทปชนิด DAT หรือ Digital Audio Tape เป็นเทปที่ใช้สาหรับการ บันทึกเพลง เป็นต้น ความเร็วในการอ่านของเครื่องอ่านเทปจะมีหน่วยวัดเป็นน้ิวต่อวินาที (Inch Per Second) และมอี ตั ราความเรว็ ในการถา่ ยโอนขอ้ มลู มีหนว่ ยเปน็ ไบต์ตอ่ วินาที (Byte Per Second)

หน้าที่ ๙ ภาพที่ ๓ tape ๔.หนว่ ยความจาแบบแฟลช (Flash Memory) หน่วยความจาแบบแฟลช เปน็ อปุ กรณ์ทีน่ ามาใช้ สาหรับการจัดเก็บข้อมูลแทนอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ เน่ืองจากเป็นหน่วยเก็บข้อมูลสารองที่มี ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลเช่นเดียวกับหน่วยความจาแรม (RAM) และเป็นหน่วยความจาท่ีสามารถ จัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก สามารถพกพาง่าย นิยมนามาใช้แทนแผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ และแม้กระท่ัง แผ่นซีดีชนิดต่างๆ ใช้งานได้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกชนิด มีวิธีการบันทึกข้อมูล ลบข้อมูล หรือการ ฟอร์แมตเหมือนกับแผน่ ดิสก์ จงึ ทาให้สะดวกในการใชง้ าน หน่วยความจาแบบแฟลชมีช่ือเรียกที่แตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive หรือ Handy Drive ท่ีสามารถตอ่ พ่วงเขา้ กับเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์และอ่านข้อมลู ได้โดยตรง และระบบปฏบิ ัติการ Window ที่ใช้งานอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะสนับสนุนการใช้งานกับอุปกรณ์หน่วยความจา แบบแฟลช ทาใหผ้ ู้ใชไ้ มต่ อ้ งติดตั้งโปรแกรมไดรเวอร์ (Driver) สาหรับตดิ ตอ่ กบั อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ชนิดใหม่ ก่อนที่จะเรมิ่ ใช้งาน

หนา้ ที่ ๑๐ นอกจากนี้ยังมีหน่วยความจาแบบแฟลชที่อยู่ในรูปแบบของการ์ดหน่วยความจา (Memory Card) เช่น Memory Stick, Multimedia Card, Compact Flash, Smart Media และ SD Card เป็น ต้น ความจุของหน่วยความจาแบบแฟลชนจ้ี ะมีความจุตั้งแต่ 16 เมกะไบต์ไปจนถึงวามจุท่ีมหี นว่ ยความจุ เป็นกิกกะไบต์ ภาพที่ ๔ Flash Drive อปุ กรณค์ อื อะไร หนว่ ยเก็บขอ้ มลู (storage unit) ทาหนา้ ที่เก็บขอ้ มูลหรือโปรแกรมไว้เพ่อื ใช้ งานในอนาคต เนื่องจากข้อมูลท่ีคอมพิวเตอร์ทางานจะอยู่ในแรมหรือหน่วยงานความจาที่ลบเลือนได้ ซึ่งเมื่อปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ข้อมูลจะสูญหายไปหมด เมื่อต้องการใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมเดิมอีกครั้ง ซพี ียูก็จะอา่ นข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลเข้าสู่หนว่ ยหน่วยความจาที่สามารถลบเลือนไดเ้ พื่อประมวลผลได้ อีก หน่วยเก็บข้อมูลมีหลายประเภท เช่น แผนบันทึก ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี และ หน่วยความจาแบบแฟลชไดร์ฟเปรียบเสมือนกับอะไร External Hard disk คือ อุปกรณ์เก็บ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ชนิดหน่ึงที่สามารถพกพาหรือนาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ เป็น hard disk แบบเดียว hard disk ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แต่ต่างกันตรงท่ี External Hard disk น้ีใช้เชื่อมต่อภายนอกเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ส่วน Hard disk ท่วั ไปนัน้ อยูภ่ ายในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยใช้ Hard disk ที่ใชก้ นั อยทู่ ่ัวไป

หน้าที่ ๑๑ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มาติดตั้งในกล่องสาหรับใส่ Hard disk โดยจะมีแผงวงจรควบคุมการทางานของ Hard disk ทต่ี ิดตง้ั อยู่ในกลอ่ ง โดยคุณสามารถเลอื กขนาดความจุของ Hard disk มาตดิ ต้ังในกล่องนี้ได้ ตามความต้องการ และชนดิ ของHard disk ท่จี ะนามาติดตั้งในกลอ่ งน้ี ตอ้ งเลือกให้ถกู ต้องกับประเภทของ กล่องซ่งึ จะมอี ยู่ สองแบบ โดยทัว่ ไป คอื IDE และ SATA แต่เดยี๋ วนก้ี ็เริ่มจะมที ง้ั e-SATA เข้ามาบ้างแล้ว รวมถงึ เทคโนโลยกี ารถา่ ยโอนขอ้ มลู ลา่ สดุ USB 3.0 ทีเ่ พ่ิงจะเปดิ ตวั ไปเม่ือไม่นานมาน้ี ประโยชนข์ อง External Hard disk นีน้ อกจากเปน็ อุปกรณเ์ ก็บขอ้ มลู ที่มีความจสุ ูง สามารถเก็บ ข้อมูลได้เยอะแล้ว ยังใช้เป็นฮาร์ดดิสก์เสริมให้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของคุณได้อีกด้วย เนื่องจากว่า External Hard disk ก็เสมือนเป็นฮาร์ดดิสกือีกตัวหนึ่ง เพราะเราสามารถติดต้ังระบบปฏิบัติการลงใน External Hard disk น้ีได้ อย่างในฮาร์ดดิสหลักท่ีใกล้เต็มแล้วทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ช้าลง เราก็ สามารถย้ายข้อมูลมาที่ External Hard disk ได้ ทาให้ปัญหาเครื่องอืดลดลง หรือบางคนท่ีใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์แบบ 32 bit แต่ต้องการใช้ โปรแกรมแบบ 64 bit ก็สามารถใช้ฮาร์ดดิสก์ตัวน้ีเสริมเข้าไป โดยให้โปรแกรมแบบ 64 bit ที่คุณต้องการ รัน บน External Hard disk แทน เท่าน้ีคุณก็สามารถใช้ โปรแกรมแบบ 64 bit ไดแ้ ลว้ โดยไมต่ ้องซอ้ื คอมพิวเตอรเ์ ครื่องใหม่ external hard disk ทีซ่ ้ือขายกันในตลาดกย็ งั ถูกแบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ ใหญ่ๆตามความสะดวก ก็ คือ external hard disk แบบ PC กับ external hard disk แบบ notebook ๑.external hard disk แบบ PC นั้นมีข้อดีท่ี \"มีราคาถูก\" เมื่อเทียบกับอีกแบบ (ความจุเท่ากัน) แตก่ ม็ ีข้อเสยี ท่ขี นาดใหญ่ และมนี ้าหนักมากเมอ่ื เทยี บกบั อีกแบบ ๒.external hard disk แบบ notebook นั้นมขี ้อดตี รงทีม่ ขี นาดเลก็ และน้าหนักน้อยกว่าแบบ ประเภทหรอื ชนิด อปุ กรณ์จัดเกบ็ Dropbox ซือ้ อปุ กรณ์จดั เก็บตามจานวนทตี่ ้องการ ลงทะเบยี นเพ่อื ใชง้ าน Dropbox มอบอุปกรณจ์ ดั เก็บที่พรอ้ มใชง้ านให้ทีม ดาวน์โหลดแอปพลิเคชนั Dropbox ความจุของพนื้ ท่จี ัดเกบ็ เป็นคุณลักษณะสาคัญ แตโ่ ปรดทราบวา่ อปุ กรณด์ ังกลา่ วอาจมีการส่งผ่าน มือหลายคร้งั จึงอาจทาใหอ้ ุปกรณ์ท่มี ีสว่ นประกอบท่ีขยับได้ เชน่ สว่ นฮาร์ดไดรฟท์ ่ีไม่ใช่ของแขง็ อาจเกิด ความเสียหาย

หนา้ ที่ ๑๒ ในการเริ่มต้นใช้ Dropbox คุณแค่ต้องลงทะเบียนบัญชีและดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน Dropbox ความสะดวกของการแบง่ ปนั ไฟล์ผ่านอินเทอร์เน็ตทาใหก้ ารลงทนุ นี้ค้มุ ค่าอยา่ งยง่ิ ส่วนประกอบภายใน มีไรบา้ ง ๑.USB connector ๒.USB mass storage controller device ๓.Test points ๔.Flash memory chip ๕.Crystal oscillator ๖.LED ๗.Write-protect switch ๘.Unpopulated space for second flash memory chip หน้าทข่ี องอปุ กรณ์ คอื ไร ● แผ่นดิสเก็ต เป็นแผ่นบันทึกข้อมูลขนาดเล็กที่พกพาไปได้สะดวก แต่มีความจุหรือเก็บข้อมูลได้ นอ้ ย ภาพที่ ๕ Disc ● ฮาร์ดดิสก์ เก็บข้อมูลเหมือนแผ่นดิสเก็ตแต่มีขนาดใหญก่ ว่าและนา้ หนักมากว่า ดังนั้นจึงถูกเก็บ ไวใ้ นตวั เคร่อื งเพือ่ เก็บข้อมลู โปรแกรมตา่ ง ๆ ซึง่ เคลอ่ื นยา้ ยไปทอี่ น่ื ไดย้ าก

หน้าท่ี ๑๓ ภาพท่ี ๖ hard disk ● แผน่ ซดี ี หรอื ซีดี-รอม เกบ็ ขอ้ มลู ได้มากกว่าแผน่ ดสิ เก็ตหลายเทา่ แตก่ ารจดั เก็บต้องใช้เครื่องขับ ท่สี ามารถเขียนได้ เนอ่ื งจากซดี ี-รอม มแี บบท่ีอ่านได้อย่างเดยี ว (CD-ROM) อ่านและเขียนได้ (CD-R) และอา่ น เขียน และลบได้ (CD-RW ) ภาพที่ ๗ CD

หนา้ ท่ี ๑๔ ประโยชน์ของ USB Flash Driveในขณะนอ้ี ุปกรณ์ USB Flash Drive เป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนคิ นวัตกรรมล่าสุด ทีมีความสามารถสูงและนามาใช้ประโยชน์ได้มากมาย โดยเฉพาะสาหรับคนที่ใช้คอมพวิ เตอร์เป็นประจา ในการทางานเพราะเจ้า Flash Drive เป็นท่ีนิยมมากจากคุณสมบัติในการใช้งานที่ง่ายต่อการเก็บข้อมูล จากคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ท่ีต้องการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ไว้ภายใน และสะดวกในการพกติดตัว ทาให้ อปุ กรณ์ USB Flash Drive ไดร้ ับความนิยมอย่างรวดเรว็ ในการตดิ ตามหาข้อมลู ข่าวสาร หรือเพอ่ื ความบันเทงิ • เก็บข้อมูลการติดต่อ เช่น เบอร์โทรศัพท์ หรือ Addressbook เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ทกุ ที่ • ใช้เก็บข้อมลู ท่ีดาวน์โหลด,ไฟลง์ าน หรือโน้ตข้อความ เวลาคณุ ใชค้ อมพิวเตอรท์ ี่ Internet Cafe • ย้ายข้อมูลหรือไฟล์ ได้อย่างสะดวกง่ายดาย ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 2 เคร่ือง หรือระหว่ คอมพิวเตอร์กบั โนต็ บ๊คุ • ใช้เก็บรปู ภาพจากกล้องดจิ ิตอล เพอ่ื นาไปโชว์เพือ่ นๆ • ฟังเพลง MP3 ได้โดยตรงทกุ ทที่ ุกเวลา (เฉพาะรุ่นท่ีมี MP3 Player) • ใชเ้ ปน็ ฮาร์ดดิสสว่ นตวั เก็บขอ้ มูลทุกอย่างในทีเ่ ดียว สาหรบั พกพาไปใช้งานในที่ตา่ งๆ • เก็บข้อมูลสาคัญๆ แล้วป้องกันข้อมูลด้วยระบบ Password และการเข้ารหัสข้อมูล DATA Encryption • ใชแ้ บค็ อัพข้อมลู สาคญั ๆ หรอื ไฟล์ตา่ งๆ • ใชเ้ ก็บขอ้ ความ E-mail ต่างๆ ท่สี าคัญ • ใช้เก็บไฟล์งานชั่วคราว สาหรับเอาไว้ใช้งานหรือแก้ไขได้ทุกที่ (ท่ีบ้าน , ที่ทางาน,ร้าน อินเตอร์เนต็ ) • เพ่ิมคุณสมบัติ และการใช้งานด้วย add-on Software เช่น โปรแกรม E-mail, โปรแกรมแบ่ง Partition, Digital Lock โดยใช้งาน Flash Drive ได้โดยตรง ซึ่งทาให้เพ่ิมขีดความสามารถในการใช้งาน ได้ไม่จากัดประโยชน์ของ Flash Drive สาหรับธุรกิจและองค์กรทั้งน้ันทั้งน้ีประโยชน์ในการใช้งานของ แฟลชไดร์ฟ, แฮนดี้ไดร์ฟ สามารถนามาเพิ่มมูลค่าและประโยชนใ์ ห้กับธุรกจิ และองค์กรของบรษิ ัทต่าง ๆ

หน้าที่ ๑๕ ไดม้ มี ากมายในหลายด้าน องค์กรตา่ ง ๆ สามารถนาเอา Flash Drive มาใช้ในกิจกรรมและทาให้เกดิ ผลได้ ในทันทีสาหรบั ธุรกจิ • ใช้เป็นของขวัญ, ของชาร่วย, ของพรีเม่ียม สาหรับลูกค้าองค์กรในโอกาสต่างๆ (Corporate Gift Premium) • และประโยชนอ์ ่นื ๆ อีกมากมาย สรุปวา่ Flash Drive มปี ระโยชนใ์ นการเกบ็ ข้อมูลและใช้ในการโอนย้ายข้อมูลแล้วให้เรานาไปใช้ งานในที่ต่าง ๆ ได้แล้ว ก็ยังเป็นที่นิยมมากจากคุณสมบัติในการใช้งานท่ีง่ายต่อการเก็บข้อมูลจาก คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ต้องการเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ภายใน ด้วยการออกแบบที่สวยงามน่าใช้จึงมีคน นาเอาเจา้ Flash Drive น้ไี ปเป็นของขวัญ ของชารว่ ย ของพรเี มี่ยมใหก้ ันอกี ด้วย ขอ้ เสียของอุปกรณ์เกบ็ ข้อมูล ๑.ถา้ หากอุปกรณ์ตกหลน่ หรอื ชารดุ เสยี หาย จะไม่สามารถกขู้ อ้ มูลท้งั หมดออกมาได้ ๒.ยากแก่การซ่อมและทาให้กลบั มาใชใ้ หม่ได้ หากพงั เเล้ว รนุ่ ทนี่ ิยมให้ใช้ คอื Flash Drive ๑. Sandisk ๒. kingston External ๑. SEAGATE BACKUP ๒. WD ELEMENT วธิ กี ารเลอื กซ้อื Flash Drive ๑.เลือกความจุที่ต้องการกันก่อน โดยคานึงถึงว่าเราเน้นเอาไปเก็บไฟล์ประเภทไหน ซึ่งถ้าเป็น ไฟล์เอกสารท่ัวไปและมีไฟล์รูปภาพอยู่บา้ งล่ะก็ แฟลชไดรฟ์ขนาด 8 GB ก็เพียงพอแล้ว แต่ถ้ามีไฟล์หนัง

หน้าท่ี ๑๖ หรือไฟล์ท่ีมีขนาดค่อนข้างใหญ่ล่ะก็ แนะนาให้หาความจุท่ี 16 GB ข้ึนไป จะได้ไม่ต้องขนถ่ายไฟล์ทีละ หลายๆ รอบให้เสยี เวลา? ๒. ดูสักนิดว่าพอร์ตเชื่อมต่อเป็นแบบไหน ซ่ึงในปัจจุบันน้ีแฟลชไดรฟ์ยังถูกผลิตออกมาโดยใช้ มาตรฐานการเชื่อมต่อเป็น USB 2.0 เป็นหลัก และมีมาตรฐาน USB 3.0 อยู่บ้าง แต่ยังไม่แพร่หลายนัก โดยนิยมนามาใช้ในแฟลชไดรฟท์ ี่มีความจุสูงๆ ต้ังแต่ 16 GB ข้ึนไป ซึ่งถามว่าจาเป็นหรือไม่? ก็ขึ้นอยู่กบั ประเภทไฟล์ทเี่ ราบนั ทกึ เชน่ กนั ถ้ามีขนาดใหญแ่ ละมีจานวนมากก็แนะนาเป็น USB 3.0 ไปเลย แตถ่ ้าเป็น เพียงไฟลเ์ ลก็ ๆ เชน่ ไฟลเ์ อกสารหรือไฟลภ์ าพจานวนไม่มากล่ะก็ USB 2.0 กเ็ พียงพอตอ่ การใชง้ านแลว้ ? ๓. ขนาดและดีไซน์เป็นอย่างไร? เร่ืองน้ีนับเป็นความชอบโดยส่วนตัวเฉพาะบุคคลว่าชอบแบบ ไหน ดีไซน์อย่างไร โดยแฟลชไดรฟน์ ้ันจะมหี ลากแบบหลายดีไซน์ทีเดยี ว ซึ่งตอนน้จี ะมีตั้งแต่ขนาดเล็กไป จนถึงขนาดใหญ่? ๔. ประกันแฟลชไดรฟ์ยาวนานแค่ไหน? เรื่องของเสียแล้วใครจะรับผิดชอบเป็นอีกเรอ่ื งสาคัญที่ ใครๆ ก็ใส่ใจ เพราะแฟลชไดรฟ์น้ันก็เงนิ ของเราทั้งนั้นและข้อมูลเองก็สาคัญไม่แพ้กนั ซ่ึงถ้าเก็บภาพถา่ ย ความทรงจาดีๆ เอาไว้ หรือจะเป็นไฟล์เอกสารสาคัญของบริษัทเอาไว้แล้วเกิดเสียหายในช่วงประกนั ก็ยัง พอส่งใหท้ างบรษิ ทั เี่ ป็นผูร้ บั ประกนั เปน็ คนรบั ผดิ ชอบได้? ๕. ราคาคุ้มค่ากับที่ลงทุนไปหรือเปล่า? ปัจจัยสุดท้ายน้ีเป็นเหมือนตัวกาหนดทุกสิ่งเมื่อจะเลือก ซ้อื สินคา้ จรงิ ๆ ซ่งึ ถา้ เรามงี บประมาณไม่เกิน 500 บาทก็อาจจะได้แฟลชไดรฟ์ขนาด 16 GB แตเ่ ปน็ USB 2.0 มาใช้งาน แต่ถ้าเพ่ิมขึ้นเป็น 1,000-2,000 บาทก็จะเพิ่มเป็นแฟลชไดรฟ์ความจุ 32-64 GB และใช้ มาตรฐานเช่ือมต่อเป็น USB 3.0 ได้ โดยทางทีมงานแนะนาให้รอช่วงงาน Commart หรือช่วงลดราคา พิเศษของห้างไอทตี า่ งๆ แล้วค่อยหาซ้ือก็จะได้ในราคาท่ีถูกลงจากเดิมอกี มาก หรอื จะใช้วิชาสว่ นตัวพูดคุย กับคนขายก็ได้ไมผ่ ิดกติกา? วิธกี ารเลือกซือ้ External ๑. เลอื กรปู แบบและไซส์ ปัจจุบนั มใี หเ้ ลอื กใชง้ านด้วยกนั 2 แบบ คือ

หน้าท่ี ๑๗ ๑.๑ ขนาด 2.5 นิ้ว : ทางานโดยอาศยั พลังงานไฟฟ้าจาก USB Port จากตัวเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ มี ขนาดเล็ก กะทัดรัด พกพาสะดวก แต่ควรระวังไม่ให้ตก หรือกระแทกแรงๆ เพราะตัวนี้มีระบบกลไกใน การทางานแบบเดียวกับ Laptop คือ มีระบบ Mechanic ในการปรับระดับหัวตาแหน่งอ่าน ให้สามารถ อ่านขอ้ มูลทอ่ี ยู่บนแผน่ บันทึกข้อมูลได้ ฉะนั้น หากเกิดการกระแทก อาจสร้างความเสียหายใหก้ ับตัวแผ่น บนั ทกึ ขอ้ มูล และหัวอ่านไดค้ ่ะ ๑.๒ ขนาด 3.5 นิว้ : เนอื่ งจากมีขนาดใหญ่กวา่ แบบแรก จงึ จาเป็นตอ้ งมีการใช้พลังงานไฟฟ้าเพ่ิม ในการทางาน เหมาะกับการใชง้ านท่ีบ้านมากกว่าการพกพาไปไหน ถา้ จะนาไปข้างนอกต้องนา Adapter ไปด้วย เหมาะสาหรับการต้ังวางไว้บนโต๊ะข้างคอมพิวเตอร์ เพ่ือทาการเก็บสารองข้อมูลต่างๆ ให้เครื่อง ของคณุ มีพนื้ ท่ีวา่ งเพิม่ มากขึน้ ๒. เลือกประเภท เราสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ Solid State Drive (SSD) และ Hard Disk Drive (HDD) ซึง่ แบบ SSD น้ันจะมีความเร็วในการโอนถ่ายขอ้ มูลดุจสายฟ้าแลบเลยทีเดียว แต่ราคาพุง่ สงู เกือบ 3 เท่า และมีความทนทานกว่าเมื่อเทียบกับแบบ HDD ปกติ แต่ถ้าคุณใช้งานพ้ืนฐานทั่วไป ไม่ได้ต้องการ ความเร็วแบบสปีดสายฟา้ แลบจริงๆ เลือกซ้อื External Harddrive แบบ HDD ก็เหลือเฟอื แลว้ ค่ะ ๓. ขนาดความจุเทา่ ไรดี เรื่องของขนาดความจุนั้นหลายคนก็คงมีคาถามว่าความจุเท่าไรดีถึงจะพอใช้ ก่อนอื่นเลย คุณมี ข้อมูลที่ต้องการเก็บมากแค่ไหน ถ้าใช้เก็บพวกไฟล์งานเอกสารท่ัวไป ขนาด 250GB-350GB ถือว่า เหลือเฟือ แต่ถ้าคุณเป็นประเภทชอบโหลดไฟล์หนัง วิดีโอ เพลง เกม หรือมีรูปภาพต่างๆ มากมาย ก็ แนะนาให้เลือกขนาดใหญ่ท่ีสุดไปเลยค่ะ จะได้เป็นการแบ่งเบาภาระในการจัดเกบ็ ข้อมูลบน โน๊ตบุ๊ค ของ คุณ ซง่ึ ปจั จบุ ันราคาของรุ่นความจุ 1TB หรอื 2TB กไ็ ม่ไดแ้ พงมาก ๔. ความทนทานในการใชง้ าน เอ็กเทอนอล ฮาร์ดไดรฟ์ทุกตัวน้ันจะทางานโดยใช้ระบบจานหมุน ฉะนั้น หากเกิดการตกหล่น หรอื กระแทกกบั ของแข็งแรงๆ จะทาให้ชนิ้ ส่วนภายในเกดิ ความเสียหายได้ ซง่ึ รวมไปถงึ ข้อมลู ทีเ่ ก็บเอาไว้ ด้วย เวลาใช้งานจึงควรระวงั ในส่วนน้ใี หม้ ากท่ีสดุ โดยเฉพาะตัว 2.5 นวิ้ ทมี่ ขี นาดเลก็ ควรหากระเปา๋ หรือ ซองท่ีมีการบุนวมกันกระแทกเพ่ือป้องกันหากเกิดอุบัติเหตุ ถ้าคุณเดินทางบ่อย และจาเป็นต้องพกพา

หน้าที่ ๑๘ External Harddrive ไปดว้ ยทุกทีท่ กุ เวลา ควรเลอื กดูยห่ี อ้ ทโ่ี ดดเดน่ ในเร่ืองของ Ruggedness หรือความ ทนทาน เพราะส่วนใหญ่จะมีการป้องกนั ชิ้นส่วนภายในได้ดีกว่าแบบปกติท่วั ไป วธิ ีการใชง้ าน ๑. เสียบอปุ กรณ์ USB Flash Drive ใสใ่ นช่อง USB Port ๒. สงั เกตตรง Task Bar (ดา้ นมุมขวาลา่ งของหน้าจอ) จะมีไอคอน Safely Remove Hardware (หรอื Unplug or Eject Hardware ใน Windows ME) ปรากฏ ๓. เม่ือเปิดหน้าต่าง My Computer หรือ Windows Explorer จะปรากฏไดร์ว Removable เพิม่ ข้นึ มาให้ใช้งาน ๔. หลังจากใช้งานเสร็จให้ทาการยกเลิกการใช้งาน โดยคลิกเมาส์ปุ่มซ้ายท่ีไอคอน Safely Remove Hardware ตรง Task Bar 1 ครั้ง จะมีเมนูขึ้นมา ให้เลือกคาสั่ง Safely remove USB Mass Storage Device ของ USB Flash Drive ที่ตอ้ งการเลกิ ใชง้ าน ภาพที่ ๘ Safely Remove Hardware ๕. จะมีกล่องข้อความขึ้นมาบอกว่าตอนน้ีสามารถถอดอุปกรณ์ USB Flash Drive ออกได้อย่าง ปลอดภัยแล้ว จึงค่อยถอดอปุ กรณอ์ อก ภาพท่ี ๙ USB Flash Drive