Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by cdd.sirirat, 2020-04-29 02:27:17

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

บันทึกองค์ความร้รู ายบคุ คล เร่อื ง การจัดต้งั ศนู ยเ์ รยี นรู้สัมมาชีพชุมชน ต้นแบบระดบั ตาบล เจ้าขององคค์ วามรู้ ชอ่ื นางศริ ิรัตน์ ยานะ ตาแหน่ง นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ สังกัด สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอยง่ี อ

แบบบนั ทกึ องคค์ วามรู้รายบคุ คล 1. ช่ือองค์ความรู้ การจดั ตั้งศนู ยเ์ รยี นรูส้ มั มาชพี ชุมชนต้นแบบ ระดับตำบล 2. ชอ่ื เจ้าของความรู้ นางศริ ริ ัตน์ ยานะ ตำแหนง่ นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ สงั กัด สำนักงานพฒั นาชุมชนอำเภอยีง่ อ จงั หวดั นราธวิ าส 3. องค์ความรู้ที่บ่งชี้ (เลอื กไดจ้ ำนวน 1 หมวด)  หมวดที่ 1 สร้างสรรคช์ ุมชนพ่งึ ตนเองได้  หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดุล  หมวดที่ 3 เสรมิ สรา้ งทนุ ชุมชนให้มธี รรมาภบิ าล  หมวดที่ 4 เสรมิ สร้างองคก์ รใหม้ ขี ีดสมรรถนะสงู 4. ทม่ี าและความสำคัญในการจัดทำองคค์ วามรู้ กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกจิ ในการสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของประชาชน และเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน ให้มีความม่นั คงและมีเสถียรภาพ โดยได้กำหนดวิสัยทัศน์ “ เศรษฐกิจฐาน รากมั่นคงชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕” การสง่ เสรมิ สมั มาชีพชุมชน โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ตามแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและชมุ ชนเข้มแขง็ ของรฐั บาล ซ่งึ ตอบสนองนโยบาย ของรฐั บาลในเรอ่ื งของการลดความเหล่ือมล้ำทางสังคม และสรา้ งโอกาสการเข้าถงึ การบริการภาครัฐ จึงต้อง กำหนดภารกิจ การขับเคล่ือนงานตามแผนปฏิบตั ิราชการกรมการพฒั นาชุมชน และพัฒนาระบบกลไกในการ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน การพฒั นาการบรหิ ารจัดการชุมชนและกจิ กรรมต่าง ๆ การพัฒนา สมรรถนะบคุ ลากรในองค์กร ใหม้ ีความพร้อมในการขบั เคลอื่ นงานตามภารกิจและนโยบาย ดังน้ัน การจัดต้ัง ศนู ยเ์ รียนร้สู มั มาชพี ชมุ ชนตน้ แบบระดับตำบลจึงเป็นเครอ่ื งมือในการพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากของชมุ ชนเพื่อให้ ชุมชนมอี าชีพและมรี ายได้ เศรษฐกิจครวั เรือนมีความม่นั คง ใชช้ วี ิตอย่ใู นชุมชน อยา่ งมีความสขุ อย่างยงั่ ยืน ความสำคัญในการจัดทำองค์ความรู้การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้สมั มาชีพชุมชนต้นแบบระดับตำบล 4.1 ทำให้ครัวเรอื นเป้าหมายมีแนวทางในการพัฒนาศักยภาพด้านอาชพี 4.2 วิทยากรสมั มาชพี ชมุ ชน (ปราชญช์ มุ ชน ท่ผี า่ นการฝกึ อบรมหลักสูตร วทิ ยากรผู้นำสัมมาชีพ ระดับหมู่บ้าน) มีความสามารถ เชื่อมั่นในองค์ความรู้ และมีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ไปสู่ครัวเรือน เป้าหมาย 4.๓ ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน บางส่วนยังต้องได้รับการพัฒนาทักษะการเป็น วิทยากรและกระตุ้นจิตสำนึกในการอาสาช่วยครัวเรือนเป้าหมายและชุมชนอีกจำนวนมาก 4.4 เกิดแหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่สามารถเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านอาชีพไ ด้ 4.๕ การขับเคลื่อนงานสัมมาชีพ ก่อให้เกิดการรวมกลุ่มอาชีพ ซึ่งมีแนวโน้มพัฒนา ไปสู่กลุ่ม ผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP ทั้งนี้ต้องได้รับความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่กระบวนการ ลงทะเบียน และคัดสรรสดุ ยอดผลติ ภณั ฑ์ OTOP

-๒- 5. รูปแบบ กระบวนการ หรือลำดบั ข้ันตอน ข้ันตอนในการจดั ต้ังศูนย์เรียนรู้สัมมาชีพชุมชนต้นแบบระดับตำบล มีดังน้ี ปจั จยั นำเขา้ กระบวนการ (process) ผลผลิต ผลลัพธ์ (input) (output) (outcome) 1.ทมี ขับเคลอ่ื น สมั มาชพี ชมุ ชน 1.จัดทำฐานขอ้ มลู Big 1.ทีมขับเคลอ่ื น 1.ประชาชนมศี นู ย์ (จนท.พช./ภาคกี าร พัฒนา/ตวั แทนกลมุ่ Dataอาชีพ/ปราชญ์ สมั มาชีพชมุ ชน ระดับ เรียนรูส้ มั มาชพี ชมุ ชน มี องค์กร ๒.ทมี สนบั สนนุ การ สัมมาชีพ/คร.สมั มาชพี ตำบล/อำเภอระดับละ การสร้างงาน อาชีพ มี ขับเคลอ่ื นสัมมาชีพ ชมุ ชน ศอช. กพสม. 2.สร้างทีมขบั เคล่อื น/ทมี ๑ ทมี รายไดเ้ พ่ิม ยกระดับ กพสต. เครอื ข่ายกลมุ่ ออมทรพั ยฯ์ สนับสนนุ ระดับตำบล/ 2.ทีมสนบั สนนุ สัมมาชพี คุณภาพชีวิตท่ีดมี ี 3.วัสดุ อุปกรณ์ สอ่ื อำเภอ ชุมชนระดบั ตำบล/ ความสุข ความรใู้ นการส่งเสริม อาชีพ 3.สร้างความเข้าใจ อำเภอ ระดับละ ๑ ทมี 2.มีการสรา้ งสมั มาชพี 4.หลกั การทำงาน แนวคดิ แนวคดิ /หลกั การ/วิธกี าร 3.ศนู ย์เรียนรู้ชมุ ชน ชุมชนโดยให้ชาวบ้าน - หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.ประชุมวางแผนการ ตน้ แบบตำบลละ ๑ สอนชาวบ้าน ก่อให้เกิด - หลักปรัชญาพฒั นา ขับเคลือ่ นฯ ศูนย์ ความรกั ความสามัคคี ชมุ ชน -หลกั การทรงงาน 5.ขบั เคลอื่ นศูนยเ์ รียนรู้ 4.ปราชญช์ ุมชนตน้ แบบ ร่วมมือกนั ในการพฒั นา -แนวทางการสร้าง สมั มาชีพ/แนวคดิ การ สัมมาชีพชุมชน ตำบลละ ๕ คน เศรษฐกิจฐานรากใน จัดตั้งกล่มุ 6.คดั เลอื กศนู ย์เรยี นรู้ 5.กลุ่มสมั มาชีพชุมชน ชุมชนสง่ ผลให้เศรษฐกจิ สมั มาชีพชุมชนตน้ แบบ ลงทะเบียน OTOP ของประเทศ มีความ 7.รวมกลุ่มอาชพี และนำ อยา่ งนอ้ ยตำบลละ 3-5 มนั่ คง ม่งั คงั่ ย่ังยืน ผลิตภัณฑ์ลงทะเบยี น กลุ่ม 3.ครวั เร่ือนมคี วามมั่นคง OTOP 6.ผลิตภัณฑ์ OTOP ดา้ นอาหาร , 8.พัฒนาผลติ ภัณฑ์ ได้รบั การพฒั นาตอ่ ยอด สงิ่ แวดลอ้ มยง่ั ยนื และมี OTOP มคี วามโดดเด่นตำบล 3 ภูมิคุ้มกนั 9.คัดสรรผลติ ภณั ฑ์ - 5 ผลิตภัณฑ์ ๔.ชมุ ชนมคี วามพรอ้ ม OTOP พฒั นาสู่ “ชุมชน 10.สง่ เสรมิ พฒั นาชุมชน ทอ่ งเท่ียวOTOP นวตั วถิ ี สชู่ ุมชนทอ่ งเท่ียว OTOP นวตั วิถี 11.ติดตามประเมินผล สรปุ ถอดบทเรยี น 12.เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ 13.เชดิ ชเู กยี รติ มอบใบ ประกาศเกยี รตคิ ณุ

- ๓- 6. เทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน การจดั ตั้งศนู ยเ์ รียนรสู้ มั มาชีพชุมชนต้นแบบระดับตำบล ให้บรรลุผลสมั ฤทธิ์ ใช้เทคนคิ ในการ ปฏบิ ตั งิ านดังน้ี 6.๑ หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่ รชั การที่ ๙ ไดแ้ ก่ ๑) หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒) หลักการ “ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา “ ๓) หลักการระเบดิ จากข้างใน 6.2 หลักปรัชญาพฒั นาชุมชน ๑) ศกั ด์ิศรีของความเป็นมนษุ ยเ์ ท่าเทียมกนั มีความเชือ่ มั่นศรทั ธาในมนษุ ยชาตวิ ่า ทุกชวี ติ มี คุณค่าและมคี วามหมาย มีศกั ด์ศิ รีและศักยภาพ สามารถเรยี นรแู้ ละเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม สรา้ งสรรค์ เปลยี่ นแปลงสถาพแวดลอ้ มตนเองได้ ๒) หลกั การทำงานแบบมสี ว่ นรว่ ม ร่วมตดั สนิ ใจ รว่ มวางแผน ร่วมปฏิบัติและร่วมตดิ ตาม ประเมินผล 6.3 หลกั ในการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี (Good Governance) 7. ปญั หาทีพ่ บและแนวทางการแก้ไข ๑) บุคลากร (พฒั นากร) ส่วนหนึง่ ยงั ขาดทกั ษะในการจัดระบบทะเบยี นข้อมูล การวิเคราะหง์ าน การสานต่องานใหต้ ่อเน่อื ง เหน็ ผลเปน็ รปู ธรรม ๒) ชุมชนขาดการดำเนินงานอย่างต่อเน่อื ง เนื่องจากมภี ารกจิ ดา้ นอน่ื ๆ ๓) มหี ลายหน่วยงานในพน้ื ท่ี มภี ารกจิ พฒั นาเชงิ พืน้ ที่ ขาดการบรู ณาการโครงการ/กิจกรรม แนวทางแก้ไข ๑) จัดทำแผนงาน /โครงการ เสนอผู้บริหาร สนบั สนุนให้มีการจัดตัง้ ศนู ย์เรยี นรู้สมั มาชีพชุมชน ตน้ แบบระดบั ตำบล ตอ่ ยอดการดำเนนิ งานสัมมาชพี ชุมชน ที่มีความพรอ้ ม ขบั เคลือ่ นอย่างตอ่ เนื่อง และพฒั นา ผลติ ภัณฑเ์ ข้าส่กู ระบวนการลงทะเบียน OTOP ซึ่งจะนำไปสู่การสร้างงาน สรา้ งอาชพี รายได้ อนั จะส่งผล ใหบ้ รรลุวิสยั ทัศนก์ รมการพฒั นาชมุ ชน “เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ภายในปี ๒๕๖๕ “ ๒) สนับสนนุ ให้จดั ทำระบบข้อมลู Big Data เพอ่ื ใหส้ ามารถนำมาวเิ คราะหแ์ ละสนับสนุนการ นำไปใชป้ ระโยชน์ ในการสรา้ งสรรค์และพฒั นางาน ๓) สนบั สนุนการพัฒนาทกั ษะการใชเ้ ครื่องมือ เพิม่ ชอ่ งทางการตลาดผ่าน E – Commerce ใหก้ ับ ประชาชน ๔) สนบั สนุนใหเ้ กดิ องคก์ รคณุ ธรรม มีความโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้ เพอื่ ภาพลกั ษณท์ ีด่ ขี อง องคก์ ร ๕. สนบั สนุนใหท้ ีมงาน ทำหน้าทีเ่ ปน็ นกั บรหิ ารยุทธศาสตร์ เพ่อื ตอบสนองนโยบายของรฐั บาล กระทรวง กรมและจงั หวัด

-๔- 8. ประโยชน์ขององค์ความรู้ ๑) เพิ่มประสิทธภิ าพ ใหก้ ารขับเคลื่อน ศูนยเ์ รยี นรสู้ มั มาชีพชุมชนตน้ แบบระดับตำบล เปน็ ศนู ยก์ ลาง ในการแลกเปลีย่ นเรียนรสู้ มั มาชพี ชุมชนและการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน มีการสรา้ งงาน สร้างอาชพี สร้างรายได้ คนในชุมชนมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดมี คี วามสขุ ๒) สนบั สนุนกระบวนการและข้นั ตอนการจัดต้งั ศนู ย์เรยี นรสู้ ัมมาชพี ชมุ ชนตน้ แบบ ระดับตำบล ทีไ่ ด้ มาตรฐาน ทำให้ไดร้ บั ประโยชน์จากความชำนาญและประสบการณท์ ่มี อี ยู่ ประชาชนทั่วไปสามารถนำไป ประยกุ ต์ใช้กับความตอ้ งการของตนเอง ๓) ป้องกันการสญู หายของภมู ิปัญญาตา่ ง ๆ มกี ารบนั ทึกองคค์ วามรู้ของปราชญ์สมั มาชีพชุมชน ไวเ้ ป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษร ประชาชนผสู้ นใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้ ๔) สง่ เสริมใหเ้ กิดกลุ่มสมั มาชีพชมุ ชน และลงทะเบียน OTOP ผลติ ภัณฑ์ได้รับการพฒั นาต่อยอดใหม้ ี ความโดดเด่น ๕) เกดิ การส่ือสารขอ้ มูลที่สำคญั อยา่ งกว้างขวางและรวดเร็ว ๖) ประชาชนนำความรไู้ ปประกอบอาชีพ มีรายไดเ้ พ่ิมขึ้นมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีมคี วามสุข ตอบสนอง วสิ ยั ทัศน์กรมการพฒั นาชมุ ชน “ เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คง ชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕ “ ******************************

สำนกั งำนพฒั นำชุมชนอำเภอยง่ี อ ทีว่ ำ่ กำรอำเภอยี่งอ ถนนรำมโกมุท นธ 96180 โทร. 073-591-030


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook