Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน กอท มัธยมต้น

โครงงาน กอท มัธยมต้น

Published by miss_orapan, 2022-08-07 17:36:05

Description: โครงงาน กอท มัธยมต้น

Search

Read the Text Version

โครงงานการงานอาชีพ และเทคโนโลยี เรื่อง ทองม้วนอินดี้ ของดีเมืองฝาง จัดทำโดย ๑. เด็กชายอนุรักษ์ กัณทจันทร์ ๒. เด็กชายพลเอก ไชยมงคล ๓. เด็กชายธีรภัทร ว่องไว ครูที่ปรึกษา นางสาวอรพรรณ อุ่นปวง นางสาวอัจฉรา กิตติวิโรจน์ชัย นายจิรพันธุ์ พรหมมินทร์ โรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น



ก บทคดั ยอ่ โครงงาน ทองม้วนอินดี้ ของดีเมืองฝาง จดั ทาข้นึ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาการแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร เพ่ือศึกษาวิธีทาขนมทองม้วน และเพื่อส่งเสริมพื้นฐานการประกอบอาชีพในกลุ่มนักเรียน โดยได้ ทาการศึกษาค้นคว้าจากทางอินเตอร์เน็ต และการสอบถามจากปราชญ์ชาวบ้าน รวมท้ังสอบถามคุณครูท่ี ปรึกษาโครงงานทาให้คณะผู้จดั ทาไดเ้ รยี นรู้ข้อมลู ต่างๆเก่ียวกบั การแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร ได้แก่ กล้วย หอม ลิ้นจ่ี และมะม่วง ข้ันตอนวิธีการนาผลไม้มาทาเป็นขนมทองม้วน การออกแบบบรรจุภัณฑ์ โลโก้ ตลอดจนแนวทางการขายท้ังออนไลน์และออฟไลน์ ซ่ึงสามารถเป็นแนวทางในการนาไปต่อยอดสาหรับการ ประกอบอาชพี ใหน้ ักเรยี นและชาวบา้ นในท้องถน่ิ ในอนาคตได้ ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรม 5G ของโรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก (5 Good= Good food Good knowledge Good health Good skill Good life) คือการไดบ้ ริโภคอาหารทปี่ ลอดภยั มีความรู้ในการดแู ลสขุ ภาพ เกิดทักษะในการดาเนินชีวิต และการมีความรูพ้ น้ื ฐานสกู่ ารประกอบอาชีพท่ดี ีต่อไปในอนาคต

ข ช่ือโครงงาน ทองม้วนอนิ ด้ี ของดเี มอื งฝาง ประเภทของโครงงาน โครงงานการงานอาชพี และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. เด็กชายอนรุ ักษ์ กณั ทจันทร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 2. เดก็ ชายพลเอก ไชยมงคล ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 3. เดก็ ชายธรี ภัทร วอ่ งไว ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ช่ือท่ีปรึกษาโครงงาน ครูอรพรรณ อุ่นปวง ครูอัจฉรา กิตติวิโรจน์ชยั ครูจิรพันธุ์ พรหมมินทร์ กติ ตกิ รรมประกาศ คณะผู้จัดทาโครงงานทองม้วนอินด้ี ของดีเมืองฝาง ฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความเมตตา ช่วยเหลืออันดียิ่งจากคุณครูครูอรพรรณ อุ่นปวง ผู้สอนวิชาส่งเสริมสัมมาชีพ (แปรรูปผลิตภัณฑ์)ที่อนุมัติ เห็นชอบในการจัดทาโครงงาน ครูจิรพันธุ์ พรหมมินทร์ และ ครูอัจฉรา กิตติวิโรจน์ชัย ที่กรุณาให้คาแนะนา ในการจัดทาโครงงาน อานวยความสะดวกจัดหาอุปกรณ์ อุทิศเวลา และเป็นที่ปรึกษาโครงงาน โดยเฉพาะการนาเสนอที่ถูกต้อง ขอบคุณเพื่อนๆที่คอยช่วยเหลือให้คาปรึกษาด้านการจัดทาโครงงาน การ รวบรวมข้อมูลต่างๆในการจัดทารูปเล่มโครงงาน คณะผู้จัดทาหวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่าโครงงานเรื่อง ทองมว้ นอินด้ี ของดีเมืองฝาง จะเปน็ ประโยชน์ต่อ การศึกษาคน้ คว้าของนักเรียนโรงเรียนบ้านแม่งอนข้ีเหล็ก และผู้ที่สนใจในเรื่องการดแู ลสุขภาพ รวมไปถึง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ท่ีมีอย่ใู นท้องถ่ิน สาหรับใช้ในชีวิตประจาวัน คณะผู้จดั ทา

ค คานา รายงานฉบับนจี้ ดั ทาขึ้นเพ่อื นาเสนอโครงงานการงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ ในหัวข้อเร่ือง ทองมว้ นอินด้ี ของดีเมืองฝาง คณะผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาจากหนังสือ อินเตอร์เน็ต เว็บไซต์ รวบรวมข้อมูลและเก็บบันทึกข้อมูล เก่ียวกับการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การทาทองม้วน ผลไม้ ด้วยความตง้ั ใจ สามคั คี ในการนาเสนอโครงงานช้นิ นี้ เพื่อใหไ้ ด้ประโยชน์ทั่วไป คณะผจู้ ดั ทา

บทคัดย่อ ง กิตตกิ รรมประกาศ หน้า คานา ก สารบัญ ข บทท่ี 1 บทนา ค ง ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน 1 วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา 1 สมมติฐานการศึกษา 1 ขอบเขตการศึกษา 1 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ บั 1 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 1 เอกสารอ้างอิง 2 บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ โครงงาน 2 ตารางปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 9 เครอ่ื งมอื และวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการศกึ ษา 9 วิธีการศึกษา 10 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 10 ผลการศกึ ษา 11 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร 11 11 ขั้นตอนวิธีการทาทองม้วน 12 สถิติตวั อยา่ งการขาย 14 บทที่ 5 สรปุ ผลการศึกษา 15 สรปุ ผลการศึกษา 15 ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากโครงงาน 15 ขอ้ เสนอแนะ 15 16 บรรณานุกรม 17 ภาคผนวก

1 บทที่ 1 บทนาํ ที่มาและความสาํ คัญของโครงงาน อําเภอฝางเปนพื้นท่ีเกษตรกรรมมีการปลูกพืชผัก ผลไม กันโดยท่ัวไป แตปนี้พืชผลทางการเกษตร ราคาตกตํ่า สงผลใหเกษตรกรไดรับความเดือดรอนโดยทั่วกัน ประกอบกับทางโรงเรียนบานแมงอนข้ีเหล็กได สง เสริมใหนกั เรยี นรับประทานอาหารท่ปี ลอดภัย เพ่ือใหน ักเรียนไดมสี ุขภาพท่แี ข็งแรง ทางคณะผจู ดั ทําจงึ สนใจศึกษาการแปรรูปผลติ ผลทางการเกษตรทมี่ ีในทองถ่ิน อันไดแ กกลวย มะมวง และลนิ้ จ่ี และศึกษาการทําอาหารเพ่ือสุขภาพ โดยไดสอบถามปราชญชาวบานและคุณครูท่ีปรึกษาโครงงาน เพื่อสรางเปนผลิตภัณฑของนักเรียน คือการทําขนมทองมวน เพราะขนมทองมวนเปนขนมท่ีไดรับความนิยม อยางแพรหลาย ทานงาย รสชาติอรอย ราคาไมแพง และไดนํากลวย มะมวง และล้ินจ่ี มาทําเปนทองมวน ผลไมเ พื่อสขุ ภาพ ซง่ึ นอกจากจะไดอาหารเพื่อสขุ ภาพแลวยงั สามารถสรา งรายไดระหวา งเรยี นไดอ ีกดวย วตั ถปุ ระสงคข องการการศกึ ษา 1. เพ่ือศกึ ษาการแปรรูปผลติ ผลทางการเกษตร 2. เพอื่ ศึกษาวิธีทําขนมทองมวน 3. เพอ่ื สงเสรมิ พนื้ ฐานการประกอบอาชพี ในกลุมนกั เรยี น สมมติฐานการศึกษา สามารถนํากลว ย มะมว ง และล้ินจี่ มาแปรรูปเปน ทองมวนเพ่อื สขุ ภาพได ขอบเขตการศึกษา 1. ศึกษาการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร 2. ศึกษาคนควาวิธีการทาํ ขนมทองมว น 3. ศึกษาความพึงพอใจในผลติ ภัณฑ ประโยชนทค่ี าดวา จะไดรับ 1. ไดรูขอ มูลการการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร 2. ไดรูข้ันตอนวธิ ีการทําขนมทองมว น 3. ไดรูแนวทางการสรา งอาชีพจากผลิตผลในทองถิ่น

2 บทท่ี 2 การศึกษาเอกสารอางอิง การแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร การนําผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปจะชวยปองกันการลนตลาดของผลิตผลสด ซึ่งชวยยกระดับ ราคาผลิตผล ไมใหตกต่ํา การเพิม่ มูลคาของผลิตผลทางการเกษตรมาแปรรูปเปนอาหารระดับอุตสาหกรรม ที่ สามารถรับวัตถุดิบเพ่ือผลิตเปนอาหารจํานวนมากได การผลิตอาหารใหไดมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยตอ ผูบริโภค การสงเสริม ใหผลิตภัณฑแปรรูปอาหารใหเปนที่ยอมรับ และสามารถขยายตลาดการคาออกไปสู ตางประเทศ จะชว ยเพิม่ พูน รายไดใ หแกประเทศไดเ ปน อยา งดี เน้อื หาสาระ สาระการเรียนรแู กนกลาง สําหรบั กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระท่ี 1 การดํารงชวี ิตและครอบครวั เรือ่ งการแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 การเก็บรักษาและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เปนการนําเอาผลผลิตทางการเกษตรมาผานกระบวนการ ตางๆ เพื่อใหเก็บรักษาผลผลิตทางเกษตรไวไดนานกอนถึงตลาดและผูซ้ือ ปจจัยท่ีเก่ียวของเก่ียวกับการเก็บ รักษาผลผลิตทางการเกษตร ไดแก สภาพของผลผลติ ความสะอาด ความช้นื อุณหภูมิ การถายเทอากาศ การเกษตร หมายถึง การปลกู พชื การเลยี้ งสัตว ตองอาศยั ปจ จัยทางธรรมชาตเิ ปน สาํ คญั ผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง สิ่งทไี่ ดม าจากการทําเกษตรกรรม ไดแก การปศสุ ตั ว การปาไม การประมง การกสิกรรม และผลิตภัณฑต า งๆ ทไ่ี ดจากการแปรรูปไปเปนอยา งอ่ืน เชน อาหารกระปอ ง เครอ่ื งหนงั ไมอ ัด ผลิตภณั ฑนม เปนตน แบงออกเปน 2 ประเภทใหญคอื 1. ผลผลติ ทใ่ี ชในการอุปโภค เชน ฝา ย ปอ ปาน ไหม ยาง ไมอัด เปน ตน 2. ผลผลติ ทใ่ี ชใ นการบริโภค เชน ขาว ขา วโพด ผลไม ออ ย ผลิตภัณฑนม เปน ตน ผลผลิตทางเกษตรที่สาํ คัญของประเทศไทย เชน ขา ว ขาวโพด ยางพารา มนั สําประหลงั กงุ แชแข็ง ไกแ ช แข็ง เปน ตน เทคนคิ ในการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร มีหลายขั้นตอน แตท ่สี าํ คญั จะเปน แรงจงู ใจสามารถทาํ ผลติ ภัณฑ ตาง ๆ ใหเกิดประโยชนค มุ คา คมุ ราคา และผลติ ภัณฑนัน้ จะตอ งมีความอรอ ย ไมใ ชท าํ ครงั้ แรก อรอ ยทกุ คน ติดใจในรสชาติ สามารถทาํ รายไดใหมากมาย พอเริ่มมคี นรจู กั คนุ ตา ชินตอ รสชาติ ก็จะเริ่มทาํ ผลิตภณั ฑเพ่ือใหมี ผลกําไรมาก ๆ ความสําคัญของรสชาตอิ าจดอ ยไป จะทาํ ใหทกุ คนเสอ่ื มความศรทั ธาได จงึ จําเปนอยา งยง่ิ ท่ี จะตองคํานงึ ถงึ 1. ความซื่อสตั ยต อตนเองและลูกคา 2. ตอ งมีการวางแผนผลติ สนิ คา นั้นลว งหนา และเหมาะสมกบั ฤดกู าล เพอื่ สินคา นน้ั จะมตี น ทุนตํ่าขาย ได ราคาสงู 3. ตองมีความสนใจ และตง้ั ใจตอการทาํ ผลิตภณั ฑน ัน้ เพ่ือใหมีความสม่าํ เสมอของรสชาตแิ ละคณุ ภาพ ทด่ี ี 4. ตอ งคาํ นงึ ถงึ ความสะอาดความปลอดภยั เสมอ 5. ตอ งมีความรูใ นสารปรุงแตง อาหารทีใ่ ชอ ยางแมนยํา

3 6. การคดั เลือกวัตถุดบิ เพ่อื การแปรรูปจะตอ งมีลกั ษณะและคณุ ภาพตรงตามชนดิ ของอาหาร และตอ ง คาํ นึง ถึงเวลา แรงงาน และคา ใชจ า ยในการเตรยี มวตั ถดุ ิบดว ย แนวทางการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเปนการชวยปองกันปญหาผลผลิตลนตลาด หรือผลผลิตตกเกรด ไมไดขนาดตามท่ีลูกคาตองการ ทําใหสามารถยกระดับราคาผลิตผลไมใหตกต่ํา และการสรางเพิ่มมูลคาใหแก ผลิตผลทางการเกษตร การแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตรใหเปนผลติ ภัณฑอ าหาร หรอื วัตถุดิบอาหาร จะทําให สามารถขยายตลาดการคาออกไปสูตา งประเทศ จะชว ยเพ่มิ พูน รายไดใ หแกป ระเทศไดเปนอยางดี เทคนคิ ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรมีหลายข้ันตอน และหลายรูปแบบ แตท่ีสําคัญผลิตภัณฑ อาหารแปรรูปนน้ั ๆจะตองมคี วามอรอ ย ผบู ริโภครับประทานแลว ตองติดใจในรสชาติ ซึ่งผลิตภัณฑอาหารแปร รูปสามารถทํารายไดใหแกเกษตรกร และผูประกอบการ ไมวาจะจําหนายในประเทศ หรือการสงออกที่ สามารถเปน รายไดนําเขา สูป ระเทศ แนวทางการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สามารถทําไดหลายวิธดี งั น้ี 1. การทําใหแหง คือ การลดความชื้นของอาหารจนถึงระดับที่สามารถยับย้ังการเจริญเติบโตของ เชื้อจลุ นิ ทรียได ทาํ ใหเก็บอาหารไดน าน การทาํ แหงอาหารโดยท่ัวไปจะอาศยั ความรอ น เพอ่ื ระเหยนาํ้ ออกจาก อาหาร การทําใหแหงโดยใชค วามรอ นมีหลายวธิ ี คอื - การทําแหงโดยตากแดด เปนการนําผลผลิตทางการเกษตรไปตากแดดโดยตรง มีความสะดวกและส้ิน คาใชจายนอย โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตยเปนแหลงกําเนิดความรอนที่ไดมาโดยไมตองเสียคาใชจาย การ ตากแหงโดยใชพลังงานแสงอาทิตยแบบด้ังเดิม เชน การตากเนื้อสัตว ปลา ผักและผลไม วิธีน้ีไมสามารถ ควบคุมระดับความรอน และคุณภาพของผลิตภัณฑ เนื่องจากอาจมีการปนเปอนฝุนละออง จุลินทรีย หรือมี แมลงมาตอม ไดจ งึ มกี ารสรา งเปนตูอบโดยใชค วามรอ นจากแสงอาทติ ย

4 - การทําแหงโดยใชตูอบลมรอน วิธีการนี้เปนการนําวิธีการแรกมาปรับปรุง โดยใชอุปกรณเขาชวย เพ่ือ ทําใหผลิตภัณฑจํานวนมากแหงตามท่ีตองการ และมีความชื้นสมํ่าเสมอ ผลิตภัณฑท่ีตากแหงโดยวิธีน้ีสะอาด ลดการปนเปอนของจุลินทรียไดด ีกวา การตากแดด วิธีการทาํ ใหแหง ดว ยความรอนโดยใชต อู บขนาดใหญท่ีมีลม รอนเปาผานทําใหน้ําระเหยไปกับลมรอนโดยทางชองระบายลมภายในตูอบ ใชอุณหภูมิประมาณ 60 – 90 องศาเซลเซียส ขน้ึ กบั ชนิดของผลติ ภัณฑ - การทาํ แหงโดยใชลูกกลิ้ง เปนการทําใหอาหารเหลว ขน ไปเคลือบเปนแผนบางบนผิวลูกกลิ้งรอน เกิด การถายเทความรอนจากผิวของลูกกลิ้งไปยังแผนอาหาร เม่ือลูกกลิ้งหมุนไปจนครบรอบ อาหารจะแหงพอดี แลว ถกู ขดู ออกดว ยใบมดี อาหารแหง ทีไ่ ดออกมาจะมีลักษณะเปน แผนบาง สามารถนําแผนอาหารน้ีไปบดเปน ผงละเอยี ด เมอื่ กลับมาชงนาํ้ รอ นจะสามารถคนื ตัวได - การทาํ แหงแบบเยอื กแข็ง การทาํ แหงแบบแชเ ยือกแขง็ ทําใหน้ําในโครงสรางอาหารเปลี่ยนสถานะเปน ผลึกน้ําแข็งกอน แลวจึงลดความดันเพ่ือใหผลึกนํ้าแข็งระเหยกลายเปนไอ โดยการลดความดันบรรยากาศ เพือ่ ใหผลกึ นา้ํ แขง็ ทอ่ี ยภู ายในเกิดการระเหยกลายเปน ไอออกไปจากผวิ หนาของผลิตภณั ฑ - การทาํ แหง โดยใชไ มโครเวฟ คล่ืนไมโครเวฟสามารถเคล่ือนที่เขาไปในวัตถุดิบและทําใหวัตถุดิบซึ่งมีน้ํา อยูรอ นขนึ้ อยา งรวดเรว็ ทั้งภายในและท่ผี ิวหนา ไปพรอมๆกนั โดยคลนื่ ไมโครเวฟมีผลกระทบตอวัสดุอ่ืนๆนอย มาก เมื่อเราใชไมโครเวฟในการอบแหงอาหารโดยมีการควบคุมที่เหมาะสม สวนที่เปนนํ้าจะถูกทําใหรอนขึ้น อยางรวดเร็วจนระเหยออกไป โดยที่ความรอนดังกลาวจะไมทําใหโครงสรางและรสชาติของอาหารเกิดความ เสยี หาย 2. การดอง เปน การทําใหผลผลิตมีรส กลน่ิ เปล่ยี นไปจากเดิมเชน การดองเคม็ โดยใชเกลอื เชนการดองไข มะนาว ผักกาดดอง เปนตน สามารถฆาหรือยับย้ังการเจริญเติบโตของจุลินทรียที่ทําใหเกิดการเนาเสีย หรือ การดองหวาน (การแชอิ่ม) โดยใชน าํ้ ตาล เชน มะมว งแชอ มิ่ มะดนั แชอิม่ เปน ตน 3. การใชความเย็น เปนวิธีท่ีสะดวก ชวยในการเก็บรักษาผัก ผลไม เนื้อสัตวตางๆใหสด และยังมีคุณคา ทางโภชนาการที่ดีอยู แตไมสามารถทําลายจุลินทรียไดทุกชนิดเชน การแชเย็นธรรมดา ใชอุณหภูมิ 5-10 องศาเซลเซียส การแชแ ขง็ ใชอุณหภูมิ -40 องศาเซลเซยี ส สามารถเกบ็ รักษาผลผลติ บางชนดิ ไดนานเปนป 4. การใชรังสี โดยใชรังสีแกมมา ซ่ึงไดจากสารกัมมันตรังสี เพื่อชะลอการสุกของมะมวง และควบคุมการ แพรพ ันธขุ องแมลงในระหวางการเกบ็ รักษา 5. การใชค วามรอ น จะชว ยทาํ ลายจุลินทรยี ที่กอ ใหเ กิดโรค ซ่ึงทาํ ใหอ าหารเนาเสยี ทาํ ลายเอนไซม สารพิษ และพยาธิ การแปรรูปโดยใชความรอน กระทาํ ได 2 วธิ ี คือ - การพาสเจอรไรซ คือ การใชความรอนท่ีอุณหภูมิไมสูงมากนัก เพ่ือทําลายแบคทีเรีย พวกที่ไมสราง สปอร และพวกทก่ี อใหเกดิ โรคแกค น อาหารท่ีผา นขน้ั ตอนฆาเชื้อแบบพาสเจอรไรซจึงตอ งอาศยั ความเย็นชวย ในการเกบ็ รักษา

5 - การสเตอริไลซ คือ การใชความรอนท่ีอุณหภูมิสูงกวาการพาสเจอรไรซ ซ่ึงใชระดับอุณหภูมิสูงกวานํ้า เดอื ด เพ่ือทาํ ลายจุลนิ ทรยี ทั้งหมด รวมถึงสปอรข องเชือ้ ทท่ี ําใหเกดิ โรคอาหารเปน พษิ อาหารท่ีผา นฆาเชื้อดวย ขบวนการสเตอรไิ ลซ จงึ เปน อาหารปลอดเช้อื เก็บรกั ษาไวไ ดน านในอุณหภูมปิ กติ 6. การใชวัตถเุ จอื ปนในอาหาร มวี ตั ถปุ ระสงคเ พื่อสงวนคณุ คาทางโภชนาการของอาหาร เพอื่ ยืดอายกุ าร เก็บหรือชวยใหอาหารนัน้ มีคณุ ภาพคงท่ี หรอื ชว ยปรบั ปรุงคณุ ภาพในดานเกีย่ วกบั สี กลิน่ รส ลกั ษณะสัมผัส และลกั ษณะปรากฏ โดยท่ไี มมีการเปล่ยี นแปลงคุณสมบัตหิ รอื คณุ คา อาหาร สารเจอื ปนทนี่ ยิ มใชใ นผลติ ภัณฑ ผกั และผลไม ไดแ ก - กรด การใชกรดเพอื่ ชว ยปรบั ปรงุ รสชาติ สี และกลน่ิ ของผลิตภัณฑใ หดีข้นึ ปอ งกนั ปฏิกริ ิยาการเกดิ สี น้ําตาล และยงั ชว ยยับยง้ั การเจรญิ เตบิ โตของจลุ ินทรีย ทาํ ใหเ กบ็ คณุ ภาพผลิตภณั ฑใหดขี นึ้ นอกจากนก้ี รดยัง ชวยลดอณุ หภูมิท่ตี องใชในการแปรรูปของผลิตภณั ฑป ระเภทผกั และผลไม การเลอื กใชก รดจะขน้ึ อยูกบั ชนิด ของกรดที่มีอยูมากในผลไม/ผกั นนั้ ผลไมท ว่ั ไปสว นมากจะมกี รดซิตริก (กรดมะนาว) มะขามมกี รดทารทารกิ (หรือเรียกวากรดมะขาม) เปน ตน - สารคงรปู ใชเพ่อื ปรบั ปรงุ คุณภาพทางดา นเนอ้ื สมั ผสั ของผัก และผลไม ใหดีขน้ึ สารคงรปู ท่รี จู กั กันตัง้ แต สมัยโบราณ คือ ปูนขาว ปูนแดง และสารสม ปจจุบันในอุตสาหกรรมการแปรรูปผักและผลไมจะใชเปน แคลเซยี มคลอไรด - สารกันเสีย เปนสารประกอบเคมีที่ชวยในการถนอมหรือยืดอายุการเก็บอาหาร หรือชวยยับยั้ง การ เจริญเติบโตของจุลินทรีย ซึ่งเปนสาเหตุในการเสียของผลิตภัณฑประเภทผักและผลไม ไดแกกรดเบนโซอิก หรอื เกลือเบนโซเอท - โซเดยี มไบคารบ อเนต (ผงโซดา) เปนสารเคมที ม่ี ีคณุ สมบัติเปนดา งออ น นยิ มเตมิ ลงไปในน้ําลวก/นา้ํ แช หลังลวก จุดประสงคเ พอ่ื ปรบั สภาพนา้ํ ลวกใหเ ปนดาง ชว ยรกั ษาสใี หค งความเขียวสด เมื่อไดทราบถึงหลักการเบื้องตนของการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรมาแลว เกษตรกรหรือ ผูป ระกอบการผลิตอาหาร สามารถเลือกแนวทางในการแปรรูปใหเ หมาะสมกับผลผลิตทางการเกษตรท่ีตนเอง มีอยู และสอดคลอ งกับความตอ งการของผบู รโิ ภคดวย

6 ทองมว นกรอบ กะทสิ ด สวนผสม ทองมว นกรอบ กะทสิ ด • แปง มนั สาํ ปะหลงั 290 กรัม • แปง สาลอี เนกประสงค 100 กรมั • เกลอื ปน 1/4 ชอ นชา • ไขไ กเ บอร 1= 1 ฟอง • หวั กะทิ 450 มลิ ลิลติ ร • นา้ํ ตาลมะพรา ว 225 กรัม • งาดํา 2-3 ชอนตวง • น้ํามนั พืชเลก็ นอ ย สาํ หรับทาพิมพ อปุ กรณใ นการทําทองมว นสด • แปรงซลิ โิ คน สาํ หรับทาพิมพ • พมิ พทองมว นขนาด 6.5 นิ้ว • เตาแกส หรอื เตาถานสาํ หรับยา งทองมวน • ไมม ว นทองมว น • ถุงมือ วิธที าํ ทองมว นกรอบ กะทสิ ด 1. รอ นแปงสาลีและแปงมันพรอ มกัน ลงไปในชามผสม เปดหลมุ ตรงกลางไว 2. ใสไขไกลงไป ตามดว ยเกลอื ปน น้าํ ตาลมะพราว กะทิใสเลก็ นอย จากนน้ั คลุกเคลา ใหเ ขากัน สามารถ ใชม อื ได 3. พอนวดจนน้าํ ตาลละลายดี และแปง เนยี นเขาดว ยกัน จากนน้ั คอยๆ ใสหวั กะทลิ งไป จนหมด นวดให ทุกอยางเนียนเขา กันดี 4. นาํ แปง ไปพกั ไวใ นอณุ หภมู ิหอ งอยา งนอย 30 นาที - 1 ชว่ั โมง 5. จากน้นั ใสงาดําลงไป คลุกเคลา ใหเ ขา กนั 6. เตรยี มอุปกรณส ําหรับทาํ ทองมว น เปดแกสใชไฟออ น วางพิมพท องมวนลงไป ทาดวยนา้ํ มันพชื บางๆ ทัง้ ดา นบนและดานลาง วอรม ใหพ ิมพรอ น 7. หยอดแปงลงไปประมาณ 1 ชอ นโตะ ใชเ วลายา งประมาณ 2 นาที ในระหวา งทีย่ า ง ควรบีบพิมพใ ห แนน ยา งฝง ละ 1 นาที 8. จากนนั้ มวนใหเ ปน ทรงทองมว น (วธิ ที าํ โดยละเอียดดตู ามคลปิ ) จากนนั้ นาํ ขึน้ ไปผ่ึงบนตะแกรง รอจน หายรอน เปน อนั เสรจ็

7 ทองมวนกลว ยไข สวนผสม - แปงสาลี 1 1/4 ถว ย - กลวยไขย ลี ะเอยี ด 1 1/2 - ชอ นโตะ - กะทิ 2 ถว ย - นํ้าตาลทรายปน 11 ชอ นโตะ - เกลอื ปน 3/4 ชอนชา - ไขไ ก 1 ฟองใหญ วิธที ํา 1. ผสมสว นผสมท้ังหมดเขาดว ยกัน 2. พมิ พท องมว นทาน้ํามนั ใหท ั่ว ปง ไฟออ นพอพิมพรอ นใชช อนตกั แปง หยอดลงพมิ พบบี พมิ พใหม ว น ปง จนเหลอื งท้ังสองดา น 3. นาํ ขนมออกจากพิมพ มวนโดยเรว็ ใสภ าชนะปด ฝาสนทิ ขนมทองมว น วัตถุดบิ 1. แปง สาลี 500 กรมั 2. นํ้าตาลมะพราว 400 กรัม 3. กะทคิ ้ันสด 2 ถวย 4. ไขไก 1 ฟอง 5. เกลือปน 1 ชอนชา 6. นํ้าปนู ใส 3 ชอนโตะ 7. งาดาํ 2 ชอ นโตะ

8 วิธีทํา 1. ขน้ั ตอนแรกใสแปง สาลลี งไป ตามดวยเกลอื ไขไก แลวกน็ าํ้ ตาลมะพราว 2. นวดสว นผสมทุกอยา ง ใหเขากนั เมือ่ สวนผสมเขากันดีแลว กค็ อย ๆ เตมิ นา้ํ กะทลิ งไปทลี ะนอ ย แลว ก็นวดไปเร่ือย ๆ จนมลี กั ษณะเหลว 3. จากน้นั นําแปงไปกรอง เมอื่ กรองเสรจ็ แลว กเ็ ตมิ นํ้าปนู ใส คนใหเ ขากนั แลว เตมิ งาดาํ ลงไปเปน ขนั้ ตอนสุดทา ย 4. เปด เครอ่ื งทําทองมวนไฟกลาง รอจนเคร่ืองรอน แลว ทานํา้ มนั พชื ลงไปท่ีพิมพ 5. หยอดแปง ที่เตรยี มไวล งไป ประมาณ 1 ชอนโตะ ปด ฝาแลว บบี ใหแนน รอจนแปงสุกหรอื เสยี ง เงยี บไป 6. เอาแปง ออกจากเครือ่ ง แลว มว นดว ยตะเกียบหรือไม กพ็ รอ มเสิรฟไดเ ลย

9 บทที่ 3 วธิ ีการดาํ เนนิ โครงงาน ในการจดั ทําโครงงานทองมว นอินดี้ ของดีเมอื งฝาง ผจู ัดทํามวี ัตถปุ ระสงคเ พอื่ ศึกษาการแปรรูป ผลติ ผลทางการเกษตร เพอื่ ศกึ ษาวธิ ที ําขนมทองมวน และเพ่ือสง เสริมพ้ืนฐานการประกอบอาชีพในกลมุ นกั เรียน โดยใชก ระบวนการ EDICRA ในการดาํ เนินงานโครงงานทองมว นอนิ ดี้ ของดเี มอื งฝาง ตารางปฏบิ ัติกจิ กรรมโครงงานทองมว นอนิ ด้ี ของดเี มอื งฝาง ขนั้ ตอน/ ว/ด/ป กิจกรรมที่ปฏิบตั ิ สถานทที่ าํ กจิ กรรม ผูรบั ผดิ ชอบ กระบวนการ สมาชิกในกลมุ 18 พ.ค. 65 - ลงทะเบยี นเรยี นวิชาสง เสรมิ สัมมาชีพ โรงเรยี นบา นแมงอน สมาชกิ ในกลมุ ขี้เหลก็ ครูท่ีปรึกษา 23-24 พ.ค. 65 - เลือกหวั ขอ การทาํ โครงงานและ โรงเรยี นบา นแมงอน สมาชิกในกลุม Explore นําเสนอครู พรอมทงั้ เหตผุ ลในการทาํ ขี้เหลก็ สมาชิกในกลมุ สํารวจ 25–31 พ.ค. - วางแผนการดําเนินงาน โรงเรยี นบา นแมง อน สมาชกิ ในกลุม สมาชิกในกลุม 65 ข้เี หล็ก Define 1-3 ม.ิ ย. 65 - รว มกันวิเคราะหขอมลู โรงเรยี นบา นแมง อน สมาชิกในกลุม นิยาม - กําหนดปญ หา ขเ้ี หลก็ สมาชกิ ในกลุม Investigate 4-10 ม.ิ ย. 65 - ศกึ ษาขอมูลจากแหลงขอ มูลตา งๆ เขตพื้นทต่ี าํ บล สมาชกิ ในกลุม สบื สวน - ถามครู ผูปกครองและผูรู แมงอน ครูทป่ี รกึ ษา ตรวจสอบ สมาชกิ ในกลุม Create 11-15 ม.ิ ย. 65 - เตรียมอปุ กรณ โรงเรียนบา นแมงอน ครทู ี่ปรึกษา คดิ คน และสราง - ดําเนนิ การทาํ ทองมวน ข้เี หลก็ ผลิตภณั ฑ - ออกแบบและทําโลโกผลิตภณั ฑ - คิดตนทุนการผลติ และกําหนดราคา Reflect 16-24 มิ.ย. 65 - นาํ ทองมวน ใหน ักเรยี นในโรงเรยี นและ โรงเรียนบา นแมง อน สรปุ และ คนทวั่ ไปในชุมชนชมิ ขเ้ี หล็ก ประเมนิ ผล - ขายทองมว น Create 25-26 มิ.ย. 65 - ประเมนิ ความพงึ พอใจ เขตพื้นที่ตาํ บล คดิ คนและสราง แมง อน ผลติ ภัณฑ Act 27-30 มิ.ย. 65 - เขยี นรายงานโครงงานจัดทาํ รปู เลม โรงเรยี นบา นแมงอน นําเสนอความรู และสรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม ขี้เหล็ก ใหก บั ครู 1 ก.ค. 65 - นาํ เสนอโครงงานและ รายงานผลการ โรงเรยี นบา นแมงอน นกั เรยี น และ ปฏิบัติงาน ขี้เหลก็ ผปู กครอง

10 เครือ่ งมือและวัสดอุ ปุ กรณท ่ใี ชในการศกึ ษา อปุ กรณ 900 กรมั 1. เคร่ืองปน นํา้ ผลไม ¼ ชอ นชา 2. เคร่ืองทําทองมว น 600 กรัม 3. ชอนตวง 500 มิลลลิ ิตร 4. อา งผสม 200 กรมั 5. ไมส าํ หรับมว น 50 มิลลลิ ติ ร 6. เครอ่ื งชัง่ 2 ฟอง สวนผสม 1. แปง มนั สําปะหลัง 2. เกลือปน 3. นา้ํ ตาล 4. กะทิ 5. ผลไม 6. นํา้ เปลา 7. ไขไก หมายเหต:ุ ถา จะทาํ จํานวนนอยใหปรับลดเพ่ิมตามสตู ร วิธีการศกึ ษา 1. ศึกษาจากเว็บไซต อนิ เทอรเน็ต 2. ศกึ ษาจากเอกสารอา งองิ และสอบถามปรกึ ษาครอู รพรรณ อุน ปวง 3. ประเดน็ การศึกษา - การแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร - ข้ันตอนวิธีการทาํ ขนมทองมวน ผลการศึกษา 1. ไดเรียนรูการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร 2. ไดเรียนรูข้ันตอนวิธีการทาํ ขนมทองมวน 3. ไดรูแนวทางการสรางอาชีพจากผลิตผลในทองถิ่น

11 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา จากการศึกษาขอมูลจากทางอินเตอรเน็ต และการสอบถามจากปราชญชาวบาน รวมทั้งสอบถาม คุณครูที่ปรึกษาโครงงานทําใหคณะผูจัดทําไดเรียนรูขอมูลตางๆเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ขั้นตอนวิธีการทําขนมทองมวน ซึ่งสามารถเปนแนวทางในการนําไปตอยอดสําหรับการประกอบอาชีพให นักเรียนและชาวบานในทองถ่ินในอนาคตได การแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร

12 ข้ันตอนวิธกี ารทาํ ทองมว น 1. เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ สว นผสม 2. รอนแปง มันพรอมกัน ลงไปในชามผสม ใสไขไกลงไป ตามดว ยเกลอื ปน นาํ้ ตาลปบ กะทใิ ส เล็กนอ ย จากนนั้ คลุกเคลา ใหเ ขา กนั สามารถใชม อื ได 3. พอนวดจนนํ้าตาลละลายดี และแปงเนยี นเขา ดว ยกนั จากนนั้ คอ ยๆ ใสหวั กะทลิ งไป จนหมด นวดใหทุกอยา งเนยี นเขา กนั ดี

13 4. นําแปงไปพกั ไวในอุณหภูมิหอ งอยา งนอย 30 นาที - 1 ชวั่ โมง 5. จากน้นั ใสง าดําลงไป คลุกเคลา ใหเขา กนั 6. เตรียมอปุ กรณสาํ หรบั ทาํ ทองมวน วอรมเตาทองมว น ทาดวยน้ํามันพชื บางๆ ทัง้ ดานบนและ ดา นลา ง

14 7. หยอดแปงลงไปประมาณ 1 ชอนโตะ ใชเ วลายางประมาณ 1-2 นาที 8. จากนนั้ มว นใหเปนทรงทองมว น จากนั้นนาํ ข้นึ ไปผ่ึงบนตะแกรง รอจนหายรอ นเกบ็ ใส ภาชนะปด ฝาใหสนิท ขอมูลการขาย 15 วนั การขายทองม้วน 15 วัน ลิน้ จี่ 780 บาท กลว้ ย 950 บาท 34% 42% มะมว่ ง 550 บาท 24%

15 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา สรปุ ผลการศึกษา จากการศึกษาขอมูลจากทางอินเตอรเน็ต และการสอบถามจากปราชญชาวบาน รวมทั้งสอบถาม คุณครูที่ปรึกษาโครงงานทําใหคณะผูจัดทําไดเรียนรูขอมูลตางๆเกี่ยวกับการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ขั้นตอนวิธีการทําขนมทองมวนผลไม การออกแบบบรรจุภัณฑ โลโก ตลอดจนแนวทางการขาย เมื่อนํา ทองมวนออกขายเปนเวลา 15 วัน ขายได 2,280 บาท และพบวาทองมวนกลวยหอมไดรับความนิยมมาก ที่สุด 950 คิดเปนรอยละ 41.66 ของยอดขาย ตามมาดวยลิ้นจี่ เปนจํานวน 780 บาท คิดเปนรอยละ 34.21 และมะมวง เปนจาํ นวน 550บาท คิดเปนรอยละ 24.12 ซึ่งสามารถเปนแนวทางในการนําไปตอ ยอดสําหรับการประกอบอาชีพใหนักเรียนและชาวบานในทองถิ่นในอนาคตได ตามแนวทางการจัดการ เรียนรูโดยใชนวัตกรรม 5G ของโรงเรียนบานแมงอนขี้เหล็ก (5 Good= Good food Good knowledge Good health Good skill Good life) คือการไดบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีความรูในการดูแลสุขภาพ เ ก ิด ท ัก ษ ะ ใ น ก า ร ดํ า เ น ิน ช ีว ิต แ ล ะ ก า ร ม ีค ว า ม รู พื ้น ฐ า น สู ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ช ีพ ที ่ดี ประโยชนทไี่ ดรับจากโครงงาน 1. ไดรูขอมูลการการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร 2. ไดรูขั้นตอนวิธีการทําขนมทองมวน 3. ไดรูแนวทางการสรางอาชีพจากผลิตผลในทองถ่ิน 4. ไดฝกทักษะกระบวนการ การแกปญหา ดว ยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร ปญหาและอุปสรรค 1. กิจกรรมโรงเรียนคอ นขางเยอะทาํ ใหกิจกรรมทีว่ างแผนไวคลาดเคล่อื นไมเปนไปตามที่ กาํ หนด การแกไขปญหา 1. ปรึกษาคุณครูท่ีปรึกษาโครงงาน 2. นัดประชุมสรุปงานเปนระยะ ขอเสนอแนะ 1. นําผัก ผลไม พืชสมุนไพร ทองถนิ่ อื่นๆมาสรา งเปน ผลติ ภัณฑเ พอื่ เพิม่ มูลคาผลผลติ ทาง การเกษตร 2. สามารถนําไปตอยอดประกอบอาชพี ได

16 บรรณานกุ รม https://sites.google.com/site/mutitahongtong/kar-paerrup-phlit-thang-kar-kesr https://bsc.dip.go.th/th/category/production2/qs-agriculturegoods https://food.trueid.net/detail/zg9QWyQpabVg https://sites.google.com/site/karpaerrupklwy/thxng-mwn-klwy https://www.miwfood.com https://www.youtube.com/watch?v=GxoW-TDW3Os และ https://cheechongruay.smartsme.co.th/content/24627

17 ภาคผนวก

18 ขอ มลู ผจู ัดทาํ โครงงาน เดก็ ชายพลเอก ไชยมงคล ชอื่ เลน กนั เนอร เกิดวนั ที่16 เดอื น มนี าคม พ.ศ.2550 เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 โรงเรยี นบานแมง อนขเ้ี หลก็ นา้ํ หนกั 54 กิโลกรมั สงู 173 เซนตเิ มตร ผลไมท ่ีชอบ : องุน อาหารทช่ี อบ : กวยเตี๋ยว ความสามารถพเิ ศษ : เลนดนตรี

19 เดก็ ชายธีรภัทร วอ งไว ช่ือเลน โนต เกดิ วันที2่ 2 เดอื น ธันวาคม พ.ศ.2550 เรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนบา นแมง อนขีเ้ หลก็ นาํ้ หนัก 89 กโิ ลกรัม สูง 173 เซนติเมตร ผลไมที่ชอบ : แตงโม อาหารทช่ี อบ : ขา วซอย ความสามารถพเิ ศษ : กีฬาเปตอง

20 เดก็ ชายอนุรกั ษ กัณทจันทร ช่อื เลน แลค็ เกิดวนั ที่15 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ.2550 เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1 โรงเรียนบา นแมง อนข้เี หลก็ น้ําหนกั 46 กโิ ลกรัม สูง 164 เซนตเิ มตร ผลไมท ี่ชอบ : แอปเปล อาหารทชี่ อบ : ผดั กระเพรา ความสามารถพเิ ศษ วาดรปู

21 ภาพกิจกรรมโครงงานทองมว นอินดี้ ของดเี มอื งฝาง สวนผสมการทาํ ทองมว น ทําทองพับ/ทองมว น

22 การทําทองมว น การทําทองพับ

23 ทดสอบรสชาตทิ องมว น ผลติ ภัณฑท องมว น

24 ขายขนมทองมวน

25 ขายทองมวนในโรงเรยี น ขายตลาดในหมบู า น

26 วางขายรานคาในชุมชน ขายผา นเพจ MKL Healthy Products

27 บัญชีรายรบั รายจา ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook