Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รร.คุณธรรม สพฐ.แบง.pdfสวดมนต์ ๑

รร.คุณธรรม สพฐ.แบง.pdfสวดมนต์ ๑

Description: รร.คุณธรรม สพฐ.แบง.pdfสวดมนต์ ๑

Search

Read the Text Version

เกษม วัฒนชยั

ส ว ด ม น ต 1

หนังสอื สวดมนต์ ผู้รวบรวม ศาสตราจารย์นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี จัดพิมพ์ ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ พิมพ์ครั้งแรก กันยายน 2558 จำ�นวนพิมพ์ 3,000 เล่ม ออกแบบจดั พมิ พ์ : บริษทั สำ�นักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จำ�กดั 12 หม่อมแผว้ แยก 3 ถนนพระราม 6 ซอย 41 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 02-279-6222 (อัตโนมัติ 15 คูส่ าย) โทรสาร 02-279-6203-4 พิมพท์ ี่ : บริษทั ธนธัชการพิมพ์ จำ�กัด 480/1 ซอยแสงสนั ต์ ถนนประชาอุทศิ แขวงราษฎร์บูรณะ กรงุ เทพมหานคร 10140 ผูพ้ ิมพ/์ ผู้โฆษณา : นางนงลักษณ์ ธนากุลโรจน์ 2

ค�ำ นำ� การสวดมนตเ์ ปน็ กจิ วตั รส�ำ คญั ของชาวพทุ ธ เปน็ กศุ โลบายทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ด้านจติ ใจ ท�ำ ให้ ทกุ คน มงุ่ ดี มงุ่ เจรญิ ตอ่ กนั เปน็ การเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม โดยเชอื่ มโยงศาสนกิ ชนกบั หลกั ธรรมค�ำ สอนเขา้ ดว้ ยกนั กอ่ ให้เกดิ ความสงบและเป็นสุข เปน็ การปดิ กั้นมใิ หป้ ระพฤติในสงิ่ ท่ไี มด่ ีไม่งาม การสวดมนต์อย่างสม�ำ่ เสมอ จะทำ�ใหเ้ ป็นผไู้ ม่ประมาทในการดำ�เนินชวี ิต หนังสือสวดมนต์เล่มนี้ผู้เขียนได้รวบรวมบทสวดมนต์โดยคัดลอกบทสวดมนต์บางส่วนจากหนังสือ “ทำ�วัตร – สวดมนต์ (ฉบับเลก็ ) สำ�หรับพุทธศาสนกิ ชนท่วั ไป” โดยพระราชปฏภิ าณโสภณ และ หนงั สอื “คูม่ อื สวดมนต์ : สง่ เสรมิ ประชาชนเข้าวัดปฏิบัตธิ รรม ฉบับกรมการศาสนา” โดยเนน้ บทสวดมนตท์ สี่ ำ�คญั และเป็นพื้นฐานใช้สวดทั่วไป และให้ทราบความหมาย ซึ่งจะทำ�ให้เกิดความเข้าใจเนื้อความของบทสวด แต่ละบท อันจะเป็นประโยชน์ก่อให้เกิดปัญญา สามารถแก้ไขปัญหาและขจัดกิเลสตัณหาอันเป็นสาเหตุ แห่งทกุ ขท์ งั้ ปวงใหท้ เุ ลาเบาบางลงและหมดสนิ้ ไปในท่ีสุด รวมท้งั เสรมิ สร้างความเป็นสริ มิ งคลแก่ชีวติ และ ยังจะช่วยส่งเสริมความเลื่อมใสศรัทธาในการใส่ใจศึกษาและนำ�ธรรมะมาปฏิบัติตามสมควรแก่ความรู้ ความสามารถของตน ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือสวดมนต์เล่มนี้จะมีส่วนช่วยให้พุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วมกัน สืบทอดจรรโลงพระพุทธศาสนาให้อยูค่ ู่สงั คมไปตราบนานเท่านาน และผูเ้ ขยี นขอขอบพระคุณ (๑) กรมการ ศาสนา (๒) พระราชปฏภิ าณโสภณ และ (๓) พระอาจารยผ์ ู้ตรวจทานตน้ ฉบบั ได้แก่ พระครูพทุ ธมนต์ปรชี า ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวหิ าร. หากผใู้ ดเหน็ วา่ หนังสือนี้นา่ จะได้เผยแพร่ออกไป จักพมิ พ์แจกเป็นธรรมทาน ผ้เู ขยี นก็ขออนุโมทนา บุญดว้ ยครบั ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ นายแพทย์ เกษม วฒั นชัย องคมนตรี 3

สารบญั ๕ ๖ ค�ำ นำ� ๘ การสวดมนต ์ ๙ ค�ำ นมสั การพระรัตนตรยั ๑๑ คำ�นมัสการพระพทุ ธเจา้ ๑๓ บทสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ พร้อมค�ำ สวดท�ำ นองสรภญั ญะ ๑๕ บทสรรเสริญพระธรรมคุณพร้อมคำ�สวดท�ำ นองสรภญั ญะ ๑๗ บทสรรเสรญิ พระสังฆคุณพร้อมค�ำ สวดทำ�นองสรภญั ญะ ๑๘ บทชยสิทธิคาถาพร้อมคำ�สวดทำ�นองสรภญั ญะ ๒๑ บทเคารพคณุ มารดาบิดาพร้อมค�ำ สวดท�ำ นองสรภัญญะ ๒๓ บทเคารพคุณครูอาจารยพ์ ร้อมค�ำ สวดท�ำ นองสรภญั ญะ ๒๗ อานิสงสข์ องการสวดมนต์ ๓๗ พระรัตนตรยั พทุ ธคณุ -ธรรมคุณ-สงั ฆคุณ ๔๑ เบญจศีล-เบญจธรรม ๔๗ แผ่เมตตาถวายสังฆทาน พทุ ธธรรม อุบาสก-อบุ าสกิ า 4

การสวดมนต์ พระพุทธเจ้าทรงกลา่ วไว้วา่ บุคคลจะหลุดพ้นจากกิเลสไดด้ ว้ ยเหตุ ๕ ประการ คอื ๑. การฟังธรรม เชน่ ฟงั เทศน์ ฟังปาฐกถาธรรม ๒. การแสดงธรรม คอื การให้ธรรมะแก่ผู้อน่ื ๓. การสาธยายธรรม คือ การท่องบ่น การสวดมนต์ ๔. ธรรมวจิ ยั คอื การใครค่ รวญ พินิจพิจารณาธรรม ๕. การเจริญสมาธภิ าวนา คือ การท�ำ จิตให้สงบ การสวดมนต์ คอื การสวดพรรณนาพระคุณของพระรตั นตรัย ว่าด้วยพุทธมนตต์ า่ งๆ ทเี่ ปน็ เร่อื งราวในพระสูตรบา้ ง สวดเป็นพระปริตรเพอ่ื คุ้มครองปอ้ งกันภัยอนั ตรายบา้ ง หรอื สวดเปน็ คาถา ต่างๆ ดงั ท่ปี รากฏในพระไตรปฎิ กหรือท่พี ระโบราณาจารย์แต่งเพม่ิ เตมิ ในช้นั หลงั ก็มี ส�ำ หรับผ้ทู ี่ไมร่ ภู้ าษาบาลี หากจะฝกึ หัดสวดมนตแ์ ปลด้วยกจ็ ะเขา้ ใจในความหมาย ทำ�ใหไ้ ด้ ปัญญาและความสงบครบถว้ น 5

คำ�นมสั การพระรตั นตรัย อะระหัง สมั มาสมั พุทโธ ภะคะวา พทุ ธัง ภะคะวันตงั อภวิ าเทมิ ฯ (กราบ) (สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้าเป็นพระศาสดาของพวกเราทั้งหลาย พระองคท์ รงไวซ้ ่ึงคณุ ๓ ประการ ได้แก่ ๑. พระปัญญาคณุ : ตรสั รู้ดี ตรสั ร้ชู อบดว้ ยพระองค์เอง ๒. พระวิสทุ ธคิ ุณ : ทรงบรสิ ุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศรา้ หมองทง้ั หลาย ๓. พระกรุณาคุณ : ทรงสั่งสอนเวไนยนกิ รทกุ ถว้ นหนา้ ทรงเป็นนาถะอันเอกของโลก ขา้ พเจา้ ทง้ั หลายขอถวายอภิวาทพระผมู้ ีพระภาคเจา้ พระองค์นนั้ ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธมั มัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ) (พระธรรมคือคำ�ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เป็นสัจธรรมอันประเสริฐ ทนต่อการพิสูจน์ ทุกกาลสมยั สามารถน้อมน�ำ ผูป้ ระพฤตใิ ห้พ้นจากทกุ ข์ ประสบสันตสิ ขุ ไดจ้ รงิ ขา้ พเจา้ ท้ังหลายขอนอบนอ้ มพระธรรมอันประเสริฐน้ัน) 6

สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ) (พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรง ปฏิบัติควร ปฏิบัติชอบ เป็นพยานในพระธรรมคำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้าว่าปฏิบัติได้จริงและมีผลประเสริฐจริง เป็นศาสนทายาทสืบตอ่ อายแุ ห่งพระพุทธศาสนามาตราบเทา่ ทุกวนั น้ี ขา้ พเจา้ ท้งั หลายขอน อบน้อมนมสั การพระสงฆ์หมู่นั้น) สกั การบชู า ถ้ามีเครือ่ งสักการบชู า คอื ดอกไม้ ธูป เทียน ใหว้ ่าดังน้ี อิมินา  สักกาเรนะ  พทุ ธงั  อภิปูชะยามิ   (ขา้ พเจ้าขอบชู าเฉพาะพระพุทธเจ้าด้วยเครือ่ งสักการะน้ี) อิมนิ า  สักกาเรนะ  ธัมมัง  อภิปชู ะยามิ (ขา้ พเจ้าขอบูชาเฉพาะพระธรรมดว้ ยเครื่องสักการะนี้) อิมนิ า  สกั กาเรนะ  สงั ฆัง  อภปิ ูชะยามิ (ข้าพเจ้าขอบชู าเฉพาะพระสงฆ์ด้วยเครอ่ื งสกั การะนี้) 7

คำ�นมัสการพระพทุ ธเจา้ วา่ ๓ หน : นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ (ขอความนอบน้อมของข้าพเจา้ จงมีแด่พระอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจา้ พระองค์น้นั ฯ) 8

บทสรรเสริญพระพุทธคุณ อติ ิปิโส (รับพรอ้ มกนั ) ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพทุ โธ วิชชาจะระณะสมั ปนั โน สุคะโต โลกะวิทู อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนสุ สานงั พทุ โธ ภะคะวาติฯ (พระผู้มพี ระภาคเจ้าพระองคน์ ้ัน เปน็ ผูท้ รงแจกจา่ ยธรรม เป็นพระอรหันต์ตรสั รดู้ ีโดยชอบด้วยพระองค์เอง ทรงถึงพร้อมดว้ ยวิชชาและจรณะ (= ความรู้และความประพฤต)ิ เสดจ็ ไปดี (= ไปท่ีใดกย็ งั ประโยชนใ์ ห้ที่นั่น) ทรงรู้แจง้ โลก ทรงเป็นสารถฝี กึ คนท่ีควรฝกึ หาผอู้ น่ื เปรยี บมิได้ ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย ทรงเป็นผตู้ น่ื ทรงเปน็ ผแู้ จกจ่ายธรรมฯ) 9

บทพระพทุ ธคณุ (สวดทำ�นองสรภัญญะ) องค์ใดพระสัมพทุ ธ  สวุ ิสทุ ธสนั ดาน ตดั มูลเกลศมาร  บ่ มหิ มน่ มหิ มองมัว หนึ่งในพระทัยท่าน  ก็เบกิ บานคือดอกบวั ราคี บ่ พนั พวั   สวุ คนธก�ำ จร องคใ์ ดประกอบด้วย  พระกรุณาดงั สาคร โปรดหมู่ประชากร  มละโอฆะกันดาร ชีท้ างบรรเทาทุกข์  และช้ีสุขเกษมศานต์ ชที้ างพระนฤพาน  อนั พน้ โศกวโิ ยคภยั พรอ้ มเบญจพิธจกั   ษุจรสั วมิ ลใส เหน็ เหตทุ ่ใี กลไ้ กล  กเ็ จนจบประจักษ์จริง ก�ำ จัดน้ำ�ใจหยาบ  สนั ดานบาปทงั้ ชายหญิง สตั วโ์ ลกได้พึง่ พิง  มละบาปบำ�เพ็ญบุญ ขา้ ฯ ขอประณตน้อม  ศริ ะเกล้าบังคมคณุ สัมพทุ ธการุญ-  ญภาพนั้น นิรนั ดรฯ 10

บทสรรเสรญิ พระธรรมคุณ สวากขฺ าโต ภะคะวะตา ธัมโม สนั ทฏิ ฐิโก อะกาลโิ ก เอหิปัสสโิ ก โอปะนะยโิ ก ปัจจัตตัง เวทติ พั โพ วิญญหู ีติ ฯ (พระธรรมอนั พระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั ดแี ลว้ อนั ผู้ปฏิบัติพึงเหน็ ได้ดว้ ยตนเอง ไม่ประกอบดว้ ยกาลเวลา ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเขา้ มา (ในตน) อนั ผูร้ ู้พงึ รู้ไดด้ ว้ ยตนเองฯ) 11

บทพระธรรมคุณ (สวดท�ำ นองสรภญั ญะ) ธรรมะคือคุณากร ส่วนชอบสาธร ดุจดวงประทปี ชัชวาล แหง่ องค์พระศาสดาจารย์  สอ่ งสตั ว์สันดาน สว่างกระจ่างใจมล ธรรมใดนบั โดยมรรคผล  เป็นแปดพึงยล และเก้ากับทัง้ นฤพาน สมญาโลกอุดรพสิ ดาร  อนั ลกึ โอฬาร พสิ ทุ ธิ์พิเศษสุกใส อีกธรรมตน้ ทางครรไล  นามขนานขานไข ปฏบิ ัติปริยัติเป็นสอง คอื ทางดำ�เนินดุจคลอง  ใหล้ ่วงลุปอง ยังโลกอุดรโดยตรง ขา้ ฯ ขอโอนออ่ นอุตมงค์  นบธรรมจำ�นง ดว้ ยจิตและกายวาจาฯ 12

บทสรรเสรญิ พระสังฆคุณ สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อชุ ุปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สามีจิปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะททิ งั จตั ตาริ ปรุ สิ ะยุคานิ อฏั ฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหเุ นยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อญั ชะลี กะระณีโย อะนตุ ตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาตฯิ (พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้า เปน็ ผูป้ ฏิบตั ิดแี ลว้ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เปน็ ผ้ปู ฏบิ ัตติ รง พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า เปน็ ผู้ปฏบิ ตั ิเพื่อความรู้ (สจั จธรรม) พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิชอบ พระสงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านัน้ จักเปน็ บรุ ษุ สค่ี ู่ เปน็ บรุ ษุ บุคคลแปด เป็นผู้ควรบูชา เปน็ ผู้ควรรบั ทักษณิ า เปน็ ผู้ควรกราบไหว้ เป็นเน้อื นาบุญของโลก หาสง่ิ อ่นื เปรียบมไิ ดฯ้ ) 13

บทพระสงั ฆคุณ (สวดทำ�นองสรภญั ญะ) สงฆ์ใดสาวกศาสดา รบั ปฏิบตั มิ า แตอ่ งค์สมเด็จภควันต์ ลุทางท่ีอนั    เหน็ แจง้ จตสุ ัจเสรจ็ บรร- ปญั ญาผ่องใส ระงับและดับทุกขภ์ ยั บ่ มิล�ำ พอง     โดยเสดจ็ พระผ้ตู รสั ไตร  ศาลแด่โลกยั สะอาดและปราศมัวหมอง มีคณุ อนนต์    เหินหา่ งทางข้าศกึ ปอง  พกทรงคณุ า- ดว้ ยกายและวาจาใจ พระไตรรัตนอ์ นั เป็นเนื้อนาบุญอนั ไพ-  อนั ตรายใดใด และเกดิ พิบลู ยพ์ ูนผล สมญาเอารสทศพล  เอนกจะนบั เหลือตรา    ขา้ ฯ ขอนบหมูพ่ ระศรา-  นุคุณประดุจร�ำ พัน    ดว้ ยเดชบุญข้าอภิวันท์  อดุ มดิเรกนิรตั ศิ ยั    จงช่วยขจดั โพยภยั     จงดบั และกลับเสอ่ื มสูญฯ 14

บทชยสิทธิคาถา พาหุง สะหสั สะมะภนิ ิม มิตะสาวธุ ันตัง            ค์รเี มขะลงั อทุ ิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทธิ ัมมะวธิ นิ า ชิตะวา มนุ ินโท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะสิทธิ นิจจงั ฯ (สมเดจ็ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผเู้ ป็นจอมของนักปราชญ์ ทรงชนะพญามาร พร้อมด้วยเสนา ซง่ึ เนรมติ แขนได้ตั้งพนั มมี อื ถืออาวธุ ครบทัง้ พนั มอื ข่ชี า้ งคิรีเมขล์ สง่ เสยี งสน่นั นา่ กลัว ดว้ ยธรรมวิธี มที านบารมีเปน็ ตน้ ดว้ ยเดชของพระผูม้ พี ระภาคพระองคน์ ้ัน ขอความส�ำ เรจ็ แห่งชัยชนะจงมีแกท่ ่าน เป็นนติ ย์เทอญ ฯ) 15

บทชยสทิ ธิคาถา (สวดทำ�นองสรภัญญะ) ปางเมือ่ พระองคป์ ะระมะพุทะ    ธ วิสุทธะศาสดา ตรสั รูอ้ นุตตะระสะมา- ธิ ณ โพธิบลั ลงั ค์ ขุนมารสหัสสะพหพุ า- หวุ ชิ าวชิ ติ ขลงั ขีค่ รี ิเมขะละประทงั      คะชะเห้ียมกระเหมิ หาญ แสรง้ เสกสะราวธุ ะประดษิ ฐ์         กละคดิ จะรอนราญ รมุ พล พหล พยุหะปาน       พระสมทุ ร ทะนองมา     หวงั เพ่ือผจญวะระมุนิน    ทะสุชินะราชา พระปราบ พหล พยหุ ะมา-     ระมะเลือง มะลายสญู ดว้ ยเดชะองค์พระทศพล สุวมิ ละไพบลู ย์ ทานาทิธรรมะวิธิกลู         ชนะน้อม มโนตาม ดว้ ยเดชะ สจั จะ วะจะนา   และ นมามอิ งค์สาม ขอจงนิกร พละสยาม             ชยะสทิ ธทิ กุ วาร ถงึ แมจ้ ะมอี ริวเิ ศษ    พละเดชะเทยี มมาร ขอไทยผจญพิชติ ะผลาญ           อริแมน้ มุนินทรฯ 16

บทเคารพคณุ มารดาบดิ า อะนนั ตะคุณะสัมปันนา ชะเนตตชิ ะนะกา อุโภ, มัยหงั มาตาปติ นู งั วะ ปาเท วันทามิ สาทะรงั ฯ (มารดาบดิ าทง้ั สอง เป็นผูถ้ งึ พร้อมด้วยคุณอันหาทสี่ ุดมิได้ ขา้ พเจา้ ขอไหวเ้ ท้าท้ังสองของมารดาบดิ าของข้าพเจา้ ด้วยความเคารพอยา่ งสงู ฯ) บทเคารพมารดาบดิ า (ทำ�นองสรภัญญะ) ข้าฯ ขอนบชนกคุณ      ชนนีเป็นเค้ามลู ผ้กู อบนุกลู พูน ผดุงจวบเจริญวัย ฟมู ฟักทะนุถนอม บ่ บ�ำ ราศนิราไกล แสนยากเท่าไรไร บ่ คดิ ยากลำ�บากกาย ตรากทนระคนทกุ ข์ ถนอมเลย้ี ง ฤรูว้ าย ปกป้องซึ่งอันตราย จนไดร้ อดเป็นกายา เปรียบหนักชนกคณุ ชนนคี ือภผู า ใหญ่พ้นื พสธุ า ก็บเ่ ทยี บ บ่เทยี มทนั เหลอื ทจ่ี ะแทนทด จะสนองคณุ านันต์ แทป้ ชู ไนยอัน อดุ มเลศิ ประเสรฐิ คุณฯ 17

บทเคารพคุณครูอาจารย์ ปาเจรา จริยา โหนติ คณุ ตุ ตะรานุสาสะกา ปัญญาวุฑฒิ กะเร เตเต ทินโนวาเท นะมามหิ ัง (ครูบาอาจารยเ์ ปน็ ผ้ทู รงคุณอันยิ่งใหญ่ เป็นผู้พร่�ำ สอนศิลปวิทยา ขา้ พเจา้ ขอนบน้อมครูบาอาจารยเ์ หล่าน้ัน ผใู้ หโ้ อวาท ผทู้ ำ�ปญั ญาให้เจริญฯ) 18

บทเคารพคุณครอู าจารย์ (สวดทำ�นองสรภัญญะ) อน่ึงข้าฯ ค�ำ นบั นอ้ ม ตอ่ พระครผู ู้การญุ โอบเออื้ และเจอื จุน อนศุ าสน์ทกุ ส่งิ สรรพ์ ยัง บ่ ทราบกไ็ ดท้ ราบ ทง้ั บุญบาปทกุ สง่ิ อัน ชแี้ จงและแบง่ ปนั ขยายอรรถใหช้ ัดเจน จิตมากด้วยเมตตาและ กรณุ า บ่ เอยี งเอน เหมือนท่านมาแกลง้ เกณฑ ์      ใหฉ้ ลาด และแหลมคม ขจัดเขลาบรรเทาโม- หะจิตมืดท่ีงนุ งม กังขา ณ อารมณ์ กส็ วา่ งกระจา่ งใจ คณุ ส่วนนี้ควรนบั ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรกึ ใน จิตน้อมนยิ มชม ฯ 19

บทเคารพคณุ ครอู าจารย์ (อีกแบบหน่ึง) ปาเจราจะริยา โหนติ คุณตุ ตะรานุสาสะกา ข้าขอประณตน้อมสักการ บรู พคณาจารย์ ผูก้ อ่ เกดิ ประโยชน์ศกึ ษา  ท้งั ทา่ นผปู้ ระสาทวชิ า อบรมจรยิ า แกข่ ้าฯ ในกาลปัจจบุ ัน  ขา้ ขอเคารพอภวิ นั ท์ ระลึกคณุ อนนั ต์ ด้วยใจนยิ มบชู า ขอเดชกตเวทติ า อกี วิรยิ ะพา ปัญญาให้เกดิ แตกฉาน ศึกษาสำ�เร็จทกุ ประการ อายุยืนนาน อยใู่ นศีลธรรมอันด ี ให้ไดเ้ ป็นเกยี รติเป็นศรี ประโยชนท์ วี แกช่ าตแิ ละประเทศไทยเทอญฯ ปัญญาวุฒิ กะเร เตเต ทินโนวาเท นะมามิหัง ฯ 20

อานิสงส์ของการสวดมนต์ ๑.ไดค้ วามขยนั : ขณะสวดมนตเ์ กดิ ความแชม่ ชนื่ กระฉบั กระเฉง ความเบอื่ หนา่ ยงว่ งนอนหมด ไป ๒.จติ ใจผ่องใส : จติ อยู่กบั บทสวด ความโลภ-โกรธ-หลง ไมอ่ าจกลำ�้ กรายจติ ใจ ๓.ได้ปัญญา : หากสวดมนตโ์ ดยร้คู �ำ แปลหรือความหมายยอ่ มได้ปญั ญาความรู้ ๔.จิตเป็นสมาธิ : ผู้สวดส�ำ รวมใจแน่วแน่ จิตเยอื กเยน็ เปน็ สมาธิ ๕.ได้เฝ้าพระพุทธเจ้า : ขณะน้นั ผสู้ วดมกี ายและใจเปน็ ปกติ (มศี ีล) จติ ใจแน่วแน่ (มสี มาธ)ิ ระลึกถงึ คุณ ความดีของพระพทุ ธเจ้า (มีปัญญา) เท่ากับไดเ้ ฝา้ พระพทุ ธเจา้ และได้ บูชาดว้ ยการปฏบิ ัตบิ ูชาครบไตรสกิ ขาอยา่ งแท้จริง ๖.ได้ความสขุ ใจ : เกดิ ปิตใิ นพระพุทธคณุ พระธรรมคณุ และพระสังฆคุณ ปฏบิ ัติแล้วได้ความสขุ ๗.ได้ความไม่ประมาท : ได้โอกาสละบาป ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เป็นการสร้างบุญบารมีด้วยการ เจรญิ สติกำ�หนดนาม-รปู นบั เปน็ อัปปมาทธรรม สมกับทช่ี วี ติ นี้ได้เกดิ มาพบ พระพทุ ธศานาเป็นพทุ ธมามกะ 21

22

พระรัตนตรัย พุทธคุณ ธรรมคณุ สังฆคุณ 23

พุทธคุณ-ธรรมคณุ -สงั ฆคุณ พุทธคณุ ๙ ๑. อรหงั (ทรงเปน็ พระอรหันต์) ๒. สัมมาสัมพุทโธ (ตรสั รเู้ องโดยชอบ) ๓. วิชชาจรณสัมปันโน (ทรงสมบูรณด์ ว้ ยวชิ ชา ๓ และจรณะ ๑๕) ๓. สุคโต (เสดจ็ ไปดีแลว้ ) ๔. โลกวิท ู (รู้แจง้ โลก) ๖. อนุตตโร ปุรสิ ทัมมสารถ ิ (ทรงเป็นสารถีฝกึ บรุ ษุ ท่คี วรฝกึ – ไม่มผี ู้อืน่ ย่งิ กวา่ ) ๗. สตั ถา เทวมนุสสานัง (เป็นศาสดา ของเทวดาและมนุษย์ทง้ั หลาย) ๘. พุทโธ (เป็นผู้ตื่น ผ้เู บิกบาน) ๙. ภควา (ทรงจ�ำ แนกแจกพระธรรม) ธรรมคณุ ๖ ๑. สวากขาโต (พระพทุ ธเจ้าตรสั ไวด้ แี ลว้ ) ๒. สันทฏิ ฐโิ ก (ผบู้ รรลุจะพงึ เห็นไดเ้ อง) ๓. อกาลิโก (ไม่ประกอบดว้ ยกาล) 24

๔. เอหิปสั สิโก (ควรเรยี กใหม้ าดู) ๕. โอปนยโิ ก (ควรนอ้ มเข้ามาใสต่ ัว) ๖. ปัจจตั ตัง เวทิตพั โพ วิญญหู ิ (วิญญชู นพึงรู้ได้เฉพาะตน) สังฆคุณ ๙ ๑. สุปฏปิ นั โน (ปฏิบัติด)ี ๒. อชุ ปุ ฏปิ นั โน (ปฏิบัติตรง) ๓. ญายปฏิปนั โน (ปฏิบตั เิ ปน็ ธรรม) ๔. สามจี ปิ ฏปิ ันโน (ปฏิบตั สิ มควร) ๕. อาหเุ นยโย (ควรแกข่ องบูชา) ๖. ปาหเุ นยโย (ควรแกข่ องตอ้ นรับ) ๗. ทักขิเณยโย (ควรแก่ของทำ�บญุ ) ๘. อัญชลีกรณีโย (ควรแกก่ ารท�ำ อัญชลี) ๙. อนตุ ตรัง ปญุ ญกั เขตตงั โลกสั สะ (เป็นนาบุญของโลก ไม่มนี าบญุ อน่ื ย่ิงกว่า) 25

พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ พุทธานภุ าพน�ำ ผล เกดิ สรรพมงคลน้อยใหญ่ เทวาอารกั ษท์ วั่ ไป ขอใหเ้ ป็นสขุ สวสั ดี ธรรมานุภาพน�ำ ผล เกิดสรรพมงคลเสรมิ ศรี เทพช่วยรกั ษาปราน ี ให้สขุ สวัสดีทัว่ กนั สังฆานุภาพน�ำ ผล เกดิ สรรพมงคลแม่นมนั่ เทเวศนค์ ุ้มครองป้องกัน สุขสวสั ดสิ ันติท์ ่ัวไป (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ร.๖) 26

เบญจศีล – เบญจธรรม 27

28

ค�ำ อารธนาศีล ๕ มะยัง ภนั เต, วิสุง วิสงุ รกั ขะณัตถายะ, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ฯ (ข้าแต่ท่านผู้เจรญิ ขา้ พเจ้าทั้งหลาย ขอศลี ๕ พรอ้ มกับสรณะสาม เพ่ือการปฏบิ ตั ิรกั ษาเปน็ ขอ้ ๆ) ทุตยิ มั ปิ มะยงั ภันเต, วิสงุ วิสุง รกั ขะณตั ถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญั จะ สีลานิ ยาจามะฯ (แมค้ ร้งั ทส่ี อง ...) ตะตยิ ัมปิ มะยัง ภนั เต, วสิ ุง วสิ งุ รกั ขะนัตถายะ, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สลี านิ ยาจามะฯ (แมค้ รั้งทส่ี าม ...) 29

คำ�รบั สรณคมน์และรบั ศีล ๕ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ ฯ (๓ จบ) (ขอความนอบนอ้ มของข้าพเจ้า จงมีแตพ่ ระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจ้าพระองคน์ ้นั ) พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ (ข้าพเจ้าขอถงึ พระพุทธเจา้ เป็นทพ่ี ึ่ง) ธมั มัง สะระณงั คัจฉามิ (ขา้ พเจ้าขอถึงพระธรรมเปน็ ทพ่ี ่ึง) สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ (ขา้ พเจ้าขอถงึ พระสงฆเ์ ปน็ ที่พ่งึ ) ทตุ ิยัมปิ พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ (แม้คร้ังท่สี อง ข้าพเจ้าขอถึงพระพทุ ธเจ้าเปน็ ทีพ่ ึง่ ) ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ (แมค้ ร้ังท่ีสอง ขา้ พเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นทีพ่ งึ่ ) ทุตยิ ัมปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ (แมค้ ร้ังท่ีสอง ขา้ พเจ้าขอถึงพระสงฆ์เปน็ ทพ่ี ึง่ ) 30

ตตยิ ัมปิ พุทธัง สะระณงั คัจฉามิ (แมค้ ร้งั ทส่ี าม ข้าพเจ้าขอถึงพระพทุ ธเจ้าเป็นทพี่ ่งึ ) ตติยมั ปิ ธมั มงั สะระณงั คจั ฉามิ (แมค้ รง้ั ทีส่ าม ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระธรรมเป็นท่พี ึ่ง) ตติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ (แมค้ รั้งทส่ี าม ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆเ์ ปน็ ทีพ่ ่ึง) ( ตสิ ะระณะคะมะนงั นฏิ ฐติ งั - รบั ว่า “อามะ ภันเต” ) 31

รบั ศีล ๕ ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ (ขา้ พเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการฆา่ สตั ว์ ) อะทินนาทานา เวระมะณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ (ข้าพเจา้ ขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการถอื เอาสิง่ ของทเี่ จ้าของเขาไมใ่ ห้) กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสิกขาบท เวน้ จากเมถนุ ธรรม อันเปน็ ขา้ ศึกแก่พรหมจรรย์) มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสิกขาบท เวน้ จากการกลา่ วเท็จ ) สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ  (ขา้ พเจา้ ขอสมาทานสกิ ขาบท เวน้ จากการดม่ื นา้ํ เมาคอื สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ ความประมาท) พระท่านกล่าวอานสิ งค์ของศีล ๕ ต่อทา้ ยดงั น้ี สีเลนะ สุคติง ยนั ติ สเี ลนะ โภคะสมั ปะทา สีเลนะ นพิ พุตงิ ยนั ติ ตัส์มา สลี งั วิโสธเย (สาธชุ นไปส่สู คุ ติได้เพราะศลี มีความสมบรู ณ์แหง่ โภคสมบัติได้ก็เพราะศลี ไปสนู่ ิพพานได้ก็เพราะศลี เพราะฉะนั้นพึงชำ�ระศลี ใหบ้ รสิ ุทธิ์เถดิ ) ผู้รับศลี พึงรับวา่ “สาธุ สาธุ สาธ”ุ 32

องค์แหง่ ศลี ๕ ศีลท้ัง ๕ ขอ้ นั้น แตล่ ะขอ้ มี “องคข์ องศีล” ประกอบ เมอ่ื ประพฤตผิ ดิ ครบองคแ์ หง่ ศลี ใน แตล่ ะข้อจงึ ถอื วา่ ขาดจากศลี ถา้ ไม่ครบองคแ์ หง่ ศีล ถอื วา่ ศีลยังไมข่ าด เปน็ เพียงดา่ งพร้อย ศีลข้อ ๑ การฆา่ สัตว์ประกอบดว้ ยองค์แห่งศลี ๕ ข้อ คอื ๑.  ปาโณ      สตั ว์มชี วี ติ   ๒.  ปาณะสญั ญิตา   รูว้ า่ สตั ว์นั้นมชี วี ติ     ๓.  วะธะกะจิตตัง มจี ิตคิดจะฆ่า ๔.  อุปักกะโม พยายามฆ่า ๕.  เตนะ มะระณงั     สัตวต์ ายดว้ ยความพยายามนั้น ศีลข้อ ๒ การลกั ทรพั ย์ ประกอบดว้ ยองคแ์ ห่งศีล ๕ ข้อ คอื ๑.  ปะระปะรคิ คะหติ ัง      ของนัน้ มเี จ้าของหวงแหน ๒.  ปะระปะรคิ คะหติ ะสัญญิตา รอู้ ย่วู า่ เปน็ ของมเี จ้าของหวงแหน ๓.  เถยยะจติ ตงั         มจี ติ คดิ จะลักของนัน้ ๔.  อุปักกะโม      มคี วามพยายามจะลกั ของนัน้ ๕.  เตนะ หะระณัง       ลกั ของน้ันมาดว้ ยความพยายามน้นั 33

ศีลข้อ ๓ การประพฤตผิ ดิ ในกาม ประกอบดว้ ยองค์แห่งศลี ๔ ข้อ คือ ๑.  อะคะมะนยิ ะวตั ถุ    หญงิ หรอื ชายที่ไมค่ วรล่วงละเมดิ (เป็นบคุ คลต้องห้าม) ๒.  ตสั มิง  เสวะนะจิตตัง  มคี วามตงั้ ใจจะเสพในหญงิ หรอื ชายนนั้ ๓.  เสวะนปั ปะโยโค    กระท�ำ ความพยายามในการเสพ ๔. มคั เคนะ มคั คะปะฏปิ ตั ติ อะธิวาสะนงั พอใจในการทำ�มรรคให้ถงึ กันเฉพาะดว้ ยมรรค (รว่ มเพศ) ศีลข้อ ๔ การพูดเท็จ ประกอบด้วยองคแ์ หง่ ศลี ๔ ข้อ คอื ๑. อะตะถังวัตถ ุ เปน็ เร่อื งไม่จริง ๒. วสิ งั วาทะนะจิตตัง มคี วามตัง้ ใจจะพูดให้ผิด ๓. ตชั โช วายาโม มคี วามพยายามเกิดจากความตงั้ ใจนั้น ๔. ปะรัสสะ ตะทัตถะวิชานะนัง คนอ่นื ร้เู นอื้ ความนน้ั ศลี ข้อ ๕ การดื่มสรุ าและเมรัย ประกอบด้วยองคแ์ หง่ ศลี ๔ ขอ้ คอื ๑. มชั ชะภาโว นา้ํ ท่ีดื่มนนั้ เป็นนํ้าเมา ๒. ปาตะกมั ยะตาจติ ตงั จิตคดิ จะด่มื นา้ํ เมา ๓. ตัชโช วายาโม มคี วามพยายามจะดม่ื นํา้ เมาน้นั ๔. อัชโฌหะระณัง น้ำ�เมานนั้ ล่วงล�ำ คอลงไป 34

โทษของการผิดศีล ๕ ๑. ผลของปาณาตบิ าต ทำ�ใหอ้ ายุสั้น ๒. ผลของอทินนาทาน ท�ำ ใหเ้ สือ่ มโภคทรัพย์ ๓. ผลของกาเมสุ มจิ ฉาจาร ท�ำ ให้มีศตั รูและมเี วรแกก่ ัน ๔. ผลของมุสาวาท ท�ำ ใหถ้ กู กลา่ วตดู่ ้วยความเทจ็ ๕. ผลของการดื่มสุราเมรัย ทำ�ให้เปน็ บ้าใบ้ 35

เบญจธรรม “เบญจธรรม” แปลวา่ ธรรม ๕ อย่าง บางทกี ็เรยี กว่า “กัลยาณธรรม” ซง่ึ แปลว่า ธรรมอันท�ำ ให้ผ้ปู ระพฤตเิ ปน็ คนดีงาม เปน็ ธรรมะท่ี ผดุงฐานะของคนใหง้ ดงาม เบญจธรรม ๕ ข้อ ได้แก่ เมตตา – กรุณา : ความรกั ใคร่ปรารถนาใหผ้ ้อู นื่ มคี วามสขุ และช่วยเหลอื ใหพ้ น้ ทุกข์ สมั มาอาชีวะ : การประกอบอาชพี ในทางสุจรติ กามะสงั วร : ความส�ำ รวมในกาม สัจจะวาจา : การเจรจาด้วยความสตั ย์ สมั มาสะติ : การระลกึ ดว้ ยความไมป่ ระมาท ผู้รกั ษาศีล ๕ พึงประพฤติเบญจธรรมน�ำ ไปพร้อมกัน เป็นคู่ๆ ดังนี้ เบญจศีล เบญจธรรม เวน้ จากการฆา่ สัตว์ คกู่ บั เมตตา กรุณา เว้นจากการลักทรัพย ์ ค่กู บั สัมมาอาชีวะ เวน้ จากการประพฤตผิ ิดในกาม คกู่ ับ กามสงั วร (กามสญั ญะมะ) เวน้ จากการพดู ปด คู่กับ สัจจะวาจา เว้นจากการด่มื สุราและเมรยั คูก่ ับ สมั มาสติ 36

แผเ มตตา ถวายสงั ฆทาน 37

38

แผ่เมตตาให้บุคคลอืน่ – สัตวอ์ ่นื สัพเพ สัตตา, (สัตว์ท้ังหลายทเี่ ป็นเพอ่ื นทกุ ข์ เกิด-แก-่ เจ็บ-ตาย ดว้ ยกนั ท้งั หมดทงั้ ส้นิ ) อะเวรา โหนต,ุ (จงเปน็ สขุ เปน็ สขุ เถิด อย่าได้มเี วรแก่กนั และกันเลย) อัพยาปัชฌา โหนต,ุ (จงเป็นสขุ เป็นสขุ เถดิ อยา่ ไดเ้ บียดเบียนซง่ึ กันและกันเลย)  อะนฆี า โหนตุ, (จงเป็นสุขเปน็ สขุ เถดิ อยา่ ได้มคี วามทุกข์กายทกุ ขใ์ จเลย) สขุ ี อัตตานัง ปะริหะรันตฯุ (จงมคี วามสขุ กาย สุขใจ รักษาตนใหพ้ ้นจากทกุ ขภ์ ัยทงั้ สนิ้ เถิด) 39

ค�ำ ถวายภัตตาหารเป็นสังฆทาน อมิ านิ มะยัง ภนั เต, ภตั ตาน,ิ สะปะริวาราน,ิ ภกิ ขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธโุ น ภนั เต, ภกิ ขุสังโฆ, อมิ านิ, ภัตตาน,ิ สะปะริวาราน,ิ ปะฏิคณั หาตุ, อัมหากัญเจวะ, มาตาปิตุอาทนี ัญ จะ, ญาตะกานัง, ทฆี ะรตั ตัง, หิตายะ, สขุ ายะฯ (ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวายซึ่งภัตตาหาร, กับทั้งของบริวารเหล่าน้ี, แกพ่ ระภกิ ษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรบั , ซึง่ ภตั ตาหาร, กับทั้งของบริวารทัง้ หลายเหล่าน,ี้ ของข้าพเจ้าทงั้ หลาย เพ่ือประโยชน์และเพื่อความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, และแก่ญาติมิตรทั้งหลาย, มีมารดาบิดา เป็นต้น, ตลอดกาลนานเทอญ ฯ) 40

พทุ ธธรรม 41

42

ขันธ์ ๕ ๑) กายกับใจ แบง่ ออกเปน็ ๕ กอง เรยี กว่าขนั ธ์ ๕ ไดแ้ ก่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ๒) รปู เปน็ รูป เวทนา – สัญญา – สังขาร – วญิ ญาณ เปน็ นาม เรียกรวมวา่ “รูปนาม” ๓) *เจตสกิ ธรรม ๑ ทเ่ี สวยอารมณ์เป็นสขุ ทกุ ข์ และเฉยๆ (อุเบกขา) เรยี กว่า เวทนาขนั ธ์ *เจตสิกธรรม ๑ ทจ่ี �ำ อารมณม์ รี ูป เสียง เปน็ ตน้ เรยี กวา่ สัญญาขนั ธ์ *เจตสกิ ธรรม ๕๐ มคี วามโลภ – โกรธ – หลง ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง เปน็ ตน้ ปรุงแตง่ ใจ (วญิ ญาณ) เรยี กว่าสงั ขารขันธ์ *จติ ท่รี อู้ ารมณ์ มรี ปู มากระทบตา มีเสยี งมากระทบหู เป็นต้น เรียกวา่ วญิ ญาณขันธ์ 43

๑. ทุกข ์ อริยสัจจธรรม ๔ ๒. สมทุ ยั ๓. นิโรธ ได้แก ่ อปุ าทานขันธ์ ๕ ๔. มรรค ไดแ้ ก่ ตัณหา (โลภะ) คอื กามตณั หา ภวตณั หา และวิภวตัณหา ได้แก ่ พระนพิ พาน ได้แก่ มรรคมีองค์ ๘ คือ ความเห็นชอบ ความด�ำ ริชอบ การเจรจาชอบ การงานชอบ การเลีย้ งชีวติ ชอบ ความพยายามชอบ ความระลึกชอบ ความตงั้ จติ มน่ั ชอบ (ธัมมจกั กปั ปวตั นสตู ร) สังคหวัตถุ ๔ อยา่ ง ๑. ทาน : ใหป้ ันสง่ิ ของของตนแกผ่ ้อู ืน่ ทค่ี วรใหป้ ัน ๒. ปยิ วาจา : เจรจาวาจาทอ่ี อ่ นหวาน ๓. อตั ถจริยา : ประพฤติส่ิงที่เป็นประโยชน์แกผ่ อู้ น่ื ๔. สมานัตตตา : ความเป็นคนมตี นเสมอ – ไม่ถอื ตวั คณุ ทั้ง ๔ อย่างน้ีเป็นเคร่อื งยึดเหน่ียวใจของผอู้ น่ื ไว้ได้ 44

โพชฌงค์ ๗ ประการ ๑. สติ : ความระลกึ รู้ (ในสติปฏั ฐาน) ๒. ธมั มวิจยะ : การเลือกเฟน้ ธรรม (ธัมมวจิ ัย) ๓. วริ ิยะ : ความเพียร ๔. ปติ ิ : ความอิม่ ใจ ๕. ปสั สัทธิ : ความสงบ ๖. สมาธิ : ความตงั้ ใจม่ัน ๗. อุเบกขา : ความวางเฉย เทวธรรม หริ ิโอตตัปปะ สมั ปนั นา สุกกะธัมมะสะมาหิตา  สันโต สัปปุริสา โลเก เทวะธัมมาติ วจุ จะเร ฯ สตั บรุ ุษผูส้ งบทัง้ หลายในโลก ย่อมเรยี กบคุ คลที่สมบรู ณ์ด้วยหริ -ิ โอตตปั ปะ (อายช่วั – กลัว บาป) สมาทานธรรมขาล วา่ เปน็ ผ้มู ี “เทวธรรม” (= ธรรมท่ีทำ�ใหเ้ ปน็ เทวดา) ฯ 45

สุขของคฤหัสถ์ ๔ อย่าง ๑. สุขเกิดแต่ความมที รัพย์ ๒. สขุ เกดิ จากการจา่ ยทรพั ยใ์ ช้สอย ๓. สขุ เกดิ แตค่ วามไมต่ ้องเปน็ หน้ี ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานท่ีปราศจากโทษ อบายมขุ (= เหตุเครอื่ งฉิบหาย) ๖ ๑. ดืม่ น�้ำ เมา ๒. เท่ียวกลางคนื ๓. เทย่ี วดกู ารเล่น ๔. เลน่ การพนัน ๕. คบคนชว่ั เป็นมิตร ๖. เกยี จครา้ นการท�ำ งาน 46

อบุ าสก-อุบาสิกา 47

48

คุณสมบตั ิของอุบาสก-อบุ าสกิ า ๕ ประการ ๑. ประกอบดว้ ยศรัทธา ๒. มีศลี บรสิ ุทธิ์ ๓. ไม่ถอื มงคลตืน่ ข่าว คือ เชอ่ื กรรม ไม่เชื่อมงคล ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพทุ ธศาสนา ๕. บ�ำ เพ็ญบญุ แต่ในพทุ ธศาสนา คนเขลา – โง่ – หลง ๑. พวกหนง่ึ ตวั ของตัวไมร่ กั ไปหลงรกั คนอื่น ๒. พวกหน่งึ ของทนี่ �ำ ตดิ ตัวเอาไปได้ กลบั ไมเ่ อา ๓. พวกหน่งึ ของที่นำ�ตดิ ตัวไปไม่ได้ กลับแสวงหา ๔. พวกหนึ่ง ทางเตียน “บญุ ” ไมเ่ ดิน กลับไปเดินทางรก “บาป” 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook