Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore B11_011_หลักการของระบบฐานข้อมูล

B11_011_หลักการของระบบฐานข้อมูล

Published by surirat2003, 2016-09-22 05:42:27

Description: B11_011_หลักการของระบบฐานข้อมูล

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 1หลกั การของระบบฐานข้อมูล เวลา 4 ชั่วโมง

(2)สาระสาคญั วธิ ีการสร้างสารสนเทศที่นิยมใชก้ นั มาก คือการใชร้ ะบบฐานขอ้ มูล เนื่องจากระบบฐานขอ้ มูลเป็ นระบบที่มีการจดั การท่ีดีสามารถเขา้ ถึงข้อมูลได้อย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนได้อย่างรวดเร็ว ดังน้ันการศึกษาหลักการของระบบฐานขอ้ มูล ไดแ้ ก่ การประมวลผลในระบบสารสนเทศ โครงสร้างฐานขอ้ มูล องคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูล ระบบจดั การฐานขอ้ มูล และหลกั การใช้ระบบจดั การฐานข้อมูลแบบบูรณาการหลกัปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการประมวลผลในระบบสารสนเทศได้ 2. อธิบายโครงสร้างฐานขอ้ มูลได้ 3. อธิบายองคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูลได้ 4. อธิบายระบบจดั การฐานขอ้ มูลได้ 5. เขียนแผนผงั มโนทศั นห์ ลกั การของระบบฐานขอ้ มูลได้ 6. อธิบายหลกั การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลแบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ 7. มีความรับผดิ ชอบงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและเขา้ ช้นั เรียนตรงเวลาสาระการเรียนรู้ 1. การประมวลผลระบบสารสนเทศ 2. โครงสร้างฐานขอ้ มูล 3. องคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูล 4. ระบบจดั การฐานขอ้ มูล 5. หลกั การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลแบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

(3)เนื้อหาสาระการเรียนรู้1.1 การประมวลผลระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ(information system) หมายถึง การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพนั ธ์กนั เก่ียวขอ้ งกนั แลว้ นามาผา่ นกระบวนการจดั การทางดา้ นขอ้ มูล เพื่อให้ไดอ้ อกมาเป็นผลลพั ธ์ท่ีอยใู่ นรูปแบบรายงาน สรุปผล ซ่ึงมีรายละเอียดการประมวลผล 2 ระบบดงั น้ี 1.1.1 ระบบแฟ้มขอ้ มูล การประมวลผลระบบแฟ้มข้อมูล ต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์มาทาการกาหนดโครงสร้างการจดั เก็บขอ้ มูล ให้เหมาะสมกบั ขอ้ มูลที่มีอยแู่ ละเพื่อให้ได้สรุปผลหรือรายงานตามที่ผใู้ ชข้ อ้ มูลหรือผบู้ ริหารตอ้ งการ หากผใู้ ชต้ อ้ งการเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงโครงสร้างการเก็บขอ้ มูล บุคลากรท่ีมีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ ก็จะมาทาการแก้ไขโครงสร้างแฟ้มขอ้ มูลใหม่ ภาพที่ 1.1 ระบบแฟ้มขอ้ มูล จากภาพที่ 1.1 เป็ นตวั อย่างของการประมวลผลแบบแฟ้มขอ้ มูล โดยมีงานทะเบียน และงานวดั ผล จะเขียนโปรแกรมข้ึนมาเอง มีการอ่านหรือเขียนขอ้ มูลจากแฟ้มขอ้ มูลโดยตรง หมายถึง ตอ้ งมีการจดั การขอ้ มูล เช่น เพิ่ม ลบหรือแกไ้ ขขอ้ มูล เป็ นตน้ โดยเขียนโปรแกรมประยกุ ตม์ าจดั การเองซ่ึงในแต่ละงานมีการเก็บขอ้ มูลบางเรื่องซ้ากนั ที่แฟ้มนกั เรียน และแฟ้มรายวิชา มีการเก็บขอ้ มูลที่งานทะเบียนแลว้ ยงั มีการเก็บขอ้ มูลท่ีงานวดั ผล ถา้ มีการเปล่ียนแปลงขอ้ มูลในแฟ้มขอ้ มูลหน่ึง ก็จะตอ้ งตามไปแกไ้ ขขอ้ มูลในแฟ้มขอ้ มูลอ่ืนทุกแฟ้มท่ีมีขอ้ มูลน้นั อยู่ด้วย จึงอาจเกิดปัญหาท่ีเกี่ยวกบั ความ

(4)ขดั แยง้ กนั ของขอ้ มูล เนื่องจากขอ้ มูลในแตล่ ะแฟ้มเกิดความไม่สอดคลอ้ งกนั ข้ึน ซ่ึงเป็นปัญหาที่พบมากในระบบการประมวลผลแบบแฟ้มขอ้ มูล 1.1.2 ระบบฐานขอ้ มูล ระบบฐานขอ้ มูล หมายถึง การจดั เก็บขอ้ มูลท้งั หมดที่มีความสัมพนั ธ์กนั เกี่ยวขอ้ งกนั ไว้ในท่ีเดียวกนั การประมวลผลจะตอ้ งมีระบบจดั การฐานขอ้ มูล เป็นตวั กลางระหวา่ งฐานขอ้ มูลกบั ผใู้ ช้ซ่ึงระบบจดั การฐานขอ้ มูลเป็ นโปรแกรมชนิดหน่ึงที่ถูกสร้างข้ึนมาเพ่อื ทาหนา้ ท่ีในการจดั การขอ้ มูลเช่น การเพิ่ม การลบหรือแกไ้ ข ดงั แสดงภาพที่ 1.2 ภาพท่ี 1.2 ระบบฐานขอ้ มูล จากภาพที่ 1.2 เป็ นตวั อยา่ งของการประมวลผลระบบฐานขอ้ มูล โดยมีงานทะเบียน และงานวดั ผล ซ่ึงในที่น้ีมีขอ้ มูลเก็บไวใ้ นที่เดียวกนั เม่ือมีการเพ่ิม ลบ แกไ้ ข และเรียกใชข้ อ้ มูล ผา่ นระบบจดั การฐานขอ้ มูลเป็ นตวั จดั การ เม่ืองานทะเบียนมีการเปล่ียนแปลงขอ้ มูลในแฟ้มนกั เรียน งานวดั ผลซ่ึงมีการใชแ้ ฟ้มนกั เรียน ขอ้ มูลก็ถูกตอ้ งไม่มีความขดั แยง้ กนั ของขอ้ มูล เนื่องจากขอ้ มูลในแต่ละแฟ้มเกิดความสอดคลอ้ งกนั ข้ึน ลดความซ้าซอ้ นของขอ้ มูล 1.1.3 ขอ้ แตกต่างระหวา่ งระบบแฟ้มขอ้ มูล และระบบฐานขอ้ มูล โปรแกรมประยกุ ตท์ ่ีสร้างข้ึนในการประมวลผลระบบแฟ้มขอ้ มูล จะมีการอา่ นหรือเขียนขอ้ มูลจากแฟ้มขอ้ มูลโดยตรง หมายถึง ตอ้ งมีการจดั การขอ้ มูล เช่น เพิม่ ลบหรือแกไ้ ขขอ้ มูล เป็นตน้ โดยเขียนโปรแกรมประยุกตม์ าจดั การเอง ในขณะท่ีการประมวลผลระบบฐานขอ้ มูลโปรแกรมประยกุ ตท์ ี่สร้างจะตอ้ งออกคาสงั่ การจดั การขอ้ มูลผา่ นระบบจดั การฐานขอ้ มูล หรือดีบีเอม็ เอส1.2 คุณสมบัติพืน้ ฐานของระบบฐานข้อมูล การจดั ขอ้ มูลให้เป็ นระบบฐานขอ้ มูล มีส่วนดีกวา่ การเก็บขอ้ มูลในรูปของแฟ้มขอ้ มูล เพราะการจดั เก็บในระบบฐานขอ้ มูล มีส่วนท่ีสาคญั กวา่ การจดั เกบ็ ในรูปแบบแฟ้มขอ้ มูลดงั น้ี 1.2.1 ลดการเก็บขอ้ มูลที่ซ้าซ้อน ขอ้ มูลบางชุดท่ีอยู่ในรูปของแฟ้มขอ้ มูลอาจมีปรากฏอยู่หลายแห่ง เพราะมีผูใ้ ชข้ อ้ มูลชุดน้ีหลายคน เมื่อใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลแลว้ จะช่วยใหค้ วามซ้าซ้อนของ

(5)ขอ้ มูลลดนอ้ ยลง เช่น ขอ้ มูลอยูใ่ นแฟ้มขอ้ มูลของผูใ้ ชห้ ลายคน ผใู้ ชแ้ ต่ละคนจะมีแฟ้มขอ้ มูลเป็ นของตนเองระบบฐานขอ้ มูลจะช่วยลดการซ้าซ้อนของขอ้ มูลเหล่าน้ีให้มากที่สุด โดยจดั เก็บในฐานขอ้ มูลไวท้ ี่เดียวกนั ผูใ้ ชท้ ี่ตอ้ งการขอ้ มูลชุดน้ี จะตอ้ งใชโ้ ดยการผา่ นระบบฐานขอ้ มูล ทาให้ไม่เปลืองเน้ือท่ีในการเกบ็ ขอ้ มูลและลดความซ้าซอ้ นลงได้ ดงั ภาพท่ี 1.2 1.2.2 รักษาความถูกตอ้ งของขอ้ มูล เน่ืองจากฐานขอ้ มูลมีเพียงฐานขอ้ มูลเดียว ในกรณีท่ีมีขอ้ มูลชุดเดียวกนั ปรากฏอยหู่ ลายแห่งในฐานขอ้ มูล ขอ้ มูลเหล่าน้ีจะตอ้ งตรงกนั ถา้ มีการแกไ้ ขขอ้ มูลน้ีทุก ๆ แห่งท่ีข้อมูลปรากฏอยู่ ก็จะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมัติด้วยระบบจัดการฐานขอ้ มูล 1.2.3 การป้องกนั และรักษาความปลอดภยั ให้กบั ขอ้ มูลทาไดอ้ ยา่ งสะดวก การป้องกนั และรักษาความปลอดภยั กับระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผูท้ ี่เก่ียวข้องเท่าน้ันจึงจะมีสิทธ์ิเข้าไปใช้ฐานขอ้ มูลได้ เรียกวา่ สิทธิส่วนบุคคล ซ่ึงทาให้เกิดความปลอดภยั แก่ขอ้ มูลดว้ ย ฉะน้นั ผูท้ ี่มีสิทธิท่ีจะเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ ตอ้ งมีการกาหนดสิทธ์ิกนั ไวก้ ่อน และเม่ือเขา้ ไปใชข้ อ้ มูลน้นั ๆ ผใู้ ชจ้ ะเห็นขอ้ มูลที่ถูกเกบ็ ไวใ้ นฐานขอ้ มูลในรูปแบบท่ีผูใ้ ชอ้ อกแบบไว้ ตวั อยา่ งเช่น ผใู้ ชส้ ร้างตารางขอ้ มูลข้ึนมาและเก็บลงในฐานขอ้ มูล ระบบจดั การฐานขอ้ มูลจะเก็บขอ้ มูลเหล่าน้ีลงในอุปกรณ์เก็บขอ้ มูล ผใู้ ชไ้ ม่จาเป็ นตอ้ งรับรู้วา่ โครงสร้างของแฟ้มขอ้ มูลน้นั เป็ นอยา่ งไร เป็นเป็นหนา้ ท่ีของระบบจดั การฐานขอ้ มูล ดงั น้นั ถา้ผูใ้ ชเ้ ปล่ียนแปลงลกั ษณะการเก็บขอ้ มูล เช่น เปลี่ยนแปลงรูปแบบของตารางใหม่ ผูใ้ ชไ้ ม่ตอ้ งกงั วลวา่ขอ้ มูลจะถูกจดั เก็บลงในลักษณะใด ระบบการจดั การฐานข้อมูลจะจดั การให้ท้งั หมด ในทานองเดียวกนั ถา้ ผูอ้ อกแบบฐานขอ้ มูลเปล่ียนวิธีการเก็บขอ้ มูลลงบนอุปกรณ์จดั เก็บขอ้ มูล ผูใ้ ช้ก็ไม่ตอ้ งแกไ้ ขฐานขอ้ มูลท่ีเขาออกแบบไวแ้ ลว้ ซ่ึงระบบการจดั การฐานขอ้ มูลจะจดั การให้ 1.2.4 สามารถใชข้ อ้ มูลร่วมกนั ได้ เนื่องจากในระบบฐานขอ้ มูลจะเป็ นที่เก็บรวบรวมขอ้ มูลทุกอยา่ งไว้ ผใู้ ชแ้ ต่ละคนจึงสามารถท่ีจะใชข้ อ้ มูลในระบบไดท้ ุกขอ้ มูล ซ่ึงถา้ ขอ้ มูลไม่ไดถ้ ูกจดั ใหเ้ ป็ นระบบฐานขอ้ มูลแลว้ ผูใ้ ชก้ ็จะใชไ้ ดเ้ พียงขอ้ มูลของตนเองเท่าน้นั เช่น ขอ้ มูลของระบบงานทะเบียนและขอ้ มูลของระบบงานวดั ผล ถูกจดั ไวใ้ นระบบแฟ้มขอ้ มูลผใู้ ชท้ ่ีใชข้ อ้ มูลระบบงานทะเบียน จะใช้ขอ้ มูลไดร้ ะบบเดียว แต่ถา้ ขอ้ มูลท้งั สองถูกเก็บไวเ้ ป็ นฐานขอ้ มูลท่ีเดียวกนั ผูใ้ ช้ท้งั สองระบบก็จะสามารถเรียกใช้ฐานขอ้ มูลเดียวกนั ได้ และโปรแกรมต่าง ๆ ถา้ เก็บไวใ้ นฐานขอ้ มูลก็จะสามารถใช้ร่วมกนั ไดเ้ ช่นเดียวกนั 1.2.5 มีความเป็ นอิสระของขอ้ มูล เม่ือผูใ้ ช้ต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือนาข้อมูลมาประยกุ ตใ์ ชง้ านใหเ้ หมาะสมกบั โปรแกรมที่เขียนข้ึนมา ก็จะสามารสร้างขอ้ มูลน้นั ข้ึนมาใชใ้ หมไ่ ดโ้ ดยไม่มีผลกระทบต่อฐานขอ้ มูล เพราะขอ้ มูลท่ีผูใ้ ชน้ ามาประยกุ ตใ์ ชใ้ หม่น้นั จะไม่กระทบต่อโครงสร้างที่แทจ้ ริงของการจดั เก็บขอ้ มูล นนั่ คือการใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลจะทาใหเ้ กิดความเป็ นอิสระระหวา่ งการจดั เกบ็ ขอ้ มูล และการประยกุ ตใ์ ช้

(6) 1.2.6 สามารถขยายงานไดง้ ่าย เมื่อตอ้ งการจดั เพิ่มเติมขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ ง ก็สามารถทาการเพม่ิไดง้ ่ายไม่ซบั ซอ้ น เน่ืองจากมีความเป็นอิสระของขอ้ มูล จึงไมม่ ีผลกระทบต่อขอ้ มูลเดิมท่ีมีอยู่ 1.2.7 ทาใหข้ อ้ มูลบูรณะกลบั สู่สภาพปกติไดเ้ ร็วและมีมาตรฐาน เน่ืองจากการจดั พิมพข์ อ้ มูลในระบบท่ีไม่ไดใ้ ชฐ้ านขอ้ มูล ผเู้ ขียนโปรแกรมแต่ละคนจะมีแฟ้มขอ้ มูลเฉพาะของตนเอง ฉะน้นั แต่ละคนต่างสร้างระบบการบูรณะขอ้ มูลใหก้ ลบั สู่สภาพปกติ ในกรณีที่ขอ้ มูลเสียหายดว้ ยตนเองและดว้ ยวธิ ีการตนเอง จึงขาดประสิทธิภาพและมาตรฐาน แต่เมื่อมาเป็ นระบบฐานขอ้ มูลแลว้ การบูรณะขอ้ มูลให้กลับคืนสู่สภาพปกติ จะมีโปรแกรมชุดเดียว และมีผูด้ ูแลเพียงคนเดียวท่ีดูแลท้งั ระบบ ทาให้ประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกนั อยา่ งแน่นอน1.3 โครงสร้างฐานข้อมูล การจดั เก็บขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์ มีรูปแบบที่แตกตา่ งกนั มาก ข้ึนอยกู่ บั เป็นขอ้ มูลของหน่วยงานใด เช่น ขอ้ มูลของวทิ ยาลยั ขอ้ มูลของบริษทั ขายสินคา้ ขอ้ มูลของโรงพยาบาล เป็นตน้ขอ้ มูลเหล่าน้ี จดั เกบ็ อยใู่ นคอมพวิ เตอร์มีโครงสร้างการเกบ็ ขอ้ มูล ดงั น้ี 1.3.1 บิต หมายถึง เป็นหน่วยของขอ้ มูลท่ีมีขนาดเลก็ ที่สุด ขอ้ มูลที่จะทางานร่วมกบัคอมพวิ เตอร์ไดน้ ้นั จะตอ้ งเอามาแปลงใหอ้ ยใู่ นรูปของเลขฐานสอง คอมพวิ เตอร์ถึงจะเขา้ ใจ และทางานตามที่ตอ้ งการ เมื่อแปลงเเลว้ จะไดต้ วั เลขเเทนสถานะเปิ ด และปิ ดของสัญญาณไฟฟ้า สามารถแทนสถานการณ์ 2 อยา่ งคือ ปิ ดและเปิ ด 1.3.2 อกั ขระ หมายถึง หน่วยของขอ้ มูลท่ีเกิดจาการนาบิตมาร่วมกนั เป็นตวั อกั ขระ 1.3.3 เขตขอ้ มูล หมายถึง หน่วยของขอ้ มูลท่ีประกอบข้ึนจากตวั อกั ขระต้งั แต่หน่ึงตวั ข้ึนไปมารวมกนั แลว้ ไดค้ วามหมายของสิ่งใดส่ิงหน่ึง เช่น ชื่อ ท่ีอยู่ เป็นตน้ 1.3.4 ระเบียน หมายถึง หน่วยของขอ้ มูลท่ีเกิดจากการนาเอาเขตขอ้ มูลหลาย ๆ เขตขอ้ มูลมารวมกนั เพ่ือเกิดเป็นขอ้ มูลเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เช่น ขอ้ มูลของนกั ศึกษา 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบดว้ ยเขตขอ้ มูลรหสั นกั ศึกษา ชื่อ สัญชาติ และศาสนา ดงั ตารางที่ 1.1 1.3.5 แฟ้มขอ้ มูล หมายถึง หน่วยของขอ้ มูลท่ีเกิดจากการนาขอ้ มูลหลาย ๆ ระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกนั มารวมกนั เช่น แฟ้มขอ้ มูลประวตั ินกั เรียน ประกอบดว้ ยเขตขอ้ มูลรหสั นกั ศึกษา ชื่อ สญั ชาติและศาสนา และมีจานวนระเบียน 3 ระเบียน ดงั ตารางท่ี 1.1 1.3.6 ฐานขอ้ มูล หมายถึง การเกบ็ รวบรวมแฟ้มขอ้ มูลท่ีมีความสัมพนั ธ์กนั ไวด้ ว้ ยกนั เช่นแฟ้มขอ้ มูลประวตั ินกั เรียน และแฟ้มขอ้ มูลการลงทะเบียน มีเขตขอ้ มูลรหสั นกั ศึกษา ทาหนา้ ที่เช่ือมโยงใหแ้ ฟ้มขอ้ มูลท้งั สองมีความสมั พนั ธ์กนั ดงั ตารางท่ี 1.1

(7)ตารางท่ี 1.1 แสดงโครงสร้างการเก็บขอ้ มูลของแฟ้มขอ้ มูลและฐานขอ้ มูล โครงสร้างฐานข้อมูล 10111011 ตัวอย่าง ศาสนาบิต สุรียร์ ัตน์ พุทธตวั อกั ขระ สญั ชาติเขตขอ้ มูล รหสั นกั ศึกษา ไทย 5622040001ระเบียน รหัสนกั ศกึ ษา ชื่อ 5622040001 ธนวรรณ ใจดีแฟ้มขอ้ มูล แฟ้มขอ้ มูลประวตั ินกั เรียนฐานขอ้ มูล รหสั นกั ศกึ ษา ช่ือ สญั ชาติ ศาสนา 5622040001 ธนวรรณ ใจดี ไทย พทุ ธ 5622040002 สมชาย ต้งั ใจเรียน ไทย พทุ ธ 5622040003 สมใจ มุ่งมนั่ ไทย พุทธ แฟ้มขอ้ มูลประวตั ินกั เรียน สัญชาติ ศาสนา ไทย พุทธ รหัสนกั ศกึ ษา ชื่อ ไทย พุทธ 5622040001 ธนวรรณ ใจดี ไทย พุทธ 5622040002 สมชาย ต้งั ใจเรียน 5622040003 สมใจ มุ่งมน่ั แฟ้มขอ้ มูลการลงทะเบียน รหสั นกั ศกึ ษา ภาคเรียน รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า หน่วยกิต 5622040001 2/2556 3204-2004 ระบบปฏิบตั กิ าร 3 5622040002 2/2556 3204-2005 ระบบฐานขอ้ มูล 3 5622040003 2/2556 3204-2009 การเขียนโปรแกรม 31.4 องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล ระบบฐานขอ้ มูลตอ้ งนาเอาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจดั เกบ็ ฐานขอ้ มูลเพอ่ื ใหท้ นั ต่อความตอ้ งการในการใชง้ าน สะดวก รวดเร็ว และถูกตอ้ งมีความเช่ือถือได้ โดยมีซอฟทแ์ วร์หรือโปรแกรมระบบจดั การฐานขอ้ มูล องคป์ ระกอบของระบบฐานขอ้ มูล แบง่ ออกเป็น 4 องคป์ ระกอบดงั ตอ่ ไปน้ี 1.4.1 ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ (hardware) คือส่วนของอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ระบบฐานขอ้ มูล ซ่ึงจะสนับสนุนให้การทางานกับข้อมูลมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด โดยประกอบด้วยส่วนของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยจะตอ้ งเลือกเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถเพียงใด เพื่อให้เพียงพอต่อการ

(8)ทางานกบั ขอ้ มูลขององค์กร หน่วยความจาท่ีเป็ นความจาหลกั ตอ้ งสนบั สนุนการทางานให้เพียงพอหน่วยประมวลผลตอ้ งมีความสามารถหรือความเร็วเพยี งใด นอกจากน้ีอุปกรณ์ที่เป็นส่ือบนั ทึกขอ้ มูลก็มีความสาคญั เช่น ตอ้ งพิจารณาวา่ ขอ้ มูลท่ีตอ้ งบนั ทึกลงบนสื่อบนั ทึกมีมากเพียงใด และตอ้ งใชเ้ น้ือท่ีเท่าใดจึงมีประสิทธิภาพสูงสุด ทา้ ยท่ีสุดสิ่งที่ตอ้ งกล่าวถึงในระบบฐานขอ้ มูลท่ีมีขนาดใหญ่ คือ เรื่องการเชื่อมต่อเครื่องคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั ก็ตอ้ งอาศยั อุปกรณ์เช่ือมโยงเครือขา่ ยดว้ ยเป็นตน้ 1.4.2 ซอฟตแ์ วร์ ซอฟตแ์ วร์ (software) คือ.เป็ นส่วนที่อยู่ระหวา่ งกลางของผูใ้ ช้และอุปกรณ์ ซ่ึงใชก้ ารสื่อความหมายจากผใู้ ชไ้ ปยงั อุปกรณ์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การเรียกใชข้ อ้ มูลจากอุปกรณ์ท่ีเป็ นส่ือบนั ทึกขอ้ มูลตอ้ งอาศยั ซอฟตแ์ วร์เป็ นตวั กลางในการเรียกข้อมูลมาให้ผใู้ ช้ ส่วนที่เป็ นซอฟต์แวร์พอจะสรุปไดด้ งั น้ี 1.4.2.1 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ หมายถึง โปรแกรมท่ีถูกพฒั นาข้ึนมา เพ่ือการทางานในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมลงทะเบียนนกั ศึกษา โปรแกรมประมวลผลการเรียนแตล่ ะเทอม เป็ นตน้ โปรแกรมเหล่าน้ีเป็นโปรแกรมท่ีถูกพฒั นาโดยใชภ้ าษาช้นั สูง เช่น จาวา , วชิ วลเบสิกหรือ ภาษาโปรแกรมบนเวบ็ เช่น พเี อชพี , เอเอสพี เป็ นตน้ ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตอ์ าจถูกพฒั นาข้ึนมาจากเคร่ืองมือการพฒั นา ซ่ึงสามารถช่วยสร้างโคด้ ภาษาโปรแกรมใหไ้ ดโ้ ดยอตั โนมตั ิ 1.4.2.2 ระบบจดั การฐานขอ้ มูล เสมือนกบั เป็ นตวั กลางระหวา่ งผใู้ ชก้ บั ฐานขอ้ มูล ในระบบจดั การฐานขอ้ มูลท่ีมีการใชง้ านอยู่ จะมีเครื่องมือตวั หน่ึง ท่ีเป็นที่ยอมรับของผใู้ ช้ ใหก้ ารใชง้ านสะดวก คล่องตวั ง่ายดาย คือ ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือ เอสคิวแอล 1.4.3 ขอ้ มูล ข้อมูล (data) คือเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดในระบบฐานข้อมูล เน่ืองจากองคป์ ระกอบอื่น ๆ เป็นเพยี งตวั สนบั สนุนช่วยเหลือใหส้ ่วนของขอ้ มูลเพ่มิ ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ซ่ึงส่วนของขอ้ มูลน้ีสร้างมาโดยสนบั สนุนใหม้ ีการใชง้ านพร้อม ๆ กนั หลายคน หรือบางขอ้ มูลสนบั สนุนให้มีการใช้เพียงคนเดียว เฉพาะบุคคลก็เป็ นได้ ข้ึนอยู่กับวตั ถุประสงค์ของระบบข้อมูลท่ีทาการออกแบบไว้ ซ่ึงการออกแบบในส่วนของฐานขอ้ มูลน้ี ตอ้ งพิจารณาถึงวา่ จะตอ้ งออกแบบอยา่ งไรให้เรียกใชข้ อ้ มูลไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็วและถูกตอ้ งมากที่สุด หรือไม่ใหเ้ กิดความซ้าซอ้ นกนั 1.4.4 บุคลากร บุคลากร (personnel) คือผทู้ ่ีตอ้ งจดั การกบั ขอ้ มูล เพ่ิม ลบ แกไ้ ข คน้ หาขอ้ มูลที่ตอ้ งการพฒั นาโปรแกรมเพื่อเพิ่มความสะดวกในการจดั การกบั ขอ้ มูล หรืออ่ืน ๆ ท่ีตอ้ งจดั การกบั ฐานขอ้ มูลไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารและจดั การฐานขอ้ มูล นกั วเิ คราะห์ นกั เขียนโปรแกรม และผใู้ ช้ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 1.4.4.1 ผูพ้ ฒั นาโปรแกรมประยุกต์ (application developers) ทาหน้าท่ีในการเขียนโปรแกรมเรียกใชฐ้ านขอ้ มูล โดยในการเขียนโปรแกรมน้นั ตอ้ งอาศยั ภาษาใดภาษาหน่ึงตามตอ้ งการหรือตามความเหมาะสมของธุรกิจน้นั ๆ

(9) 1.4.4.2 ผูใ้ ชท้ วั่ ไป (end uses) ผทู้ ี่ตอ้ งใชโ้ ปรแกรมที่ไดพ้ ฒั นาไวแ้ ลว้ ในการจดั การการกบั ฐานขอ้ มูลหรือถา้ หากผใู้ ชใ้ ดมีความสามารถ อาจจะกาหนดสิทธ์ิใหผ้ ใู้ ชน้ ้ีสามารถใชค้ าส่ังในภาษาSQL ไดด้ ว้ ย เน่ืองจากการพฒั นาโปรแกรมไม่ไดค้ รอบคลุมทุก ๆ คาสั่งที่ตอ้ งการ ดงั น้นั ในกรณีน้ีจาเป็นตอ้ งใชแ้ บบทนั ทีทนั ใด โดยตอ้ งใชภ้ าษาเอสคิวแอลช่วยทางานเพือ่ ความรวดเร็ว 1.4.4.3 ผูบ้ ริหารฐานขอ้ มูล (database administrator : DBA) ผูท้ ่ีตอ้ งออกแบบระบบฐานขอ้ มูลท้งั หมดขององคก์ ร ผทู้ ี่ตอ้ งกาหนดสิทธ์ิของขอ้ มูลในส่วนต่าง ๆ วา่ ส่วนใดที่ผูใ้ ชส้ ามารถใชง้ าน หรือแกไ้ ขไดบ้ า้ ง แต่ถา้ หากผูพ้ ฒั นาระบบโปรแกรมมีกาหนดอยแู่ ลว้ การลบ แกไ้ ข หรือเพิ่มสามารถกาหนดที่โปรแกรมที่พฒั นาก็ได้1.5 ระบบจดั การฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล (database management system) หรือดีบีเอ็มเอส (DBMS) เป็ นโปรแกรมชนิดหน่ึงที่ถูกสร้างข้ึนมาเพ่ือทาหน้าที่ในการจดั การขอ้ มูล เช่น การเพ่ิม ลบหรือแกไ้ ขขอ้ มูล การป้องกนั ความขดั แยง้ กนั ของขอ้ มูล การป้องกนั และแกไ้ ขความเสียหายของขอ้ มูล รวมไปถึงการใช้ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลร่วมกนั ของโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ และกาหนดสิทธ์ิในการเรียกใช้ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูล เป็นตน้ ระบบจดั การฐานขอ้ มูล จึงทาหนา้ ท่ีเสมือนเป็ นตวั กลางระหวา่ งผใู้ ช้และฐานขอ้ มูลใหส้ ามารถติดตอ่ กนั ได้ โดยมีรายละเอียดงั น้ี 1.5.1 หนา้ ที่ของระบบจดั การฐานขอ้ มูล หนา้ ที่ของระบบจดั การฐานขอ้ มูลที่สาคญั อยู่ 6 ขอ้ ดงั น้ี 1.5.1.1 เก็บขอ้ มูลตามความสัมพนั ธ์ท่ีกาหนด ก่อนท่ีจะมีเก็บขอ้ มูลในฐานขอ้ มูลน้นัจะตอ้ งมีการออกแบบฐานขอ้ มูลเพ่อื หาความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูลท้งั หมดก่อน ความสัมพนั ธ์ท่ีไดจ้ ะทาให้เห็นภาพรวมของการใช้ข้อมูลและช่วยลดความซ้าซ้อนในการจดั เก็บขอ้ มูลไปได้ โดยจะนาความสัมพนั ธ์ของขอ้ มูลที่ไดไ้ ปสร้างฐานขอ้ มูลข้ึนมากบั ระบบจดั การฐานขอ้ มูล 1.5.1.2 จดั การขอ้ มูลไดต้ ามท่ีผใู้ ชต้ อ้ งการ การจดั การขอ้ มูล ประกอบดว้ ยการเรียกขอ้ มูลข้ึนมาดู การแกไ้ ขขอ้ มูล การเพิม่ ขอ้ มูลใหม่ และการลบขอ้ มูลท่ีไมต่ อ้ งการ ซ่ึงท้งั หมดท่ีกล่าวมาน้ีผใู้ ชจ้ ะตอ้ งกระทาผา่ นระบบจดั การฐานขอ้ มูล 1.5.1.3 ขอ้ มูลมีความถูกตอ้ งและปลอดภยั ระบบจดั การฐานขอ้ มูล จะคอยควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ตามที่ผูใ้ ช้กาหนด ตัวอย่างเช่น ควบคุมไม่ให้มีการกาหนดค่าของอายุพนกั งานต่ากวา่ 1 เพราะไม่มีทางที่คนจะอายุเป็ น 0 หรือติดลบได้ เป็ นตน้ นอกจากความถูกตอ้ งของขอ้ มูลแลว้ ระบบจดั การฐานขอ้ มูล จะตอ้ งป้องกนั ไมใ่ หข้ อ้ มูลถูกผทู้ ี่ไมม่ ีสิทธินาไปใชง้ านได้ 1.5.1.4 มีกลไกควบคุมการใชข้ อ้ มูลพร้อมกนั เนื่องจากฐานขอ้ มูลเป็ นที่เก็บขอ้ มูลของทุกหน่วยงานในองคก์ ร ถา้ เป็ นบริษทั ทุกแผนกก็สามารถเขา้ มาใชง้ านขอ้ มูลไดเ้ หมือนกนั หมด ถึงแม้

(10)จะตอ้ งกนั สิทธิในการเขา้ ถึงขอ้ มูลซ่ึงเรียกใชข้ อ้ มูลเฉพาะของตวั เองหรือเฉพาะขอ้ มูลที่เจา้ ของแผนกอนุญาตกต็ าม ดงั น้นั ณ เวลาใดเวลาหน่ึงจึงอาจมีผใู้ ชม้ ากกวา่ 1 คนตอ้ งการใชข้ อ้ มูลตวั เดียวกนั ก็ได้ 1.5.1.5 กูข้ อ้ มูลจาการล่มของระบบฐานขอ้ มูลได้ สาเหตุท่ีทาใหร้ ะบบฐานขอ้ มูลล่มได้น้นั ก็อาจจะเกิดจากไฟฟ้าดบั เป็ นเวลานาน ฮาร์ดดิสก์เสียใชง้ านไม่ไดก้ ะทนั หนั หรือเครื่องแม่ข่าย มีปัญหาก็ได้ ดงั น้ันระบบจดั การฐานข้อมูลจึงต้องมีวิธีการรับมือกับปัญหาดังกล่าว ระบบจดั การฐานขอ้ มูล จะเกบ็ ขอ้ มูลการทางานเอาไวเ้ พ่อื จะไดน้ ามาใชก้ ูข้ อ้ มูล 1.5.1.6 มีการเก็บขอ้ มูลการทางานของฐานขอ้ มูลเอาไว้ ในฐานขอ้ มูลไม่ไดม้ ีแต่ขอ้ มูลท่ีจดั เกบ็ ไวใ้ ชใ้ นการทางานขององคก์ รเท่าน้นั ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ยงั เกบ็ ขอ้ มูลที่ใชใ้ นการทางานของฐานขอ้ มูลไวด้ ้วย โดยขอ้ มูลดงั กล่าวเรียกว่า พจนานุกรมขอ้ มูล (data dictionary) พจนานุกรมขอ้ มูล หมายถึง ขอ้ มูลของขอ้ มูลซ่ึงก็คือ ขอ้ มูลที่ใชอ้ ธิบายขอ้ มูลที่เก็บจริง ๆ อีกทีหน่ึง พจนานุกรมขอ้ มูล จะถูกเกบ็ อยใู่ นตารางซ่ึงเป็นรูปแบบเดียวกนั กบั การเก็บขอ้ มูลอ่ืน ๆ โดยที่สามารถเรียกดูขอ้ มูลเหล่าน้ีข้ึนมาดูไดเ้ หมือนกบั การเรียกดูขอ้ มูลปกติ 1.5.2 ผลิตภณั ฑร์ ะบบจดั การฐานขอ้ มูล ผลิตภณั ฑร์ ะบบจดั การฐานขอ้ มูล แบง่ เป็น 2 ประเภทดงั น้ี 1.5.2.1 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ประเภทเชิงพาณิชย์ ไดแ้ ก่ Oracle, IBMDB2, Microsoft SQL Server, Informix, Microsoft Access เป็นตน้ ภาพที่ 1.3 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ ประเภทเชิงพาณิชย์ 1.5.2.2 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ประเภทโอเพนซอร์ส ไดแ้ ก่ MySQL และPostgreSQL เป็นตน้

(11) ภาพที่ 1.4 ระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ ประเภทโอเพนซอร์ส 1.5.3 การเลือกใชร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มูล เนื่องจากระบบจดั การฐานขอ้ มูลท่ีวางขายในปัจจุบนั มาจากผูผ้ ลิตหลายบริษทั แต่ละบริษทั กส็ ร้างความโดดเด่นใหก้ บั ผลิตภณั ฑข์ องตน การท่ีองคก์ รจะเลือกใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลใหเ้ หมาะกบั การทางานและให้เกิดประโยชน์สูงสุดน้นั ตอ้ งเร่ิมตน้ จากการวเิ คราะห์ความตอ้ งการขององคก์ รและคุณลกั ษณะของระบบฐานขอ้ มูลซ่ึงทาใหท้ ราบวา่ มีขอ้ มูลประเภทใดบา้ งท่ีจะตอ้ งนามาจดั เก็บเพื่อการประมวลผลให้เป็ นไปตามความตอ้ งการและควรจใช้ระบบฐานขอ้ มูลประเภทใดในการจดั เก็บและมีคุณลักษณะอย่างไรบ้าง ส่งผลให้ทราบได้ว่าควรจะใช้ระบบฐานข้อมูลชนิดใด สาหรับคุณลกั ษณะของฐานขอ้ มูลที่ใชใ้ นการเลือกระบบฐานขอ้ มูลมีดงั ตอ่ ไปน้ี 1.5.3.1 ขนาดของฐานขอ้ มูล (database size) ขนาดของฐานขอ้ มูลข้ึนอยกู่ บั จานวนของขอ้ มูลที่จะจดั เก็บในฐานขอ้ มูล จานวนของขอ้ มูลทาให้สามารถกาหนดไดว้ า่ ควรใชส้ ื่อจดั เก็บขอ้ มูลประเภทใด และท่ีสาคญั ทาให้ทราบวา่ ควรใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลใด ที่สามารถรองรับกบั จานวนขอ้ มูลที่มีปริมาณมากได้ ซ่ึงโดยส่วนใหญ่แลว้ ระบบฐานขอ้ มูลในปัจจุบนั ก็สามารถรองรับขอ้ มูลที่มีจานวนมากได้ 1.5.3.2 จานวนผูใ้ ช้เม่ือเกิดภาวะพร้อมกัน (concurrent users) จานวนของผู้ใช้ที่จาเป็ นตอ้ งเขา้ ถึงขอ้ มูลในเวลาเดียวกนั และในฐานขอ้ มูลเดียวกนั เป็ นปัจจยั ที่สาคญั อยา่ งมากในการเลือกใช้ระบบฐานขอ้ มูลเนื่องจากเป็ นปัจจยั ท่ีช่วยให้องค์กรสามารถคดั เลือกระบบฐานขอ้ มูลท่ีมีประสิทธิภาพในการควบคุมการทางานในภาวะพร้อมกันได้ หากระบบฐานข้อมูลชนิดใดท่ีไม่สามารถควบคุมได้ ระบบฐานขอ้ มูลสามารถรองรับกบั ปริมาณข้อมูลได้มากเท่าใด หรือสามารถควบคุมการเกิดสภาวะการใชง้ านของผใู้ ชพ้ ร้อมกนั จานวนเทา่ ใด 1.5.3.3 ประสิทธิภาพ (performance) สาคญั สาหรับบางองคก์ ร หรือส่วนงานท่ีตอ้ งการความเร็วในการเขา้ ถึงขอ้ มูล อีกคุณลกั ษณะท่ีสามารถใชเ้ ป็ นเง่ือนไขในการเลือกระบบฐานขอ้ มูลไดก้ ็คือ ความสามารถและความเร็วในการกูค้ ืนระบบ (System Recover) ซ่ึงจะเกิดข้ึนก็ต่อเม่ือมีเหตุการณ์ระบบลม้ เหลว หากการกูค้ ืนระบบเป็ นไปอยา่ งเช่ืองชา้ อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรืออาจทาให้บาง

(12)หน่วยงานไมส่ ามารถทางานได้ นอกจากน้ีประสิทธิภาพยงั รวมถึงความสามารถในการควบคุมการเกิดพร้อมกนั ดว้ ย 1.5.3.4 การประสานการทางาน (Integration) หลกั เกณฑก์ ารเลือกใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลอีกประการหน่ึงที่สาคญั ก็คือ “ความสามารถในการประสานการทางานไดก้ บั โปรแกรมประยกุ ตแ์ ละฐานขอ้ มูลอ่ืน” สิ่งที่จะบ่งช้ีไดว้ า่ ระบบฐานขอ้ มูลจะใชง้ านร่วมกนั ไดห้ รือไม่ นอกจากจะเป็ นชนิดของระบบฐานขอ้ มูลแล้วยงั มีอีกส่ิงหน่ึงท่ีสาคญั ก็คือ ระบบปฏิบตั ิการ (operating system) ท่ีจะใช้ทางานระบบฐานขอ้ มูล เช่น UNIX Windows หรือ LINUX เป็นตน้ หากเป็นระบบปฏิบตั ิการเดียวกนัก็จะใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลร่วมกนั ไดง้ ่าย แต่หากเป็ นระบบปฏิบตั ิที่แตกต่างกนั ก็ตอ้ งพิจารณาวา่ ระบบฐานขอ้ มูลชนิดใดท่ีมีเครื่องมือช่วยให้สามารถใช้ฐานขอ้ มูลร่วมกนั ไดท้ ้งั จากภายในและภายนอกองคก์ ร 1.5.3.5 ลกั ษณะสาคญั (features) ลกั ษณะสาคญั ไมว่ า่ จะเป็นการทางาน หรือรูปลกั ษณ์ของซอฟต์แวร์ท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะในระบบฐานขอ้ มูล แต่ละผลิตภณั ฑ์ใช้เป็ นเง่ือนไขในการพิจารณาเลือกใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลขององคก์ รไดเ้ ป็ นอยา่ งดี โดยส่วนใหญ่มกั จะมีเคร่ืองมือเพื่อช่วยในการกาหนดระบบรักษาความปลอดภยั การกาหนดสิทธ์ิในการเขา้ ถึงขอ้ มูลที่มาพร้อมกบั ระบบฐานขอ้ มูล นอกจากน้ีลกั ษณะสาคญั อาจหมายความถึงการใชง้ านที่ง่าย มีคู่มือประกอบการใช้งานที่เขา้ ใจง่ายและชดั เจน 1.5.3.6 ผูผ้ ลิตและจดั จาหน่าย (vendor) สาหรับการพิจารณาผูผ้ ลิตและจดั จาหน่ายระบบฐานขอ้ มูล อาจพิจารณาไดจ้ ากขนาดขององคก์ รที่มีชื่อเสียง และสถานะทางการเงิน หากผผู้ ลิตและจดั จาหน่ายรายใดท่ีอยูใ่ นวาการทางดา้ นคอมพิวเตอร์มานานก็จะมีประสบการณ์มาก สามารถให้คาปรึกษาและแกไ้ ขปัญหาที่เกิดข้ึนไดด้ ี หรือหากผผู้ ลิตและผูจ้ ดั จาหน่ายรายใดเป็ นองคก์ รท่ีมีขนาดใหญ่ ก็อาจมีแผนกให้บริการหลงั การขายเป็ นสัดส่วนชดั เจน สามารถช่วยเหลือลูกคา้ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ีตลอดเวลา ซ่ึงประเด็นการบริการหลงั การขาย นบั วา่ เป็นปัจจยั สาคญั ในการพิจารณาเช่นกนั 1.5.3.7 ตน้ ทุน (cost) เงื่อนไขในการเลือกซ้ือและเลือกใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลที่สาคญั มากถึงมากท่ีสุดก็คือ ตน้ ทุน หรือราคาของระบบฐานขอ้ มูล ซ่ึงจะแตกต่างกนั ไปตามผูผ้ ลิตและจัดจาหน่วยแต่ละรายและประเภทของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ อยา่ งเช่น ระบบฐานขอ้ มูลท่ีทางานบนเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ จะมีตน้ ทุนต่ากว่าระบบฐานขอ้ มูลที่ทางานบนเครื่องเมนเฟรม ดงั น้นั ถาหากมีตน้ ทุนสูง ๆ บางองคก์ รจะเลือกใชง้ านแบบเช่า ไมว่ า่ จะเป็นรายเดือน หรือรายปี ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั สถานะทางการเงิน นโยบาย และเงื่อนไขอื่น ๆ1.6 หลกั การใช้ระบบจดั การฐานข้อมูลแบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(13) การจดั การเรียนการสอนวชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มูล ไดเ้ ช่ือมโยงกบั หลกั คิดและหลกั ปฏิบตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็ นพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่ช้ีแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตน เพื่อให้ทนั ต่อ โลกาภิวฒั น์ ถา้ ใช้ความพอเพียงเป็ นหลกั คิดและหลกั ปฏิบตั ิก็จะสามารถอยู่ได้อย่างรู้เท่ากนั การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆปรับตวั และพร้อมรับการเปล่ียนแปลงได้ สาหรับคาว่า พอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กนั ที่ดีในตวั พอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้งั ภายในและภายนอก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไขและ 4 สมดุลหมายถึง ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม ดงั น้นั การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลในรายวิชาระบบจดั การฐานขอ้ มูล ไดน้ อ้ มนาหลกั คิดและหลกัปฏิบตั ิ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นทุกกิจกรรมการเรียนรู้(สุดใจ เกตุเดชา.2556 : 18-20)ดงั น้ี 1.6.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่นอ้ ยเกินไป ไมม่ ากเกินไป ไม่สุดโต่งไปขา้ งใด ขา้ งหน่ึง และไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน เป็นการรู้ตน รู้ประมาณ มีความพอเหมาะกบั สภาพของตน ตามความจาเป็น พอควรกบั งบประมาณที่มีอยูแ่ ละทางสังคม โดยไม่โลภจนเบียดเบียนตวั เอง และผูอ้ ่ืน เช่น การใชร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มูล ในการจดั เก็บขอ้ มูลระบบฐานขอ้ มูลพจะตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ความคุม้ คา่ ตอ่ ผใู้ ชแ้ ละบริบทของหน่วยงาน เป็นตน้ 1.6.2 ความมีเหตุผล หมายถึง ทุกการตดั สินใจ การกระทา การลงทุน ตอ้ งเป็ นไปอย่างมีเหตุผล คานึงถึงเหตุปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งและผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนอยา่ งรอบคอบ เป็ นการรอบรู้และมีสติรู้เหตุ รู้ผล รู้สาเหตุ รู้ปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ ง รู้ผลกระทบที่จะเกิดข้ึนในดา้ นต่าง ๆ มีเหตุผลมีผล ไมป่ ระมาทและมีวิจยั เช่น เลือกใชร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มูล อย่างคุม้ ค่าอยา่ งประหยดั ใช้จ่ายอยา่ งมีเหตุผล ตามความจาเป็น และใชห้ ลกั วชิ าการในระบบฐานขอ้ มูล เป็นตน้ 1.6.3 การมีภูมิคุม้ กนั ท่ีดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมท่ีจะเผชิญผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนจากท้งั ภายใน และภายนอก เป็นการรู้กาล รู้บุคคล และรู้ชุมชน มีการเรียนรู้ มีสุขภาพดี มีการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง ทาประโยชน์ให้กบั ผูอ้ ่ืนและสังคม พร้อมรับความเสี่ยงต่าง ๆ เช่น การใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลจะตอ้ งใชค้ วามรู้ ความเขา้ ใจในระบบจดั การฐานขอ้ มูลที่ส่ือสารไดอ้ ยา่ งดีไมเ่ กิดผลเสียดา้ นลบ เป็นตน้ 1.6.4 มีความรู้ หมายถึง มีความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ในการนาความรู้ วิทยาการเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการปฏิบตั ิในการใช้ระบบจดั การฐานขอ้ มูล เช่น การจดั เก็บขอ้ มูล การเรียกใชข้ อ้ มูล การแกไ้ ขปรับปรุงขอ้ มูล การลบขอ้ มูล การทางานพร้อม ๆ กนั ของผใู้ ช้ การสารอง และการเรียกคืนขอ้ มูล จะตอ้ งใชห้ ลกั วชิ าและประสบการณ์อยา่ งมีสติ เพ่อื ทางานให้ไดล้ ุล่วงกบั งานน้นั ๆ ไดอ้ ยา่ งสมดุลไม่กระทบกระเทือนตอ่ ผอู้ ื่น เป็นตน้

(14) 1.6.5 มีคุณธรรม หมายถึง มีความตระหนกั มีความซื่อสัตยส์ ุจริต มีความอดทน มีความเพียรและใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต เช่น ผูบ้ ริหารฐานขอ้ มูลจาเป็ นตอ้ งมีความเสียสละอดทนในการสร้างฐานขอ้ มูลใหส้ าเร็จและเกิดคุณค่าตอ่ ทุกคนในอนาคต เป็นตน้ ทางสายกลาง พอประมา ณมีเหตผุ ล มภี มู ิค้มุ กนั ในตวั ท่ี ดีเง่ือนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม(รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซ่ือสัตย์ สุจริต เพยี ร มีสติปัญญา แบง่ ปัน) นา สู่สมดลุ และพร้อมรับตอ่ การเปล่ียนแปลง เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม และวฒั นาธรรมภาพท่ี 1.42 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา : สุดใจ เกตุเดชา (2556 : 19)สรุปสาระสาคญั ระบบสารสนเทศ คือการจดั เก็บรวบรวมขอ้ มูลต่าง ๆ ที่มีความสัมพนั ธ์กนั เก่ียวขอ้ งกนั แลว้นามาผ่านกระบวนการจดั การทางด้านขอ้ มูล เพ่ือให้ไดอ้ อกมาเป็ นผลลพั ธ์ที่อยู่ในรูปแบบรายงานสรุปผล ซ่ึงตอบสนองความตอ้ งการขององคก์ ร และผูบ้ ริหารสามารถนาไปสนบั สนุนการตดั สินคา้ซ่ึงมีการประมวลผล 2 แบบดงั น้ี ระบบแฟ้มขอ้ มูล และระบบฐานขอ้ มูล โครงสร้างขอ้ มูลการเก็บขอ้ มูลของแฟ้มขอ้ มูล คือหน่วยของขอ้ มูลท่ีเกิดจากการนาขอ้ มูลหลาย ๆ ระเบียนท่ีเป็ นเร่ืองเดียวกันมารวมกัน ส่วนฐานข้อมูล คือการเก็บรวบรวมข้อมูลของแฟ้มขอ้ มูลที่มีความสัมพนั ธ์กนั ไวด้ ้วยกนั ส่วนองค์ประกอบของระบบฐานขอ้ มูล ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ขอ้ มูล ขอ้ มูล บุคลากร ระบบจดั การฐานขอ้ มูล หมายถึง โปรแกรมชนิดหน่ึงท่ีถูกสร้างข้ึนมาเพื่อทาหนา้ ท่ีในการจดั การขอ้ มูล เช่น การเพิม่ ลบหรือแกไ้ ขขอ้ มูล การป้องกนั ความขดั แยง้ กนั ของขอ้ มูล การป้องกนั และแกไ้ ขความเสียหายของขอ้ มูล รวมไปถึงการใช้ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูลร่วมกนั ของโปรแกรมประยกุ ต์

(15)ต่าง ๆ และกาหนดสิทธ์ิในการเรียกใช้ขอ้ มูลจากฐานขอ้ มูล ผลิตภณั ฑ์ระบบจัดการฐานข้อมูลแบ่งเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ประเภทเชิงพาณิชยแ์ ละระบบจดั การฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ประเภทโอเพนซอร์ส หลกั การใชร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มูลแบบบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งการจดั การเรียนการสอนวชิ าระบบจดั การฐานขอ้ มูล ไดเ้ ช่ือมโยงกบั หลกั คิดและหลกั ปฏิบตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งประกอบดว้ ย 3 ห่วง 2 เงื่อนไขและ 4 สมดุลหมายถึง ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรมเอกสารอ้างองิธชั ชยั จาลอง. คู่มือใช้งาน Microsoft Office 2013 ฉบบั สมบูรณ์. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . 2557.ธชั ชยั จาลอง. คู่มือใช้งาน Access 2013. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . 2558.นรีรัตน์ นิยมไทย และศรีสลาลกั ษณ์ อินทรสุวรรณ. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพ ฯ : ศูนยส์ ่งเสริม วชิ าการ. 2549.ราชบณั ฑิตยสถาน. ศัพท์คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน. พมิ พค์ ร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์พบั ลิเคชนั่ ส์. 2549.วเิ ชียร เปรมชยั สวสั ด์ิ. ระบบฐานข้อมูล. พมิ พค์ ร้ังท่ี 18. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ป่ ุน). 2555.ศิริภทั รา เหมือนมาลยั . ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพ ฯ : เอมพนั ธ์. 2549.

(16)สุดใจ เกตุเดชา. หนังสือเรียนโครงงานวทิ ยาศาสตร์. นนทบุรี : ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย. 2556.สิทธิชยั ประสานวงศ.์ การใช้โปรแกรมฐานข้อมูล. กรุงเทพ ฯ : ซอฟตเ์ พรส. 2556.สมจิตร อาจอินทร์และงามนิจ อาจอินทร์. ระบบฐานข้อมูล. ขอนแก่น: ศูนยห์ นงั สือมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. 2541.สมจิตร อาจอินทร์และงามนิจ อาจอินทร์. หลกั การวเิ คราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล. พมิ พค์ ร้ังที่ 2. ขอนแก่น: ศูนยห์ นงั สือมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. 2550.โอภาส เอ่ียมสิริวงศ.์ ระบบฐานข้อมูล (Database System). กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ . 2558.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook