Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฎิบัติการป้องกันการทุจริต

แผนปฎิบัติการป้องกันการทุจริต

Published by สพป.ราชบุรี เขต 2, 2022-07-11 03:26:22

Description: O39 แผนปฎิบัติการป้องกันการทุจริต

Search

Read the Text Version



คำนำ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดาเนินการภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสถานศึกษาและสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับยุทธสาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การตอ่ ต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วยสาระสาคญั คอื ส่วนท่ี 1 บทนา นาเสนอความเป็นมาการป้องกันการ ทุจริต บทวิเคราะห์ สถานการณ์ทุจริต ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่วนที่ 2 บริบทที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ นโยบาย และคาสั่งทเี่ กี่ยวขอ้ ง ส่วนท่ี 3 แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันการทุจรติ สานกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แสดงรายละเอียดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว ความเช่ือมโยงของการจัดทาแผน และข้อมูลชื่อโครงการ ตัวช้วี ัดและค่าเป้าหมาย และงบประมาณ ขอขอบพระคุณหน่วยงานและผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือในการจัดทาแผนปฏิบตั ิการป้องกัน การทุจริต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จนสาเร็จ เพ่ือเป็นกรอบ ทิศทางในการดาเนินการป้องกันการทุจริตที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และ นโยบายสาคัญ อันจะสง่ ผลให้ การทจุ ริตในการปฏิบตั ิราชการลดนอ้ ยลง สำนักงำนเขตพ้นื ท่กี ำรศกึ ษำประถมศึกษำรำชบุรี เขต ๒ ก

สารบญั หนา้ คำนำ................................................................................................................................. ก สำรบญั ............................................................................................................................. ข สว่ นท่ี 1 บทนำ................................................................................................................ 1 ความเป็นมา....................................................................................................... 1 ข้อมลู ของสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา .............................................................. 2 การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 .......... 10 การนาผลการประเมิน ITA ไปสกู่ ารปรบั ปรุงแก้ไขการดาเนินงาน ...................... 14 แนวทางการจดั ทาแผนปฏิบตั ิการป้องกนั การทุจรติ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.......................... 15 สว่ นท่ี 2 บริบทที่เกี่ยวข้อง............................................................................................... 16 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560...................................... 16 ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี............................................................................... 17 แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น การต่อต้านการทจุ ริตและ ประพฤตมิ ิชอบ................................................................................................... 18 นโยบายรฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา ที่แถลงต่อสภานติ ิบญั ญตั ิแห่งชาติ… 26 ส่วนที่ 3 แผนปฏบิ ัตกิ ำรป้องกนั กำรทจุ รติ ของสำนักงำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำ .................... 27 โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา และสานักงานเขตพน้ื ที่ศึกษา ............................................................................. 27 แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั การทจุ รติ ของสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564............................................... 37 แบบสรปุ โครงการ/กิจกรรม................................................................................ 47 ข

สว่ นที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำ การทุจริตในสังคมไทยระหว่างช่วงเวลากว่าทศวรรษ ส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาลและ เป็นอุปสรรค สาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมที่เป็นทุจริต ทางตรงไม่ซับซ้อน อาทิ การรับสินบน การจัดซ้ือจัดจ้าง ในปัจจุบันได้ปรับเปล่ียนเป็นการทุจริตท่ีซับซ้อน มากขึ้นตัวอย่างเช่น การทุจริต เชิงนโยบาย การทุจริตข้ามแดนข้ามชาติ ซ่ึงเชื่อมโยงไปสู่อาชญากรรมอ่ืนๆ มากมายและส่งผลกระทบทางลบ ในวงกวา้ ง ปัจจุบัน ทุกภาคส่วนในสังคมมีความต่ืนตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปราม การทุจริต ตามบทบาทและภาระหน้าที่ของตนเองเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การรับรู้การทุจริตของประเทศ ไทยยังจาเป็นต้องไดร้ ับ การพัฒนา อันสะทอ้ นได้จากดชั นกี ารรบั รู้การทจุ ริตของประเทศไทยจากข้อมูลดัชนีวัด ภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) ปี 2564 ประเทศไทยได้ 35 คะแนน โดยมีคะแนนน้อยกว่าปี 2563 โดยในปีนี้จัดอยู่ในอันดับท่ี 110 ของโลก จากจานวนทั้งหมด 180 ประเทศ ทั่วโลก แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยยังมีการทุจริตคอร์รัปชัน อยู่ในระดับสูง และสมควรได้รับการแก้ไข อย่างเร่งด่วน ซึ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้าน การทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้กาหนดเป้าหมายหลักเพื่อให้ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผ่านการพัฒนาคน และการพัฒนาระบบ เพื่อป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ความสาคัญกับการปรับและหล่อหลอม พฤติกรรม “คน” ทุกกลุ่ม ในสังคมให้มีจิตสานึกและพฤติกรรมยึดม่ันในความซื่อสัตย์สุจริต และการส่งเสริม การพัฒนานวัตกรรมในการ ต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐที่เหมาะสมกับบริบท สภาพปัญหา และพลวัตการทุจริต ของแต่ละ หน่วยงาน รวมท้ังการเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานของกระบวนการ และกลไกที่เกี่ยวข้องในการปราบปรามการทุจริต สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ท้ังระบบให้มีมาตรฐานสากล เพื่อสร้างสังคมที่มีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง และมีปัจจัย ความสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์ คอื ทุกภาคส่วนร่วมสง่ เสรมิ การกล่อมเกลาทางสังคมและส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกชว่ งวัยต้ังแตป่ ฐมวัย ม่งุ เน้นการปรบั พฤติกรรม “คน” โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตสานึกความเปน็ พลเมืองที่ดี มีวัฒนธรรมสจุ รติ สามารถแยกแยะได้วา่ ส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนตน สิ่งใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด ไม่เพิกเฉย ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึงการส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมสุจริตของหน่วยงานในสังกัด เพ่ือนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมค่านิยมที่ยึดประโยชน์ สาธารณะมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะ การส่งเสริมวัฒนธรรมสุจริตผ่านหลักสูตรการศึกษา ต้านทุจริตศึกษา เพื่อปฏิรูป “พลเมืองไทยในอนาคต” ให้มีความเป็นพลเมืองเต็มข้ัน สามารถทาหน้าที่เป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสานึกยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต มคี วามรับผิดชอบตอ่ ส่วนรวมมรี ะเบียบวนิ ัยและเคารพกฎหมาย นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ถือเป็นยุทธศาสตร์หลักของการพัฒนา ประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมทั้งการปรับ โครงสร้างประเทศไทยไปสู่ ประเทศไทย 4.0 โดยกาหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมท้ังแผนงาน/โครงการ สาคญั ทต่ี ้องดาเนินการให้เหน็ ผลเป็นรปู ธรรม ๑

ในช่วง 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อเตรียมความพร้อมของคน สังคม และระบบ เศรษฐกิจของประเทศ ให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรก์ ารปลูกฝัง “คนไทยไม่โกง” และยุทธศาสตรก์ ารป้องกนั ด้วยการเสรมิ สร้างสังคม ธรรมาภบิ าล ของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อีกดว้ ย สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพ่ือให้ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ แปลงแนวทางและมาตรการตามยุทธศาสตร์ชาติฯ ไปสู่การปฏิบัติ โดยกาหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้ยึดกรอบยุทธศาสตร์หลัก ท่ีใช้ในการจัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้คานึงถึงความสอดคล้อง กับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทบูรณาการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ จึงนามาสู่ การจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบบั น้ี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการป้องกัน การทุจริต สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการดาเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายสาคัญ อันจะส่งผลให้ การทุจริตในการปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการสังกัด กระทรวงศึกษาธิการลดน้อยลง ข้อมลู ของสำนกั งำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำรำชบรุ ี เขต ๒ สภำพท่ัวไป ทต่ี ้ังและอำณำเขต สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตั้งอยู่เลขที่ 56 หมู่ท่ี 4 ถนนโพธาราม – บ้านเลือก ตาบลบ้านเลือก อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรีมีพ้ืนท่ีครอบคลุม 4 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม อาเภอดาเนินสะดวก และอาเภอบางแพ พื้นที่ท้ังหมดประมาณ 1,166.436 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 52 ตาบล 509 หมู่บ้าน เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลตาบล 19 แห่ง องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 34 แหง่ มอี าณาเขตติดต่อกับจงั หวัดใกลเ้ คียง ดงั นี้ ทศิ เหนอื ติดต่อกับอาเภอกาแพงแสน อาเภอเมอื งนครปฐม จังหวัดนครปฐม ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั อาเภอเมืองราชบุรี จงั หวัดราชบรุ ี อาเภอบางคนที จงั หวัดสมทุ รสงคราม ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับอาเภอบ้านแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อาเภอจอมบึง จงั หวัดราชบุรี ติดต่อกบั อาเภอท่าม่วง อาเภอทา่ มะกา อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่ม จากลักษณะท่ีต้ังของอาเภอท่ีทอดยาวจากทิศตะวันออก สู่ทิศตะวันตก โดยมีแม่น้าแม่กลองไหลผ่าน จึงมีพ้ืนที่ทั้งฝ่ังตะวันออกและฝ่ังตะวันตกของแม่น้าแม่กลอง พ้นื ทส่ี ่วนหนึ่งซงึ่ อยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่นา้ แม่กลองเป็นท่ีราบสงู สลับกับเขาและเนินเขา ประชาชนสว่ นใหญ่ ๒

ประกอบอาชีพทาการเกษตร พื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลองมีประชาชนอยู่หนาแน่น การคมนาคมและ การสาธารณปู โภคค่อนข้างสมบูรณ์ ลักษณะภูมิอากาศไม่ร้อนจัดและไม่หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ย 28.7 องศาเซลเซียส ฤดูร้อนเริ่มต้น ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดูฝนเร่ิมต้ังแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวเริ่มต้ังแต่ เดือนพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นมกราคม ในฤดฝู นจะมีฝนตกชุกในเดือนกนั ยายน การคมนาคม มีเส้นทางคมนาคมได้ 3 ทาง คือ 1. ทางเรอื ใช้ในทอ้ งทต่ี ดิ แมน่ ้าแม่กลอง 2. ทางรถยนต์ 3. ทางรถไฟ แหล่งวัฒนธรรม/แหล่งเรยี นรู้ ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี มีหลากหลายเช้ือชาติ และยังคงธารงรักษาไว้ อำเภอบ้ำนโป่ง ได้แก่ สระน้าโกสินารายณ์วัดม่วง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดม่วง บึงกระจับ อำเภอโพธำรำม ได้แก่ วัดขนอนหนังใหญ่ ค่ายหลวงบ้านไร่ จิตรกรรมฝาผนังวัดคงคาราม ค้างคาววัดเขาช่องพราน วัดถา้ นา้ วนอุทยานเขาน้อย ถ้าสาลิกา ตลาดเก่า 119 ปี เจ็ดเสมียน อำเภอดำเนินสะดวก ได้แก่ ตลาดน้าดาเนินสะดวก ตลาดน้าดาเนินฯ เก่า (คลองลัดพลี) ศาลวิหาร หลวงพ่อบ้านแหลม หลวงพ่อเขาตะเครา ศูนย์วัฒนธรรม 8 ชนเผ่า วัดหลวงพ่อสด ธรรมกายาราม บ้านไทยทรงดา ตลาดน้าวัดประสาทสิทธ์ิ อำเภอบำงแพ ได้แก่ อุทยานหุ่นข้ีผึ้งสยาม ศาลเจ้าแม่ล้ิมกอเหน่ียว ภำษำ ภาษาส่วนใหญ่ใช้ภาษาไทยและภาษาอ่ืน ๆ เล็กน้อย เช่น ลาว มอญ จีน ศำสนำ ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ และมีนับถือศาสนาคริสต์เล็กน้อย ๓

แผนที่จงั หวัดรำชบรุ ี ๔

ขอ้ มลู ทำงกำรศึกษำ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ มีสถานศึกษา บุคลากรและนักเรียน ในความรับผิดชอบ ครอบคลุมพื้นที่ ๔ อาเภอ ประกอบด้วยอาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม อาเภอบางแพ และอาเภอดาเนินสะดวก ดงั น้ี ตารางที่ ๑ จานวนสถานศึกษาจาแนกตามอาเภอ อำเภอ โรงเรียน ผ้บู ริหำร รอง ครู/ พนักงำน นักเรียน คร:ู นักเรยี น ผู้บริหำร ครูผู้ช่วย รำชกำร บา้ นโป่ง ๔7 3๔ 376 6,417 16.75 โพธาราม ๕๑ 32 4 422 7 7,267 17.09 ดาเนนิ สะดวก ๒๕ 20 2 244 3 4,819 19.35 บางแพ ๒๔ 14 6 131 5 2,594 18.93 ๑๔7 100 1 1,173 6 21,097 17.67 รวม 13 21 ขอ้ มลู 10 มิ.ย. 25๖5 ตารางท่ี 2 จานวนสถานศกึ ษาในสังกดั จาแนกตามขนาด อำเภอ จำนวนสถำนศกึ ษำจำแนกตำมขนำด รวม 120 คนลงมำ 121 - 600 คน 601 - 1,50๐ คน 1,500 คนขึน้ ไป บ้านโป่ง ๒5 ๒2 0 0 ๔7 โพธาราม 22 28 ๑ 0 ๕1 ดาเนินสะดวก ด ๑3 10 ๒ 0 ๒๕ บางแพ ๑8 6 0 0 ๒๔ รวม 78 66 3 0 ๑๔7 ขอ้ มูล 10 มิ.ย. 25๖5 ๕

ตารางท่ี ๓ จานวนนกั เรียน ห้องเรยี น ปกี ารศึกษา 25๖5 ระดับอนบุ าล – มธั ยมศึกษาตอนตน้ จาแนกระดับช้นั และจาแนกรายอาเภอ อำเภอ ก่อนประถมศึกษำ ประถมศึกษำ มธั ยมศึกตอนต้น รวม บ้านโป่ง หอ้ ง นักเรยี น ห้อง นักเรียน หอ้ ง นกั เรยี น ห้อง นักเรยี น โพธาราม ดาเนนิ สะดวก 106 1,391 291 4,011 50 1,025 447 6,417 บางแพ 121 1,681 321 4,862 42 723 484 7,267 รวม 64 992 188 3,438 25 389 271 4,819 52 600 150 1,904 6 90 208 2,594 343 4,664 950 14,215 123 2,227 1,410 21,097 ข้อมูล 10 ม.ิ ย. 25๖5 ตารางท่ี 4 จานวนนกั เรียน จาแนกตามชั้นเรยี นและเพศ ปีการศกึ ษา 25๖5 ระดบั ช้นั จำนวนนกั เรียน อนุบาล 1 ชำย หญงิ รวม อนุบาล 2 221 อนบุ าล 3 1,094 180 401 1,183 รวมระดับก่อนประถม 2,498 990 2,084 ประถมศึกษาปที ี่ 1 1,214 ประถมศึกษาปที ี่ 2 1,201 996 2,179 ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1,182 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 1,311 2,166 4,664 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 1,290 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 1,198 1,120 2,334 7,396 รวมระดับประถมศึกษำ 453 1,134 2,335 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 443 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 376 1,104 2,286 มัธยมศึกษาปที ่ี 3 1,272 11,166 1,162 2,473 รวมระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ รวมท้ังสิน้ 1,161 2,451 1,138 2,336 6,819 14,215 368 821 321 764 257 633 946 2,218 9,931 21,097 ขอ้ มูล 10 ม.ิ ย. 25๖5 ๖

ตารางที่ 5 จานวนข้าราชการครูและบคุ ลากรตามโครงสรา้ งท่ปี ฏบิ ัติงาน ในสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 จานวนตามกล่มุ และระดบั การศึกษา กล่มุ ตำมโครงสร้ำง ขำ้ รำชกำรครูและบุคลำกร ระดบั กำรศึกษำ ทำงกำรศึกษำ 1. ผอ.สพท. ตำ่ 2. รอง ผอ.สพท. ที่ปฏิบัตงิ ำนใน สพป.รบ.2 กว่ำ ป.ตรี ป.โท ป. รวม 3. กลมุ่ อานวยการ ตำม ตำม ป.ตรี เอก 4. กลมุ่ บริหารงานบคุ คล มำตรำ มำตรำ รวม 5. กลุ่มนโยบายและแผน 38 ข 38 ค - - -1 1 6. กล่มุ ส่งเสริม (3), (4) (1),(2) - - 12 3 การจดั การศกึ ษา 1 -1 - 3 2- 5 7. 7. กลุม่ นิเทศ ตดิ ตามและ 3 -3 - 2 2- 4 ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา - 55 - 3 3- 6 8. กลุ่มบรหิ ารงานการเงนิ - 44 1 3 2- 6 - 66 และสินทรัพย์ - 66 - 1 10 - 11 9. กลุ่มสง่ เสรมิ การศกึ ษา ทางไกลเทคโนโลยสี ารสนเทศ - 11 11 26 -- 8 และการส่ือสาร 10. กลุ่มพัฒนาบคุ ลากรทาง - 88 - - -- - การศกึ ษา - -- - 1 -- 1 11. หนว่ ยตรวจสอบภายใน 12. กลมุ่ กฎหมายและคดี -1 - 1 -- 1 1 - 1 -- 1 รวม 3 21 20 3 47 - 11 ข้อมลู ตาม จ. 18 ณ 10 ม.ิ ย. 25๖5 - 11 4 43 47 ๗

ตารางท่ี 6 บุคลากรในสถานศึกษาสงั กัด สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 เฉพาะมีตัว บุคลำกรในสถำนศึกษำ จำนวน ข้ำรำชกำรครู - ผู้อำนวยกำรโรงเรียน 100 - รองผู้อำนวยกำรโรงเรียน 13 - ข้ำรำชกำรครู 1,106 พนักงำนรำชกำร (สำยผู้สอน) 28 ลกู จ้ำงประจำ 29 ลูกจ้ำงชว่ั ครำว 288 รวมบุคลำกรในสถำนศึกษำ 1,564 ขอ้ มลู ตาม จ. 18 ณ 10 ม.ิ ย. 25๖5 ๘

แผนภูมิโครงสรำ้ งกำรบริหำรงำน สำนกั งำนเขตพ้ืนที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำรำชบุรี เขต 2 ผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศกึ ษำ หนว่ ยตรวจสอบ คณะกรรมกำรตดิ ตำม ภำยใน ตรวจสอบประเมนิ ผล และนเิ ทศกำรศกึ ษำ กลุ่มกฎหมำย และคดี รองผู้อำนวยกำรสำนักงำน และคดี เขตพืน้ ทก่ี ำรศกึ ษำ กลุ่มนิเทศ ตดิ ตำม กลุม่ บรหิ ำรงำน กลุ่มนโยบำย กลุ่มบรหิ ำร และประเมนิ ผล กำรเงินและ และแผน งำนบคุ คล กำรจัดกำรศึกษำ สนิ ทรพั ย์ กลมุ่ พัฒนำครู กลุ่มส่งเสรมิ กลมุ่ อำนวยกำร กล่มุ สง่ เสริม และบุคลำกร กำรจดั กำร กำรศกึ ษำทำงไกล ทำงกำรศกึ ษำ ศกึ ษำ เทคโนโลยี สำรสนเทศ และกำรสื่อสำร สถำนศกึ ษำ คณะกรรมกำร สถำนศกึ ษำ ข้ันพนื้ ฐำน ๙

กำรวิเครำะห์ผลกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขต พื้นท่ีกำรศึกษำออนไลน์ ( Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำรำชบรุ ี เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากจะเป็นหน่วยงานระดับกรมทีร่ ับการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานจากสานักงาน ป.ป.ช. แล้ว ยังเป็นหน่วยงานท่ีนาเครื่องมือ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ไ ป ข ย า ย ผ ล จ น ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 (ITA Awards) ในฐานะหน่วยงานที่ได้นาการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการ ดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ไปขยายผลเพ่ือพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปรง่ ใส ในหน่วยงานจนประสบ ความสาเร็จ โดยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา จานวน 225 เขต มาอยา่ งตอ่ เนื่อง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 –2564สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้พัฒนา นวัตกรรมการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาในรูปแบบ ออนไลน์ โดยมีแนวคิดการพัฒนา นวัตกรรมการประเมินด้วยระบบ ITA Online เพื่อความสะดวกในการ จัดเก็บข้อมูล รวดเร็วในการวิเคราะห์และประมวลผล โปร่งใสตรวจสอบได้ด้วยระบบเวลาจริง (Real-time system) และการประเมินมีประสิทธิภำพ ลดภาระงาน ด้านเอกสาร (Paperless) ของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาทร่ี ับการประเมินโดยปรบั ปรุงระบบการเก็บข้อมลู ให้เป็นแบบ ออนไลนเ์ ต็มรูปแบบ สาหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งถือเป็นการดาเนินการมาอย่างต่อเน่ือง เข้าสู่ปีที่ 7 สานักงาน คณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน ได้ดาเนินการพัฒนาและออกแบบระบบการประเมินในครั้งนี้ให้ง่าย ต่อการใช้งาน ลดความยุ่งยาก ซับซ้อน ในการนาเข้าข้อมูล และคานึงถึงความสะดวกในการตอบคาถาม แบบสารวจของผ้ทู ่ีเกี่ยวขอ้ ง นอกจำกนี้ ผลกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศกึ ษำ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ยังถูกกำหนดเป็นตัวช้วี ัดตำมมำตรกำรปรบั ปรุงประสทิ ธิภำพ ในกำรปฏิบัติรำชกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ตัวช้ีวัดที่ 6.4 กำรกำกับดูแลกำรทุจริต ในส่วนของกำรประเมิน กำรกำกับดูแลกำรทุจรติ ของผบู้ ริหำรองค์กำรอีกด้วย เกณฑ์กำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) เกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 น้ัน ได้ให้ความสาคัญในการพัฒนาเกณฑ์การประเมินให้เกิดการสนับสนุน ต่อการยกระดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ศึกษาข้อมูลจากผลการวิจัย เร่ือง แนวทางการปรับปรุงและแนวการพัฒนา เครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เพ่ือนาไปสู่ การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทยให้สูงข้ึน ซึ่งการวิจัยดังกล่าวได้สังเคราะห์ ประเด็นการสารวจของแต่ละแหล่งข้อมูลท่ีองค์กร ความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) 10

นามาใช้ในการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต ประกอบกับการศึกษาข้อมูลทางวิชาการเพ่ิมเติม การเช่ือมโยง ให้เกิดความต่อเนื่องกับเกณฑ์การประเมินเดิม และการเช่ือมโยงกับ เคร่ืองมืออ่ืนที่เกี่ยวข้อง ทาให้เกณฑ์การ ประเมินมีเนื้อหาครอบคลุมหลายด้าน ซึ่งเก่ียวข้องกับคุณธรรม ความโปร่งใส และการทุจริต ท้ังท่ีมีลักษณะ การทจุ ริตทางตรงและการทุจริตทางอ้อมรวมไปถึงบรบิ ทแวดล้อมท่ีเก่ียวข้องกับการทจุ ริต ซ่ึงจะเปน็ ประโยชน์ ต่อหน่วยงานในการนาไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ลดโอกาสหรือความเส่ียงที่จะเกิดการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ และสง่ ผลต่อการยกระดับคะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได้ โดยจาแนกออกเปน็ 10 ตวั ชี้วดั ได้แก่ 1) การปฏบิ ัติหน้าที่ 2) การใชง้ บประมาณ 3) การใชอ้ านาจ 4) การใช้ทรพั ย์สินของราชการ 5) การแกไ้ ขปัญหาการทจุ รติ 6) คณุ ภาพการดาเนินงาน 7) ประสทิ ธิภาพการส่อื สาร 8) การปรบั ปรุงระบบการทางาน 9) การเปิดเผยข้อมลู 10) การปอ้ งกันการทุจริต เครื่องมือในกำรประเมินคุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนักงำนเขตพ้ืนที่ กำรศึกษำออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมิน จาแนกออกเปน็ 3 เครือ่ งมือ ดังน้ี 1) แบบวัดกำรรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ที่มีต่อหน่วยงานตนเอง ในตัวชี้วัด การปฏิบัติหน้าที่ การใช้งบประมาณ การใช้อานาจ การใช้ทรัพย์สิน ของราชการ และการแกไ้ ขปญั หาการทุจรติ 2) แบบวัดกำรรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภำยนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ที่มีต่อหน่วยงานที่ประเมิน ในตัวชี้วัดคุณภาพการดาเนินงาน ประสิทธิภาพการส่อื สาร และการปรับปรุงระบบ การทางาน 3) แบบตรวจกำรเปิดเผยข้อมูลสำธำรณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทว่ั ไปสามารถเข้าถึงได้ในตวั ชว้ี ดั การเปดิ เผยข้อมลู และการปอ้ งกันการทจุ ริต 11

ตัวช้ีวัดท่ี ประเด็นตวั ชี้วดั คะแนน ระดับ หมำยเหตุ AA ผ่าน 1 การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี 95.57 A ผ่าน A ผ่าน 2 การใชง้ บประมาณ 86.47 A ผ่าน A ผ่าน 3 การใชอ้ านาจ 88.60 AA ผา่ น A ผา่ น 4 การใช้ทรัพย์สินทางราชการ 85.45 A ผ่าน A ผา่ น 5 การแก้ปัญหาการทุจรติ 89.21 AA ผ่าน 6 คณุ ภาพการดาเนินงาน 96.46 7 ประสิทธภิ าพการสื่อสาร 91.84 8 การปรับปรงุ ระบบการทางาน 90.97 9 การเปดิ เผยข้อมลู 91.00 10 การปอ้ งกนั การทจุ ริต 100 หมายเหตุ : คะแนนและระดับผลการประเมิน ผลกำรประเมินคณุ ธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนนิ งำนของสำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ 1.1 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในภาพรวมระดับประเทศ จากการประเมินสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา ท้ังสิ้น 225 เขต ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 92.55 ซึ่งถือว่ามีคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนนิ งานอยูใ่ น ระดับ A (Very Good) 1.2 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้คะแนน ๙๒.85 ซึ่งถือว่ามีคุณธรรมและ ความโปร่งใส ในการดาเนินงานอยู่ใน ระดับ A (Very Good) โดย ตัวช้ีวัดการป้องกันการทุจริต ได้คะแนน สูงสุด 100คะแนน ส่วนตัวชี้วัดที่ได้คะแนนต่ากว่าตัวช้ีวัดอื่น ๆ คือ ตัวช้ีวัดการใช้ทรัพย์สินทางราชการ ไดค้ ะแนน 85.45 คะแนน 1.3 ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ทผ่ี า่ นมา (พ.ศ. 2558 – 2564) สรปุ ไดด้ ังนี้ 12

ปงี บประมำณ พ.ศ. ผลคะแนน ITA พัฒนำกำร ผลต่ำงของคะแนน ITA 2558 48.92 - - 2559 82.38 -2.54 2560 89.18 ลดลง +6.80 2561 84.60 เพิม่ ข้ึน -4.58 2562 85.14 ลดลง +0.54 2563 83.60 เพ่ิมขน้ึ -1.54 2564 92.85 ลดลง +9.25 เพิ่มข้นึ 1.4 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ เป็นรายตัวช้ีวัด ซ่ึงได้จากการสารวจความคิดเห็นของบุคลากรและเจ้าหน้าท่ี ท่ีปฏิบัติงานใน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา และจากเอกสาร หลักฐานการเปิดเผยข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เรียงตามลาดับคะแนนได้ ดงั น้ี ระดับ คะแนน หมำยเหตุ A Excellence 95.00 – 100 ผ่าน A Very Good 85.00 – 94.99 ผ่าน B Good 75.00 – 84.99 ไม่ผ่าน C Fair 65.00 – 74.99 ไม่ผ่าน D Poor 55.00 – 64.99 ไมผ่ า่ น E Extremely Poor 50.00 – 54.99 ไม่ผ่าน F Fail 0 – 49.99 ไม่ผ่าน 13

กำรนำผลกำรประเมนิ ITA ไปส่กู ำรปรบั ปรงุ แก้ไขกำรดำเนนิ งำน จากผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๒ เปน็ รายตัวช้ีวดั พบว่าตัวชี้วดั ทห่ี นว่ ยงานควรมีการพัฒนาและยกระดับให้ดียิ่งข้ึน (มคี ะแนน ตา่ กวา่ ร้อยละ ๙5) มีดังนี้ 2. กำรใชง้ บประมำณ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจะต้องจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีและเผยแพร่ อย่างโปร่งใส ใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์และไม่เอื้อประโยชน์ แก่ตนเอง หรือพวกพ้อง และต้องเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่าย งบประมาณของหน่วยงาน ตนเองได้ 3. กำรใช้อำนำจ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาจะต้องมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการมอบหมายงาน การประเมินผล การปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพื่อให้สิทธิประโยชน์ต่างๆ ซึ่งจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมและไม่เลือก ปฏบิ ัติ 4. กำรใช้ทรพั ย์สนิ ของรำชกำร สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาจะต้องมีการจัดทาแนวทางปฏิบัตเิ ก่ียวกบั การใช้ทรัพย์สินของราชการ ที่ถูกต้อง เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบและนาไปปฏิบัติ รวมไปถึงหน่วยงานจะต้องมีการกากับ ดแู ล และตรวจสอบการใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการของหน่วยงานด้วย 5. กำรแก้ไขปัญหำกำรทุจริต สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จะต้องทบทวนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริต ในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และจัดทาแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน เพ่ือให้เกดิ การแก้ไขปญั หาการทจุ รติ ได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม รวมไปถึงการประเมินเกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพการแก้ไข ปัญหาการทุจริตของหน่วยงานที่จะต้องทาให้การทุจริตในหน่วยงานลดลงหรือไม่มีเลย และจะต้องสร้างความ เช่ือม่ันให้บุคลกรภายใน ในการร้องเรียนเม่ือพบเห็นการทุจริตภายในหน่วยงานด้วย นอกจากน้ี หน่วยงาน จะต้องมีกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายในหน่วยงาน รวมถึงการนาผลการตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบ จากท้ังภายในและภายนอกหน่วยงานไปปรับปรุงการทางาน เพ่ือป้องกันการทุจริต ในหนว่ ยงาน 7. แนวทำงกำรพฒั นำประสิทธภิ ำพกำรสอ่ื กำร สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจะต้องเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานในเรื่องต่างๆ ต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลท่ีเผยแพร่ต้องถูกต้องครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผลการดาเนินงานของหน่วยงานและข้อมูลท่ีสาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งคาติชมหรือ ความคิดเห็นเก่ียวกับการดาเนินงาน/การให้บริการ และมีการชี้แจงในกรณีที่มีข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน รวมถงึ จัดใหม้ ชี ่องทางใหผ้ มู้ าติดต่อสามารถรอ้ งเรียนการทจุ ริตของเจา้ หนา้ ที่ในหน่วยงาน 8. แนวทำงกำรปรบั ปรงุ ระบบกำรทำงำน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจะต้องปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ท้ังการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และกระบวนการทางานของหน่วยงานให้ดีย่ิงขึ้น รวมไปถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงาน เพ่ือให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากย่ิงขึ้น โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุง พัฒนา การดาเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ และควร ให้ความสาคญั กับการปรับปรงุ การดาเนนิ งานให้มีความโปร่งใสมากขน้ึ 14

9. กำรเปิดเผยข้อมูล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจะต้องเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบ ใน 5 ประเด็น คือ (1) ข้อมูลพ้ืนฐาน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล (2) การบริหารงาน ได้แก่ แผนดาเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ (3) การบริหารเงินงบประมาณ ไดแ้ ก่ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปี และการจัดซอื้ จัดจา้ งหรือการจัดหาพัสดุ (4) การบริหารและพฒั นา ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากร บุคคล และหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และ (5) การส่งเสริมความโปร่งใส ในหน่วยงาน ได้แก่ การจัดการเร่ืองร้องเรียนการทุจริต และการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ซ่ึงการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงความโปร่งใสในการบริหารงานและการดาเนินงานของ หนว่ ยงาน แนวทำงกำรจัดทำแผนปฏิบัติกำรป้องกันกำรทุจริต สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำ รำชบรุ ี เขต ๒ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 การจัดทาแผนปฏบิ ัติการป้องกันการทจุ ริต สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 มแี นวทางและข้นั ตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. ทบทวนข้อมลู และบริบททเ่ี กย่ี วข้อง 2. จัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 โดยใชก้ รอบแนวทางตามยุทธศาสตรช์ าติว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปราม การทุจริต ระยะท่ี 3 และแผนงานบูรณาการต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ 3. เสนอแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ต่อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือพิจารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบใหท้ ุกหนว่ ยงานถอื ปฏบิ ตั ิ 15

สว่ นที่ 2 บรบิ ทที่เก่ียวขอ้ ง สาหรับประเทศไทยได้กาหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซึ่งมีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความตระหนัก ในการประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริตของคนในสังคม ทั้งนี้สานักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลัก ด้านการดาเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมทั้งบูรณาการการทางานด้านการต่อต้านการทุจริต เข้ากับทุกภาคส่วน ดังนั้น สาระสาคัญที่มีความเชื่อมโยงกับทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ทสี่ านกั งาน ป.ป.ช. มดี ังนี้ 1. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 2. ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี 3. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ 4. โมเดลประเทศไทยสคู่ วามมน่ั คง ม่งั ค่ัง และยง่ั ยืน (Thailand 4.0) 5. นโยบายรฐั บาล พลเอก ประยทุ ธจ์ นั ทรโ์ อชา ทีแ่ ถลงต่อสภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ สาระสาคัญข้างต้นจะเป็นเคร่ืองมือช้ีนาทิศทางการปฏิบัติงานและการบูรณาการด้านต่อต้าน การทจุ รติ ของประเทศเพ่อื ให้เป็นไปในทิศทางเดยี วกัน รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยพุทธศักรำช 2560 กาหนดในหมวดที่ 4 หน้าท่ีของประชาชน ชาวไทยว่า “...บุคคลมีหน้าที่ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่า เป็นครั้งแรก ที่รัฐธรรมนูญได้กาหนดใหก้ ารปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าที่ของประชาชนชาวไทย ทุกคน นอกจากน้ี ยังกาหนดชัดเจนในหมวดท่ี 5 หน้าท่ีของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้ แก่ประชาชนถึงอันตราย ท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้ังภาครัฐและภาคเอกชนและจัดให้มี มาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้านการทุจริต หรือชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ” การบริหารราชการแผ่นดินรัฐ ต้องเสริมสร้างให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก มีประสิทธิภาพ ท่ีสาคัญ คือ ไม่เลือกปฏิบัติตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ซ่ึงการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรม ตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อานาจหรือกระทาการโดยมิชอบ แทรกแซงการปฏิบัติหน้าท่ี หรือกระบวนการแต่งตั้ง หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และรัฐต้องจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงานใช้เป็นหลักในการกาหนดประมวลจริยธรรม สาหรับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ซึ่งต้องไม่ต่ากว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การที่รัฐธรรมนูญ ได้ให้ความสาคัญต่อการบรหิ ารราชการที่มีประสิทธภิ าพและการบริหารบุคคลที่มีคุณธรรมน้ัน สืบเนื่องมาจาก ช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมาได้เกิดปัญหาที่เก่ียวข้องกับการบริหารบุคคล มีการโยกย้ายแต่งตั้งที่ไม่เป็นธรรม บังคับหรือช้ีนาให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดมั่นในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐ รวมถึง การมุ่งเน้นการแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเองรวมถึงพวกพ้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงได้มีความพยายามที่จะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าต้องการสร้างประสิทธิภาพในระบบ การบริหารงานราชการแผ่นดินและเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดม่ันในหลักธรรมาภิบาล และมีคุณธรรมจริยธรรม ตามท่ีกาหนดเอาไว้ 16

ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี เป็นยุทธศาสตร์ที่ยึดวัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็นแม่บทหลัก เพ่ือเป็นกรอบการกาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา การลงทุนของภาคเอกชนท่ีสอดรับกับเป้าหมาย ของยุทธศาสตร์ชาติ การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดสรรงบประมาณ ฯลฯ ดังนั้น ทิศทางด้านการป้องกัน และปราบปรามการทจุ รติ การสรา้ งความโปร่งใสและธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ของหน่วยงาน ภาครัฐทุกหน่วยงานจะถูกกาหนดจากยุทธศาสตร์ชาติ (วิสัยทัศน์ประเทศระยะ 20 ปี) และยุทธศาสตร์ การพัฒนาระยะ 5 ปี เพ่ือให้บรรลุ วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุขและตอบสนองตอบ ต่อการบรรลุซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติ ในการท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูงเป็นประเทศ พัฒนาแลว้ และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมคี วามมนั่ คง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศสามารถแข่งขัน ไดใ้ นระบบเศรษฐกจิ โดยมกี รอบยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ดงั นี้ 1. ดำ้ นควำมมั่นคง (1) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมุข (2) ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความม่ันคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปช่ัน สร้างความ เชอ่ื มั่นในกระบวนการยุตธิ รรม (3) การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจัดการ ความมั่นคงชายแดนและชายฝงั่ ทะเล (4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหวา่ งประเทศทุกระดบั และรักษาดุลยภาพ ความสมั พนั ธ์กบั ประเทศมหาอานาจ เพ่อื ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความม่ันคงรปู แบบใหม่ (5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศการรักษาความสงบเรียบร้อย ภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมอื กับประเทศเพือ่ นบ้านและมติ รประเทศ (6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษาความม่ันคง ของฐานทรพั ยากรธรรมชาติสงิ่ แวดล้อม (7) การปรบั กระบวนการทางานของกลไกทีเ่ กีย่ วข้องจากแนวด่งิ สู่แนวระนาบมากขึ้น 2. ด้ำนกำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั (1) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสรมิ การคา้ การลงทนุ พัฒนาสูช่ าติการค้า (2) การพฒั นาภาคการผลิตและบริการ เสรมิ สรา้ งฐานการผลติ เข้มแข็ง ย่งั ยืน และสง่ เสริมเกษตรกร รายย่อย สเู่ กษตรยง่ั ยืนเปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม (3) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพ แรงงาน และพฒั นา SMEs ส่สู ากล (4) การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และพัฒนา ระบบเมือง ศนู ยก์ ลางความเจรญิ (5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการขนส่ง ความมั่นคงและพลังงาน ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และการวจิ ยั และพฒั นา (6) การเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วน การพัฒนากับนานาประเทศ สง่ เสริม ใหไ้ ทยเป็นฐานของการประกอบ ธรุ กจิ ฯลฯ 17

3. ด้ำนกำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพคน (1) พฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ (2) การยกระดับการศกึ ษาและการเรยี นร้ใู ห้มคี ุณภาพเท่าเทยี มและทั่วถงึ (3) ปลูกฝังระเบียบวินยั คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ (4) การสรา้ งเสรมิ ใหค้ นมสี ุขภาวะทดี่ ี (5) การสร้างความอย่ดู มี ีสุขของครอบครัวไทย 4. ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำค และเทำ่ เทยี มกันทำงสังคม (1) สร้างความมั่นคงและการลดความเหลือ่ มล้าทางเศรษฐกจิ และสงั คม (2) พัฒนาระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ (3) มีสภาพแวดลอ้ มและนวัตกรรมท่เี ออื้ ตอ่ การดารงชีวติ ในสังคมสงู วยั (4) สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสถาบนั ทางสงั คม ทนุ ทางวัฒนธรรมและ ความเขม้ แขง็ ของชุมชน (5) พฒั นาการส่อื สารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนุนการพฒั นา 5. ด้ำนกำรสรำ้ งกำรเติบโตบน คุณภำพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม (1) จัดระบบอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟูและป้องกนั การทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ (2) วางระบบบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุ่มน้า เน้นการปรับระบบการบริหาร จัดการอุทกภัยอย่างบรู ณาการ (3) การพฒั นาและใช้พลงั งานที่เป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม (4) การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองท่เี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม (5) การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรบั ตวั ให้พร้อมกับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ (6) การใชเ้ ครอื่ งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพือ่ ส่ิงแวดล้อม 6. ด้ำนกำรปรบั สมดลุ และพัฒนำ ระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครฐั (1) การปรบั ปรงุ โครงสร้าง บทบาท ภารกจิ ของหน่วยงานภาครฐั ใหม้ ขี นาดที่เหมาะสม (2) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ (3) การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการกาลงั คนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั (4) การตอ่ ต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ (5) การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบยี บตา่ ง ๆ (6) ใหท้ นั สมยั เป็นธรรมและเป็นสากล (7) พฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั (8) ปรับปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจา่ ยของภาครฐั แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ประเด็น กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ จัดทาข้ึน ภายใต้ความจาเป็นในการแก้ไขสถานการณ์ปัญหาการทุจริตของประเทศ ซึ่งที่ผ่านมาหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ได้มีความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริตของประเทศ โดยได้ร่วมกันสร้างเคร่ืองมอื กลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรบั การปฏบิ ัติงานด้านการป้องกนั และปราบปราม การทุจรติ ให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั ซงึ่ การดาเนนิ งานดังกลา่ วได้สร้างให้ทุกภาคส่วนในสงั คมเกิดความต่ืนตัว และเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามบทบาทและภาระหน้าท่ีของตนเอง เพ่ิมมากขึ้น อย่างไรก็ตามปัจจุบันประเทศไทยยังคงประสบปัญหาความรุนแรงในการทุจริต สืบเนื่องมาจาก วิวัฒนาการของการทุจริตซ่ึงมีรูปแบบที่สลับซับซ้อน ปัญหาการขาดจิตสานึกในการแยกแยะผลประโยชน์ ส่วนตนและส่วนรวม โดยสถานการณ์ปัญหาการทุจริตที่จาเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนคือการ 18

รวมตัวกันเพ่ือร่วมกระทาทุจริต ร่วมกันฉ้อโกงรัฐ โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญ่ท่ีต้องใช้งบประมาณมาก ทาให้รัฐและประเทศชาติได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงจากการสูญเสียงบประมาณแผ่นดินไปกับการทุจริต ที่อาจมีความยากและซับซ้อนต่อการตรวจสอบของหน่ว ยงานที่ ทาหน้าที่ในการป้องกันและปราบป ราม การทุจริต การแก้ไขปัญหาการทุจริตจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการกาหนดแนวทางในการป้องกัน แกไ้ ขปญั หาดังกล่าว การจัดทาแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ได้ยึดแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีเป็นกรอบในการจัดทา โดยแผนแม่บทฯ มี 2 แนวทางการพัฒนาหลัก ดังน้ี (1) การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการปลูกฝังวิธีคิดในกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนเพ่ือปฏิรูป “คนรุ่นใหม่” ให้มีจิตสานึก ในความซ่ือสัตย์สุจริตเพ่ือสร้างพลังร่วมในการแก้ไขปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบต่อไปในอนาคตและ การปรับ “ระบบ”โดยการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริต เพื่อให้การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกข้ันตอนการดาเนินงาน เท่าทันพลวัตของการทุจริต ผ่านกระบวนการ มีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการตรวจสอบ แจ้งข้อมูล และชี้เบาะแส การทุจริตและประพฤติมิชอบ ซ่ึงจะนาไปสู่การลดจานวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงานภาครัฐ (2) การปราบปรามการทุจริต มุ่งเน้นการเสริมสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการและกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ทั้งในด้านของการดาเนินคดีทุจริตมีความรวดเร็ว เฉียบขาด เป็นธรรม และการพัฒนา ป รั บ ป รุ ง ม า ต ร ก า ร ท า ง ก ฎ ห ม า ย เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ก า ร ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต ใ ห้ ไ ด้ ผ ล และมีประสิทธิภาพ กาหนดเป้าหมายการพัฒนาในระยะ 20 ปี โดยใช้ดัชนีการรับรู้การทุจริตเป็นเป้าหมาย ในการดาเนินการของแผนแม่บทฯ ซ่ึงได้กาหนดให้ประเทศไทยมีอันดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต ในปี พ.ศ. 2580 อยใู่ นอนั ดับ 1 ใน 20 ของโลก เป้ำหมำยกำรพฒั นำตำมยทุ ธศำสตรช์ ำติ ยทุ ธศำสตรช์ ำติดำ้ นควำมม่นั คง 2.3 กองทัพ หน่วยงานด้านความม่ันคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพร้อม ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความม่ันคง 2.4 ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ช่ืนชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคม ระหว่างประเทศ 2.5 การบริหารจดั การความม่ันคงมีผลสาเร็จทเ่ี ป็นรูปธรรมอย่างมปี ระสิทธิภาพ 19

ค่ำเป้ำหมำย เป้ำหมำย ตัวชีว้ ัด ปี 2561 - ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - 2565 2570 2575 2580 ประเทศไทย ดชั นกี ารรบั รู้ อยใู่ นอันดับ อยูใ่ นอันดับ อยใู่ นอนั ดับ อยใู่ นอันดับ ปลอดการ การทจุ ริตของ 1 ใน 54 1 ใน 43 1 ใน 32 1 ใน 20 ทุ จ ริ ต แ ล ะ ประเทศไทย และ/หรอื ได้ และ/หรอื ได้ และ/หรอื ได้ และ/หรือได้ ประพฤติ (อนั ดบั /คะแนน) คะแนนไม่ คะแนนไม่ คะแนนไม่ คะแนนไม่ มิชอบ ตา่ กวา่ 50 ตา่ กว่า 57 ตา่ กว่า 62 ตา่ กว่า 73 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ำ้ นกำรปรบั สมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครฐั 2.3 ภาครฐั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ประเดน็ ภำยใต้ยุทธศำสตรช์ ำติ ยทุ ธศำสตร์ชำตดิ ำ้ นควำมม่นั คง 4.1 การรกั ษาความสงบภายในประเทศ 4.1.4 การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็น ปัญหา ความมัน่ คงท่ีสาคัญ ยุทธศำสตรช์ ำติดำ้ นกำรปรบั สมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจดั กำรภำครัฐ 4.6 ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ 4.6.1 ประชาชนและภาคีต่างๆ ในสังคมร่วมมอื กันในการป้องกันการทุจริต และประพฤติมชิ อบ 4.6.2 บคุ ลากรภาครัฐยดึ ม่ันในหลักคณุ ธรรม จริยธรรมและความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ 4.6.3 การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ มีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เป็นธรรม และตรวจสอบได้ 4.6.4 การบรหิ ารจัดการการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ อยา่ งเปน็ ระบบแบบ บรู ณาการ เป้ำหมำยและตัวช้ีวัดของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ประเด็น กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและ ประพฤติมิชอบ แผนย่อยของแผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติประเด็น กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและ ประพฤติมิชอบ เป้าหมายสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการต่อต้านการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ คือ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒนธรรม แยกแยะประโยชน์ ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ่วนรวม ของบุคลากรภาครัฐให้เกิดขึ้น รวมทั้งสร้างจิตสานกึ และ ค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัว ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ มีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต พร้อมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีองค์กร ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน และภาคีต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการสอดส่องเฝ้าระวัง ให้ข้อมูล แจ้งเบาะแสการทุจริต และตรวจสอบการดาเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ และภาคส่วนอื่น ๆ โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ แผนแม่บท ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ นไี้ ดก้ าหนดแผนย่อยไว้ 2 แผน คือ 20

1. แผนยอ่ ยกำรปอ้ งกนั กำรทจุ รติ และประพฤติมิชอบ การประเมินความเป็นไปได้ของสถานการณ์ในอนาคตของประเทศไทยท่ีเกี่ยวข้องกับการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตให้เห็นภาพในมิติด้านต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันการทุจริตและประพฤติ มิชอบ ในระยะ 20 ปีข้างหน้าน้ันต้ังอยู่บนแนวคิดพ้ืนฐานว่า ประชาชนและสังคมจะตื่นตัวต่อการทุจริต ให้ความสนใจข่าวสาร และตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริตต่อประเทศ มีการแสดงออกซ่ึงการต่อต้าน การทุจริตท้ังในชีวิตประจาวัน และการแสดงออกผ่านส่ือต่างๆ ประชาชนในแต่ละช่วงวยั จะได้รับกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมว่าการทุจริต ถือเป็นพฤติกรรมที่นอกจากจะผิดกฎหมายและทาให้เกิดความเสียหาย ต่อประเทศแล้ว ยงั เป็นพฤตกิ รรมท่ีไม่ได้รับการยอมรับทางสงั คม ประชาชนจะมีวธิ คี ิดทท่ี าให้สามารถแยกแยะ ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ วัฒนธรรมทางสังคมจะหล่อหลอมให้ประชาชน จะไม่กระทาการทุจริต เนื่องจากมีความละอายต่อตนเองและสังคม และไม่ยอมให้ผู้อื่นกระทาการทุจริต อันส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อสังคมสว่ นรวมด้วย และจะเกิดการรวมกลุ่มกันทางสังคมเพ่ือก่อให้เกิดสภาวะ การลงโทษทางสังคมต่อการกระทา รวมทั้งประชาชนคนไทยทุกคนจะแสดงเจตจานงต่อต้านการทุจริต อยา่ งเข้มข้น ผ่านกระบวนการเลือกตัง้ และกระบวนการเขา้ สู่อานาจของตัวแทนของประชาชนทั้งในระดับชาติ และระดับท้องถ่ิน ประชาชนจะให้ความสนใจในการตรวจสอบรัฐบาลและนักการเมืองในการดาเนินการ ตามเจตจานงทางการเมืองมากขึ้น เป็นแรงกดดันให้รัฐบาลต้องบริหาร ประเทศอย่างสุจริตและโปร่งใส โดยกระบวนการนโยบายของรัฐบาลไม่สามารถเป็นช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ โดยจะมีกลไก การตรวจสอบการดาเนินนโยบายของรฐั ท่ีเข้มข้นมากขนึ้ อย่างไรก็ตาม ในอนาคต 20 ปีข้างหน้า การทุจริตน่าจะทวีความรุนแรง ซับซ้อน และยากแก่การ ตรวจสอบ มากย่ิงขึ้น อันเนื่องมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของสังคมโลก และพลวัตของการทจุ ริต ท่ผี ู้กระทาการทุจรติ หาชอ่ งทางการทุจริตท่ียากแกก่ ารตรวจสอบมากย่ิงขน้ึ แต่สภาวะ ทางสังคมท่ีตื่นตัวต่อต้านและตรวจสอบการทุจริตมากยิ่งขึ้น จึงอาจจะทาให้แนวโน้มการทุจริตลดลง ส่งผลให้ กระบวนการป้องกันการทุจริตยิ่งทวีความสาคัญ โดยต้องพัฒนากระบวนการและรูปแบบของการป้องกันการ ทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต เพื่อให้สามารถระงับยับย้ังการทุจริตได้อย่างเท่าทัน ไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อประเทศ ควรมงุ่ เนน้ การพัฒนากลไก และกระบวนการป้องกนั การทจุ รติ ใหม้ ีความ เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพในทุกหน่วยของสังคมท้ังระดับบุคคลและระดับ องค์กร โดยสร้างจิตสานึกและ ค่านิยมให้ทุกภาคส่วนต่ืนตัวและละอายต่อการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคี องค์กรภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชนและประชาชน และเครือข่ายต่างๆ สอดส่อง เฝ้าระวัง ให้ข้อมูล และร่วมตรวจสอบการดาเนินการของหน่วยงานภาครัฐตามความเหมาะสม โดยมีการวางมาตรการคุ้มครอง พยานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัญหาการทุจริตและสร้างพลังร่วมในการแก้ไขปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบ พร้อมทั้งสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบของบุคลากร ภาครัฐ และกาหนดมาตรการให้หน่วยงานภาครัฐและทุกภาคส่วนดาเนินงานอย่างโปร่งใส เพื่อเสริมสร้าง คุณธรรม ความสุจริต และความซ่ือสัตย์ ความโปร่งใส และเป็นธรรม นอกจากนี้ ต้องกาหนดให้มีการลงโทษ ผู้กระทาผิด กรณีทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและรวดเร็วเป็นการป้องกันการทุจริตเชิงรุก เพ่ือให้เทา่ ทนั ต่อพลวตั ของการทจุ รติ 1.1 แนวทำงกำรพัฒนำ 1) ปลูกและปลุกจิตสำนึกกำรเป็นพลเมืองท่ีดี มีวัฒนธรรมสุจริต และกำรปลูกฝัง และหล่อหลอมวัฒนธรรมในกลุ่มเด็กและเยำวชนทุกช่วงวัย ทุกระดับ มุ่งเน้นการปรับพฤติกรรม “คน” โดยการ “ปลูก” และ “ปลุก” จิตสานึกความเป็นพลเมืองที่ดีมีวัฒนธรรมสุจริต สามารถแยกแยะได้ว่าส่ิงใด เป็นประโยชน์ส่วนตน ส่ิงใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม มีความละอายต่อการกระทาความผิด ไม่เพิกเฉยอดทน ต่อการทุจริต และเข้ามามีส่วนรว่ มในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ รวมถึงการส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรม และค่านิยมสุจริตในระดับชุมชนเพื่อนาไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมค่านิยมท่ียึดประโยชน์สาธารณะ 21

มากกว่าประโยชน์ส่วนตน และต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการส่งเสริม วัฒนธรรมสุจริต ผ่านหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับท่ีเด็กไทยทุกคนต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา เพื่อปฏิรูป “พลเมืองไทยในอนาคต” ให้มีความเป็นพลเมืองเต็มขั้น สามารถทาหน้าท่ีความเป็นพลเมืองท่ีดี มีจิตสานึกยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีระเบียบวินยั และเคารพกฎหมาย 2) ส่งเสริมกำรปฏิบัติหน้ำที่ของข้ำรำชกำรและเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐให้มีควำมใสสะอำดปรำศจำก พฤติกรรมทสี่ อ่ ไปในทำงทจุ รติ โดยการปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการอย่างเปิดเผย โปร่งใส ถกู ตอ้ งเป็นธรรม ไม่คดโกง รู้จักแยกแยะเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน ตลอดจนการ สร้างจิตสานึก และค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์กร โดยการสนับสนุนให้ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีรัฐเข้ามามีส่วนร่วมเป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริม การมีส่วนรว่ มในการเฝ้าระวงั สอดสอ่ ง ตดิ ตามพฤติกรรมเส่ียงและแจง้ เบาะแส เพือ่ สกดั กน้ั มิให้เกิดการทุจริต ประพฤติมชิ อบได้ โดยมีมาตรการสนบั สนุน และคุ้มครองผแู้ จง้ เบาะแส 3) พัฒนำค่ำนิยมของนักกำรเมืองให้มีเจตนำรมณ์ท่ีแน่วแน่ในกำรทำตนเป็นแบบอย่ำงท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ควำมซ่ือสัตย์สุจริต เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เน่ืองจากผู้บริหารประเทศ/ท้องถิ่น/ ชมุ ชน ต้องมีคุณธรรมและจริยธรรมสูงกวา่ มาตรฐานทางจริยธรรมทวั่ ไปในสังคม เพือ่ เปน็ ต้นแบบแกป่ ระชาชน เดก็ เยาวชน และสังคมโดยรวม โดยนอกเหนอื จากคณุ สมบตั ิตามที่กาหนดตามกฎหมายแลว้ ผู้บริหารประเทศ ต้องมีคุณสมบัติทางจริยธรรมด้วย มีการพัฒนายกระดับการมีจริยธรรมของผู้ดารงตาแหน่ง ทางการเมอื งเพอ่ื สรา้ งนกั การเมืองที่มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมทงั้ กากบั จรยิ ธรรมภายในพรรคการเมือง 4) ปรับ “ระบบ” เพ่ือลดจำนวนคดีทุจริตและประพฤติมิชอบในหน่วยงำนภำครัฐ มุ่งเน้น การสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเน่ือง เพื่อสนับสนุนให้การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอนการดาเนินงาน และมีความเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต โดยการพัฒนาเคร่ืองมือ เพ่ือสร้างความโปร่งใส มุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรมและมาตรการในการต่อต้าน การทุจริตท่ีมีประสิทธิภาพและเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต รวมถึงการประเมินความเส่ียงด้านการทุจริต เพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐ มีมาตรการ ระบบ หรือแนวทางในบริหารจัดการความเส่ียงของการดาเนินงาน ที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต และการบูรณาการติดตามประเมินผลการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐและรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่ข้ันวางแผนก่อนดาเนินงาน ข้ันระหว่าง การดาเนนิ งาน และขนั้ สรุปผลหลังการดาเนนิ โครงการ 22

เป้ำหมำยและตวั ช้วี ัด เป้ำหมำย ตัวชีว้ ดั ปี 2561 - ค่ำเป้ำหมำย ปี 2576 - 2565 2580 ปี 2566 – ปี 2571 - 2570 2575 1. ประชาชน รอ้ ยละของเด็ก รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 60 รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 80 มีวฒั นธรรม และเยาวชนไทย และพฤตกิ รรม มีพฤติกรรม ซอ่ื สตั ย์สุจรติ ท่ยี ดึ มัน่ ความ ซอื่ สัตย์สจุ ริต ร้อยละของ รอ้ ยละ 50 ร้อยละ 60 รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 80 ประชาชน ที่มี วัฒนธรรมคา่ นยิ ม สจุ ริต มีทัศนคติ และ พฤตกิ รรมใน การตอ่ ต้าน การทจุ ริตและ ประพฤติมิชอบ รอ้ ยละของหนว่ ยงาน ร้อยละ 80 รอ้ ยละ 100 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 100 ที่ ผา่ นเกณฑ์การ (85 คะแนน (85 คะแนน (90 คะแนน (90 คะแนน ประเมิน ITA ขึ้นไป) ข้ึนไป) ขนึ้ ไป) ขนึ้ ไป) 5) ปรับระบบงำนและโครงสร้ำงองค์กร ที่เอ้ือต่อกำรลดกำรใช้ดุลพินิจในกำรปฏิบัติงำน ของเจ้ำหน้ำที่ เช่น การนาระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนการใช้ดุลพินิจเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน การสร้างมาตรฐานท่ีโปร่งใสในกระบวนการบริการของภาครัฐ ลดข้ันตอนกระบวนการและระยะเวลา ในการปฏิบัติงาน ด้วยวิธีปฏิบัติท่ีชัดเจนตรวจสอบได้ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพอื่ ลดการใช้ดุลพินิจของผู้มอี านาจในการพจิ ารณาอนุมตั ิ อนุญาต รวมถึงการสร้างความโปร่งใสในการบริการ ข้อมูลภาครัฐท้ังระบบ โดยการพัฒนาระบบข้อมูลดิจิทัลที่มีการกาหนดกฎเกณฑ์ กติกา กระบวนการ ข้ันตอน การดาเนินงานการเข้าถึงข้อมูล รวมถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการใช้งบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ สร้างความโปร่งใส และส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการบริหารจัดการ ของภาครัฐโดยสาธารณชน ซึ่งรวมถึงการมีกลไกท่ีเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การจัดซื้อจัดจ้างและการดาเนินการภาครัฐ เพ่ือบูรณาการการทางานของรัฐและประชาชน รวมถึงส่งเสริม สนับสนุนการต่ืนตัวและเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนในการร่วมเฝ้าระวังและป้องกันการทุจริต คอร์รัปชั่นท่ีมีอยู่ใกล้ตัว โดยมีมาตรการสนับสนุนและคุ้มครองผู้ช้ีเบาะแสท่ีสามารถสร้างความเช่ือมั่นและ ม่นั ใจให้กบั ผู้ใหเ้ บาะแส 23

เป้ำหมำยและตวั ชวี้ ดั ค่ำเปำ้ หมำย เป้ำหมำย ตวั ช้วี ัด ปี 2561 - ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - 2565 2570 2575 2580 2. คดีทจุ รติ และ จานวนคดีทุจรติ ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ประพฤติ ในภาพรวม รอ้ ยละ 10 ร้อยละ 50 รอ้ ยละ 70 รอ้ ยละ 80 มชิ อบลดลง จานวนคดีทจุ รติ ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ราย หนว่ ยงาน ร้อยละ 10 ร้อยละ 50 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 - จานวนขอ้ ร้องเรียน เจา้ หน้าทีภ่ าครฐั ทถ่ี กู ชี้มูลเร่ืองวนิ ัย (ทจุ รติ ) - จานวนข้อ ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ร้องเรยี นเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 10 ร้อยละ 50 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 ภาครัฐที่ถูกชม้ี ูล วา่ กระทาการทจุ รติ จานวนคดีทุจรติ ที่ ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง เกี่ยวขอ้ งกบั ผู้ดารง ร้อยละ 25 รอ้ ยละ 50 รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 90 ตาแหนง่ ทางการเมือง 2. แผนย่อยกำรปรำบปรำมกำรทุจรติ การจะบรรลุเป้าหมายประเทศไทยปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ กลไกและกระบวนการ ปราบปรามการทุจริตจะต้องมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ กฎหมายจะต้องมีความทันสมัย การบังคบั ใช้กฎหมายและ การดาเนินคดีจะต้องมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ทาให้คดีความมีปริมาณลดลง แนวทางในการปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ จึงควรมุ่งเน้นการส่งเสริมการปรับปรุงกระบวนการและกลไกท่ีเกี่ยวข้อง ในการปราบปรามการทุจริตอยา่ งต่อเนื่อง ใหม้ คี วามรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน รวมทั้งการปรับปรุง กฎหมายและตรากฎหมายใหม่ เพ่ือสนับสนุนให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน และมุ่งทาให้ ผู้ ก ร ะ ท า ค ว า ม ผิ ด ไ ด้ รั บก า ร ด าเ นิ นค ดี แ ล ะ ล ง โ ท ษ ทั้ ง ท า งวิ นัย แ ล ะ อ า ญ า อ ย่ า ง รว ด เ ร็ว แ ล ะ เ ป็ นรู ปธ รรม เพื่อให้สังคมเกิดความเกรงกลัวต่อการทุจริตควบคู่ไปกับการปรับปรุงระบบข้อมูลเรื่องร้องเรียนที่เช่ือมโยง ระหวา่ งหนว่ ยงานตอ่ ต้านการทุจริตท่ีเก่ียวข้องเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการดาเนนิ คดี 2.1 แนวทำงกำรพัฒนำ 1) เพ่ิมประสิทธิภำพกำรดำเนินงำนของกระบวนกำรและกลไกกำรปรำบปรำมกำรทุจริต โดยการปรับกระบวนการทางานด้านการปราบปรามการทุจริตเข้าสู่ระบบดิจิทัลมาใช้ในกระบวนการทางาน ด้านการปราบปรามการทุจริตให้ได้มาตรฐานสากลและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงรวมถึงการพัฒนาระบบ 24

เทคโนโลยี สารสนเทศและฐานข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินที่ทันสมัย เท่าทันต่อการ บิดเบือนทรัพย์สินและหน้ีสิน รวมทั้งบูรณาการข้อมูลกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่าง ๆ ในการตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของทรพั ย์สนิ และหนส้ี ิน เป้ำหมำยและตัวชีว้ ดั ตัวชว้ี ัด ค่ำเปำ้ หมำย เป้ำหมำย ปี 2561 - ปี 2566 – ปี 2571 - ปี 2576 - การดาเนนิ คดี กระบวนการ 2565 2570 2575 2580 ทุจรติ มีความ ดาเนินคดี ทุจริต ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกนิ รวดเรว็ เปน็ ธรรม ที่จาเปน็ ต้องขอ รอ้ ยละ 25 รอ้ ยละ 20 รอ้ ยละ 15 รอ้ ยละ 10 โปร่งใส ไม่เลือก ขยาย ระยะเวลา ปฏิบัติ เกนิ กวา่ กรอบเวลา ปกติที่กฎหมาย กาหนด จานวนคดอี าญา ไม่เกิน ไม่เกิน ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ท่หี น่วยงานไตส่ วน รอ้ ยละ 4 รอ้ ยละ 3 รอ้ ยละ 2 รอ้ ยละ 1 คดที จุ รติ ถูก ของจานวน ของจานวน ของจานวน ของจานวน ฟ้องกลับ คดที ี่สง่ ฟ้อง คดที ี่ส่งฟ้อง คดที ่ีส่งฟ้อง คดที ่ีสง่ ฟ้อง 2) ปรับปรุงกระบวนกำรปรำบปรำมกำรทุจริตที่มีควำมรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ อาทิ ปรับปรุงขั้นตอนการดาเนินการท่ีล่าช้าของหน่วยงานในกระบวนการปราบปรามการทุจริตให้มีความรวดเร็ว และกระชับมากขึ้น เพื่อให้การดาเนินการปราบปรามการทุจริตตลอดกระบวนการจนถึงการลงโทษ ผู้กระทาความผิด เม่ือคดีถึงที่สุดเป็นไปอย่างรวดเร็วเห็นผล มีประสิทธิภาพ และเป็นที่ประจักษ์ของประชาชน อาทิ การบูรณาการ ประสานงานคดีที่เก่ียวข้องกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ การปรับปรุงข้ันตอน การดาเนินการที่ล่าช้าและซ้าซ้อนกันของหน่วยงานในกระบวนการปราบปรามการทุจริตท้ังระบบ ให้มีความรวดเร็ว การบูรณาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานปราบปรามการทุจริตให้เข้าถึงง่าย และมีประสิทธิภาพ การปรับปรุงและพัฒนาระบบและกลไกที่เก่ียวข้องกับการสืบสวนปราบปราม เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินการกับทรัพย์สินหรือผู้กระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่หรือทุจริต ต่อหน้าท่ีตามกฎหมายฟอกเงิน เพื่อให้การติดตามยึดคืนทรัพย์สินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกัน การยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินที่ได้มาโดยมิชอบ ไม่ให้เกิดความเสียหายขึ้น รวมทั้งการพัฒนา เครือข่าย ความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรต่อต้านการทุจริตและองค์กรเอกชนในระดับนานาชาติ เพ่ือสนับสนุนข้อมูล และองคค์ วามร้ใู นการปราบปรามการทจุ รติ และอาชญากรรมข้ามชาติ 3) พัฒนำกำรจัดกำรองค์ควำมรู้ด้ำนกำรปรำบปรำมกำรทุจริต โดยการจัดทาระบบฐานข้อมูล องค์ความรู้ด้านการปราบปรามการทุจริต โดยประมวลจากคดีการทุจริตและผู้เช่ียวชาญของหน่วยงานต่างๆ ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต เพื่อให้เจ้าหน้าที่ปราบปรามการทุจริตของแต่ละหน่วยงานได้ศึกษา และมีสมรรถนะและความรูท้ ี่เปน็ มาตรฐาน การพฒั นาสมรรถนะและองค์ความรูเ้ ชิงสหวทิ ยาการของเจ้าหน้าท่ี ในกระบวนการปราบปรามการทุจริตเพื่อให้มีความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถ ที่เป็นมาตรฐานและเท่าทัน ตอ่ พลวัตของการทจุ ริต 25

โมเดลประเทศไทยสู่ควำมมั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน (Thailand 4.0) เป็นโมเดลท่ีน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น 2 ยุทธศาสตร์สาคัญ คือ (1) การ สร้างความเข้มแข็งจากภายใน ( Strength from Within) และ (2) การเชื่อมโยงกับประชาคมโลกในยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน Thailand 4.0 เน้นการ ปรับเปล่ียน 4 ทิศทางและเน้นการพัฒนาท่ีสมดลุ ใน 4 มิติมิติท่ี หยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและคุณคา่ ของมนุษย์(Human Wisdom) ด้วยการพัฒนาคนไทยให้เป็น “มนุษย์ท่ี สมบูรณ์” ผ่านการปรับเปล่ียนระบบ นิเวศน์การเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้างแรงบันดาลใจบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ สว่ นรวมเปน็ ทต่ี ง้ั มคี วามซอ่ื สตั ย์ สุจริต มีวนิ ยั มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามรบั ผิดชอบ เนน้ การสรา้ งคุณค่าร่วม และค่านิยมท่ีดีคือ สังคมท่ีมีความหวัง (Hope) สังคมท่ีเป่ียมสุข (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉันท์ (Harmony) นโยบำยรฐั บำล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชำ ที่แถลงต่อสภำนติ บิ ัญญัติแหง่ ชำติ ตามท่ีคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้แถลงนโยบายต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เม่อื วันพฤหสั บดที ี่ 25 กรกฎาคม 2562 รวมนโยบายหลกั 12 ด้าน ด้านท่ี 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม แกไ้ ขปัญหาการทจุ ริตและประพฤติมอชอบ โดยจัดให้มมี าตรการและระบบเทคโนโลยีนวัตกรรม ที่ชว่ ยปอ้ งกัน และลดการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและเข้มงวด รวมทั้งเป็นเคร่ืองมือในการติดตามการแก้ไขปัญหา การทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมท้ังเร่งสร้างจิตสานึกของคนไทยให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์ สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วนให้มามีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริต ประพฤติมิชอบ 26

ส่วนที่ 3 แผนปฏิบตั กิ ำรปอ้ งกันกำรทุจริต ของสำนักงำนเขตพ้นื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำรำชบุรี เขต ๒ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 แผนงำน บรู ณำกำรตอ่ ต้ำนกำรทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ โครงกำร เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสานกั งานเขตพ้ืนที่ (เขตสจุ ริต) หนว่ ยงำน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ 1. เหตุผลควำมจำเปน็ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติ มิ ชอบ ทุกภาคส่วนร่วมกันต่อต้านการทุจริต ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการต่อต้านการทุจริตในหน่วยงาน ภาครัฐที่เหมาะสมกับบริบท สภาพปัญหา และพลวัตการทุจริตของแต่ละหน่วยงาน มีการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสร้างวัฒ นธรรม แยกแยะประโยชน์ ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ของบุคลากรภาครัฐใหเ้ กิดข้ึน รวมทั้งสร้างจิตสานึกและ ค่านิยมให้ทุกภาคส่วนตื่นตัว ละอายต่อการทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ มีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต และมีปัจจัยความสาเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์ คือ ทุกภาคส่วนร่วมส่งเสริมการกล่อมเกลาทางสังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ในทุกช่วงวัยรวมถึงผนึกกาลังและความร่วมมือทุกภาคส่วนในการเปล่ียนสภาพแวดล้อม ท่ีนาไปสู่สังคมท่ีมีค่านิยมร่วมต้านทุจริต สร้างนวัตกรรมในการต่อต้านการทุจริต มีกลไกป้องกันการทุจริตและ ระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล มีกระบวนการทางานด้านป้องกันการทุจริตเปลี่ยนแปลง สกู่ ารทางานเชงิ รุก สามารถปอ้ งกนั การทุจรติ ไดอ้ ยา่ งเทา่ ทันและมปี ระสิทธิภาพ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จึงจัดทาโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพการดาเนินงาน สร้างจิตสานึก และปลูกฝังความซื่อสัตย์สุจริต สร้างกลไกป้องกันการทุจริต และเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปราบปราม การทจุ ริต 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร 38 ค. (2) ลูกจ้างประจา ลูกจ้างช่ัวคราว สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้าน คุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าล 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร 38 ค. (2) ลูกจ้างประจา ลูกจ้างช่ัวคราว สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 นาความรู้เกี่ยวกับ คุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัตติ น และปฏบิ ัติงาน 3. เพ่ือยกระดบั ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) 3. เปำ้ หมำย • เปำ้ หมำยเชิงผลผลติ (Output) 1. รอ้ ยละ 100 ของผ้บู รหิ ารการศึกษา ศกึ ษานเิ ทศก์ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค. (2) ลูกจ้างประจา ลูกจ้างช่ัวคราว สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าล 27

2. ร้อยละ 80 ของผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค. (2) ลูกจ้างประจา ลูกจ้างช่ัวคราว สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 นาความรู้เก่ียวกับ คุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าล ไปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ิตน และปฏิบตั งิ าน 3. ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน (ITA) ของสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต ๒ สงู ข้ึนอยู่ในระดับ AA ⚫ เป้ำหมำยเชงิ ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร 38 ค. (2) ลูกจ้างประจา ลูกจ้าง ชว่ั คราว สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มกี ารดาเนนิ งานดา้ นการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล และมีการดาเนินงานด้านป้องกันการทุจริตที่มีความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนเสริมสรา้ งการปฏิบัติงานใหม้ ธี รรมาภิบาลมากขน้ึ 4. กล่มุ เปำ้ หมำยโครงกำร 1. ผ้บู ริหารการศึกษา ศกึ ษานเิ ทศก์ บคุ ลากรทางการศึกษา ตามมาตร 38 ค. (2) ลูกจา้ งประจา ลกู จา้ งชว่ั คราวในสงั กัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 65 คน 28

6. กิจกรรม - ตวั ชว้ี ัด – เปำ้ หมำย – งบประมำณ เปา้ หมาย กจิ กรรม ตัวชวี้ ัด หน่วยนับ จานวน งบประ 1. การประกาศ รอ้ ยละของจานวน ร้อยละ 80 - 29 เจตนารมณ์/กาหนด บุคลากรผู้เขา้ ร่วม นโยบาย กิจกรรมมีความตระหนกั รู้ - ประกาศเจตจานงการ และได้รบั การปลกู ฝงั ใหม้ ี บริหารงานดว้ ยความ ทัศนคติ และค่านยิ ม ซ่ือสตั ย์สุจรติ ท่ไี มย่ อมรับการทุจริต - ประกาศนโยบายไม่รบั ของขวญั (No Gift Policy) - การประกาศนโยบาย คณุ ธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงาน - การตดิ ตามแนวทางการ ปฏิบตั เิ กี่ยวกับการให้และ รบั ของขวัญ เพ่ือใหบ้ คุ ลากร ถือปฏิบัตใิ ห้เปน็ ไปตาม นโยบายของรฐั บาล และนโยบาย ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในการสง่ เสรมิ การต่อต้าน การทจุ ริต

ระยะเวลาดาเนนิ การ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผู้รับผิดชอบ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 กลมุ่ อานวยการ 9

เป้าหมาย กิจกรรม ตัวชี้วดั หน่วยนบั จานวน งบประ 2. การเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม รอ้ ยละของบุคลากร ร้อยละ 80 - และจริยธรรมในการปฏบิ ตั ิ ในสานกั งานเขตพน้ื ท่ี งานเพื่อต่อต้านการทจุ รติ การศึกษาเกิดความ - กจิ กรรมทาความดี ตระหนกั รใู้ นการป้องกัน เพอ่ื สาธารณะ แบง่ ปัน การทจุ ริตมีคา่ นิยม ลดความเห็น แก่ตัว โดยยึด รว่ มต้านทจุ รติ มีจติ สานึก หลกั พอเพยี ง มีวินยั สุจรติ สาธารณะ และสามารถ จติ สาธารณะ แยกแยะระหวา่ ง - กจิ กรรมเสริมสร้าง ผลประโยชน์ส่วนตนและ วัฒนธรรมองคก์ ร ส่งเสรมิ ผลประโยชน์ ส่วนรวม การทาความดี เสริมสร้าง คุณธรรม จรยิ ธรรม ปลูกฝัง ความคิด ปลูกจติ สานึกใหม้ ี วัฒนธรรมและพฤติกรรม ซอ่ื สัตย์ สุจริต เช่น กจิ กรรม เคารพธงชาต,ิ กจิ กรรมสวด มนต์ไหว้พระ เจริญจิต ภาวนา, กิจกรรมจิตอาสา 30

ระยะเวลาดาเนนิ การ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผู้รับผิดชอบ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 กลมุ่ อานวยการ 0

เป้าหมาย กจิ กรรม ตวั ชีว้ ัด หนว่ ยนบั จานวน งบประ 3. พฒั นาและยกระดับการ คา่ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 95 - ทางานให้สอดคลอ้ งกับการ การประเมินคณุ ธรรมและ ประเมนิ คุณธรรมและความ ความโปรง่ ใสของสานักงาน โปร่งใสในการดาเนินงาน เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา (ITA ของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA) - กจิ กรรมประชมุ ช้ีแจงให้ ปฏิบตั ติ ามแนวทางการ ประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสฯ - ประชมุ วเิ คราะหค์ วาม เสี่ยง - การจัดทามาตรการ เผยแพร่ข้อมลู ต่อสาธารณะ - การจดั ทามาตรการให้ ผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสียมสี ่วนรว่ ม - การจดั ทามาตรการ สง่ เสริมความโปรง่ ใส ในการจดั ซ้ือจดั จ้าง - 31

ระยะเวลาดาเนนิ การ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผู้รับผดิ ชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 กลุ่มอานวยการ กลุ่มนเิ ทศฯ กลมุ่ กฎหมายฯ กลุ่มบรหิ ารงาน การเงนิ ฯ กลมุ่ บริหารงาน บุคคล 1

กจิ กรรม ตวั ชีว้ ดั เปา้ หมาย งบประ หน่วยนบั จานวน - การจดั ทามาตรการ ป้องกันการรบั สินบน - การจัดทามาตรการ ป้องกนั การขัดกนั ระหวา่ ง ผลประโยชนส์ ว่ นบคุ คลกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม - การจัดทามาตรการ ตรวจสอบการใชด้ ุลพินจิ - มาตรการการเบิกจ่าย คา่ ตอบแทนการปฏบิ ัติงาน นอกเวลาราชการ - มาตรการ กลไก และการ วางระบบในการจดั การ เรอ่ื งร้องเรียน - มาตรการการใชร้ ถราชการ - นโยบายการบรหิ ารงาน บคุ คล 32

ระยะเวลาดาเนินการ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผูร้ ับผดิ ชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 2

เปา้ หมาย กจิ กรรม ตวั ชวี้ ัด หน่วยนบั จานวน งบประ - สร้างการรบั รู้ และสง่ เสริม ให้บคุ ลากรมีความเข้าใจ และปฏิบตั ิตามเกณฑ์ มาตรฐานการประเมนิ ด้าน คณุ ธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนนิ งาน - การถอดบทเรยี นรูปแบบ การยกระดบั คุณธรรมและ ความโปร่งใสในการ ดาเนนิ งาน - พัฒนายกระดับการทางาน รอ้ ยละของบุคลากร ร้อยละ 90 10,0 สอดคลอ้ งกบั การประเมิน ได้รบั การสรมิ สร้างความรู้ คณุ ธรรมและความโปร่งใส ความเขา้ ใจในดา้ นคุณธรรม การดาเนนิ งานของ และความโปร่งใส ใหม้ ี สานักงานเขตพ้ืนท่ี ความเข้มแขง็ และมี การศกึ ษา เพื่อยกระดับ ประสิทธภิ าพ ดัชนกี ารรับรู้การทุจรติ - 33

ระยะเวลาดาเนนิ การ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผรู้ ับผดิ ชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 000 กลมุ่ อานวยการ กล่มุ พฒั นาครูฯ กลุ่มกฎหมายฯ 3

เปา้ หมาย กิจกรรม ตัวชวี้ ัด หน่วยนบั จานวน งบประ 4. เสรมิ สร้างสมรรถนะ ร้อยละของบุคลากร ร้อยละ 80 90,0 บคุ ลากร สานักงานเขตพน้ื ท่ี ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความ การศกึ ษา ในการตอ่ ต้าน ตระหนักและปฏิบัตหิ น้าท่ี การทจุ ริตและปลกู จติ สานึก ตามแนวทางในการต่อตา้ น สูก่ ารเปน็ ข้าราชการท่ีดี การทุจรติ 5. การจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร หนว่ ยงานมีแผนปฏบิ ตั ิการ รอ้ ยละ 100 ปอ้ งกันและปราบปรามการ ปอ้ งกันการทุจริต ประจาปี ทจุ ริตของสานกั งานเขต 2565 พ้ืนทกี่ ารศึกษา ประจาปี 2565 6. สร้างสื่อประชาสมั พันธ์ จานวนรูปแบบ ร้อยละ 80 แนวสรา้ งสรรค์ เพอ่ื ให้ การประชาสัมพันธ์ เข้าถึงได้ง่าย น่าสนใจ และ ในด้านการต่อตา้ นการ กระตนุ้ ให้ประชาชนรูส้ กึ ทุจรติ เพอ่ื สรา้ งการรับรู้ รว่ มเปน็ ส่วนหน่ึงในการ ต่อตา้ น การทจุ รติ - 34

ระยะเวลาดาเนินการ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผรู้ บั ผดิ ชอบ ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 000 กลมุ่ อานวยการ กลุ่มพฒั นาครูฯ กลมุ่ กฎหมายฯ กลุ่มนโยบายฯ กลุ่มอานวยการ กลมุ่ อานวยการ กลุ่ม DLICT 4

กจิ กรรม ตัวชวี้ ัด เปา้ หมาย งบประ หน่วยนบั จานวน 7. กากบั ตดิ ตาม และ ร้อยละของบุคลากร รอ้ ยละ 100 ประเมินผล - สรุปผลการดาเนนิ โครงการ - รายงานผลการดาเนิน โครงการใหผ้ ้อู านวยการ สานักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 2 และ ผู้เกยี่ วข้องทราบ 35

ระยะเวลาดาเนนิ การ ะมาณ ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 ผรู้ ับผิดชอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 65 65 65 65 65 65 65 65 65 กลุ่มอานวยการ กลมุ่ นโยบายฯ กลุ่มพัฒนาครูฯ กลุ่มนเิ ทศฯ 5

7. ระยะเวลำดำเนินกำร ตั้งแต่ 1 ตลุ าคม 2564 ถงึ 30 กันยายน 2565 8. สถำนท่/ี พ้นื ท่ีดำเนินกำร สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต ๒ 9. ผลประโยชนท์ ีค่ ำดว่ำจะได้รับ (Impact) 1. บคุ ลากรของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ มฐี านความคิดในการ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2. สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ มกี ลไกและกระบวนการปอ้ งกนั การ ทุจรติ ท่ีเขม้ แข็งและเท่าทันต่อสถานการณ์การทุจริต 3. ดชั นีการรับรู้การทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมแี นวโน้ม ทดี่ ขี ึ้น 10. กำรตดิ ตำมประเมนิ ผล 1. การนิเทศ กากบั ติดตาม และการรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา สุจรติ 2. การรายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมของสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา ด้วยวิธีการออนไลน์ ผา่ น ทางเวบ็ ไซต์โครงการโรงเรียนสุจรติ (www.uprightschool.net) 3. การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online: ITA Online) 4. ดชั นีการรับรกู้ ารทุจรติ (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมีแนวโนม้ ที่ ดีข้นึ 36

แผนปฏิบตั กิ ำรป้องกนั กำรทุจรติ สำนักงำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำรำชบรุ ี เขต ๒ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 วิสยั ทัศน์ : สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ใสสะอาด ปราศจากคอร์รปั ชนั พันธกจิ : 1. สร้างวฒั นธรรมและค่านิยมการตอ่ ต้านการทจุ ริตในองคก์ ร 2. เสริมสร้างระบบบรหิ ารจดั การภายในองค์กรอย่างมธี รรมาภิบาล 3. พัฒนาระบบและกลไกในการปอ้ งกัน การควบคุม และการตรวจสอบการทจุ ริต เปำ้ ประสงค์ : 1. บคุ ลากรทกุ ระดับ มีจติ สานกึ และพฤติกรรมท่ีสามารถ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตัวและ ผลประโยชน์สว่ นรวม ประพฤติตนเปน็ พลเมืองดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม สู่การเป็นบคุ คลต้นแบบ 2. สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามผี ลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานเป็นไป ตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเปา้ หมาย เพอื่ ผลกั ดันให้ดชั นภี าพลักษณค์ อรร์ ัปชัน (CPI) ของประเทศไทยเพ่มิ สูงข้ึน 3. เสริมสรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ีในองค์กรและสาธารณชน ให้เกิดความเชอ่ื มัน่ ในกระบวนการทางาน ด้านการปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการทจุ ริต แผนงำนบูรณำกำรต่อต้ำนกำรทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ (ด้ำนป้องกนั กำรทจุ รติ ) แนวทำงท่ี 1 ปลูกฝงั วิธีคดิ ปลุกจิตสำนึกให้มีวฒั นธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตยส์ จุ ริต ตวั ชวี้ ัด ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 : 1. ร้อยละของบคุ ลากรในสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ท่มี ีพฤตกิ รรมยดึ ม่ันความซอื่ สตั ย์สจุ ริต ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 2 ที่มวี ัฒนธรรมค่านิยมสจุ ริต มีทศั นคติและพฤติกรรมในการต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 3. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๒ ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานออนไลน์ (ITA Online) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 95 37

เปำ้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงกำร/กจิ กรรม ตัวชว้ี ัด งบประมำณ (บำท) 1. บุคลากรทกุ ระดบั 1) การประกาศ 1. การประกาศ รอ้ ยละของ - มีจติ สานึกและ เจตนารมณ์ เจตนารมณ/์ กาหนด บุคลากรใน พฤติกรรมท่สี ามารถ บรหิ ารงานด้วย นโยบาย สานักงานเขต แยกแยะระหว่าง ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต - ประกาศเจตจานงการ พนื้ ทกี่ ารศึกษา ผลประโยชนส์ ว่ นตัว และกาหนด บรหิ ารงานดว้ ยความ เกดิ ความ และผลประโยชน์ นโยบายคณุ ธรรม ซ่ือสตั ย์สุจรติ ตระหนกั รูใ้ นการ ส่วนรวม ประพฤติตน และความโปร่งใสใน - ประกาศนโยบายไม่รบั ปอ้ งกนั การทจุ รติ เป็นพลเมืองดี การดาเนนิ งาน ของขวญั (No Gift Policy) มคี ่านยิ มร่วมต้าน มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม - การประกาศนโยบาย ทจุ รติ มจี ิต สานึก สกู่ ารเปน็ บคุ คลตน้ แบบ คุณธรรมและความโปร่งใส สาธารณะ และ ในการดาเนนิ งาน สามารถแยกแยะ - การตดิ ตามแนวทาง การ ระหว่าง ปฏิบตั เิ กย่ี วกับการให้และ ผลประโยชนส์ ่วน รบั ของขวัญ เพื่อให้ ตนและ บุคลากรถือปฏิบัติให้ ผลประโยชน์ เปน็ ไปตามนโยบายของ สว่ นรวม รฐั บาล และนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใน สง่ เสริมการตอ่ ตา้ นการ ทจุ ริต 2) สรา้ งจิตสานึกที่ 1. เสรมิ สร้างสมรรถนะ รอ้ ยละของ 90,000 ตวั บคุ คลให้ บุคลากร สานกั งานเขต จานวน ตระหนักรู้ถึงปัญหา พ้ืนท่ีการศึกษา ในการ บคุ ลากรผู้เข้ารว่ ม และผลกระทบของ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และปลูก กจิ กรรมมีความ การทุจรติ ใหด้ ารง จติ สานกึ สูก่ ารเปน็ ตระหนกั รู้ และ ตน อย่างมีศกั ด์ิศรี ข้าราชการท่ดี ี ไดร้ ับการปลูกฝงั และมีเกยี รติภมู ิ - การอบรมให้ความรู้ ให้มีทศั นคติ และ แนวทางปฏบิ ัติการเป็น ค่านยิ มท่ีไม่ ขา้ ราชการทดี่ ี เสรมิ สรา้ ง ยอมรบั การทจุ รติ การปอ้ งกนั และ ปราบปรามการทจุ รติ - การสร้างการรบั รู้เรอื่ ง ผลประโยชน์ทบั ซ้อน ใหก้ บั บคุ ลากรในสังกัด . 38

เปำ้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงกำร/กิจกรรม ตัวชี้วัด งบประมำณ (บำท) 2. สานกั งานเขตพืน้ ท่ี 3) ส่งเสริมการ 1. การเสรมิ สร้างคุณธรรม รอ้ ยละของ การศกึ ษา มผี ลการ 10,000 ประเมินคุณธรรมและ สรา้ ง คุณธรรมและ และจริยธรรมในการ จานวนบคุ ลากร ความโปร่งใสในการ - ดาเนนิ งาน เป็นไป จรยิ ธรรม ในการ ปฏิบัตงิ านเพื่อตอ่ ต้าน ทีไ่ ด้รับการ ตามเป้าหมายหรือ สงู กวา่ เปา้ หมาย ปฏิบัตงิ าน เพอ่ื การทุจรติ พัฒนาความรู้ เพอ่ื ผลักดนั ให้ดัชนี ภาพลกั ษณ์คอรร์ ปั ชั่น ตอ่ ต้านการทุจริต - กิจกรรมทาความดี เกี่ยวกบั คุณธรรม (CPI) ของประเทศ ไทยเพ่มิ สงู ขน้ึ เพอ่ื สาธารณะ แบง่ ปนั ลด และจริยธรรม . ความเห็น แก่ตวั โดยยึด และสามารถนา หลักพอเพียง มวี นิ ยั สจุ รติ ความรู้ ที่ได้รับไป จิตสาธารณะ ประยกุ ต์ใช้ในการ - กิจกรรมเสริมสรา้ ง ปฏิบตั ิหน้าที่ วฒั นธรรมองค์กร สง่ เสรมิ การทาความดี เสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝงั ความคดิ ปลูก จติ สานกึ ให้มวี ัฒนธรรม และพฤติกรรมซื่อสัตย์ สจุ ริต เช่น กจิ กรรมเคารพ ธงชาติ, กิจกรรมสวดมนต์ ไหว้พระ เจริญจติ ภาวนา, กิจกรรมจติ อาสา 1) พัฒนาและ 1. พัฒนาและยกระดับการ ค่าคะแนนเฉลย่ี ยกระดับการทางาน ทางานให้สอดคล้องกับการ การประเมิน ใหส้ อดคล้องกับการ ประเมินคุณธรรมและความ คุณธรรม และ ประเมนิ คุณธรรม โปร่งใสในการดาเนินงาน ความโปร่งใสของ และ ความโปรง่ ใส ของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) สานกั งานเขต ในการ ดาเนนิ งาน - กิจกรรมประชุมช้ีแจงให้ พ้นื ท่ีการศึกษา ของหน่วยงาน ปฏิบัติตามแนวทางการ (ITA) ภาครัฐ (ITA) ประเมนิ คุณธรรมและ ความโปร่งใสฯ - ประชมุ วิเคราะหค์ วาม เสี่ยง - การจัดทามาตรการ เผยแพร่ข้อมลู ต่อาธารณะ - การจัดทามาตรการใหผ้ ู้ มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียมีสว่ นรว่ ม 39

เปำ้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงกำร/กจิ กรรม ตวั ชี้วัด งบประมำณ (บำท) 2) ขบั เคล่อื น 1) การจัดทา หน่วยงานมี - นโยบาย และ แผนปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั แผนปฏบิ ัติ ยทุ ธศาสตร์ด้าน และปราบปรามการ การปอ้ งกันการ การปอ้ งกันและ ทุจริตของสานักงานเขต ทจุ รติ ประจาปี ปราบปรามการ พน้ื ท่กี ารศึกษา 2565 ทุจริตและ ประจาปี 2565 ประพฤตมิ ชิ อบ สกู่ ารปฏบิ ัติ 3. เสรมิ สร้างภาพลักษณ์ 1) สรา้ งการรับรู้ 1) สร้างสื่อประชาสัมพันธ์ จานวนรูปแบบ - แนวสร้างสรรค์ เพ่อื ให้ การประชาสมั พันธ์ ท่ีดใี นองคก์ รและ เกย่ี วกับบทบาท เข้าถึงได้ง่าย นา่ สนใจ ในด้านการตอ่ ต้าน และกระต้นุ ให้ ประชาชน การทจุ ริต เพ่ือ สาธารณชนให้เกิด หน้าที่ และการ รู้สึกร่วมเปน็ ส่วนหนง่ึ สรา้ งการรับรู้ ในการต่อตา้ นการทุจริต ความเช่อื มัน่ ใน ดาเนินงาน ในด้าน กระบวนการทางาน การสง่ เสริม ดา้ นการปอ้ งกันและ จรยิ ธรรม และ ต่อตา้ นการทุจรติ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ 2) กากับ ติดตาม และ ร้อยละของ - ประเมินผล ผ้รู บั ผิดชอบ - สรุปผลการดาเนนิ โครงการ/ โครงการ กิจกรรมมีการ - รายงานผลการดาเนิน รายงานผลการ โครงการใหผ้ ้อู านวยการ ดาเนนิ งานทม่ี ี สานักงานเขตพ้ืนท่ี ประสทิ ธิภาพ การศกึ ษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2 และ ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ . 40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook