Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครื่องมือการอ่านการเขียน ม.๑ (ธันวาคม ๒๕๖๓)

เครื่องมือการอ่านการเขียน ม.๑ (ธันวาคม ๒๕๖๓)

Description: เครื่องมือการอ่านการเขียน ม.๑ (ธันวาคม ๒๕๖๓)

Search

Read the Text Version

เครอ่ื งมอื คัดกรอง “ความสามารถในการอา่ นและการเขียน” (ฉบับนักเรียน) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ : ธันวาคม 256๓ สถาบันภาษาไทย สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สงวนลขิ สทิ ธิ์ -๑-

ฉบบั ที่ ๑ คาชแ้ี จง (ครูอา่ นคาช้ีแจงให้นักเรียนฟัง) ให้นักเรียนตอบคาถาม โดยเขียนเครื่องหมาย X ทบั ตวั อักษร ก. ข. ค. หรือ ง. หนา้ คาตอบทีถ่ ูกต้อง ใชเ้ วลา 3๐ นาที อ่านบทอ่านต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ข้อ 1 - 5 ถงึ เกาะพระท่รี ะยะสาเภาล่ม เภตราจมอยใู่ นแควกระแสไหล ถึงเกาะเรยี นโอเ้ รียมยิ่งเกรยี มใจ ที่เพื่อนไปเขากโ็ จษกนั กลางเรือ ว่าค้งุ หนา้ ทา่ เสือข้ามกระแส พแ่ี ลแลหาเสอื ไมเ่ ห็นเสือ ถา้ มจี ริงก็จะวิง่ ลงจากเรือ อทุ ศิ เน้ือให้เปน็ ภักษ์พยัคฆา ไมเ่ คยตายเขาบา่ ยนาวาล่อง เข้าในคลองตะเคยี นให้โหยหา ระยะย่านบ้านช่องในคลองมา ลว้ นภาษาพวกแขกตะนีอึง ดูหนา้ ตาก็ไม่นา่ จะชมช่นื พ่แี ขง็ ขนื อารมณ์ทาก้มขงึ ทเ่ี พ่ือนเรารอ้ งหยอกมนั ออกอึง จนเรือถงึ ปากชอ่ งคลองตะเคียน ฯ (ประชมุ วรรณคดีเรอ่ื ง พระพทุ ธบาท, สนุ ทรภู่) ๑. คาในขอ้ ใดมคี วามหมายตรงขา้ มกัน ข. กระแส - นาวา ก. เสอื - พยคั ฆา ง. เกรยี มใจ - ชมชนื่ ค. สาเภา - เภตรา 2. คาประพันธ์ข้างต้นใชว้ ธิ ีการเขยี นลกั ษณะใดเป็นหลัก ข. บรรยายความ ก. อธิบายความ ง. เขยี นโนม้ น้าวใจ ค. บอกเหตุและผล 3. ข้อใดไม่ใช่ช่อื สถานที่ ข. แขกตะนี ก. ทา่ เสือ ง. คลองตะเคยี น ค. เกาะเรียน 4. คาประพนั ธ์ในข้อใดแสดงความร้สู กึ ของกวีชดั เจนท่ีสุด ก. ว่าคุ้งหน้าท่าเสอื ขา้ มกระแส ข. พแ่ี ลแลหาเสือไม่เห็นเสือ ค. ถงึ เกาะเรยี นโอเ้ รยี มยิ่งเกรียมใจ ง. ทีเ่ พือ่ นไปเขากโ็ จษกนั กลางเรือ 5. ขอ้ ใดคือจดุ ประสงค์ของกวตี ามบทประพนั ธข์ ้างต้น ก. อธิบายช่อื สถานท่ี ข. อนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรม ค. บอกชอ่ื สถานทต่ี า่ ง ๆ ที่ได้พบ ง. ชชี้ วนใหเ้ หน็ ความแตกต่างหลากหลายของคนในสงั คม -๒-

อา่ นบทอา่ นตอ่ ไปนี้ แล้วตอบคาถาม ขอ้ 6 - 10 อยา่ เกะกะแกะก้าม ปูเป็น หาแหล่งโลหติ เห็น ห่อนได้ โลหิตบแ่ ดงเดน็ แต่หยาด ยางแฮ ปูเปรียบผ้ทู รพั ยไ์ ร้ เร่งร้ปู รานี ฯ (โคลงสภุ าษติ ประจาภาพในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม) 6. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเกี่ยวกบั คาประพันธ์ข้างต้น ข. ไมป่ รากฏสมั ผัสพยัญชนะ ก. เป็นโคลงสสี่ ุภาพ ง. มสี ัมผสั บงั คบั ถูกต้องและครบถว้ น ค. มกี ารใช้คาสรอ้ ย ๑ ตาแหนง่ 7. คาวา่ “เกะกะ” ในคาประพันธข์ า้ งต้นมีความหมายตรงกบั ข้อใดมากท่สี ุด ก. รก ข. สกปรก ค. หยอกล้อ ง. กลน่ั แกล้ง 8. จากคาประพนั ธข์ ้างต้น ข้อใดสัมพนั ธ์กับคาว่า “แดง” มากทสี่ ดุ ก. ปูเป็น ข. โลหติ ค. ผูท้ รัพย์ไร้ ง. แกะก้าม 9. คาประพันธ์ดังกลา่ ว กลา่ วถงึ บุคคลในข้อใด ข. คนโลภ ก. คนจน ง. คนประมาท ค. คนขลาด 10. กวตี ้องการสอื่ สารตามข้อใดมากทสี่ ดุ ข. โลหิตบแ่ ดงเดน็ ก. เรง่ รู้ปรานี ง. อย่าเกะกะแกะก้าม ค. หาแหลง่ โลหิตเหน็ อา่ นบทอา่ นต่อไปน้ี แล้วตอบคาถาม ข้อ 11 - 15 สะเดา ถ่นิ กาเนิดดั้งเดมิ ของสะเดาอยใู่ นบริเวณประเทศพม่าและประเทศอินเดีย แล้วมีการกระจายพันธ์ุ ไปในป่าแล้งแถบในประเทศปากีสถาน ศรีลังกา มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย สาหรับในประเทศไท ย มีเขตการกระจายตามธรรมชาติเป็นป่าเบญจพรรณแล้งและป่าแดงท่ัวประเทศ มีอากาศร้อนช้ืน ท่ีมีอุณหภูมิสูงได้ถึง ๔๔ องศาเซลเซียส ที่ระดับความสูง ๕๐ - ๑,๕๐๐ เมตร จากระดับน้าทะเล และสามารถ ข้ึนได้ในสภาพดินท่ีมีความแหง้ แล้ง ดินหิน และดินเหนยี ว คนไทยนิยมบริโภคสะเดาเป็นผัก โดยดอกและยอดอ่อนนามาลวก ป้ิงไฟ หรือต้มให้สุก ใช้จิ้มน้าพริก หรือบริโภคเป็นสะเดาน้าปลาหวาน โดยสะเดาเป็นผักที่มีแคลเซียมสูงสุดเป็นอันดับ ๓ มีธาตุเหล็กสูงสุด เป็นอันดับ ๔ มีเสน้ ใยอาหารสงู เป็นอันดับ ๓ และมีเบตาแคโรทีนสูงเปน็ อนั ดบั ๕ ในบรรดาผกั ท้งั หมด ในช่วงไมก่ ่ีปีท่ีผ่านมานี้ สะเดากลับมาเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก เม่ือมีผู้นาเมล็ดสะเดา มาสกัดใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืชอย่างได้ผล ไม่เป็นพิษภัยต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมเหมือนสารเคมี กาจดั แมลงท่ีกาลังเป็นปญั หารา้ ยแรงของการเกษตรในปจั จุบัน -๓-

สะเดา (ตอ่ ) ส่วนเนื้อไม้สะเดา มีลักษณะคล้ายกับเนื้อไม้มะฮอกกานี เหมาะสาหรับใช้ในการก่อสร้าง และทาเฟอร์นิเจอร์ เช่น ทาเสาบ้าน ทาฝาบา้ น คาน ตง รากสะเดานั้นใช้ต้มน้า ช่วยลดไข้ แก้อาการไอ ยอดสะเดานามาลวกรับประทาน แก้ปากเปื่อย หรอื รมิ ฝีปากเป็นแผล ข้อแนะนาและข้อควรระวัง 1. การรับประทานน้ามันสะเดาและเปลือกของต้นสะเดาค่อนข้างไม่ปลอดภยั สาหรับหญิงท่ีกาลัง ตงั้ ครรภ์และหญงิ ให้นมบุตร เพราะอาจทาให้เกดิ การแทง้ บุตรและทาให้ไมม่ นี า้ นมได้ 2. คนเป็นโรคความดันโลหิตต่าไม่ควรรับประทาน เพราะสะเดามีคุณสมบัติลดน้าตาลในเลือด อาจยิ่งทาให้เลอื ดไหลเวยี นนอ้ ยลง เปน็ ลม หมดสติ หรือวบู ไดง้ า่ ย 3. สะเดามรี สขม จึงเป็นยาเย็น จงึ ไมเ่ หมาะกบั คนธาตุเย็น เพราะจะยง่ิ ทาใหท้ อ้ งอดื เกดิ ลมในกระเพาะ 4. คนที่เป็นโรคกระเพาะหรือโรคท่ีเกี่ยวกับช่องท้อง เช่น โรคกรดไหลย้อน ภาวะเรอเปร้ียว แสบร้อน กลางอก เพราะรสขมเป็นรสท่ชี ว่ ยกระตุ้นสร้างน้ายอ่ ยใหอ้ อกมากขึน้ (ปรบั จาก https://www.disthai.com/17056969/สะเดา) 11. จากบทอ่านข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้อง ก. ต้นสะเดาปลกู ไดเ้ ฉพาะท่ีประเทศไทย ข. ต้นสะเดาเติบโตบรเิ วณอากาศร้อนช้นื ค. ต้นสะเดาโตอยใู่ นเขตปา่ เบญจพรรณแล้งท่วั ประเทศ ง. ตน้ สะเดางอกงามได้ในระดับสงู ๘๐ เมตรจากระดับน้าทะเล 12. ข้อใดกล่าวถึงคณุ ค่าทางอาหารของสะเดาไมถ่ ูกต้อง ข. สะเดามีแคลเซียมในระดบั สงู ก. สะเดามีเสน้ ใยในระดับสูง ง. สะเดามีแคลเซียมสูงเท่ากบั เสน้ ใยในอาหาร ค. สะเดามเี บตาแคโรทนี ในระดบั สูง 13. ถ้าตน้ ชมพู่ทป่ี ลกู มหี นอนเจาะ นักเรยี นจะใช้ประโยชน์ส่วนใดจากสะเดาเพื่อแกป้ ัญหา ก. ราก ข. ยาง ค. เมล็ด ง. เปลือก 14. จากบทอ่าน บุคคลทีม่ ีอาการในข้อใดที่ไมค่ วรรบั ประทานสะเดา ก. ไอ ข. มไี ข้ ค. ริมฝีปากเปน็ แผล ง. ความดันโลหิตตา่ 15. ชอื่ ในข้อใดเหมาะสมกับบทอา่ นข้างตน้ มากท่สี ดุ ข. สะเดาและสรรพคุณ ก. ถนิ่ กาเนดิ ของสะเดา ง. ขอ้ ควรระวังเกี่ยวกับสะเดา ค. งานวิจยั เกย่ี วกบั สะเดา -๔-

อ่านบทอา่ นตอ่ ไปน้ี แล้วตอบคาถาม ข้อ 16 - 20 ๒. การรู้จักพูดจา ต้องไม่ทกั ทาย 1. ปราศรัยกับคนด้วยคาพูดทจ่ี ะทาให้ การรจู้ กั วางตน ต้องเป็นคนมีความอดทน คนเขาเกิดความอบั อายในสงั คม มคี วามสงบเสงีย่ ม ไมแ่ สดงกริ ิยากา้ วร้าว ๔. ๓. การรจู้ ักควบคุมอิรยิ าบถ การรู้จักควบคุมอารมณ์ คือ รจู้ ักข่มจติ ของตน ไมใ่ ช้อารมณ์รุนแรง เพ่ือไม่ให้ลว่ งสิ่งท่ีไม่ควรล่วง ๕. ๖. ความมนี า้ ใจไมตรีอันดีต่อกนั การช่วยเหลือผู้อ่นื (http://www.m-cultuer.go.th/young/ewt_news.php?nid=347&filename=indexttpswww) 16. ช่อื เรือ่ งในขอ้ ใดเหมาะสมกับบทอา่ นข้างตน้ มากที่สดุ ก. กาลเทศะ ข. น้าใจไมตรี ค. การพัฒนาชวี ิตคนเมือง ง. มารยาทในการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม 17. หวั ข้อใดใกล้เคยี งกบั “การรู้จกั ควบคมุ อิริยาบถ” มากที่สดุ ก. การชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ข. การรจู้ กั ควบคุมอารมณ์ ค. ความมีน้าใจไมตรยี นิ ดตี ่อกนั ง. การร้จู กั วางตน มคี วามสงบเสง่ยี ม 18. “ไมท่ าลายขา้ วของเมือ่ รู้สึกไม่พอใจ” คาอธบิ ายดงั กล่าวเหมาะสมกับหัวขอ้ ใดมากที่สุด ก. การรูจ้ กั วางตน ข. การชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ค. การรจู้ กั ควบคมุ อารมณ์ ง. ความมีน้าใจไมตรียินดตี ่อกัน 19. บทอา่ นขา้ งตน้ ไมไ่ ด้กลา่ วถึงประเด็นใด ข. วาจา ก. กาย ง. ความคดิ ค. ใจ -๕-

20. พฤติกรรมในขอ้ ใดตรงกับบทอา่ น ข. ดขู อ้ เท็จจริง ก. ใฝเ่ รียนรู้ ง. หาส่ิงสนบั สนุนเหตุและผล ค. ยม้ิ แยม้ แจ่มใส ฉบับท่ี 2 คาช้ีแจง (ครูอา่ นคาช้แี จงให้นักเรียนฟัง) ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นในประเด็น “การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมท่ีมีความคิดหลากหลาย” ดว้ ยตวั บรรจงครึ่งบรรทัด ความยาว ๑0 - 12 บรรทดั และตงั้ ชื่อเรอ่ื งให้เหมาะสม ใชเ้ วลา ๒๐ นาที -๖-