Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานหลักคู่มือการจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน

คู่มือปฏิบัติงานหลักคู่มือการจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน

Published by Luckiga J, 2022-05-24 06:33:46

Description: คู่มือปฏิบัติงานหลักคู่มือการจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน

Search

Read the Text Version

คูม่ ือปฏิบัตงิ านหลกั เร่อื ง การจดั ทาทะเบยี นคมุ วสั ดุและครุภณั ฑ์ในระบบบริหารงบประมาณ การเงนิ และ การบัญชีเกณฑค์ งคา้ ง(ระบบ MIS ) จดั ทาโดย นางสาวกมลภทั ร จนั ทรเ์ ดช งานคลงั กองกลาง สานักงานอธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์

คำนำ คู่มือปฏิบัติงานหลักเล่มนี้จัดทาตามประกาศ ก.พ.อ. เร่ืองมาตรฐานการกาหนดตาแหน่งและ การแต่งต้ังข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดารงตาแหน่งสูงขึ้น พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่ึงเป็นคู่มือ เอกสารแสดงเส้นทางการทางานหลักของการจัดทาบัญชีรายงานทางการเงินในระบบบริหาร งบประมาณการเงิน และการบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ระบบ MIS) ต้ังแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดกระบวนการ โดยผ้จู ัดทา ได้เล็งเห็นว่าคมู่ ือเล่มน้ีมีความสาคัญอย่างยิ่งในการปฏิบัตงิ าน เพื่อชว่ ยให้หน่วยงานมีค่มู ือ ไว้ใช้ในการปฏิบัติงาน และช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานใหม่สามารถศึกษางานได้อย่างรวดเร็ว ทาให้บุคลากร ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดทาบัญชีและรายงานทางการเงินของงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี มีความรู้ มรี ะบบการทางานทีม่ ปี ระสิทธภิ าพเพิม่ มากขน้ึ และเกดิ ผลสมั ฤทธิต์ อ่ องค์กร วัตถุประสงค์ของการจัดทาคู่มือปฏิบัติงานหลักเกี่ยวกับการจัดทาทะเบียนคุมวัสดุและ ครุภัณฑ์ในระบบบริหารงบประมาณการเงิน และการบัญชีเกณฑ์คงค้าง (ระบบ MIS) ของงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงข้ันตอน วิธีการปฏิบัติงาน ประกอบกับใช้เป็นคู่มือแนวทางในการปฏิบัติงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ นอกจากน้ียังเป็นการกาหนดคู่มือแนวทาง ในการทางานท่ีเหมาะสมกับสถานการณ์ เพ่ือให้งานประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ และ เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิตอ่ องค์กร นางสาวกมลภัทร์ จนั ทร์เดช เจ้าหน้าทเ่ี ทคนิคการเงนิ และบญั ชี

สารบญั หนา้ คานา ก สารบัญ ข สว่ นท่ี 1 บริบทมหาวิทยาลัย 1-3 ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์......................................................................... 3 โครงสร้างงานคลัง กองกลาง สานกั งานอธิการบด.ี .................................................... สว่ นที่ 2 บริบทงานคลงั 4 ปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ /ภารกจิ ............................................................................. 4-5 วัตถปุ ระสงค์ เปา้ ประสงค์.......................................................................................... นโยบายการบริหารการจัดการภายในงานคลัง................................................... ....... 5 สรปุ รายละเอียดผลการดาเนินงานตามมาตรฐานตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของงาน............... 5-6 โครงสร้างและลักษณะงานงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี........................... โครงสรา้ งการบริหารของงานงานคลัง กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี...................... 6 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของงานงานคลงั กองกลาง สานักงานอธิการบด.ี ....... 7 7 8-14 สว่ นท่ี 3 บทบาทหน้าทค่ี วามรับผิดชอบตามภารงานตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 15 โครงสร้างลักษณะงานบริหารงบประมาณและลักษณะงานที่ตอ้ งปฏิบัติ.................... 16 สว่ นท่ี 4 ขั้นตอนหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติงานในการจัดทาทะเบียนคุมวัสดุและ 17 ครุภัณฑ์ในระบบบริหารงานงบประมาณ การเงิน และการบัญชีเกณฑาคงค้าง (ระบบ MIS) สาระสาคญั และความเปน็ มาของการจัดทาคู่มอื ปฏบิ ัตงิ านหลัก................................ 17-18 ทม่ี าของขนั้ ตอนและหลกั เกณฑ์วิธีการจดั ทาทะเบียนคุมวัสดแุ ละครุภณั ฑ.์ ............... 18 ขั้นตอนและหลกั เกณฑว์ ธิ ีการปฏิบตั งิ าน................................................................... 19-36

1 สว่ นที่ 1 บรบิ ทมหาวิทยาลยั ประวตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ต้ังอยู่เลขท่ี 27 ถนนอินใจมี ตาบลท่าอิฐ อาเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อต้ังเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2479 ในที่ดินราชพัสดุมีเนื้อที่ 42 ไร่เศษ เดิมมีช่ือ เรียกว่า “โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดอุตรดิตถ์” เปิดการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร จังหวัด (ว.) และเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรครูประชาบาล (ป.ป.) โดยมีประวัติพัฒนาการ ตามลาดับดังน้ี โรงเรยี นฝึกหัดครู วันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2491 ได้เปลี่ยนชื่อจาก“โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัด อุตรดิตถ์” เป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูอุตรดิตถ์” เปิดการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรครูมูล (ป.) จนถึงปี พ.ศ. 2498 จึงได้เปิดการสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศกึ ษา (ป.กศ.) และเลิกการสอนหลักสูตร อนื่ ๆ วิทยาครูอตุ รดิตถ์ วันที่ 25 พฤษภาคม 2511 ได้ยกฐานะเป็น “วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์” เปิดการสอนระดับ ประกาศนียบตั รวิชาการศกึ ษาช้ันสูง (ป.กศ.สงู ) ปี พ.ศ. 2512 ได้มีการขยายปริมาณงานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อจานวนนักเรียนที่ต้องการเข้า เรยี นในวทิ ยาลัยครูมากขึ้น และความต้องการครมู ีมาก จนตอ้ งเปิดสอนใหแ้ กบ่ คุ ลากรภายนอก (ภาคคา่ ) ปี พ.ศ. 2513 เปิดสอนหลกั สตู รประกาศนียบัตรครปู ระถม (ป.ป.) เพิ่มขนึ้ ตามความต้องการของ ต้นสงั กัดตา่ งๆ ปี พ.ศ. 2518 ได้มีการตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูขึ้นแล้ว วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ได้รับการยก ฐานะเปน็ วิทยาลยั ครู ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู เมื่อวันท่ี 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2519 ทาใหว้ ิทยาลยั ครู มีฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาผลิตครรู ะดับ ป.กศ. และ ป.กศ. ช้ันสูง ตามหลักสูตรสภาการฝึกหักครูและ เปลยี่ นการจัดการสอนภาคนอกเวลามาเปน็ การสอนฝึกหัดครตู อ่ เน่ืองแทน ปี พ.ศ. 2521 เร่ิมเปิดการสอนระดับปริญญาตรี (ค.บ.) เลิกผลิตครูในโครงการฝึกหัดครู ภาค ตอ่ เนื่องโดยทสี่ ถาบัน ได้เล็งเหน็ วา่ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาประจาการในจังหวดั อุตรดิตถ์ แพร่ และ น่าน ซ่งึ เป็นเขตรบั ผิดชอบของสถาบนั ยงั มวี ฒุ ิการศกึ ษาต่ากว่าปริญญาตรีเป็นจานวนมาก ประกอบกับต้น สังกัดของครูเหล่าน้ี มีความต้องการจะพัฒนาครูของตนให้มีความรู้และสมรรถภาพสูงข้ึน สถาบันโดย ความเห็นชอบของสภาฝึกหัดครูจึงได้จัดให้มีการอบรมครู และบุคลากรทางการศึกษาประจาการ (อคป.) ขนึ้ เปน็ รุ่นแรกในปี พ.ศ. 2522 ปี พ.ศ. 2524 ทางวิทยาลัยได้ขอจัดสรรที่ดิน ตาบลหมอนไม้ มีเน้ือที่ประมาณ 400 ไร่ แต่ทาง จังหวัดได้ขอจัดสรรให้หน่วยงานอื่นๆ ด้วย และส่วนหน่ึงได้จัดทาเป็นสนามกีฬาจังหวัดอุตรดิตถ์ และได้ แบ่งสรรท่ีดนิ ให้แกว่ ิทยาลยั ครอู ุตรดิตถ์ สถาบันได้เข้าไปปักหลกั เขตและวดั พื้นท่ีเรียบร้อยในปี พ.ศ. 2530

2 มีเนื้อท่ี 92 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา ซึ่งมหาวิทยาลัยได้พัฒนาท่ีดินผืนนี้เป็นศูนย์ประสบการณ์วิชาชีพทาง การเกษตร และเปน็ ศูนยว์ จิ ัยค้นคว้าทางเกษตรและเทคโนโลยี ปี พ.ศ. 2526 ได้เร่ิมเปิดสอนหลกั สูตรวิชาเอกเทคนิคการอาชีพ ระดบั ป.กศ. ชั้นสูง 5 สาขาวิชา ซึง่ นบั ได้ว่าได้เริม่ ขยายฐานทางวชิ าการและวิชาชีพ ออกไปอีกกา้ วหนงึ่ ปี พ.ศ. 2527 ได้มกี ารแกไ้ ขพระราชบญั ญัติวิทยาครู พ.ศ. 2518 มีสาระสาคัญใหว้ ิทยาลัยครูเป็น สถาบันศึกษาและวิจยั ทางการสอนวิชาการต่างๆ และผลิตครูถึงระดบั ปรญิ ญาตรี ทาใหว้ ิทยาลัยมีฐานเป็น สถาบันอุดมศกึ ษาหรือมหาวิทยาลัย จึงได้เปิดสอนวิชาสาขาอนื่ ในระดับอนุปรญิ ญาเพมิ่ ขึ้น ในปีการศึกษา 2528 เปน็ ปีแรก 4 สาขา ได้แก่ ออกแบบประยุกต์ศลิ ปะ,พืชศาสตร์,ไฟฟา้ และนเิ ทศศาสตร์ ปี พ.ศ. 2529 ได้จัดการศึกษาสาหรับบุคลากรประจาการ (กศ.บป.) ข้ึนเป็นรุ่นแรกในสาขา การศึกษาและสาขาวิชการอนื่ ทั้งระดับอนุปริญญาและระดบั ปรญิ ญาตรี ปี พ.ศ. 2530 ได้เปิดโรงเรียนสาธิตช้ันเด็กเล็กและชั้นอนุบาล ตามสภาฝึกหักครูอนุมัติ และมี โครงการขยายเปดิ ชั้นประถมปที ี่ 1 ในปีการศกึ ษา 2531 ปี พ.ศ. 2533 วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ได้ร่วมกับสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ หรือนิด้า (NIDA) เพื่อเปิดสอนปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์ ภาคพิเศษ เปน็ รุ่นแรก ตามโครงการ NIDA-UTC และในปี พ.ศ. 2534 วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ได้ร่วมมือกับหอการค้าจังหวัดอุตรดิตถ์ ในการเปิดสอนภาค พิเศษ สาหรับสมาชิกหอการค้า เพ่ือรบั ปรญิ ญาทางบริหารธุรกิจ และยกมาตรฐานทางการค้าของจังหวัด อตุ รดิตถต์ ามโครงการ EBD-UTC สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าพระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” แทนวิทยาลัยครู สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ จึงมีฐานะเป็น ส่วนราชการหนงึ่ ของสานักงานสภาสถาบันราชภัฏ การดาเนินงานของสถาบันขึ้นอยู่กับขอบขา่ ยที่กาหนด ไวต้ ามพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2537 โดยมีสภาสถาบันราชภฏั และสภาประจาสถาบันราชภัฏ อตุ รดิตถด์ ังกล่าวเปน็ ผกู้ าหนด มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ วันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 ได้ทรงมีพระมห า กรุณาธิคุณโปรดเกล้าลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏพ.ศ. 2547 ซ่ึงได้นา ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาในวันท่ี 14 มิถุนายน 2547 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2547 เปน็ ต้นไป มผี ลทาให้สถาบนั ราชภัฏท่วั ประเทศได้ยกฐานะขึ้นเปน็ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์มีรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูลเป็นนายกสภา มหาวิทยาลัย และมีรองศาสตราจารย์ ดร.สุภาวิณี สัตยาภรณ์ เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดติ ถ์

3 โครงสร้างงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ สภามหาวทิ ยาลยั อธิการบดี รองอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร ผู้อานวยการสานักงานอธิการบดี ผ้อู านวยการกองกลาง งานคลัง

4 สว่ นท่ี 2 บริบทงานคลัง งานคลัง กองกลาง สานกั งานอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ งานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี เป็นหน่วยงาน ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยอยู่ภายใต้โครงสร้างการบริหารงานของกองกลางสานักงาน อธิการบดี ลักษณะงานโดยรวมของงานเป็นหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษา มีหน้าที่และความ รับผิดชอบ ด้านการรับเงินและการนาส่งเงิน การเบิกจ่ายเงินท้ังเงินงบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้เงิน นอกงบประมาณ และการจัดทาบัญชีรายงานทางการเงนิ ทมี่ ีขอบเขตเนือ้ หาปริมาณงานหลากหลาย และ มีข้ันตอนการทางานยุ่งยากซับซ้อนมาก งานที่ต้องปฏิบัติแต่ละงานต้องใช้ ความรู้ ความสามารถ ความชานาญงาน และประสบการณ์ทางานอย่างมากเป็นพิเศษ เพราะในแต่วันบุคลากรงานคลังต้องคิด ริเริ่มพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคลให้เหมาะสม เพ่ือหาวิธีการใหม่ๆ มาใช้ในการวาง แผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนการแก้ไขปัญหา รวมถึงการตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบให้สาเร็จตาม วัตถุประสงค์ เพอ่ื งานมปี ระสิทธิภาพและเกิดผลสมั ฤทธิต์ อ่ องค์กร ปรชั ญา การให้บริการเป็นทั้งหน้าท่ีและโอกาสของเรา เราจึงมุ่งมั่นให้บริการด้วยไมตรีจิต รวดเร็ว รอบ ครอบ เสมอภาค เปน็ ธรรม และสนับสนุนงานของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ วิสัยทศั น์ งานคลงั กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี เป็นหน่วยงานที่มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการท่ี ดี สนับสนนุ การดาเนนิ งานตามพันธกจิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถด์ ้วยการใหบ้ ริการการด้านการรับ เงิน การนาส่งเงิน การเบิกจ่ายเงิน และการจัดทาบัญชีรายงานทาง การเงินเป็นไปตามที่กฎหมาย กาหนด ถกู ตอ้ ง รวดเรว็ โปร่งใส ตรวจสอบได้ พนั ธกิจ/ภารกจิ 1. ดาเนินงานเกี่ยวกับการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินทั้งเงนิ งบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ของ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ 2. กากับดูแล ควบคุมการเบกิ จ่ายเงินท้ังเงินงบประมาณแผน่ ดิน และเงนิ รายได้นอกงบประมาณ ของมหาวิทยาลยั ใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ฎหมายกาหนด 3. จัดทาระบบและกลไกด้านการเงิน และงบประมาณ ในด้านการรายงานผลการใช้จ่าย งบประมาณ และเงินรายได้เงินนอกงบประมาณต่อสภามหาวิยาลัยราชภัฏทุกเดือน และการจัดทาบัญชี รายงานทางการเงินของมหาวทิ ยาลัย เพือ่ รายงานผลการดาเนินงานต่อกรมบญั ชีกลาง สานกั งานตรวจเงิน แผ่นดนิ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งทงั้ ภายในและภายนอก

5 วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือสร้างจิตสานึกในการให้บริการเก่ียวกับการรับเงิน การเบิกจ่ายเงินท่ีมีความรวดเร็ว รอบคอบ มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักมาตรฐาน คุณธรรม จริยธรรม ความเสมอภาค เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้ 2. เพ่ือกากับดูแล ควบคุมการเบิกจ่ายท้ังเงินงบประมาณและเงินรายได้เงินนอกงบประมาณของ มหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานทุกระดับและสร้าง กระบวนการบริหารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และเกิดผลสมั ฤทธต์ิ ่อองคก์ ร 3. เพื่อวางแผน วางระบบการปฏิบัติงาน ลดโอกาส และผลกระทบจากความเสี่ยง เพื่อป้องกัน ความเสยี หาย และทสี่ าคญั มใิ ห้เกิดเหตุการณแ์ ละพฤติกรรมทีน่ าไปส่กู ารทุจริตของบุคลากร เปา้ ประสงค์ 1. ผู้บรหิ ารและบุคลกรของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ มีความรู้ ความเขา้ ใจเร่ือง กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย กระทรวงการคลัง มติสานักนายกรัฐมนตรี และการบริหารความเส่ียงเพ่ือ นาไปใชใ้ นการดาเนนิ งานตามแผนการปฏบิ ัติงานท่กี าหนด 2. ผู้บริหารและบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สามารถระบุความเส่ียง วิเคราะห์ ความเสีย่ ง ประเมนิ ความเส่ยี ง และขจดั ความเสยี่ งให้อยู่ในระดับที่ยอมรบั ได้ นโยบายการบริหารการจัดการภายในงานคลัง 1.ด้านการใหบ้ รกิ าร 1.1 มุ่งให้บรกิ ารดา้ นการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน โดยมุ่งเน้นให้บริการและอานวยความสะดวก รวดเร็ว รอบคอบ โปร่งใส ถูกต้องเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัย กระทรวงการคลัง มตสิ านักนายกรฐั มนตรี 1.2 ให้คาชี้แนะด้านการควบคุมการใช้งบประมาณของหน่วยงานต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ และใช้เงินไม่เกินวงเงินที่ได้รับอนุมัติในแต่ละรายการเพื่อให้ การเบิกจา่ ยถกู ต้องเป็นไปตามทก่ี ฎหมายกาหนด 1.3 การจัดทารายงานงบการเงินของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ รวมทั้งจัดทาทะเบียนคุม การรบั และการเบกิ จา่ ยเงินโดยม่งุ เนน้ ความถกู ตอ้ ง ความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 2.ด้านการบรหิ ารจดั การ 2.1 กาหนดภาระหนา้ ท่ี (Job Description) ของบุคลากรภายในงานคลงั ให้ชัดเจน 2.2 ให้บุคลากรมสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารและตดั สินใจเพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสดุ 2.3 สง่ เสริมให้ไดร้ บั การพฒั นาความรู้ ความสามารถอยา่ งต่อเนอื่ ง 2.4 มีระบบการประเมินการทางานบคุ ลากรงานคลังให้เป็นไปตามหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 2.5 มีระบบสารสนเทศเขา้ มาใช้เป็นข้อมลู ในการบรหิ ารจดั การ

6 2.6 นาระบบการควบคมุ ภายใน มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ 2.7 ไดร้ ับการตรวจสอบจากหน่วยงานภายในและหนว่ ยงานภายนอกเพ่อื ความถูกต้อง โปรง่ ใส จากปรัชญา พันธกิจ/ภารกิจ วัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ นโยบาย ของงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี เห็นได้ว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย คือ วัตถุประสงค์ข้อท่ี 8 เพื่อพัฒนาให้เกิดการบริหารจัดการที่ดี ทั้งด้านการบริหาร งานบุคลากร งาน วิชาการ งานกิจการนักศึกษา งานงบประมาณและการเงิน ที่เอื้อต่อการดาเนินงานตามพันธกิจได้อย่างมี คุณภาพ โดยมีการจัดทาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคาส่ังตามความเหมาะสม อีกท้ังยังสอดคล้อง กบั กลยุทธ์ของมหาวทิ ยาลัย คือ กลยุทธ์ที่ 18 พฒั นาระบบการจัดการด้านการคลัง งบประมาณ การเงิน และพัสดุ โดยยึดหลักการรักษาวินัยทางการคลังและความถูกต้องตามระเบียบ การจัดหาทรัพยากร ทางการเงิน การจัดสรรงบประมาณ การบริหารงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพฯ รวมถึงขั้นตอนการ ตรวจสอบ การควบคุม วิเคราะห์และจัดทารายงาน เพ่ือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (MIS) เพื่อลดการใช้ ทรัพยากรส้ินเปลือง และมีการจัดการความเสี่ยง(Risk Management) ในทุกงาน/โครงการ และการ บริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือที่สาคัญตามหลักการ การกากับดูแลกิจการที่ดี โดยช่วยให้การบริหารงาน และตดั สนิ ใจ เป็นการวางแผนการปฏิบัติงาน การติดตาม ควบคมุ การวดั ผลการปฏิบตั ิงานตลอดจนการใช้ ทรัพยากรต่างๆ อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ลดความสูญเสียและโอกาสท่ีจะก่อให้เกิดความ เสยี หายแก่มหาวทิ ยาลยั ในการปฏิบัติงานทุกอย่างล้วนมีความเสี่ยง ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน/เป้าหมายของ องค์กร จึงจาเป็นต้องมีการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ โดยการระบุว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงาน/เป้าหมายขององค์กร วิเคราะห์ความเส่ียง จากโอกาสและผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้น จัดลาดับความสาคัญของปัจจัยความเส่ียง แล้วกาหนดแนวทางในการจัดการความเส่ียง โดยคานึงถึง ความคุ้มคา่ ในการจัดการความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม สรปุ รายละเอียดผลการดาเนนิ งานตามมาตรฐานตวั ช้ีวดั ผลสาเร็จของงาน 1.งานคลัง สามารถรับเงินให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด และวางแผนประมาณ การณ์รายรบั ได้อย่างถกู ตอ้ ง 2.งานคลัง สามารถดาเนินการเบิกจ่ายงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้เงินนอกงบประมาณ ของมหาวิทยาลยั ได้อยา่ งถูกตอ้ ง สามารถตรวจสอบได้ 3.งานคลัง สามารถจัดทาบัญชีรายงานทางการเงินงบการเงินของมหาวิทยาลัยเป็นไปอย่าง ถกู ตอ้ งตรงตามท่ีกฎหมายกาหนด

7 โครงสรา้ งและลักษณะงานของงานคลงั กองกลาง สานักงานอธิการบดี โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของงานคลัง กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี

8 บทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบงานคลงั กองกลางสานักงานอธกิ ารบดี งานคลัง เป็นหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัยท่ีอยู่ภายใต้การสังกัดในหน่วยงานกองกลาง สานักงานอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ โดยตามโครงสร้างและลกั ษณะงาน จะอย่ใู นการกากับ ดูแลของผู้อานวยการกองกลาง และผู้อานวยการสานกั งานอธิการบดี โดยมีหน้าที่หลักหรือรายละเอียด งานแบ่งออกเปน็ 7 ด้านดงั ต่อไปนี้ 1. งานบริหารงานทั่วไป มบี ุคลากรผู้หน้าท่รี บั ผดิ ชอบจานวน 1 คน รับผิดชอบงานดังต่อไปน้ี (1) งานบริหารงานทวั่ ไปเก่ยี วกับงานธรุ การและงานสารบรรณ ดังต่อไปนี้ (1.1) รับ-ส่งหนังสือราชการภายในและภายนอกให้เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ ของทางราชการ (1.2) งานรา่ งหนังสือโต้ตอบหนงั สือราชการภายในและหนงั สอื ราชการภายนอกทว่ั ไปที่ ได้รบั มอบหมายจากหัวหน้างานคลัง (1.3) งานจัดทาทะเบียนควบคุมการรับหนังสือราชการท้ังภายในและภายนอก รวมถึง หนงั สือและเอกสารอืน่ ๆ ในระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (E-Office) (2) งานธุรกรรมทางการเงินของมหาวิทยาลัย อาทิการนาเงินสดฝากคลัง/เข้าบัญชี มหาวทิ ยาลยั ให้เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยรับและนาเงนิ สง่ คลัง พ.ศ. 2562 (3) งานติดต่อราชการกับหน่วยงานภายนอก เช่น ธนาคาร คลังจังหวัด สานักตรวจสอบเงิน แผน่ ดนิ และอ่นื ๆ (4) งานจดั ทาทะเบยี นคมุ วัสดงุ านคลัง กองกลาง สานกั งานอธิการบดี (5) งานจดั ทาทะเบยี นคมุ ครุภณั ฑ์งานคลงั กองกลาง สานกั งานอธิการบดี (6) งานจัดเกบ็ เอกสารหลักฐานใบสาคญั การเบกิ จา่ ยเงิน(งบเดือนหลักฐานการจา่ ยต่างๆของ มหาวทิ ยาลยั เพื่อรอรับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบเงินแผน่ ดิน (7) งานจัดเก็บหลักฐานใบสาคัญการจ่ายท่ีเทียบเท่าเงินสดเพ่ือรอรับการตรวจสอบจากผู้ ตรวจสอบเงินแผน่ ดนิ (8) งานอ่นื ๆ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากหัวหนา้ งานคลงั 2. งานการเงิน 2.1 งานบรหิ ารงบประมาณ มบี ุคลากรผู้หน้าทีร่ ับผิดชอบจานวน 1 คน รบั ผิดชอบงานดังตอ่ ไปนี้ (1) งานบริหารงบประมาณเกี่ยวกับการลงทะเบียนรับเรื่องขออนุมัติใบสาคัญการเบิก จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้บารุงการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เงินโครงการ รับฝาก และเงนิ กองทุน ลงในระบบ MIS Grow Account)

9 (2) การกล่ันกรองตรวจสอบเอกสารหลักฐานสาคัญการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้เงินรับฝาก เงินกองทุน ของหน่วยงานภายใต้การสังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ เพ่ือให้หลักฐานการ จ่ายเป็นไปตามท่ีกฎหมายกาหนด ก่อนนาเสนอผู้มีอานาจลงนามอนุมัติหลักฐานการจ่าย ซ่ึงมี กระบวนการขั้นตอนการทางานทยี่ ุง่ ยากซา้ ซ้อนภายใต้ขดี จากัดของกรอบเวลาทก่ี ฎหมายกาหนด (3) งานกองทุนเงนิ ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินการเก่ียวกบั การจัดทา ทะเบยี นคุมรายรบั -รายจ่ายเงนิ กองทุนให้กู้ยมื เพ่ือการศกึ ษาตามหลกั เกณฑ์และรูปแบบที่กองทุนกู้ยมื เพ่ือ การศึกษากาหนดนับตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูล การเบิกจ่าย และการจัดทารายงานประจาปีเพื่อรายงาน กองทนุ (4) งานบริหารค่าใช้จ่ายดาเนินงานเก่ียวกับเงินค่าใช้จ่ายดาเนินการเกี่ยวกับการเบิก จ่ายเงินค่าใช้จ่ายดาเนินการกองทุนเงินให้กยู้ ืมเพ่ือการศึกษานับต้ังแต่การเบิกจ่าย และการจัดทารายงาน ประจาปเี พ่ือรายงานกองทนุ (5) งานธุรกรรมทางการเงินของมหาวิทยาลัยที่เก่ียวข้องกับการบริหารงบประมาณและ การเงินของมหาวิทยาลัย อาทิ การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารระบบ KTB Coporate Online รวมถึงการ ผูกบัญชีเงินฝากงบประมาณ และผูกบัญชีเงินฝากธนาคารที่ต้องตัดจ่ายเงินงบประมาณจากเงิน งบประมาณแผ่นดิน เงนิ รายไดเ้ งนิ นอกงบประมาณ และเงนิ รายไดเ้ งนิ รับฝากของมหาวิทยาลัย (6) งานอืน่ ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากหวั หน้างานคลงั 2.2 งานเงนิ เดือนและสทิ ธปิ ระโยชน์ มีบคุ ลากรผูห้ น้าท่รี บั ผดิ ชอบจานวน 1 คน รับผิดชอบงานดงั ตอ่ ไปนี้ (1) งานธุรการและงานสารบรรณ การร่าง พมิ พ์หนงั สอื ราชการภายในและหนังสือราชการ ภายนอกท่ีเกี่ยวข้องกับเงินเดือนและสิทธิประโยชน์ของข้าราชการ ลูกจ้างประจา ผู้รับบานาญ และ พนักงานมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ (2) งานเงินเดือนจ่ายตรงข้าราชการในระบบจ่ายตรงกรมบัญชีกลางโดยถือปฏิบัติงานใน รปู แบบการดาเนินงานทางอเิ ล็กทรอนิกสใ์ นระบบจ่ายตรงเงนิ เดือนของกระทรวงการคลงั /กรมบัญชีกลาง (3) งานเงินเดือนพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานชั่วคราว/ลูกจ้าง ชั่วคราวในระบบบริหารงานบุคคลและเงินเดือนของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์โดยถือปฏิบัติงานใน รปู แบบการดาเนินงานทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด (4) งานบาเหน็จบานาญในระบบจา่ ยตรงกรมบัญชีกลาง (ระบบ e_pension) ทีป่ ฏบิ ัติงาน เก่ียวกับการดาเนินการ เร่ืองการขอเบิกเงินบาเหน็จบานาญของข้าราชการและลูกจ้างประจาที่ เกษียณอายุราชการในระบบอิเล็คทรอนิกส์ e_pension เพ่ือให้การเบิกจ่ายเงินเป็นไปตามพระราช กฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน เงินปีและเงินอ่ืนในลักษณะเดียวกัน ฯลฯ เพื่อให้การดาเนินงานการเบิกจ่าย บาเหนจ็ บานาญให้เปน็ ไปตามทก่ี ฎหมายกาหนด

10 (5) งานสวัสดิการเบิกจ่ายเงินงบกลางค่ารักษาพยาบาล ค่าศึกษาบุตร และอ่ืน ๆ ที่ เกี่ยวข้องกบั การเบิกจ่ายเงนิ งบกลางของกระทรวงการคลงั (6) งานจัดเตรียมเอกสารหลักฐานการจ่ายเก่ียวกับงานเงินเดือนและสิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าศึกษาบุตร และสวัสดิการงบกลางต่าง ๆ เพ่ือรอรับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบ สานกั ตรวจเงินแผน่ ดินจงั หวัดอุตรดติ ถ์ และผู้ตรวจสอบภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (7) งานอน่ื ๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมายจากหัวหนา้ งานคลัง 2.3 งานเงินยืมและลกู หน้เี งนิ ยืมนอกงบประมาณ มบี ุคลากรผูห้ น้าทีร่ บั ผิดชอบจานวน 1 คน รบั ผิดชอบงานดงั ต่อไปนี้ (1) งานธุรการและงานสารบรรณ การร่าง พิมพ์หนังสือราชการภายในและหนังสือ ราชการภายนอกที่เก่ียวข้องกบั เงนิ ยมื ลกู หนี้เงินนอกงบประมาณของมหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ (2) งานการบรหิ ารจัดการเกี่ยวกับลูกหน้ีเงินยืมนอกงบประมาณ เปน็ งานท่มี ีขัน้ ตอนการ ปฏบิ ตั ิงานรายละเอียดทย่ี งุ่ ยากซับซ้อนเร่มิ ตง้ั แต่ (2.1) การจัดทาทะเบียนคุมลูกหน้ีเงินนอกงบประมาณรายตัวบุคคล (สมุดคุมมือ และทะเบียมคมุ อิเล็กทรอนิกส์ซง่ึ ต้องทางานในระบบ MIS ท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด) (2.2) การกลั่นกรองตรวจหลักฐานสญั ญายืมเงินและเอกสารทใี่ ช้สนับสนนุ ในการขอ ยมื เงินให้เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงการคลัง ก่อนเสนอใหผ้ ้มู อี านาจลงนามอนุมตั ใิ ห้ยมื เงนิ (2.3) การดาเนินการเก่ียวกับการทาเช็คสั่งจ่าย เสนอผู้มีอานาจลงนามอนุมัติจ่าย เชค็ และการจ่ายเชค็ ใหแ้ กผ่ ู้มีสิทธติ ามสัญญายืมเงนิ (2.4) การกลั่นกรองและตรวจสอบหลักฐานใบสาคัญและการล้างใบสาคัญลูกหนี้ เงินยืมนอกงบประมาณ กรณีเงินงบประมาณแผ่นดินส่งมอบผู้เบิกวางฎีกาขอเบิกเงินในระบบ GFMIS ของกระทรวงการคลัง เมื่อได้รับเงินจากกระทรวงการคลังให้นาข้อมูลมาบันทึกล้างลูกหน้ีในระบบ MIS กรณีเงินรายได้บารุงการศึกษา เงินโครงการรับฝาก และเงินกองทุน บันทึกรายการล้างลูกหน้ีในระบบ MIS ของมหาวิทยาลยั ฯ (3) งานบริหารจัดการลูกหน้ีทุนพัฒนาบุคลากรเป็นงานท่ีมีขั้นตอนการปฏิบัติงาน รายละเอียดทย่ี ุ่งยากซับซอ้ น และตอ้ งเก่ยี วขอ้ งกบั งานบริหารงานบคุ คลและงานนติ ิการเรม่ิ ต้งั แต่ (3.1) เมื่อได้รับแจ้งข้อมูลและหนังสือแจ้งเกี่ยวกับบุคลากรท่ีได้รับทุนจาก มหาวิทยาลัยทาผิดสัญญาลูกหนี้ทุนจากกองบริหารงานบุคคลและนิติการ ต้องจัดเตรียมข้อมูลเพ่ือ ดาเนนิ การคานวณอัตราเงินชาระเงนิ ตามสญั ญารับสภาพหนีข้ องมหาวทิ ยาลยั ท่ีนติ ิการดาเนินการ (3.2) จัดทาทะเบียนคุมลูกหน้ีทุนพัฒนาบุคลากรรายตัวบุคคล (สมุดคุมมือและคุม ด้วยเคร่อื งมืออิเล็กทรอนกิ ส)์ (3.3) จัดทาบันทึกรายงานสรุปรายละเอียดการชาระหนี้ประจาปีงบประมาณให้ ลูกหนี้ทุนพัฒนาบุคลากรทราบและลงรายมือช่ือรับรองข้อมูลรับสภาพหน้ีเพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการ ดาเนนิ การตามกฎหมายใหเ้ ปน็ ไปตามท่กี ฏหมายกาหนด

11 (4) งานจัดเตรียมเอกสารหลักฐานการจ่ายใบสาคัญลูกหนี้เงินยืมและการล้างใบสาคัญ ลูกหนี้เงินนอกงบประมาณ ลูกหน้ีทุนพัฒนาบุคลากร และอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับลูกหน้ีเงินยืมนอก งบประมาณ เพ่ือรอรับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ และผู้ตรวจ สอบมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ (5) งานอ่นื ๆ ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหนา้ งานคลงั 2.4 งานรบั เงนิ มบี คุ ลากรผหู้ นา้ ท่รี ับผิดชอบจานวน 1 คน รับผิดชอบงานดังตอ่ ไปน้ี (1) งานธุรการและงานสารบรรณ การร่าง พิมพ์หนังสือราชการภายในและหนังสือ ราชการภายนอกท่เี กีย่ วข้องกับเงนิ สดและเงินฝากของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ (2) งานให้บริการการรับเงินและออกใบเสร็จรับเงิน เป็นงานท่ีต้องใช้ความซื่อสัตย์มี ความรับผิดชอบสูง มีข้ันตอนกระบวนการทางานท่ีเก่ียวข้องกับการรับเงินและการออกใบเสร็จเงิน ค่าธรรมเนียมการศึกษาค่าลงทะเบียน เงินรายได้บารุงการศึกษาเงินรายได้ต่างๆ ประกอบไปด้วยเงิน ค่าธรรมเนียมการศึกษาค่าลงทะเบียน ค่าสมัครสอบเข้าเรียนของนักศึกษา ภาคปกติ และภาคพิเศษเงิน เพิ่มถอนรายวิชากรณีปกติ เงินค่ารักษาสภาพ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าประกันของเสียหาย (หอพัก) เงินอุดหนุน เงนิ รบั ฝาก ฯลฯ ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ฎหมายกาหนด (3) งานควบคุมเงินสด และเงินฝากธนาคารประจาวัน ประจาวันส่งธนาคารและการ จดั ทารายงานบญั ชีประจาวนั เพอื่ รับรู้รายรบั ของมหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ เพอ่ื ส่งมอบงานบัญชีบันทึก บัญชีให้เป็นไปตามหลักฐานการมาตรฐานที่ภาครัฐกาหนด รวมถึงงานควมคุมรายรับ-รายจ่ายและการ จัดทาทะเบียมคุมเงินค่าประกันของเสียหายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และค่าประกัน ของเสียหาย (หอพกั ) เพ่อื ควบคมุ รายรายรับ-รายจ่ายและรอรับการตรวจสอบจากผตู้ รวจสอบเงนิ แผ่นดิน จงั หวดั อตุ รดิตถ์ และผตู้ รวจสอบทง้ั ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั (4) งานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินการเก่ียวกับการ จัดทาทะเบียนคุมรายรับ-รายจ่ายเงินกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาตามหลักเกณฑ์และรูปแบบท่ีกองทุน กู้ยืมเพ่ือการศึกษากาหนดนับตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูล การเบิกจ่าย และการจัดทารายงานประจาปีเพ่ือ รายงานกองทุน (5) งานบริหารค่าใช้จ่ายดาเนินงานเก่ียวกับเงินค่าใช้จ่ายดาเนินการเก่ียวกับการเบิก จ่ายเงินค่าใช้จ่ายดาเนินการกองทุนเงินให้กูย้ ืมเพ่ือการศึกษานับต้งั แต่การเบิกจ่าย และการจัดทารายงาน ประจาปเี พอ่ื รายงานกองทนุ (6) งานจัดเตรียมเอกสารหลักฐานการรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน รายงานบัญชีรับเงิน ประจาวัน ทะเบียนคุมเงินค่าประกันของเสียหายนักศึกษา และทะเบียนคุมค่าประกันของเสียหาย (หอพกั ) เพ่ือรอรับการตรวจสอบจากผตู้ รวจสอบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ และผู้ตรวจสอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (7) งานอน่ื ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากหัวหน้างานคลัง

12 2.5 งานเบิกจ่ายเงนิ (เงินงบประมาณแผน่ ดนิ เงินงบประมาณเบกิ แทนกนั เงินกโู้ ครงการ ภาครฐั เงินรายได้เงนิ นอกงบประมาณ เงินรายได้เงินรบั ฝาก เงนิ รับฝากเงินกองทนุ ) มีบคุ ลากรผู้หน้าทรี่ ับผิดชอบจานวน 3 คน รับผดิ ชอบงานดงั ตอ่ ไปนี้ (1) งานธุรการและงานสารบรรณ การร่าง พิมพ์หนังสือราชการภายในและหนังสือราชการ ภายนอกทเ่ี ก่ียวข้องกับการขอรบั เงนิ งบประมาณ การเบิกจา่ ยเงิน ฯลฯ ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์ (2) งานบริหารการเบิกจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน เงินงบประมาณเบิกแทนกัน เงินกู้ ภาครัฐ เงินรายได้เงินบารุงการศึกษาของมหาวิทยาลัย เงินรายได้เงินรับฝากต่าง ๆ เงินกองทุน เปน็ งานที่ มีขั้นตอนการปฏิบั ติงานรายละเอียดท่ียุ่งยากซับซ้อน ภ ายใต้ขีดจากัด ของห ลักเกณ ฑ์ แล ะวิธีการที่ กระทรวงการคลงั กาหนด (2.1) การกล่ันกรองและตรวจสอบเอกสารหลักฐานสาคัญการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ แผน่ ดิน เงินรายไดเ้ งินนอกงบประมาณ เงินรายได้เงนิ รบั ฝาก เงินกองทุน ของหนว่ ยงานภายใตก้ ารสังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ การตรวจเอกสารต้อง ตรวจกล่ันกลองเอกสารต้ังแต่หน้าแรกจนหน้าสุดท้าย เพื่อให้หลักฐานการจ่ายเป็นไปตามที่กฎหมาย กาหนด (2.2) การวางฎีกาขอเบิกเงินจากคลัง/เงินรายได้เงินนอกงบประมาณ เงินรายได้เงินรับ ฝาก เงินรายได้เงินกองทุน ซึ่งมีกระบวนการขั้นตอนการทางานท่ียุ่งยากซ้าซ้อน งานวางฎีกาขอเบิกเงิน จากคลังในระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ ระบบ GFMIS ของกระทรวงการคลัง เงินรายได้เงินนอกงบประมาณ เงิน รายได้เงินรับฝาก เงินรับฝากเงินกองทุนในระบบอิเล็กทรอนิกส์ MIS ของมหาวิทยาลัย ซ่ึงมีกระบวนการ ขัน้ ตอนการทางานทีย่ ุ่งยากซา้ ซ้อนภายใตข้ ดี จากดั ของหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารท่กี ระทรวงการคลังกาหนด (2.3) การบันทึกข้อมูลการเบิก-จ่ายลงในระบบอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ MIS ท่ี มหาวิทยาลัยกาหนด และการบันทึกขอจ่ายเงิน (ขจ.01) ลงในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ GFMISซ่ึงมี ก ร ะ บ ว น ก า ร ข้ั น ต อ น ก า ร ท า งา น ท่ี ยุ่ ง ย า ก ซ้ า ซ้ อ น ภ า ย ใต้ ขี ด จ า กั ด ข อ ง ห ลั ก เก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ กระทรวงการคลงั กาหนด (2.4) การบันทึกข้อมูลขอเบิกและขอจ่ายเงินลงในทะเบียนสมุดคู่มือคุมวางฎีกาเบิก จา่ ยเงินจากคลงั ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่กระทรวงการคลังกาหนด (3) งานจ่ายเงินหรือการโอนเงินผ่านอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS และระบบ KTB Corporate Online ท่ีกระทรวงการคลังกาหนดซ่ึงมีกระบวนการขั้นตอนการทางานท่ียุ่งยากซ้าซ้อนภายใต้ขีดจากัด ของหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารที่กระทรวงการคลงั กาหนด (4) งานประสานติดตามใบเสร็จรับเงิน และการจัดเก็บงบเดือนหลักฐานการจ่ายเพื่อรอรับ การตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ และผู้ตรวจสอบมหาวิทยาลัยราช ภัฏอุตรดติ ถ์ (5) งานจัดทารายงานติดตามสถานการณ์เบิกจ่ายเงินจากคลัง ประจาเดือน ประจาปีส่ง สานกั งานคลังจงั หวัดอุตรดติ ถ์ และสภามหาวทิ ยาลยั

13 (6) งานอ่นื ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากหัวหน้างานคลัง 3. งานบัญชีและการจัดทารายงานทางการเงนิ มบี คุ ลากรผหู้ นา้ ทีร่ ับผิดชอบจานวน 2 คน รับผดิ ชอบงานดังตอ่ ไปนี้ (1) งานธุรการและงานสารบรรณ การร่าง พิมพ์หนังสือราชการภายในและหนังสือราชการ ภายนอกท่ีเกี่ยวข้องกับการการทาธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเงินและบัญชีของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อตุ รดติ ถ์ (2) งานบริหารจัดการทางด้านบัญชีและการจัดทารายงานทางการเงินเป็นงานท่ีมี กระบวนการขั้นตอนการทางานรายละเอียดงานที่ยุ่งยากซับซ้อนภายใต้ขีดจากัดของหลักเกณฑ์และ วิธีการท่ีกระทรวงการคลังกาหนด ซึ่งจะต้องกลั่นกรองตรวจสอบเอกสารใบสาคัญต่างได้แก่ การบันทึก บญั ชดี า้ นรับ การบันทึกบญั ชีตั้งคา้ ง การบนั ทึกบัญชดี า้ นจา่ ย การบันทกึ บญั ชที ั่วไป เป็นตน้ (3) การบันทึกใบสาคญั การลงบัญชดี า้ นรับแบ่งออกเปน็ - การบันทกึ บัญชีรบั เงนิ ประจาวนั ได้แก่ รายได้จากการชาระเงินค่าธรรมเนียมการศกึ ษา หรือค่าลงทะเบียนเรียนนิสิตนักศึกษา รายได้ค่าขายใบสมัครและรับสมัครนักศึกษา ค่าธรรมเนียม การศึกษาต่าง ๆ ค่าใบรับรองคุณวุฒิ ค่าใบรับรองสาเร็จการศึกษา ค่าประกันของเสียหายนักศึกษา ค่า ประกันของเสียหาย(หอพัก) เงินคืนทดรองราชการหรอื คนื ลูกหน้ีทนุ พัฒนาบุคลากร รายได้จากเงนิ รับฝาก โครงการต่าง ๆ ซึ่งมีมากกว่า 30 รายการ รายได้จากเงินกองทุน 18 กองทุน ฯลฯ ผ่านระบบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ GFMIS ทภี่ าครฐั กาหนด และระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบ MIS ทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด - การบันทึกบัญชีนาเงินฝากธนาคารและโอนเงินเข้าบัญชี ได้แก่ การนาเงินสดฝาก ธนาคาร การนาเช็คฝากธนาคาร การโอนเงินเข้าบัญชี การโอนเงินระหว่างบัญชีค่าสมัครนักศึกษาจาก ธนาคารกรงุ ไทย การโอนเงินระหว่างบัญชีการชาระเงินลงทะเบียนจากธนาคารกรุงไทย/ธนาคารกรงุ เทพ/ ธนาคารกรุงศรี/ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ MIS ที่ มหาวิทยาลัยกาหนด - การบันทึกบัญชีรับเงินงบประมาณจากคลัง และ การบันทึกบัญชีนาเช็คบัญชีเงิน งบประมาณฝากธนาคาร ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS ท่ีภาครัฐกาหนด และระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ MIS ท่ีมหาวิทยาลยั กาหนด (4) ทาหน้าท่ีการกลั่นกรองตรวจสอบเอกสารใบสาคัญด้านจ่ายและการจัดทาใบสาคัญการ บันทึกบัญชีด้านจ่ายแบ่งออกเป็น การบันทึกรับรู้รายจ่ายตามใบเบิกเงินและเช็คหรือการโอนเงินผ่าน ระบบ KTB Corporate Online อาทิ เงินงบประมาณแผ่นดิน เงินงบประมาณเบิกแทนกัน เงินกู้ โครงการมาตรของรัฐฯ ต่าง ๆ เงินรายได้บารุงการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เงินรับฝากต่าง ๆ ซึ่งมีมากกวา่ 30 รายการ และเงนิ กองทนุ ฯ (5) งานจัดทาทะเบียนคุมการจ่ายเชค็ เช่น การบันทึกสาเนาเช็คและเชค็ เล่มของแตล่ ะเดอื น และการตัดเชค็ จาก Statement เม่อื มกี ารข้ึนเงนิ จากธนาคาร

14 หมายเหตุ รวมถึงการดาเนนิ การบนั ทึกบัญชีในส่วนของการโอนเงินตัดบัญชเี ชค็ ที่มกี ารข้ึนเชค็ กบั ธนาคาร ประจาวัน ผ่านอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบ MIS ทีม่ หาวิทยาลัยกาหนด (6) งานจัดทารายงานงบกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคาร โดยดูจาก Statement และสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารของมหาวิทยาลัย ไดแ้ ก่ บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน บัญชีเงนิ ฝากออมทรัพย์บญั ชเี งนิ ฝาก ประจา หมายเหตุ รวมถึงการบันทึกบัญชีรับรู้ดอกเบี้ยเงินฝากเม่ือครบกาหนดและบันทึกบัญชีเมื่อมีเงินโอนเงิน เขา้ บญั ชี ผา่ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบ MIS ท่มี หาวิทยาลยั กาหนด (7) การตรวจสอบยอดเงินเขา้ บญั ชี KTB Corporate Online ได้แก่ บัญชกี ระแสรายวันของ เงนิ งบประมาณ บญั ชีออมทรพั ย์ของมหาวิทยาลยั ทกุ บัญชี (8) งานจัดทางบการเงินและรายงานทางการเงิน ประเภทการจัดทารายงานแสดงยอดเงิน คงเหลือประจาเดือน รายงานงบทดลองประจาเดือน รายงานงบรายได้และค่าใช้จ่าย รายงานเงินฝาก คลัง-บูรณะทรัพย์สินรายงานเงินฝากสถาบันการเงิน รายงานเงินคงเหลือประจาวัน รายงานเจ้าหน้ี คงเหลือ รายงานใบสาคัญค้างจ่ายคงเหลือ รายงานเงินรับฝากและเงินประกัน รายงานยอดเงินทุน รายงานบญั ชีแยกประเภทสินทรัพย์/หนส้ี ิน/ทนุ /รายได/้ คา่ ใชจ้ ่าย (9) งานจัดทารายงานทางการเงินประเภท รายงานเงินฝากธนาคาร – กระแสรายวัน รายงานเงนิ ฝากธนาคาร – ออมทรัพย์รายงานเงินฝากธนาคาร – ประจา รายงานเงนิ จดั หารายได้และสทิ ธิ ประโยชน์ รายงานเงนิ มดั จาประกันสัญญา – เงนิ นอกงบประมาณ (10) งานจัดทารายการเปิด - ปิดบัญช/ี โอนเงินระหว่างบัญชี/เสนออัตราดอกเบ้ียเงินฝาก ธนาคาร และงานปรบั สมดุ บัญชีเงินฝากธนาคาร (11) งานปรับปรุงบัญชีในระบบ GFMISงานเรียกรายงานจากระบบ GFMIS เพื่อนามา ตรวจสอบเปรียบเทียบรายการบนั ทึกบัญชใี นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ MIS ของมหาวทิ ยาลยั ไดแ้ ก่รายงานงบ ทดลองประจาเดือน รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายงบประมาณ รายงานการจัดเก็บและนาส่งรายได้แผ่นดิน รายงานเงินสดคงเหลือประจาวัน รายงานเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง รายการที่ต้องไม่มียอดคงค้าง และการ ลา้ งบัญชีพักสินทรพั ย์ (12) งานจดั ทารายงานการเงนิ รวมภาครฐั ในระบบ CFS เป็นการนาเสนองบการเงินรวมของ มหาวิทยาลัยตอ่ กรมบัญชีกลาง (13) งานตรวจสอบรายการบันทึกบญั ชแี ยกประเภทในระบบ GFMIS เจา้ หนี้ – ใบสาคญั (14) งานจัดเก็บหลักฐานใบสาคัญการลงบัญชีด้านรับ ด้านตั้งค้าง ด้านจ่าย และด้านท่ัวไป เพื่อรอรับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ และผู้ตรวจสอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์

15 สว่ นท่ี 3 บทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบตามภาระงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ข้าพเจา้ บรรจุเปน็ พนกั งานจ้างเหมารายเดือนตงั้ แต่วันท่ี 1 กนั ยายน 2562 ในตาแหนง่ เจ้าหนา้ ที่ ธุรการ โดยให้ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าท่ีธุรการ สังกัดงานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี และในปัจจุบัน งานคลังมีปรับโครงสร้างการบริหารเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานให้สูงข้ึน โดยหัวหน้างานคลังได้ มอบหมายให้ข้าพเจ้ามาทาหน้าที่งานบริหารงานท่ัวไปต้ังแต่วันที่วันที่ 1 มิถุนายน 2563 รวมระยะเวลา ปฏิบัติราชการท้ังสิ้น 2 ปี 6 เดือน การปฏิบัติงานของข้าพเจ้าอยู่ในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นท่ีต้องใช้ ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทางาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิชาการการเงินและบัญชี ภายใต้การ กากับ แนะนา ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ีได้รบั มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้ (1) งานบริหารงานท่ัวไปเกี่ยวกบั งานธุรการและงานสารบรรณ ดงั ต่อไปนี้ (1.4) รับ-ส่งหนังสือราชการภายในและภายนอกให้เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ ของทางราชการ (1.5) งานร่างหนังสือโต้ตอบหนังสอื ราชการภายในและหนงั สอื ราชการภายนอกทั่วไปท่ี ไดร้ ับมอบหมายจากหวั หนา้ งานคลัง (1.6) งานจัดทาทะเบียนควบคุมการรับหนังสือราชการทั้งภายในและภายนอก รวมถึง หนังสือและเอกสารอื่นๆ ในระบบงานสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-Office) (2) งานธุรกรรมทางการเงินของมหาวิทยาลัย อาทิการนาเงินสดฝากคลัง/เข้าบัญชี มหาวทิ ยาลัย ให้เปน็ ไปตามระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยรบั และนาเงินส่งคลงั พ.ศ. 2562 (3) งานติดต่อราชการกับหน่วยงานภายนอก เช่น ธนาคาร คลังจังหวัด สานักตรวจสอบเงิน แผน่ ดิน และอื่น ๆ (4) งานจัดทาทะเบยี นคมุ วสั ดุงานคลัง กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี (5) งานจดั ทาทะเบยี นคุมครภุ ัณฑง์ านคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดี (6) งานจัดเกบ็ เอกสารหลกั ฐานใบสาคัญการเบกิ จา่ ยเงิน(งบเดือนหลกั ฐานการจ่ายตา่ งๆของ มหาวทิ ยาลยั เพื่อรอรบั การตรวจสอบจากผตู้ รวจสอบเงนิ แผน่ ดนิ (7) งานจัดเก็บหลักฐานใบสาคัญการจ่ายที่เทียบเท่าเงินสดเพ่ือรอรับการตรวจสอบจากผู้ ตรวจสอบเงนิ แผ่นดิน (8) งานอน่ื ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมายจากหัวหนา้ งานคลงั โดยสามารถบรรยายเปน็ โครงสรา้ งและลกั ษณะงานงานบรหิ ารงานทวั่ ไปได้ดังตอ่ ไปน้ี

16 โครงสร้างและลกั ษณะงานงานบรหิ ารงานท่ัวไป 1. งานธุรการและงานสารบรรณ 2.งานนาเงินสง่ คลงั /ฝากธนาคาร 3.งานติดต่อราชการภายนอกท่วั ไป รับเงินสด/เช็ค จากเจ้าหน้าท่ีงานคลังผู้ม่ี รับหนังสือเอกสารจากหัวหน้างาน รั บ ห นั ง สื อ จ า ก ห น่ ว ย ง า น ธุ ร ก า ร หน้าท่รี บั เงินของมหาวิทยาลยั คลังหรอื เจา้ หนา้ ท่ีงานคลงั สว่ นกลาง(ภายนอก/ภายใน) เอกสาร ทั่วไป และอืน่ ๆ ตรวจสอบความถกู ต้องเงนิ สด/เช็ค และ ประสานติดต่อราชการภายนอกกับ ใบนาฝากเงิน Pay-In Slip ส่วนราชการภายนอก/ธนาคารและ จัดลาดับ ตรวจสอบความถูกต้อง สถานท่ีต่าง ๆ ตามภารกิจท่ีได้รับ แยกประเภทหนังสือสาคญั เรง่ ดว่ น นาเงินสดประจาวันฝากธนาคารและ มอบหมาย การนาเงินส่งคลังเป็น ประทับตราลงทะเบยี นรับหนงั สอื รับ - รายไดแ้ ผน่ ดนิ กรณรี ับเอกสารตอบกลับหรอื อื่น ๆ - เบกิ เกินสง่ คืนเงนิ งบประมาณ สง่ มอบเอกสารให้แก่เจา้ หน้าที่ ผู้รบั ผดิ ชอบตามภารกจิ ทีร่ ับมอบ เสนอหัวหน้างานคลังพิจารณาส่ังการ 4. ทะเบียนคุมวัสดงุ านคลงั 5. ทะเบยี นคมุ ครภุ ัณฑง์ านคลัง มอบหมายงาน - รบั วัสดแุ ละบนั ทึกบัญชีวัสดุโดยบันทึก - รับครภุ ัณฑ์ วั ส ดุ ล ง ใน ท ะ เบี ย น คุ ม บั ญ ชี วั ส ดุ ข อ ง - ตรวจสอบความเรียบร้อยแล สรปุ การสั่งการมอบหมายงานลงใน งานคลังบันทึกรายละเอียดและจานวน ทะเบยี นรับและ SCAN เก็บหนงั สอื วัสดุที่ไดร้ ับมาให้ถูกด้องครบถ้วน ถกู ต้อง ของครุภัณฑ์งานคลงั ราชการหรอื เอกสารตา่ ง ๆ เขา้ แฟม้ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ การเบกิ วัสด/ุ เบิกของไปใช้ ลงทะเบียนรายละเอียดครุภัณฑ์ - รับใบเบิกจากบคุ ลากรงานคลังผู้ขอเบิก ในทะเบยี นคมุ ครภุ ัณฑ์งานคลัง ส่ ง ม อ บ ห นั ง สื อ ใ ห้ แ ก่ เจ้ า ห น้ า ท่ี ผู้รับผิดชอบตามคาสั่งการของหัวหน้า ตรวจสอบวสั ดคุ งคลัง ตรวจสอบเลขครุภัณฑต์ ามบญั ชี งานคลงั - มีเพียงพอหรือไม่ กรณีมีวัสดุจ่ายวัสดุ ส่ ง ม อ บ จ า ก ง า น พั ส ดุ ก ล า ง กรณไี ม่มีเสนอจัดซ้ือต่อหัวหนา้ งานคลัง กองกลาง ส่ ง ม อ บ ห นั ง สื อ ใ ห้ แ ก่ เจ้ า ห น้ า ที่ ผู้รับผดิ ชอบตามคาสั่งการของหัวหนา้ งาน จา่ ยวสั ดแุ ละบนั ทกึ บัญชวี ัสดุ จดั เกบ็ หรอื สง่ มอบครุภัณฑ์ใหแ้ ก่ คลงั - บันทึกรายการและเอกสารให้ครบถ้วน บคุ ลากรงานคลงั ตามแตล่ ะกรณี ใหต้ รงตามรายการใบขอเบกิ ทกุ สน้ิ ปีงบประมาณ ทุกส้ินปงี บประมาณ - ตรวจสอบพัสดุประจาปี ผู้ขอเบิกรับวัสดุตรวจนับวัสดุตามใบ - ตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี - รายงานวัสดุคงเหลือต่อผู้อานวยการ เบกิ พร้อมลงลายมือชื่อในใบขอเบิกไว้ -รายงานครุภัณ ฑ์คงเหลือต่อ กองกลาง เป็นหลักฐาน ผู้อานวยการกองกลาง

17 สว่ นท่ี 4 ขนั้ ตอนหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านในการจดั ทาทะเบยี นคมุ วสั ดแุ ละครภุ ัณฑ์ ในระบบบริหารงบประมาณ การเงนิ และการบญั ชเี กณฑ์คงค้าง(ระบบ MIS ) ความสาคัญและความเป็นมาของการจดั ทาคู่มือปฏิบัติงานหลัก งานบริหารงานท่ัวไปเป็นงานที่ต้องอาศัยบุคคลผู้มีความรับผิดชอบสูง มีความซ่ือสัตย์สุจริต มคี วามรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการบริหารจัดการงานของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วย การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การรับเงิน การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง พ.ศ.2562 และระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินต่าง ๆ รวมถงึ หนังสือเวียนทเ่ี ก่ียวข้องกับ การเบกิ จา่ ยเงนิ ประเภทนนั้ ๆ ทั้งนี้ ก่อน ท่ีจ ะเข้าสู่ ขั้น ตอน ห ลักเกณ ฑ์ แล ะวิธีการป ฏิ บั ติงาน การจัด ทาทะเบี ย น คุมวัส ดุแ ล ะ ครุภัณฑ์งานคลัง กองกลาง สานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย กาหนด สง่ิ ทีเ่ จ้าหนา้ ท่กี ารเงินผูป้ ฏบิ ตั ิงานควรทราบมสี าระสาคญั ๆ ดังต่อไปน้ี คาจากดั ความทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง พัสดุ หมายถึง วัสดุ ครุภัณฑ์ ท่ีดิน และสิ่งก่อสร้าง ที่กาหนดไว้ในหนังสือหลักการจาแนก ประเภทรายจ่ายตามแผนงบประมาณของมหาวิทยาลัย วัสดุ หมายถึง สินทรัพย์ท่ีหน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดาเนินงานตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่ สูง และไมม่ ลี่ กั ษณะคงทนถาวร ได้แก่ วัสดุสานักงาน เป็นตน้ ครุภัณฑ์ หมายถงึ สนิ ทรพั ย์ที่หน่วยงานมีไว้เพ่ือใชใ้ นการดาเนินงาน มีลกั ษณะคงทน และมีอายุ การใชง้ านเกินกวา่ 1 ปี และมีมูลคา่ ต้ังแต่ 5,000 บาทขึ้นไป ครภุ ัณฑ์มูลค่าตา่ กว่าเกณฑ์ หมายถึง วัสดทุ ี่มีลักษณะคงทนถาวร และมอี ายกุ ารใชง้ านเกินกว่า 1 ปี มรี าคาตอ่ หนว่ ยหรอื ตอ่ ชดุ ไม่เกิน 5,000 บาท หัวหน้าเจ้าหน้าท่ีพัสดุ หมายถึง หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือท่ีมีฐานะเทียบเท่ากอง ซึ่ง ปฏิบัตงิ านในสายงานท่ีเก่ียวข้องกับการพัสดหุ รอื บุคคลผู้ที่ได้รบั การแต่งตัง้ จากหัวหน้าส่วนราชการใหเ้ ป็น หวั หนา้ เจ้าหนา้ ทพี่ ัสดุ แลว้ แตก่ รณี เจ้าหน้าที่พัสดุ หมายถึง เจ้าหน้าท่ีซ่ึงดารงตาแหน่งท่ีมีหน้าท่ีเกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ที่ได้รับ การแต่งตั้งจากหวั หนา้ ส่วนราชการใหเ้ ปน็ เจา้ หน้าที่พัสดุ การควบคุม หมายถึง การลงบัญชีวัสดุหรือทะเบียนคุมทรัพย์สิน การเก็บรักษาพัสดุ การเบิก พัสดุ การจ่ายพสั ดุ การตรวจนับ อย่างน้อยทุก 6 เดือน จะต้องมีการตรวจนับความถูกต้องครบถ้วน พร้อมระบุ สภาพการใช้งาน หัวหนา้ สานักงานจักต้องลงนามรับทราบกากับผลการตรวจนับด้วยทกุ ครง้ั การลงบัญชีหรือทะเบียนพัสดุ หมายถึง การบันทึกรายละเอียดการรับหรือจ่ายในบัญชีหรือ ทะเบียน โดยจาแนกแต่ละประเภท แต่ละรายการของพัสดุ

18 การเก็บรักษาพัสดุ หมายถึง การจัดเก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ถูกต้องครบถ้วน ตรตามบญั ชหี รอื ทะเบยี นทรพั ย์สนิ การดูแลรกั ษา หมายถึง ผรู้ ับผิดชอบดูแลรกั ษาครุภณั ฑ์ให้อยู่ในสภาพท่ีเหมาะสมและปลอดภัย หากเกิดความเสียหายที่ไม่ใช่เกิดจากเหตสุ ุดวิสัย ไม่ถือเป็นความรบั ผิดชอบที่จะต้องจ่ายจากเงินโครงการ ท้ังนคี้ า่ ใชจ้ า่ ยที่เกิดขน้ึ ผรู้ ับผิดชอบจะต้องดาเนินการซ่อมหรือจดั หามาให้โครงการใชง้ านไดต้ ามปกติ การเบิกพัสดุ หมายถึง การท่ีหน่วยงานต้องการใช้พัสดุแจ้งความประสงค์ขอเบิกพัสดุ เพ่ือใช้ใน ราชการตอ่ หว้ หนา้ หนว่ ยพสั ดุ การจ่ายพัสดุ หมายถึง การท่ีหน่วยหน้าหน่วยพัสดุอนุมัติจ่ายพัสดุให้แก่หน่วยงานที่แจ้งความ ประสงค์ขอเบิกพัสดุ การตรวจสอบพัสดุประจาปี หมายถึง การตรวจสอบการรับ-จ่ายพัสดุ งวดตั้งแต่วันที่ 1ตลุ าคม ของปีก่อน จนถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีปัจจุบัน และการตรวจนับพัสดุคงเหลือ ณ วันท่ี 30 กันยายน ของปีปัจจบุ นั แผนการปฏบิ ตั ิงาน แผนการปฏิบัติงานที่ได้รบั มอบหมาย ซงึ่ ผ้ตู รวจสอบภายในจดั ทาไว้ลว่ งหน้า ว่าจะตรวจสอบเร่ืองใด ทหี่ น่วยรับตรวจใด ดว้ ยวตั ถุประสงค์ขอบเขต วิธกี ารใด และทรัพยากรท่ีใชเ้ ท่าใด จงึ จะทาให้การปฏิบัติงานตรวจสอบบรรลผุ ลสาเรจ็ แนวทางการปฏิบัติงาน เป็นการกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัตงานตามที่ได้รับ มอบหมาย ซ่ึงผู้ตรวจสอบภายในตอ้ งจดั ทาเปน็ ลายลักษณ์อักษร และเป็นส่วนหน่ึงของแผนการปฏบิ ตั ิงาน เพือ่ ใหท้ มี งานใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านเรอื่ งทจ่ี ะตรวจสอบ ดว้ ยวัตถุประสงคใ์ ด ทห่ี นว่ ยรับตรวจใด ณ เวลาใด และใช้วิธีการและเทคนิคการตรวจสอบใด จึงจะช่วยให้การรวบรวมหลักฐานในรายละเอียด เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ที่มาของขัน้ ตอน หลกั เกณฑว์ ธิ ีการจดั ทาทะเบยี นคุมวัสดุและครุภณั ฑ์ ตามท่ีข้าพเจ้าได้รับมอบหมายจากหัวหน้างานคลังให้ทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการสารวจความต้องการ วัสดุสานักงานและครุภัณฑ์สานักงานท่ีจาเป็นต่อการใช้งานนั้น ๆ ของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานของงานคลัง เพ่ือทาหน้าทีใ่ นการสนับสนุนให้งานบรรลุผลสาเรจ็ และเสร็จสน้ิ ตามภารกิจท่รี ับผดิ ชอบ ตามกระบวนการ การควบคุมพัสดุรวมถึงการจัดทาทะเบียนทรัพย์สินข้าพเจ้าจักต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และ หนังสอื เวียนที่เก่ียวข้องจดั ทาทะเบียนคุมทรพั ย์สินของงานคลงั ซ่งึ ตอ้ งดาเนินการบันทึกรายการลงในบญั ชี ทะเบียนทรัพย์สินเพื่อควบคุมพัสดุ หลังจากที่ได้รับการส่งมอบพัสดุ รวมทั้งมีหน้าที่ในการตรวจสอบ ความถูกต้องของใบเบิกวัสดุ และมีการลงทะเบียนจ่ายทุกครั้งที่มีการจ่ายพัสดุ โดยเก็บใบเบิกจ่ายไว้เป็น หลักฐานเพื่อรอรับการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบสานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดอุตรดิตถ์ ผู้ตรวจสอบทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั

19 ในการนี้ เพ่ือแสดงให้เห็นว่าข้าพเจ้าเป็นมีคุณสมบัติข้างต้น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาคู่มือการจัดทา ทะเบียนคุมวัสดุและครุภัณฑ์งานคลังกองกลาง สานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ขน้ั ตอนหลักเกณฑ์และวิธกี ารปฏิบัติงาน ข้อ1. จัดหา คุมทะเบียนรับ-เบิกวัสดุสานักงานและจัดทารายงานวัสดุสานักงานคงเหลือ ประจาปี คอื สารวจความต้องการในการซอื้ วัสดุสานักงานของบุคลากรจัดทาบนั ทกึ ข้อความจดั ซ้ือวสั ดุใน ปี 2564 มีหนังสือเวียนคณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาในการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดท่ี กค (กวจ) 0405.2/ว845 เร่ือง อนุมัติยกเว้นและกาหนดแนวทางการปฏิบัติ ตามกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุภาครัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2563 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2563 โดยมีเจตนารมณ์ของการส่งเสริมหรือสนับสนุนตามกระทรวงฯ มี 2 กรณี กรณี 1 ส่งเสรมิ การจดั ซ้อื จัดจ้างของผู้ประกอบรัฐวิสาหกจิ ขนาดกลางขนาดย่อม (SMEs) กรณี 2 ส่งเสริมการจัดซอื้ จดั จ้างพสั ดทุ ผ่ี ลิตภายในประเทศ ตารางแสดงรายละเอียดขัน้ ตอนควบคมุ วสั ดุ ขัน้ ตอนการทางาน ผงั งาน ได้รับวสั ดุ จดั ทาบัญชีตามระเบยี บ รับวสั ดุ บนั ทึกบัญชวี สั ดุ แยกประเภทและชนดิ โดยใช้เอกสารอา้ งองิ บันทกึ บญั ชวี ัสดุ ใบตรวจรับ ใบส่งของ ใบแจง้ หนี้ รับใบเบกิ ของจากผู้ขอเบกิ วัสดุ แล้วตรวจสอบวา่ ผ้เู บกิ บนั ทกึ วสั ด/ุ ระบบเบิกวสั ดุ/ใบ เบิกอะไร เพียงพอต่อการเบิกหรอื ไม่ เบิกของ เสนอตอ่ หัวหนา้ เจา้ หน้าที่พสั ดุ พิจารณาอนมุ ตั ิใหเ้ บิกจา่ ยวัสดุ หัวหน้าพสั ดพุ ิจารณา  จดั เตรยี มวสั ดุตามรายการทไ่ี ด้รับอนุมัติ  ติดต่อผเู้ บิกเพือ่ รับของ  จ่ายวัสดุตามรายการท่ีได้รับอนุมัติ และบันทึกบัญชีวัสดุ ให้ จา่ ยวัสดุ/บนั ทึกบัญชี ครบถ้วน - ผู้ขอเบิกรับวัสดุและทาการตรวจสอบความครบถ้วนของวัสดุตามที่ได้รับ อนุมตั ิ ผู้ขอเบกิ รบั วัสด/ุ ตรวจรบั ตรวจนับวสั ดคุ งเหลือประจาเดือน - เจ้าหน้าทแี่ ละผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย ทาการตรวจนบั พสั ดคุ งเหลอื และจดั ทา ตรวจสอบพัสดุประจาเดอื น รายงานวัสดคุ งเหลอื ประจาเดือน

20 วิธีการปฏิบัติ 1.1 ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ www.thaimegp.com จัดทาบันทึกข้อความ จดั ซื้อพสั ดุและรายงานการจดั ซอ้ื จัดจา้ งกับผู้ประกอบการ SMEs 1.2 ลงทะเบียนคุมรับพัสดุตามวันท่ีตรวจรับพัสดุโดยเข้าสู่ระบบ Growfa MIS เลือกเมนู สินทรัพย์(วัสดุ) เลือกเมนู บันทึกรับวัสดุ (สิ้นเปลือง) คลิกเลือก รับวัสดุ คลิกเลือกเพิ่มรายการจากซ้ือ จา้ งคีย์ค้นหาตามเลขทต่ี ดั ยอด คลกิ √ ตามรายการเลขทต่ี ดั ยอดและกดรบั วสั ดุ 1.3 บุคลากรแจ้งเบิกวัสดุและรับวัสดุ จัดทารายการเบิกวัสดุ ระบบ Growfa MIS และลงนาม ผู้รับวัสดุที่ใบขอเบิก และจัดเก็บใบเบิกวัสดุเข้าแฟ้ม เลือกเมนู สินทรัพย์(วัสดุ) เลือกเมนู เบิกวัสดุ (สน้ิ เปลือง) 1.4 ทุกสิ้นปีงบประมาณตรวจนับวัสดุคงเหลือส้ินปีจากวัสดุจริง และ ปริ้นท์รายงานวัสดุใน ระบบ Growfa MIS เพื่อเปรียบเทยี บยอดคงเหลอื ให้จานวนคงเหลือตรงกับวัสดุที่อย่จู ริง โดยสรุปรายการ รับ – จ่ายวัสดุจานวนคงเหลือ และมูลค่าของวัสดุคงเหลือในแต่ละรายการ เม่ือจ่ายพัสดุแล้วให้บันทึก จ่ายวัสดุในบัญชีวัสดุตามรายการในใบเบิกของ ได้แก่ วันเดือนปีที่จ่ายวัสดุช่ือผู้เบิก และจานวนที่จ่าย เพื่อสะดวกในการคน้ หาและตรวจสอบได้ในบญั ชวี สั ดุ และจัดทาบนั ทึกข้อความรายงานวัสดุคงเหลือสิ้นปี ประจาปีพร้อมแนบรายงานวสั ดขุ อง Growfa MIS ส่งไปยังงานพสั ดุ กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี โดยมีขนั้ ตอนวิธีการกระบวนการดงั ตอ่ ไปน้ี 1. รูปแสดงขัน้ ตอนการทางานรับวสั ด(ุ สน้ิ เปลอื ง)ในระบบ Growfa MIS รปู ภาพที่ 1 แสดงการเขา้ สรู่ ะบบ Growfa MIS

21 รูปภาพท่ี 2 แสดงเลือกเมนสู ินทรพั ย์(วัสด)ุ และ เลือกเมนูบันทกึ รบั วสั ดุ (ส้ินเปลือง)

22 รูปภาพที่ 3 แสดงการคลิกเลือก รบั วสั ดุ รูปภาพที่ 4 แสดงการคลิกเลือก เพมิ่ รายการจากซื้อ-จา้ ง รูปที่ 5 แสดงการค้นหาเลขท่ีตดั ยอด

23 รูปภาพที่ 6 แสดงการรบั วสั ดุ 2.รปู แสดงขนั้ ตอนการทางานเบิกวสั ด(ุ สนิ้ เปลือง)ในระบบ Growfa MIS รูปภาพที่ 7 แสดงการเขา้ สู่ระบบ Growfa MIS

24 รปู ภาพที่ 8 แสดงเขา้ สู่เมนสู ินทรพั ย์(วสั ดุ)และเมนบู ันทกึ เบิกวสั ด(ุ ส้นิ เปลอื ง) รูปภาพที่ 9 แสดงคลิกเลือก เพ่มิ

25 รูปภาพที่ 10 แสดงการระบุรายละเอียดผู้เบิกและเพิ่มรายการวัสดุ รูปภาพที่ 11 แสดงการคน้ หาพมิ พร์ ายการวสั ดหุ รอื เลขท่ตี ัดยอด

26 รูปภาพท่ี 12 แสดงรายละเอียดครบถว้ นและกดบนั ทึกพิมพ์ รปู ภาพที่ 13 แสดงรายละเอียดใบเบิกวัสดุทีถ่ ูกต้องครบถ้วน

27 ขอ้ ควรทราบเกี่ยวกับบญั ชีวัสดุ 1. บัญชีวัสดุให้จัดทาแต่ละปีงบประมาณ เมื่อขึ้นปีงบประมาณใหม่ให้ข้ึนแผ่นใหม่ทุกคร้ัง หากมวี สั ดคุ งเหลอื ให้ยอดคงเหลือจากปีก่อนเป็นยอดยกมาในปีปัจจุบนั 2. บญั ชวี ัสดุแตล่ ะบัญชี (แต่ละประเภท/ชนดิ ) ให้ควบคมุ วัสดุ 1 รายการ/ประเภท/ชนิด 3. การลงบัญชีวสั ดุ ให้ลงทกุ ครั้งทม่ี ีการรบั หรือจา่ ย 4. ราคาตอ่ หน่วย จะตอ้ งเป็นราคาทรี่ วมภาษีมลู คา่ เพ่ิมแล้ว 5. การกาหนดหน่วยนับของวัสดุ ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับการเบิกจ่ายวัสดุของหน่วยงาน เช่น ดนิ สอ สามารถกาหนดหนว่ ยนบั เปน็ โหลหรอื แท่งกไ็ ด้ ข้นึ อยูก่ บั จานวนสง่ั จ่ายของหน่วยงาน 6. การลงบัญชีวัสดุ จะต้องกระทาด้วยความละเอียดรอบคอบจาเป็นต้อง รวดเร็ว ทันเวลา เพ่อื ใหย้ อดวสั ดคุ งเหลือถูกต้องตามจริง 7. กรณีที่ซ้ือวัสดุ ชนิดเดียวกันในเวลาต่างกัน บางคร้ังราคาวัสดุอาจไม่เท่ากันเม่ือลงบัญชีจ่าย ให้ใช่ราคาวัสดุท่ีซ้ือมาก่อนตัดออกจากบัญชีก่อน ราคาวัสดคุ งเหลือ ณ วันสิน้ ปีงบประมาณจะเป็นราคาท่ี มกี ารจดั ซื้อคร้งั หลังสดุ 8. กรณีมบี ุคลากรเพียงพอ ควรแบ่งแยกหน้าท่ีระหว่างผู้บันทึกบัญชวี ัสดุ และผคู้ วบคมุ คลังพัสดุ เป็นคนละคนกนั ตามหลักการควบคุมภายในทด่ี ี ข้อ 2 การคุม-จัดทาทะเบียนครุภัณฑ์สานักงานของหน่วยงานและจัดทารายงานครุภัณฑ์ ประจาปที มี่ ใี ชอ้ ยใู่ นหนว่ ยงาน ส่งคืนครภุ ัณฑท์ ีไ่ มไ่ ด้ใช้งานแลว้ หรือชารดุ การตรวจสอบพัสดุประจาปีระเบียบ ฯ ข้อ 213 ก่อนสิ้นเดือนกันยายนทุกปี ให้หัวหน้า ส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานซึ่งมีพัสดุไว้จ่ายแล้วแต่กรณี แต่งต้ังเจ้าหน้าที่ในส่วนราชการหรือ หนว่ ยงานน้ัน ซึ่งมใิ ช่เจ้าหนา้ ท่ีพัสดุ คนหน่ึงหรือหลายคนตามความจาเป็น เพื่อตรวจสอบการรบั จ่ายพสั ดุ งวดต้ังแต่ 1 ตุลาคมปีก่อน จนถึงวันท่ี 30 กันยายน ปีปัจจุบัน และตรวจนับพัสดุประเภทที่คงเหลืออยู่ เพียงวันสน้ิ งวดนัน้ ในการตรวจสอบตามวรรคหน่ึง ให้เริ่มดาเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทาการวันแรก ของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียน หรือไม่ มีพัสดุใด ชารุด เสอื่ มสภาพ หรือสูญไป เพราะเหตุใดไม่จาเปน็ ต้องใช้ในราชการต่อไปแล้วให้เสนอ รายงานผลการตรวจสอบดงั กลา่ ว ท้ังน้ี เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจาปีต้องตรวจนับครุภัณฑ์ที่มีอยู่ภายใน หน่วยงาน ณ วันสิ้นสุด (30 กันยายนของทุกปี)ว่ามีครุภัณฑ์คงเหลือถูกต้องตามทะเบียนครุภัณฑ์ทีได้ บันทึกไว้หรือไม่ และตรวจสอบสภาพครุภัณฑ์ท่ีมีอยู่ท้ังหมดในหน่วยงานว่ามีความชารุดเส่ือมสภาพ หรือสูญไป เพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในราชการและจัดทารายงานผลการตรวจสอบพัสดุ ประจาปีต่อผแู้ ตง่ ตงั้ ภายใน 30 วนั ทาการโดยนับตง้ั แตว่ ันเร่ิมดาเนินการตรวจสอบพสั ดุ

28 ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 1. เจ้าหน้าที่พัสดุหน่วยงานตรวจสอบรายการครุภัณฑ์ท้ังหมดภายในหน่วยงานให้ถูกต้องตาม ทะเบียนครุภัณฑ์และจัดทาทะเบียนการเบิกใช้งานครุภัณฑ์พร้อมท้ังระบุสถานที่ตั้งของครุภัณฑ์ (หน่วยงาน) และช่อื ผู้ใช้งาน 2. เจา้ หน้าท่สี ารวจอายุการใช้งานครุภณั ฑ์ ดังน้ี 2.1 ครุภัณฑ์ชารุด เจ้าหน้าท่ีพัสดุสารวจครุภัณฑ์ท่ีชารุดเส่ือมสภาพ เสยี หายเน่ืองจากใช้งาน ปกติหรือสูญหายไปตามธรรมชาติไม่สามารถใช้งานได้แล้ว โดยจัดทาบันทึกส่งคืนพร้อมรายงานเหตุผล การชารุดของครุภัณฑ์ไปยังไปยังพัสดุ กองกลาง สานักงานอธิการบดี เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีส่วนกลาง ตรวจสอบส่วนกลางและตัดจาหนา่ ยตอ่ ไป 2.2 ครุภัณฑ์หมดความจาเป็น สารวจครุภัณฑ์ยังไม่หมดอายุการใช้งานหรือหมดอายุการใช้ งานแล้วแต่ยังสามารถใช้งานได้อยู่ปกติ แต่ทางหน่วยงานไม่ใช้งานแล้วจัดทาบันทึกส่งคืนและรายงาน พร้อมระบุเหตุผลการส่งคืนไปไปยังพัสดุ กองกลาง สานักงานอธิการบดี เพื่อให้เจ้าหน้าท่ีส่วนกลาง ตรวจสอบ และสามารถสง่ ตอ่ ใหห้ นว่ ยงานอืน่ สามารถเบกิ ไปใชง้ านไดต้ ่อ 2.3 ไมม่ ีรายการครุภัณฑภ์ ายในหนว่ ยงานแต่ยังปรากฏในทะเบียนครุภัณฑ์ เจ้าหนา้ ทีจ่ ะต้อง จัดทาบันทึกและรายงานครุภัณฑ์ไปยังพัสดุ กองกลาง สานักงานอธิการบดี พร้อมระบุเหตุผลในรายงาน ครุภณั ฑ์เพ่อื ให้เจ้าหน้าท่สี ว่ นกลางตรวจสอบและตดั ออกจากรายการครุภณั ฑ์ในทะเบียนสนิ ทรัพย์ 2.4 ครุภัณฑ์มากกว่าในทะเบียนครุภัณฑ์ สารวจครุภัณฑ์ท่ีมากกว่าในทะเบียนครุภัณฑท์ ั้งมี เลขที่ครุภัณฑ์แต่ไม่มีในทะเบียนครุภัณฑ์ และไม่มีเลขครุภัณฑ์ จัดทารายงานไปยังไปยังพัสดุ กองกลาง สานกั งานอธิการบดี เพอื่ ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีสว่ นกลางตรวจสอบและปรับปรุงรายการ 2.5 ครุภัณฑ์เสื่อมสภาพ (หมดอายุการใช้งาน) แต่ยังใช้งานได้หรือซ่อมแซมแล้วไม่คุ้มค่า สารวจครุภณั ฑ์หากไม่มีการใช้งานในราชการต่อในหน่วยงานจะต้องจัดทาเรื่องส่งคนื ใหแ้ ก่พสั ดุ กองกลาง สานักงานอธิการบดีเพ่ือให้ทางส่วนกลางรับคืนและสามารถส่งต่อให้หน่วยงานอื่น ๆ ท่ีต้องการใช้งาน นาไปใชง้ านตอ่ 3. จัดเตรียมรายงานทะเบียนครุภัณฑ์ของหน่วยงาน และเอกสารท่ีเก่ียวข้องให้ครบถ้วน เพ่ือการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปี 4. อานวยความสะดวกใหก้ ับคณะกรรมการตรวจสอบพัสดปุ ระจาปีในการตรวจสอบพสั ดุ 5. ลงจา่ ยพสั ดตุ ามทไ่ี ดร้ ับอนุมัตใิ หจ้ าหนา่ ยออกจากบัญชหี รือทะเบียน 6. จดั เกบ็ เอกสารการจดั ซื้อครภุ ัณฑ์พร้อมเลขครุภัณฑ์ การเบิกใช้งานครุภัณฑ์การซ่อมแซมและ ส่งคืนครภุ ัณฑ์ รายงานพสั ดุประจาปี เขา้ แฟ้มจาแนกตามผงั การควบคุมทรพั ย์สนิ ด้วยเอกสาร

29 แผนผงั แสดงการควบคมุ ทรัพยส์ นิ ด้วยเอกสาร แฟม้ ทะเบียนคมุ ครุภณั ฑ์ จัดท าใบ รายงาน ผู้ขอ ยืม ครุภั ณ ฑ์ ใช้ปฏิบัติงานราชการต่อหัวหน้าพร้อม ล งน าม ผู้ ยื ม เจ้ าห น้ าที่ พั ส ดุ แ ล ะ หัวหน้าหนว่ ยงาน แฟ้มใบเบกิ ประวัตฯิ /ยืม แฟม้ ประวัตกิ ารซ่อมแซม แฟม้ รายงานพสั ดปุ ระจาปี ครภุ ณั ฑ์และสง่ คนื ครภุ ัณฑ์

30 แบบฟอรม์ รายงานผลการตรวจพสั ดปุ ระจาปี

31 บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ ที่ วันท่ี เรอื่ ง รายงานผลการตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปงี บประมาณ พ.ศ. เรยี น อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ ตามที่มหาวิทยาลัย ได้มีคาสั่งเลขที่ ๒๘๔๕/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ แต่งต้ัง คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุหน่วยงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ โดยให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการ ตรวจสอบพัสดุ ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่ มีพัสดุใดชารุด เส่ือมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐ ต่อไป และรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อผู้แต่งตั้งภายใน ๓๐ วันทาการนับแต่วันเร่ิมดาเนินการ ตรวจสอบพัสดุ น้ัน บัดนี้ ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้ดาเนินการ ตรวจสอบพัสดุในงวด ๑ ปีท่ีผ่านมา และตรวจนับพัสดุประเภทที่คงเหลืออยู่เพียงวันส้ินงวด เปน็ ท่เี รยี บรอ้ ยแล้ว ปรากฏผลดังนี้ 1. การตรวจสอบการรับ-จ่าย วัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผู้รับผิดชอบได้ดาเนินการ ตรวจสอบบัญชีวัสดุและตรวจสอบเอกสารการรับ-จ่าย แล้วปรากฏว่าการรับ-จ่าย วัสดุ มีความถูกต้อง สาหรับการตรวจรับวัสดุทุกรายการมียอดคงเหลือถูกต้องตามบัญชี (แนบรายงานวัสดุคงเหลือประจาปี ของหนว่ ยงาน) 2. การตรวจสอบครุภัณฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผู้รับผิดชอบได้ดาเนินการตรวจสอบ จากทะเบียนคมุ ทรัพยส์ ิน จานวน รวมท้ังส้ิน ……………..………… รายการ ปรากฏผลการตรวจสอบ ดงั นี้ 2.1. ครุภัณฑ์รวมจานวน …………………….. รายการ มีความถูกตอ้ ง ครบถ้วน มีสถานะใช้ งานได้ตามปกติ โดยแบ่งเป็น ครุภัณฑ์ (งบประมาณแผ่นดนิ ) จานวน ………………… รายการ และครุภัณฑ์ (เงนิ รายได้) จานวน ……………………รายการ 2.2. ครภุ ณั ฑ์ จานวน…………………รายการ มีสถานะชารดุ ไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2.3. ครุภัณฑ์ จานวน………………รายการ มีสถานะเสื่อมสภาพ ซึ่งเกิดมาจากการใช้งาน ตามปกติ 2.4. ครุภณั ฑ์ จานวน ……………….. รายการ ไม่มคี วามจาเป็นต้องใชใ้ นราชการตอ่ ไป 2.5. ครภุ ณั ฑ์ จานวน …………………รายการ ตรวจสอบไม่พบ

32 3. การตรวจสอบครุภัณฑ์ (ครุภัณฑ์ตั้งแต่เร่ิมต้น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓) ผ้รู ับผิดชอบได้ดาเนินการแล้วตามบันทึกข้อความที่ พส.ฐทส.๐๗๖/๒๕๖๔ ลงวันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เรอื่ งแนวทางการปฏิบตั งิ านในการสารวจครุภัณฑ์ น้ัน หนว่ ยงานได้ดาเนินการแล้วเสร็จและไดร้ ายงานผล การสอบ ห าข้อเท็ จจริง ถึงอธิการบ ดี ตาม บั น ทึ ก ข้ อความ ท่ี ห น่ วยงาน ส่ ง ท่ี … … … … … … วนั ท่ี ………………………... ปรากฏผลการตรวจสอบ ดงั นี้ 3.1 ครภุ ัณฑ์ จานวน………………รายการ มสี ถานะชารดุ ไม่สามารถใชง้ านได้ตามปกติ 3.2 ครุภัณฑ์ จานวน……………รายการ มีสถานะเส่ือมสภาพ ซึ่งเกิดมาจากการใช้งาน ตามปกติ 3.3 ครุภัณฑ์ จานวน …………….. รายการ ไมม่ ีความจาเป็นต้องใช้ในราชการตอ่ ไป 3.4 ครภุ ัณฑ์ จานวน …………………รายการ ตรวจสอบไม่พบ 3.5 ครุภัณฑ์ จานวน …………………รายการ ทม่ี ากกวา่ ในทะเบยี นคมุ ทรพั ยส์ ิน 4. การตรวจสอบครุภัณฑ์ (ครุภัณฑ์ตั้งแต่เร่ิมต้น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓) ผู้รับผดิ ชอบไดด้ าเนินการตรวจสอบจากทะเบียนคุมทรพั ย์สนิ ปรากฏผลการตรวจสอบ ดงั นี้ 4.1 ครุภัณฑ์รวมจานวน …………………….. รายการ มีความถูกต้อง ครบถ้วน มีสถานะ ใชง้ านได้ตามปกติ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และมอบหมายให้หน่วยฐานข้อมูลทรัพย์สินและจาหน่าย พสั ดุ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ดาเนนิ การในสว่ นที่เกย่ี วขอ้ งต่อไป (ลงช่ือ)………………………………………ประธานกรรมการ (…………………………………….) (ลงชอ่ื )………………………………………กรรมการ (…………………………………….) (ลงช่ือ)………………………………………กรรมการ (…………………………………….)

33

34

35

36