ัจด �ทำโดยโครงการ ISBN (e-book) : 978-616-407-626-6
คู่ มื อโรงเรี ยนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก ISBN (e-book) : 978-616-407-626-6 เผยแพร่ สงิ หาคม 2564 จดั ทำ� โดย โครงการพัฒนาตน้ แบบการจัดการขยะมูลฝอยและขยะอนั ตราย ในเขตพ้นื ทเี่ มือง (Chula Zero Waste) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั โทร. 0-2218-0128 E-mail: [email protected] Website: chulazerowaste.chula.ac.th Facebook: facebook.com/chulazerowaste บรรณาธิการ ลฎาภา อนิ ทรมหา พิสูจน์อักษร ลฎาภา อินทรมหา กำ� กบั ศลิ ป์ นวพรรณ อศั วสนั ตกลุ วาดภาพประกอบ นวพรรณ อัศวสันตกุล ปวิตรา ชำ� นาญโรจน์ ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง่ ชาติ ลฎาภา อินทรมหา. คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์โลก.-- กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาต้นแบบการจัดการขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในเขต พ้ืนทีเ่ มือง (Chula Zero Waste) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2564. 116 หน้า. 1. การจัดการขยะ. 2. ขยะ -- การจัดการ. I. นวพรรณ อัศวสันตกุล, ผู้วาดภาพประกอบ. II. ปวิตรา ช�ำนาญโรจน์โรจน์, ผู้วาดภาพ ประกอบรว่ ม. III. ชอื่ เรือ่ ง. 363.728 ISBN 978-616-407-626-6 สงวนลิขสทิ ธหิ์ นงั สือเล่มน้ตี ามพระราชบญั ญตั ิ หา้ มคดั ลอก ดัดแปลง เผยแผแ่ ก่สาธารณชน รวมทั้งการนำ� ต้นฉบับหรอื ส�ำเนา งานดงั กล่าวออกใหเ้ ชา่ เพอื่ แสวงหาผลกำ� ไรโดยไม่ไดร้ ับอนุญาตจากเจา้ ของลขิ สิทธิ์
ค�ำน�ำ ปัญหาขยะ หน่ึงในปัญหาส่ิงแวดล้อมที่ใกล้ตัวเราทุกคนมากที่สุด เพราะเราทุกคน คอื ผ้สู ร้างขยะเหลา่ นั้นในทกุ ๆ วัน จากการกนิ การท�ำกจิ กรรมต่างๆ การใชช้ ีวิต ในเมื่อยังไม่สามารถท�ำให้ขยะหมดไปจากโลกได้ เพราะขยะไม่ได้มาจากเรา แค่คนเดียว แต่มาจากคนทุกคนบนโลกใบนี้ เราจะท�ำอย่างไรให้การใช้ชีวิตของเราเป็น สว่ นหนง่ึ ทช่ี ว่ ยโลกใบนด้ี ว้ ยการสรา้ งขยะนอ้ ยลง ใชช้ วี ติ อยา่ งคดิ ถงึ สง่ิ แวดลอ้ มมากขน้ึ และ สรา้ งคนเหล่านใี้ ห้มีมากขนึ้ รว่ มพลังในการรักษาและปกปอ้ งโลกใบน้ี จากประสบการณ์การท�ำงานของโครงการ Chula Zero Waste ร่วมกับโรงเรียนใน เครือข่าย โครงการ Chula Zero Waste พบว่า การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมความเคยชิน ในการจัดการขยะเม่ือเป็นผู้ใหญ่แล้วน้ันไม่ง่ายนัก การปลูกฝังเร่ืองสิ่งแวดล้อมและ การจัดการขยะตั้งแต่วยั เยาวน์ ่าจะทำ� ได้งา่ ยกวา่ และยง่ั ยนื มากกวา่ ซง่ึ โรงเรียนและคณุ ครู มีบทบาทส�ำคัญในการปลูกฝังและสร้างการเรียนรู้ให้นักเรียนคุ้นเคยกับสิ่งเหล่านี้ต้ังแต่ ยงั เลก็ เพอ่ื สรา้ งจติ สำ� นกึ รกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มทต่ี ดิ ตวั พวกเขาไปเมอื่ เตบิ โตขนึ้ ในสงั คมทกี่ วา้ งขนึ้ คู่มือเล่มน้ีจึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นเพื่อนร่วมทางกับคุณครูและโรงเรียนท่ีต้ังใจและมุ่งม่ัน อยากสร้างโรงเรียนปลอดขยะ ปลูกฝังเด็กๆ ให้เป็นผู้รักษ์สิ่งแวดล้อม โดยเนื้อหาในคู่มือ เปรียบเสมือนแผนท่ีน�ำทางต้ังแต่เร่ิมต้น ร่วมเดินทาง ร้อยเรียงเนื้อหาสู่เส้นชัยในการเป็น โรงเรียนปลอดขยะและสร้างเยาวชนรักษ์สิ่งแวดล้อม เร่ิมต้ังแต่การท�ำความเข้าใจปัญหา ขยะในปจั จบุ นั หลกั การและแผนงานในการขบั เคลอื่ นโรงเรยี นปลอดขยะ รวบรวมกจิ กรรม ท่ีปลูกฝังความรักธรรมชาติและเรียนรู้วิธีการจัดการขยะส�ำหรับนักเรียนระดับช้ันอนุบาล- มธั ยมศกึ ษา กรณศี กึ ษาจากโรงเรยี นทนี่ า่ สนใจ และแหลง่ ขอ้ มลู ศกึ ษาคน้ ควา้ ความรเู้ พม่ิ เตมิ โครงการ Chula Zero Waste หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือน้ีจะเป็นเพื่อนร่วมทางที่ดีของ คุณครูและโรงเรียน ขอเป็นก�ำลังใจให้ผู้รักษ์ส่ิงแวดล้อมทุกท่านในการเดินทางครั้งน้ีเดิน ทางอยา่ งมีพลงั และประสบความสำ� เรจ็ หากมีข้อเสนอแนะเก่ียวกับคู่มือน้ี สามารถติดต่อได้ทางอีเมล chulazerowaste@ gmail.com หรือโทร. 022180128 ทมี งานยนิ ดรี บั ข้อเสนอแนะเพ่ือพฒั นาคู่มือนใี้ หด้ ยี ง่ิ ขนึ้ ทีมงานโครงการ Chula Zero Waste
สารบัญ ค�ำนำ� 3 ปัญหาขยะในปจั จุบนั 6 เครือขา่ ยโรงเรียนปลอดขยะกบั Chula Zero Waste 10 11 • ความสำ� คัญของการปลกู ฝงั เรอ่ื งส่งิ แวดลอ้ ม 12 และการท�ำโรงเรยี นปลอดขยะ 14 • โรงเรียนปลอดขยะเป็นอย่างไร • ประโยชนข์ องการเปน็ โรงเรยี นปลอดขยะ แผนงาน 4 ด้านเพ่ือมุ่งสู่การเปน็ โรงเรียนปลอดขยะ 17 • ขั้นตอน และ วิธกี ารพัฒนาการท�ำงาน 20 • ตวั อย่างกจิ กรรมที่ดำ� เนนิ งานโดยโรงเรยี นสาธติ จุฬาฯ 23 • หลกั การทช่ี ว่ ยขบั เคลอ่ื นการทำ� โรงเรยี นปลอดขยะ 28 ออกแบบการเรยี นรูอ้ ย่างไรใหป้ ัง 34 สรา้ งการเรยี นร้ดู ว้ ยกิจกรรมสนุก ๆ 37 กิจกรรมปลกู ฝงั ความรกั ธรรมชาติ 38 40 • กิจกรรมนักสบื ต้นไม้ 42 • กิจกรรมปลูกผัก 44 • กจิ กรรมลดชอ่ งว่างระหว่างขยะกบั เรา • กิจกรรมนาฬิกาชวี ติ กิจกรรมเรียนรู้ปัญหาขยะ • กจิ กรรมเรยี นรเู้ รอ่ื งขยะพลาสตกิ ในทะเลผา่ นนทิ านเรอ่ื ง “อะไรอยใู่ นทะเล” 46 • กจิ กรรมทศั นศกึ ษาส�ำรวจไมโครพลาสตกิ 48 • กจิ กรรมเรียนรเู้ รือ่ ง Food Waste 62
• ขยะไปไหนบ้าง ส่งผลกระทบอยา่ งไร 66 • สำ� รวจเสน้ ทางขยะในโรงเรียน 68 • บรรจุภัณฑ์รกั ษ์โลก 70 กจิ กรรมเรียนรเู้ รื่องการลดขยะ 72 • กินเกล้ียงจาน ลดขยะเศษอาหาร 74 • กิจกรรมเรยี นรู้เร่อื งการใชซ้ �ำ้ 76 กจิ กรรมเรียนรูก้ ารแยกขยะ 78 • มาแยกขยะกันเถอะ 80 • กิจกรรมสฐี่ าน ส่ถี งั โดย Chula Zero Waste 82 • กิจกรรมดืม่ ลา้ ง ตาก 84 • บิงโกแยกขยะ 87 87 กจิ กรรมในวิถีชีวิต 96 Case Study โรงเรียนปลอดขยะ 105 • โรงเรียนบา้ นล�ำต้นกล้วย 113 • โรงเรียนปัญญาประทปี ส่อื การเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ แหลง่ รับขยะรไี ซเคลิ
ปั ญหาขยะในปั จจุ บัน สงสัยไหมว่าท�ำไมเด็กๆ อย่างเกรต้า ธันเบิร์กต้อง ออกมาประท้วงเรื่องการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดว้ ย ทำ� ไมจงึ มคี นออกมาเรยี กรอ้ งใหร้ ฐั บาลของพวกเขา แก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มด้วย ปล่อยไปเฉยๆ ไม่ได้เหรอ ใครๆ กร็ วู้ า่ ปญั หาขยะเปน็ ปญั หาใหญ่ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มและขยะกเ็ ปน็ สาเหตขุ องปญั หาโลก รอ้ นดว้ ย คำ� ถามคอื ปญั หาขยะของไทยใหญแ่ คไ่ หน แลว้ ถ้าไม่แก้จะเกดิ อะไรขึ้น 6 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
• ขอ้ มลู จากกรมควบคมุ มลพษิ พบวา่ ปี 2562 ประเทศไทย มขี ยะ 28.71 ล้านตนั เพิ่มขน้ึ จาก ปี 2561 รอ้ ยละ 3 และมปี รมิ าณขยะเพมิ่ ขึน้ ต่อเน่ืองทุกปี • แคก่ รงุ เทพมหานครจงั หวดั เดยี วกผ็ ลติ ขยะ 13,583 ตนั / วนั แลว้ มากกวา่ ปรมิ าณขยะ/วนั ของภาคใต้ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก ภาคกลาง และภาคตะวนั ตกเสยี อกี • ท่ัวประเทศ มสี ถานทก่ี ำ� จดั มลู ฝอย 2,666 แหง่ แต่มี สถานทกี่ ำ� จดั มลู ฝอยอยา่ งถกู ตอ้ งอยแู่ ค่ 409 แหง่ (รวม ของรฐั บาลและเอกชน) และหลายๆ แหง่ รองรบั ปรมิ าณ เกรต้า ธันเบิร์ก (Greta Thunberg) ขยะมลู ฝอยเกือบเตม็ ขีดจำ� กดั แลว้ คอื เดก็ สาวชาวสวเี ดนผอู้ อกมาเรยี กรอ้ ง ให้ผู้น�ำของโลกหันมาลงมือแก้ปัญหา • รัฐบาลได้ส่งเสริมการแปลงขยะเป็นพลังงาน แต่ส่ิงท่ี โลกร้อนและวิกฤติภูมิอากาศอย่าง ขาดไมไ่ ด้ คอื การลดและคดั แยกขยะทต่ี น้ ทาง มเิ ชน่ นน้ั จริงจังด้วยการหยุดเรียนมาประท้วง เตาเผาขยะกจ็ ะพงั เรว็ หรอื สรา้ งมลพษิ ทางอากาศมาก หนา้ ทำ� เนยี บรฐั บาลสวเี ดนทกุ วนั ศกุ ร์ ข้ึนไปอีก จริง ๆ เราควรน�ำของเหลือใช้กลับมาใช้ การเคลอื่ นไหวของเธอสรา้ งแรงบนั ดาล หรอื หมนุ เวยี นกลบั มาเปน็ วตั ถดุ บิ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ กอ่ นท่ี ใจใหค้ นทวั่ โลกลกุ ขน้ึ มาเรยี กรอ้ งเรอ่ื ง จะนำ� ไปแปลงพลังงาน น้เี ช่นกนั เรอ่ื งราวของเธอไดส้ รา้ งแรงบนั ดาลใจ ลองคดิ เลน่ ๆ ว่าปริมาณขยะในประเทศไทยตอ่ ปี ใ ห ้ ค น ท่ั ว โ ล ก อ อ ก ม า ป ร ะ ท ้ ว ง FridayforFuture มคี นเขา้ รว่ มมากกวา่ 14 ลา้ นคน และกระจายไปกวา่ 7,500 เมอื งทว่ั โลก มปี รมิ าณเท่าใด ลา้ นตนั 7คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ก่อนทส่ี ง่ิ ตา่ งๆ จะกลายเป็นขยะ ส่งิ เหล่าน้เี คยเป็น อาหาร เสื้อผ้า จานชาม เคร่ืองเขียน ข้าวของเคร่ือง ใช้ท่ีพวกเราใช้ในชีวิตประจ�ำวันกันมาก่อน กว่าจะได้ ของเหลา่ นม้ี าตอ้ งเสยี ทรพั ยากรไปมากมาย ใชพ้ นื้ ทข่ี อง โลก ใช้ดิน ใช้น้�ำในการเพาะปลูก ใช้พลังงานในการ แปรรูป ผลติ และขนสง่ เชน่ ทกุ อยา่ งทพี่ วกเรากนิ และใชใ้ น ชีวิตประจ�ำวันต้องเอาทรัพยากรของโลกมาใช้ท้ังน้ัน แตเ่ มอ่ื เรากนิ ทง้ิ กนิ ขวา้ ง ใชข้ องไมค่ มุ้ คา่ กลายเปน็ ขยะ และการก�ำจัดขยะกต็ ้องใชพ้ ลงั งานอีก เนอื้ ววั 1 กิโลกรัม ใช้พื้นทใี่ นการผลิต 3 2 6 . 2 1 ตารางเมตร เน้ือหมู 1 กโิ ลกรัม ใชพ้ นื้ ที่ในการผลิต 1 7 . 3 6 ตารางเมตร เสื้อผ้าฝ้าย 1 ตัวใช้น�้ำ ในการผลิตมากถึง 2,700 ลิตร 8 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ตู้เยน็ แบบ 2 ประตู 1 เคร่ือง ปลอ่ ย carbon footprint 1 ตัน CO2 เทียบเท่า/ปี เทา่ กบั การขบั รถไป-กลบั กรุงเทพฯ-เชยี งใหม่ 3 3 รอบ สง่ิ เหลา่ นก้ี ำ� ลงั บอกอะไร? การผลติ และกำ� จดั สงิ่ ของ ตา่ งๆ ทเี่ ราใชแ้ ลว้ ทง้ิ จนกลายเปน็ ขยะนน้ั ใชท้ รพั ยากรของโลก ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนและการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทุกวันนี้อากาศร้อนขึ้น เร่ือยๆ มฝี นุ่ PM2.5 เป็นประจ�ำทกุ ปี ในกรงุ เทพฯ ฝน ตกหนกั ทไี รกน็ ำ้� ทว่ มทกุ ทเี พราะมขี ยะไปอดุ ทอ่ ระบายนำ้� และในอกี 10 ปขี า้ งหนา้ คาดการณว์ า่ นำ�้ จะทว่ มกรงุ เทพฯ ภัยธรรมชาติทั่วโลกจะเกิดบ่อยขึ้นและรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้ ยังมีสัตว์ในธรรมชาติตายจากการกินขยะ มพี ลาสตกิ ทกี่ ลายเปน็ ไมโครพลาสตกิ ในมหาสมทุ ร ในดนิ ในน้�ำ ในอาหารของเรา กลายเป็นว่าเราก็กินพลาสติก เข้าไปโดยไม่รู้ตัว นักวิทยาศาสตร์พบไมโครพลาสติก แม้กระท่ังในเดก็ ทารกในท้องแม่ ปญั หาเหลา่ นเ้ี กดิ จากการใชท้ รพั ยากรของโลกอยา่ ง ฟมุ่ เฟอื ย สรา้ งขยะมหาศาลจนจดั การไมห่ มด ทำ� ใหภ้ าวะ โลกร้อนและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ถา้ ไมล่ งมอื แกไ้ ขตงั้ แต่วันนี้ ปัญหาท่ีหนกั กว่าจะตามมา อย่างแน่นอน 9คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
เครือข่าย โรงเรียนปลอดขยะกับ Chula Zero Waste 10 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ความส� ำคัญของการ ปลูกฝั งเรื่องสิ่ งแวดล้อม และการท�ำโรงเรียนปลอดขยะ ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาเร่งด่วนของโลกที่ ทกุ ประเทศทว่ั โลกกำ� ลงั ลงมอื แกไ้ ขอยา่ งจรงิ จงั การแกป้ ญั หา ไมไ่ ดเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั บาลเทา่ นนั้ แตเ่ ปน็ หนา้ ทข่ี องเราทกุ คน ถ้าเราไม่สอนเดก็ ๆ ใหท้ ำ� เพ่อื สิ่งแวดล้อมต้ังแตว่ ันน้ี ในวนั ทเี่ ดก็ ๆ โตขน้ึ อาจจะไมม่ สี ง่ิ แวดลอ้ มใหเ้ หน็ อกี แลว้ ดังนั้น การสอนเรื่องส่ิงแวดล้อมจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ แต่ น่าเสียดายท่ีการสอนเรื่องสิ่งแวดล้อมยังไม่ถูกบรรจุเป็น หน่วยการเรยี นรู้อยา่ งชัดเจนในหลกั สตู รปัจจบุ นั การทำ� โรงเรยี นปลอดขยะ จงึ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ในการสรา้ ง ใหโ้ รงเรยี น นกั เรยี น และครมู วี ถิ ชี วี ติ ทใี่ สใ่ จกบั สง่ิ แวดลอ้ ม มีความรู้และลงมือแก้ปัญหาจากส่ิงใกล้ตัวที่ท�ำได้ เช่น ปญั หาขยะ ปลูกฝงั ให้ทุกคนสามารถลุกขนึ้ มาแก้ปัญหา สร้างความเปลี่ยนแปลงท่ีทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม ช่วย ชะลอผลกระทบจากปัญหาส่ิงแวดล้อมในอนาคตและ รับมือความเปลย่ี นแปลงที่จะเกดิ ขน้ึ ได้ โครงการChulaZeroWaste เหน็ วา่ โรงเรยี นมบี ทบาท ส�ำคัญในการให้การศึกษาถ่ายทอดความรู้และปลูกฝัง จติ สำ� นกึ ทด่ี ีให้เดก็ ต้งั แตเ่ ล็ก หากโรงเรยี นสามารถปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มจี ติ สำ� นกึ ดา้ นขยะและสง่ิ แวดลอ้ มได้ เดก็ ๆ จะ เตบิ โตเปน็ พลเมอื งทรี่ คู้ ณุ คา่ และวธิ ปี ฏบิ ตั ติ อ่ สง่ิ แวดลอ้ ม อย่างถูกต้อง สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา สิ่งแวดล้อมท่ีเป็นปัญหาส�ำคัญในโลกปัจจุบัน และร่วม สรา้ งการพัฒนาท่ียั่งยนื ในระดบั ประเทศและระดบั โลก 11คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
โรงเรียนปลอดขยะเป็ นอย่างไร โรงเรียนปลอดขยะในความคิดของ Chula Zero Waste ไม่ใช่แค่การสอน หลักการ 3R ในห้องเรียนหรือการตั้งถังขยะแยกประเภทในโรงเรียน แต่เป็นการ ด�ำเนินงานในหลายด้านเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่การลดและแยกขยะกลายเป็น ชีวิตประจ�ำวันของทุกคนในโรงเรียน รวมทั้งมีการปลูกฝังจิตส�ำนึกด้านส่ิงแวดล้อม โดยโรงเรียนต้องลดการสร้างขยะให้ได้มากที่สุดและเปล่ียนขยะท่ีเกิดข้ึนให้เป็น ทรัพยากรที่น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ เพื่อลดปริมาณขยะที่ต้องส่งก�ำจัดด้วยการเผา หรือฝังกลบให้ได้มากที่สุดซึ่งเป็นการแก้ปัญหาขยะอย่างย่ังยืน ผ่านการท�ำงาน รว่ มกนั ระหว่างผบู้ ริหาร คณุ ครู และนกั เรยี น ด้วยการสนบั สนุนของโครงการ Chula Zero Waste ซึ่งเป็นโครงการที่มีประสบการณ์ในการขับเคลื่อนนโยบาย องค์ความรู้ และระบบการจดั การขยะในจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และโรงเรยี นในเครอื ขา่ ยฯ อาทิ โรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝา่ ยประถมและมธั ยม โรงเรยี นทอสี และโรงเรยี นปญั ญาประทปี 12 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
โรงเรยี นปลอดขยะในฝันของคุณครูเปน็ อยา่ งไร วาดภาพแล้วเลา่ รายละเอยี ด ใหฟ้ งั ที 13คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ประโยชน์ของการเป็ นโรงเรียนปลอดขยะ ลองนึกภาพว่าคุณก�ำลังเดินเข้าไปในโรงเรียนแห่งหน่ึง พ้ืนโรงเรียนสะอาด เอยี่ มออ่ ง ไมม่ ขี ยะลน้ ออกมานอกถงั ตามทางเดนิ ไมม่ ขี ยะอยสู่ กั ชนิ้ คณุ กำ� ลงั มองหา ที่ท้ิงขวดน้�ำท่ีเพิ่งดื่มหมดไป หันซ้ายหันขวาเห็นถังขยะอยู่ไม่ไกล พอเดินเข้าไปใกล้ กพ็ บวา่ มถี งั ขยะตง้ั อยหู่ ลายถงั แตล่ ะถงั รบั ทง้ิ ขยะคนละประเภทกนั มปี า้ ยบอกวา่ ขยะ ทอ่ี ยใู่ นแตล่ ะถงั จะเอาไปทำ� อะไรตอ่ คณุ ทงิ้ ขวดนำ้� ลงถงั ขยะรไี ซเคลิ และเมอื่ อา่ นปา้ ย กร็ ไู้ ดว้ า่ ขวดนำ้� ทง้ั หมดจะนำ� ไปขายและนำ� เงนิ รายไดม้ าเขา้ กองทนุ ของโรงเรยี นตอ่ ไป ไมน่ านก็ถงึ เวลาพกั เทย่ี งพอดี เด็กๆ หลายคนว่งิ ไปซือ้ ขนมทร่ี า้ นคา้ ของโรงเรียน คุณสังเกตเห็นว่าเด็กๆ ซื้อน�้ำหวานใส่แก้วของตัวเอง ขนมก็มีจานของร้านใส่มาให้ ต่างจากร้านค้าท่ัวไปท่ีมักตักน�้ำหวานใส่แก้วพลาสติกและขายขนมท่ีใส่ถุงหรือกล่อง พลาสตกิ ใสมาเรยี บรอ้ ยแลว้ เมอ่ื กนิ เสรจ็ เดก็ ๆ ลา้ งจานแลว้ นำ� มาคนื ใหร้ า้ น ทกุ คนใน โรงเรยี น ไมว่ า่ จะเปน็ นกั เรยี น คณุ ครู หรอื ผอู้ ำ� นวยการ มกี ระบอกนำ�้ ของตวั เองไวเ้ ตมิ นำ�้ จากตกู้ ดน้ำ� ขยะท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน ไม่วา่ จะเปน็ เศษอาหาร กลอ่ งนม พลาสติก หรือกระดาษ ทุกคนก็ช่วยกันแยกขยะเป็นประเภทต่างๆ เพ่ือให้จัดการได้ง่าย และ ส่งตอ่ ไปใช้ประโยชน์กับโครงการต่างๆ ได้มากท่ีสุด เชน่ น�ำกลอ่ งนมไปทำ� โตะ๊ -เกา้ อี้ นักเรียน น�ำเศษอาหารไปทำ� ปุ๋ยหมัก คุณรู้สึกทึ่งที่โรงเรียนนี้แทบไม่มีขยะเลย และ ขยะที่เกิดข้ึนก็ได้ส่งต่อไปที่ต่างๆ ที่น�ำขยะเหล่านี้ไปท�ำประโยชน์ได้ เม่ือมีขยะน้อย สภาพของโรงเรยี นกส็ ะอาดนา่ เรยี น 14 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
น่ีคือภาพส่วนหนึ่งที่จะเกิดขึ้นจากการเป็นโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนจะ กลายเป็นพื้นที่ที่ทุกคนช่วยท�ำให้ส่ิงแวดล้อมของโลกดีขึ้นได้โดยเร่ิมจากตัวเอง การเป็นโรงเรียนปลอดขยะจึงไม่ได้ท�ำให้สภาพแวดล้อมของโรงเรียนดีข้ึนเท่าน้ันแต่ ความรู้ ทกั ษะ และกระบวนการตา่ งๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ยงั เปน็ ประโยชนก์ บั ทกุ คนในโรงเรยี น ทง้ั นกั เรยี น ครู บคุ ลากร และโรงเรยี นเอง ทง้ั ตอนนแ้ี ละในอนาคตอกี หลายปขี า้ งหนา้ ประโชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี น นกั เรยี นไดพ้ ฒั นาความรู้ ทกั ษะ และทศั นคตดิ า้ นสง่ิ แวดลอ้ มจากการลดและแยก ขยะ เป็นการปลกู ฝงั ให้นกั เรียนให้ • มคี วามรกั สง่ิ แวดลอ้ ม • เข้าใจวิธีการลดและแยกขยะ สามารถลดและแยกขยะในชีวิตประจ�ำวันได้ ชว่ ยใหป้ รมิ าณขยะเหลอื ทงิ้ ของโรงเรยี นและชมุ ชนลดลง เปน็ การทำ� ประโยชน์ ให้สงั คมดว้ ยการลดและแยกขยะอยา่ งถกู ต้อง • ไดฝ้ กึ วนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบในการดแู ลสว่ นรวมคอื โรงเรยี นและสงิ่ แวดลอ้ ม รอบตวั ตงั้ แตเ่ ล็ก นำ� ไปสู่การใส่ใจรับผิดชอบสงิ่ แวดล้อมรอบตัวท่ีกวา้ งขึ้นใน อนาคต • เข้าใจว่าสามารถเป็นส่วนหน่ึงของการแก้ปัญหาโดยเริ่มจากส่ิงท่ีตัวเองท�ำได้ ระมัดระวังในการทำ� สงิ่ ท่จี ะมผี ลกระทบต่อคนอืน่ และโลกใบน้ี • ไดร้ ับการปลูกฝังจิตสำ� นกึ ที่ดี โดยมีพนื้ ฐานของสิ่งแวดลอ้ มเป็นส่วนหนงึ่ ของ กระบวนการคิด เพอ่ื เตบิ โตเป็นพลเมืองแห่งอนาคต สร้างสงั คมทม่ี ีเจตคตทิ ี่ ดีตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สิ่งที่กระทำ� ประโชนท์ เ่ี กดิ ขน้ึ กบั ครแู ละบคุ ลากร โครงการโรงเรยี นปลอดขยะจะชว่ ยใหค้ รแู ละบคุ ลากรไดพ้ ฒั นาความรู้ ทกั ษะ และ ทศั นคตดิ า้ นส่งิ แวดลอ้ ม สามารถเปน็ ตน้ แบบด้านส่งิ แวดลอ้ มใหน้ กั เรียน รวมถึง • มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจวธิ กี ารลดและแยกขยะ สามารถถา่ ยทอดปลกู ฝงั จติ สำ� นกึ ให้นักเรียนได้ 15คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
• นำ� ความรลู้ งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ไดเ้ ชอ่ื มโยงความรสู้ กู่ ารปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจำ� วนั ของ ตนเองและนักเรียนเพือ่ ปลกู ฝังพฤติกรรมที่รบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและแก้ปัญหา ส่ิงแวดล้อม • เข้าใจสถานการณ์และปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม อันเปน็ ปัญหาสำ� คัญของโลกทตี่ อ้ ง ไดร้ บั การแก้ไขอย่างเร่งด่วน และรว่ มเปน็ ส่วนหนึ่งในการแก้ไขปญั หา • สามารถใช้ในการเล่อื นขั้นวทิ ยฐานะ • ตอบข้อสงสัยเก่ียวกับการแยกขยะท่ีเป็นเพียงความรู้ในห้องเรียน ด้วยการ ปฏบิ ัติให้เห็นผลประจกั ษ์ • พฒั นาความรแู้ ละกจิ กรรมทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี นใหไ้ ปสรู่ ะดบั สากลโดยการ ผสานแนวคดิ ท่เี ก่ยี วกับส่งิ แวดล้อม ประโชนท์ เี่ กดิ ขน้ึ กบั โรงเรยี น • สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นดี สะอาด น่าอยู่ สง่ ผลใหค้ ณุ ภาพชีวติ และจติ ใจ ของผ้คู นในโรงเรียนดขี ึน้ ด้วย • แบง่ เบาภาระนักการและแม่บ้านในการจดั การขยะ • ลดงบประมาณในการจัดการขยะ • เปน็ ผนู้ ำ� ดา้ นโรงเรยี นปลอดขยะ สามารถพฒั นาจนเปน็ แหลง่ การเรยี นรใู้ หก้ บั ชุมชน และเป็นแบบอยา่ งใหก้ ับโรงเรยี นอน่ื ๆ ได้ • สร้างเครอื ขา่ ยเพ่อื ทำ� งานร่วมกับชมุ ชนรอบข้าง • ไดน้ ำ� ทรพั ยากรจากการคดั แยกขยะมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ สามารถสรา้ ง รายไดเ้ พม่ิ ใหก้ บั โรงเรยี นได้ เชน่ รายไดเ้ พม่ิ จากการขายขยะรไี ซเคลิ ดว้ ยการ จัดตัง้ กองทนุ แลว้ แบง่ รายไดก้ บั ภารโรง รายได้เพ่มิ จากการปลกู ผักอินทรยี ท์ ่ี ใชป้ ยุ๋ หมกั จากเศษอาหารและใบไม้ แลว้ ขายใหก้ บั ผปู้ กครองหรอื ชมุ ชน ชว่ ย ลดรายจ่ายทตี่ ้องไปซ้ือผกั ทตี่ ลาดทง้ั ยังปลอดภัย ไม่เสีย่ งกบั สารเคมตี กคา้ • โรงเรยี นมภี าพลกั ษณท์ ด่ี ดี า้ นสง่ิ แวดลอ้ ม และสามารถนำ� แผนการดำ� เนนิ งาน และผลลัพธ์เสนอเข้าร่วมโครงการประกวด Zero-Waste School ของกรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม 16 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
แผนงาน 4 ด้านเพ่ือมุ่งสู่ การเป็ นโรงเรียนปลอดขยะ ประกาศ ปรบั นโยบายและแผนงาน การเรยี นการสอน แผนพัฒนาโรงเรยี นเป้าหมายไปสู่ ต้นแบบของโรงเรียนปลอดขยะ โดยด�ำเนินการด้วยองค์ประกอบ 4 ด้าน เปลีย่ น ปูทาง สภาพแวดล้อมในโรงเรียน สูบ่ า้ นและชุมชน 17คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
การเป็นโรงเรียนปลอดขยะไม่ใช่เร่ืองง่าย ต้องใช้เวลาค่อยๆ ปรับเปล่ียนไปที ละเล็กทีละน้อย และส่ิงที่ขาดไม่ได้คือความต้ังใจของทุกคนในโรงเรียน ไม่ว่าจะ เปน็ ผบู้ รหิ าร คณุ ครู นกั การหรอื ภารโรง นกั เรยี น รปภ. ผปู้ กครอง ทกุ คนลว้ นมคี วาม สำ� คญั หมดในการสรา้ งโรงเรยี นปลอดขยะใหเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ Chula Zero Waste จงึ จดั ทำ� แผนงาน 4 ด้านเพื่อมุ่งสูก่ ารเป็นโรงเรยี นปลอดขยะ เพ่อื ให้มีการปรับเปลี่ยนโรงเรยี น อยา่ งเปน็ ระบบและทุกคนเข้ามามีส่วนรว่ ม โดยมี 3 องคป์ ระกอบส�ำคัญคอื “โรงเรยี น “ เริ่มจากผู้อ�ำนวยการและทีมผู้บริหารของโรงเรียนที่ต้องให้ ความส�ำคัญและมุ่งมั่นพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนปลอดขยะ คุณครูให้ความรู้นักเรียนเก่ียวกับการจัดการขยะอย่างถูกต้องมี การปรับสภาพแวดล้อมในโรงเรียน เช่น การตง้ั ถงั ขยะแยกประเภท การไมใ่ ชแ้ กว้ นำ�้ และถงุ พลาสตกิ ในรา้ นคา้ เพอื่ ใหท้ กุ คนในโรงเรยี นสามารถ ลดและแยกขยะไดท้ ำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนเป็นวิถีชีวิตของทุกคนในโรงเรียน สุดท้ายคือการส่งต่อให้ทาง บา้ น คณุ พอ่ คณุ แม่ ผปู้ กครอง และชมุ ชนมกี ารจดั การขยะทด่ี ดี ว้ ย “ บา้ น “ การได้ฝึกฝนการลดและแยกขยะอย่างต่อเน่ืองเป็นส่ิงส�ำคัญ ท่ที ำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม เมอ่ื เดก็ ๆ ไดล้ ดและแยกขยะ ทโ่ี รงเรยี น แตไ่ มไ่ ดท้ ำ� ทบ่ี า้ น การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมจะเกดิ ยากขน้ึ ในเดก็ เลก็ อาจจะสบั สนและไมแ่ นใ่ จวา่ ควรทำ� อยา่ งไรเพราะทโี่ รงเรยี น และที่บ้านท�ำไม่เหมือนกัน บ้านจึงเป็นอีกสถานที่ส�ำคัญในการ ปลูกฝังเด็กๆ ให้ลดและแยกขยะได้อย่างถูกต้อง หากที่บ้านให้ ความสำ� คญั และมแี นวทางสอดคลอ้ งกบั โรงเรยี น โดยมคี ณุ พอ่ คณุ แม่ เปน็ แบบอยา่ งจะชว่ ยปลกู ฝงั พฤตกิ รรมใหเ้ ดก็ ๆ ไดอ้ ยา่ งดี เดก็ ๆ กไ็ ด้ ทำ� สมำ่� เสมอจนเปน็ นสิ ยั คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
“ชุมชน “ การสร้างเครือข่ายร่วมกับชุมชนและจัดกิจกรรมร่วมกัน เช่น ธนาคารขยะ ตลาดนดั ขยะรไี ซเคลิ ทำ� ใหก้ ารจดั การขยะมพี ลงั มากขน้ึ คนท่ีอยู่นอกโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชน อย่างถกู ต้อง เป็นการเผยแพรอ่ งคค์ วามรูแ้ ละทักษะใหช้ ุมชน โดย อาจจะมีกิจกรรมให้เด็กๆ ในโรงเรียนปลอดขยะเป็นอาสาสมัคร ให้ความรู้กับชุมชน เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งแล้ว การจัดการ ขยะให้ยั่งยืนในระดับชุมชนก็ไม่ใช่เร่ืองยากอีกต่อไป ท�ำให้เกิด การจัดการขยะอย่างครบถ้วนในทุกๆ ท่ีที่เกี่ยวข้องกับเด็ก คือ ทั้งโรงเรียน บ้าน และชุมชน เด็กๆ ก็ได้มีคนในชุมชนเป็น แบบอยา่ งในการจดั การขยะดว้ ย 19คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ขั้ นตอนและวิ ธี การพั ฒนาการท� ำงาน 1 การวางแผนการด�ำเนินงาน ประกาศนโยบายและแผนงาน • ประกาศมาตรการลดขยะอย่างชดั เจน เชน่ งดแจก ถุงพลาสติก • ตง้ั คณะทำ� งาน Green Team ทมี่ ที ง้ั ผบู้ รหิ าร ครู และ นกั เรยี นรว่ มมอื กนั เปน็ ภาคี • วัดปริมาณขยะก่อนด�ำเนินการ และต้ังเป้าหมายให้ ขยะเหลอื ทง้ิ ทตี่ อ้ งสง่ ไปกำ� จดั ลดลง ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ10 • ให้นักเรียนท�ำแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการลด และแยกขยะ ปรบั การเรียนการสอน • สอดแทรกแนวคดิ ปลอดขยะในวชิ าตา่ งๆ ทกุ ระดบั ชนั้ อยา่ งสอดรบั กัน วัดผลการเปลี่ยนแปลงได้ • เพม่ิ กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี น อาทิ ทศั นศกึ ษา การประกวด หรือกิจกรรมชมรมท่ีส่งเสริมการลดและการแยกขยะ การเข้าคา่ ยปลอดขยะ 20 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
เปลี่ยนสภาพแวดล้อมในโรงเรยี น • มีจุดรับขยะรไี ซเคิลท่ชี ดั เจน • ปรับปรงุ ถงั ขยะใหม้ ีความชัดเจน ให้มถี งั รองรับเศษอาหารหรอื ถังส�ำหรับเทน้�ำแข็ง และหลอด • มรี ะบบจดั การขยะอินทรีย์ ไปท�ำปุ๋ยหรืออาหารสตั ว์ • ปรับปรุงดูแลรักษาตู้กดน้�ำให้สะอาดอย่างสม่�ำเสมอ และส่งเสริมให้นักเรียนพกกระบอกน�้ำหรือแก้วน�้ำมา เติมน�ำ้ ดมื่ • ออกมาตรการใหร้ า้ นคา้ ในโรงเรยี นลดการใชบ้ รรจภุ ณั ฑ์ พลาสติก ให้ส่วนลดค่าอาหารและเคร่ืองดื่มส�ำหรับ ลูกค้าทน่ี �ำภาชนะสว่ นตวั มาใส่ งดแจกถุงพลาสตกิ ปทู างส่บู า้ นและชุมชน • ดำ� เนนิ มาตรการลดและคดั แยกในทกุ กจิ กรรมทโ่ี รงเรยี น จดั เพ่ือใหเ้ ปน็ ตัวอย่างกบั ผูป้ กครองและชมุ ชน • สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั อปท.และภาคเอกชน เพอ่ื สง่ ตอ่ ขยะ ไปยังปลายทางที่ถูกต้อง • สรา้ งเครอื ขา่ ยรว่ มกบั ชมุ ชน เชน่ จติ อาสาใหค้ วามรเู้ รอื่ ง การแยกขยะ จดั กจิ กรรมเกบ็ ขยะรว่ มกบั ชมุ ชน ธนาคาร ขยะหรอื ตลาดนดั ขยะรไี ซเคลิ โดยรบั ขยะจากชมุ ชน 21คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
2 การตรวจสอบ (ทำ� ทุก 1 เดอื น 3 เดอื น หรอื 6 เดอื น) ประกาศนโยบายและแผนงาน ปรบั การเรยี นการสอน Green Team ตรวจสอบผลการดำ� เนนิ งาน มีการตรวจสอบผลจากการปรับการเรียน เชน่ โรงเรยี นมกี ารดำ� เนนิ งานตามมาตรการ การสอน เช่น มีการสอดแทรกเนื้อหา ลดขยะท่ปี ระกาศไวห้ รือไม่ ผลลพั ธ์ที่เกิด ในรายวชิ าตา่ งๆ มกี จิ กรรมทศั นศกึ ษาหรอื ขนึ้ จากการดำ� เนนิ งานเปน็ อยา่ งไร ปรมิ าณ คา่ ยทสี่ ง่ เสรมิ ความรแู้ ละการเปลยี่ นแปลง ขยะลดลง คงเดมิ หรอื เพมิ่ ขน้ึ ผลลพั ธเ์ ปน็ พฤติกรรมในการลดและการคัดแยกขยะ ไปตามเปา้ หมายทตี่ ง้ั ไวห้ รือไม่ เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ การจัดการขยะมากข้นึ เปล่ยี นสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น ปูทางสบู่ ้านและชุมชน ตรวจสอบวา่ สภาพแวดลอ้ มและระบบการ ตรวจสอบว่าโรงเรียนได้มีการลดและ จัดการขยะในโรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลง คดั แยกขยะในกจิ กรรมตา่ งๆ ทโี่ รงเรยี นจดั อย่างไรบ้าง ท�ำให้เกิดการจัดการขยะ หรอื ไม่ มกี ารสอ่ื สารกับผู้ปกครอง ชมุ ชน ตามหลกั การ Zero Waste และ 3R อย่าง และสร้างความร่วมมือกันในการลดและ ครบถว้ นหรอื ไม่ โรงเรยี นมกี ารจดั การขยะ คัดแยกขยะ หรือจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น ท่ดี ีขึน้ หรอื ไม่ ธนาคารขยะ กจิ กรรมเกบ็ ขยะรว่ มกบั ชมุ ชน มีการประเมินว่าผู้ปกครองและชุมชนมี ส่วนร่วมมากน้อยเพียงใด ด�ำเนินการใน แผนสว่ นนไ้ี ดต้ าแมลเะปโชลวี กา้ติ ใใหตตท้ผ้มะนื เานลำ้แยอสทนั นแสี่ตสวนยงั้ สไงวบห้ รอื ไม่ กำ�ลงั ถกู คกุ คามทำ�ร้าย ชีวิตที่บริสุทธิม์ ากมายตอ้ งตายลง�� ดว้ ยสาเหตทุ พี่ วกเขาไม่ได้เปน็ ผกู้ ่อ 3 การปรบั ปรุง รไู้ หม...ทง้ั หมดนีเ้ ป็นฝีมอื ใคร พวกเขาท้งิ อะไรไว้ในทะเล หลังจากตรวจสอบแล้วน�ำผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมาประเมินผลและพิจารณาว่าจะปรับปรุง หรือพัฒนาการด�ำเนินงานในส่วนใดเพ่ือให้การด�ำเนินงานโรงเรียนปลอดขยะต่อเนื่อง และบรรลเุ ป้าหมายทตี่ งั้ ไว้ ทง้ั น้สี ามารถมีการใหร้ างวัลหากมกี ารดำ� เนินงานทีด่ ี และ มีมาตรการหรือบทลงโทษหากมีผูไ้ ม่ปฏิบตั ิตามมาตรการการจดั การขยะของโรงเรยีISBNน978-616-467-188-1 135.-
ตั วอย่ างกิ จกรรมท่ี ด� ำเนิ นงานโดย โรงเรี ยนสาธิ ตจุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลั ย โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถมและฝา่ ยมธั ยมมกี ารดำ� เนนิ งาน โรงเรียนปลอดขยะอยา่ งเป็นระบบตามแผนงานทง้ั 4 ด้าน ประกาศนโยบายและ จดั ต้ังคณะท�ำงาน Green Team ท่ปี ระกอบไปด้วยฝา่ ย แผนงาน ผบู้ รหิ าร ผแู้ ทนอาจารย์ และผแู้ ทนนกั เรยี นทส่ี นใจ (หรอื สภานักเรยี น) รวมถงึ ประกาศมาตรการการลดขยะเป็น นโยบายของโรงเรยี น อาทิ ประกาศการงดใชถ้ งุ พลาสตกิ ในร้านค้าสหกรณ์ สนับสนุนให้นักเรียนและบุคลากรน�ำ กระบอกนำ�้ มาใชใ้ สน่ ำ้� แทนการซอ้ื นำ้� ขวดพลาสตกิ พรอ้ ม วางแผนจดั กิจกรรมต่อเนอื่ งในปีการศกึ ษานน้ั ปรบั การเรยี นการสอน ในชั้นเรียนระดับปฐมวัยถึงประถมศึกษา ทางโครงการ Chula Zero Waste ร่วมกับส�ำนักพิมพ์แฮปปี้คิดส์ ร่วมจัดท�ำหนังสือนิทาน “อะไรอยู่ในทะเล” เป็น หนังสือนิทานที่น�ำเสนอเรื่องราวของปัญหาขยะ ในทะเลผ่านตัวละครแก๊งไดโนเสาร์ท่ี เด็กๆ ช่ืนชอบ โดยมีจุดประสงค์ให้ โรงเรียนในเครือข่ายฯ ใช้เป็นส่ือการสอน เพอ่ื นำ� เขา้ สบู่ ทเรยี น สำ� หรบั โรงเรยี นสาธติ จุฬาฯ ได้มอบให้กับนักเรียนช้ันอนุบาล 3 และประถมศึกษาปีที่ 1 น�ำกลับบ้าน ใหผ้ ปู้ กครองชว่ ยอา่ นใหฟ้ งั และใหอ้ าจารย์ ผู้สอนให้การบ้านหรือจัดกิจกรรมต่อเน่ือง หลังจากอ่านหนงั สือนทิ านจบ What,s in the Sea? 23คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก เรอ่ื ง : มณศิ า ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา ภาพ : รติมัย หงสว์ ิสทุ ธิกลุ แปล : วรรณศริ ิ วีระสมั พนั ธ์
ในระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่าย มัธยม ได้มีการเพิ่มเนื้อหาสิ่งแวดล้อมให้แทรกอยู่ใน รายวิชาอื่นๆ เช่น กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และโลก ของเรา บทความภาษาองั กฤษ และวชิ าเลอื กเสรี “เศรษฐกจิ สีเขยี ว” เปน็ ต้น กจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี น ทางโครงการฯ สนับสนุน ให้โรงเรียนในเครือข่ายฯ จัดกิจกรรมขึ้นเพื่อให้เห็น ปัญหาขยะที่เกิดข้ึนจริงใน สงั คม ไมว่ า่ จะเปน็ กจิ กรรม เกบ็ ขยะบรเิ วณนอกโรงเรยี น หรอื กจิ กรรมทศั นศกึ ษา โดยโครงการฯ เคยจดั ทศั นศกึ ษาเรอ่ื งขยะและไมโครพลาสตกิ ณ ชายหาดบางแสน จังหวดั ชลบุรี เปน็ กจิ กรรมทีพ่ านกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5-6 โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ไปเก็บขยะนอกสถานที่ พร้อมเก็บตัวอย่างทราย จากหาดเพื่อสอ่ งหาไมโครพลาสติกท่ีอย่ขู ้างในด้วย CU SmartLens เปน็ หนทางหน่ึง ในการสร้างความตระหนักเก่ียวกับปัญหาขยะในทะเล และสอดแทรกการฝึกทักษะ ทางวทิ ยาศาสตรร์ ว่ มดว้ ย
เปล่ียนสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น ตัวอย่างการเปล่ียนแปลงถังขยะโรงอาหารใน โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม โดยถังขยะที่ต้ัง จะถูกปรับเข้ากับขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่น้ัน รวมถึง ปรับให้รองรับเข้ากับปลายทางของขยะ นอกจากน้ี ยงั มกี ารจดั บอรด์ ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ปญั หาขยะและวกิ ฤต ของไมโครพลาสติกที่เกิดข้ึนในปัจจุบัน หรือติด ส่อื ประชาสัมพนั ธเ์ ตอื นใจให้ชว่ ยกันลดและแยกขยะ ส่งเสริมกิจกรรมที่ท�ำให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ รวบรวมขยะรีไซเคิล เช่น ตั้งถังรับกล่องนม UHT ที่ ด่ืมหมดแล้วทั้งในส่วนช้ันอนุบาลและท่ีนักเรียนล้าง ท�ำความสะอาดมาจากบ้าน รวบรวมส่งให้กับบริษัท น�ำไปรีไซเคิลเป็นโต๊ะ-เก้าอี้นักเรียนกับโครงการ “กลอ่ งวเิ ศษ” ของบริษทั อำ� พลฟูดส์ ปูทางไปสู่บ้านและชุมชน ตวั อยา่ งกจิ กรรมทเ่ี ชอื่ มโยงไปสบู่ า้ นและ ชมุ ชน เชน่ “ธนาคารขยะรไี ซเคลิ ” เชญิ ชวน ใหน้ กั เรยี นนำ� ขยะรไี ซเคลิ ทแี่ ยกแลว้ จากบา้ น มาท่ีจุดรับฝากขยะในโรงเรียนเหมือนการ ฝากเงนิ ในธนาคาร โดยชง่ั นำ�้ หนกั ขยะและ คดิ ออกมาเปน็ มลู คา่ เพอ่ื แลกของรางวลั สว่ นขยะทนี่ กั เรยี นนำ� มาฝากโรงเรยี นไดป้ ระสานกบั คน รบั ซอ้ื ขยะในชมุ ชนเพอ่ื ใหเ้ ขา้ มารบั ในวนั ปฐมนเิ ทศนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นมนี โยบายลดขยะพลาสตกิ ภายในงาน เรม่ิ จากการทำ� หนงั สอื แจง้ ผปู้ กครองใหน้ ำ� แกว้ นำ�้ และภาชนะสว่ นตวั มาใส่ อาหารกลางวนั และจดั เตรยี มถาดหลมุ ทใี่ ชซ้ ำ้� ไดบ้ รกิ ารเพม่ิ เตมิ พรอ้ มจดั จดุ แยกขยะ และจดุ ลา้ งภาชนะให้กับผูเ้ ข้ารว่ มงาน 25คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ในการประชุม มีการอบรมแยกขยะ ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ เปดิ คลปิ วดิ โี อรณรงคก์ ารลดขยะในระหวา่ ง ทานอาหารกลางวนั ในงานมกี ารออกบธู ให้ ความรเู้ กยี่ วกบั ไมโครพลาสตกิ การลดและ แยกขยะโดยทีมคณะกรรมการนักเรียน ภาพบรรยากาศในงานกิจกรรม วันปฐมนิเทศนักเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนสาธติ จฬุ าฯ ฝา่ ยประถม ขอบคุณภาพจาก YouTube ฝ่ายกิจการนักเรียน สาธิต จฬุ าฯ ฝ่ายประถม 26 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ภาพกจิ กรรมธนาคารขยะของนกั เรยี น โรงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝา่ ยประถม ขอบคุณภาพจาก YouTube ฝ่ายกิจการนักเรียน สาธิต จุฬาฯ ฝ่ายประถม 27คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
หลั กการที่ ช่ วยขั บเคลื่ อนการท� ำโรงเรี ยนปลอดขยะ แนวคดิ ปลอดขยะ (Zero-Waste) แนวคดิ Zero-Waste เปน็ แนวคดิ การจดั การอยา่ งยงั่ ยนื มจี ดุ ประสงคท์ จ่ี ะลดปรมิ าณขยะทตี่ อ้ งสง่ ไปกำ� จดั ดว้ ยการ ฝงั กลบหรอื เผาซง่ึ เปน็ กระบวนการกำ� จดั ขยะทสี่ ง่ ผลกระทบ ต่อส่ิงแวดล้อมมากท่ีสุด แนวคิดปลอดขยะมุ่งเน้นให้ แหลง่ กำ� เนดิ ขยะพยายามปอ้ งกนั หรอื ลดการสรา้ งขยะให้ ไดม้ ากทสี่ ดุ เชน่ การใชถ้ งุ ใชซ้ ำ้� ไดแ้ ทนการรบั ถงุ พลาสตกิ จากรา้ นคา้ หากไมส่ ามารถปอ้ งกนั ได้ ควรนำ� ของเหลา่ นน้ั มาใชซ้ ำ�้ หรอื นำ� ไปรไี ซเคลิ แทน หากเปน็ ขยะอนิ ทรยี ์ เชน่ เศษอาหารให้น�ำมาเล้ียงสัตว์หรือท�ำปุ๋ยหมัก หากยังมี สว่ นทรี่ ไี ซเคลิ ไมไ่ ด้ สามารถหาชอ่ งทางในการแปลงเปน็ พลังงานได้ เช่น ท�ำไบโอดีเซลจากน�้ำมันใช้แล้ว การ สง่ เผาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนใหโ้ รงผลิตปนู ซีเมนต์ หากทกุ องคก์ ร ชมุ ชนและครวั เรอื นชว่ ยกนั ลดและแยก ขยะตามแนวคิดนี้ก็จะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสุขภาพอันเกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยและลดความ เส่ียงของการปนเปื้อนไมโครพลาสติกในห่วงโซ่อาหาร อีกทั้งยังช่วยลดภาวะโลกร้อนจากขยะอาหาร โรงเรียน จงึ นบั ว่าเป็นองคก์ รสำ� คญั อย่างยิ่งท่ีจะบ่มเพาะและปลูก ฝงั จติ สำ� นกึ ของเยาวชนใหใ้ สใ่ จเรอื่ งขยะและสง่ิ แวดลอ้ ม เพือ่ น�ำไปสูพ่ ลเมอื งเพ่ือการพฒั นาทีย่ ั่งยืน
Waste Management Hierarchy Waste Management Hierarchy คือปิรามิดที่ท�ำให้เราเห็นความส�ำคัญ ของลำ� ดบั ขนั้ การจดั การขยะ เพอื่ ใหม้ ปี รมิ าณขยะทต่ี อ้ งสง่ ไปกำ� จดั ทห่ี ลมุ ฝงั กลบนอ้ ย ท่ีสุด โดยใหจ้ ัดการขยะด้วยวธิ อี นื่ ๆ ก่อนและให้หลุมฝงั กลบเปน็ ทางเลอื กสดุ ทา้ ยใน การจัดการขยะเมอื่ ไม่สามารถจัดการด้วยวธิ อี น่ื ได้แล้ว 3สRำ� คคัญือทกส่ี าุดรลในดหกลารักใกชา้ ร สงิ่ ทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื การปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ขยะตงั้ แตต่ น้ ทาง (Reduce) เมอ่ื ไมส่ ามารถ ปอ้ งกนั ได้ จงึ คอ่ ยหาทางใชใ้ หค้ มุ้ คา่ ทส่ี ดุ ดว้ ยการใชซ้ ำ้� (Reuse) และสง่ ไปจดั การอยา่ ง ถูกต้องด้วยการรีไซเคิล (Recycle) หรือหากไม่สามารถใช้ซ�้ำและรีไซเคิลได้ก็น�ำไป ท�ำเป็นพลังงานทดแทน (Recovery) เมื่อขยะชิ้นนั้นไม่สามารถจัดการด้วยวิธีการ ทัง้ 4 วิธีน้ไี ดแ้ ลว้ จงึ ส่งไปยังหลมุ ฝังกลบ 29คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
หลุมฝั งกลบไม่ดีอย่างไร หลุมฝังกลบควรเป็นทางเลือกสุดท้ายในการจัดการขยะ เพราะการจัดการขยะ ด้วยวิธีนี้ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมมากที่สุด ท�ำให้ขยะทุกประเภทไปสะสมอยู่ รวมกันในที่เดียวแทนท่ีจะได้รับการจัดการให้เหมาะสมตามประเภทของขยะ ขยะที่อยู่ในหลุมฝังกลบจะสะสมรวมกันเป็นเวลาหลายสิบปีและไม่ย่อยสลาย จงึ สง่ ผลกระทบทง้ั ตอ่ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ เชน่ มกี ลนิ่ เหมน็ เปน็ แหลง่ สะสมเชอ้ื โรค ขยะต่างๆ เช่นพลาสติก สามารถแตกเป็นชิ้นเล็กช้ินน้อย กลายเป็นไมโครพลาสติก ปนเปื้อนในดิน แหล่งน้�ำ และธรรมชาติได้ หากขยะอันตรายไปสู่หลุมฝังกลบ สารเคมแี ละโลหะหนกั กป็ นเป้อื นในธรรมชาติไดเ้ ชน่ กัน หรือขยะเศษอาหารที่มีจ�ำนวนมาก คิดเป็น 64% ของขยะมูลฝอยท้ังหมด ในประเทศไทย เมื่อถูกฝังกลบจะเกิดการย่อยสลายแบบไร้อากาศที่ท�ำให้เกิด กา๊ ซมเี ทน ซง่ึ เปน็ กา๊ ซเรอื นกระจกทท่ี ำ� ใหภ้ าวะโลกรอ้ นรนุ แรงขน้ึ ในตอนนภ้ี าวะโลกรอ้ น เป็นปัญหาส�ำคัญท่ีประเทศท่ัวโลกพยายามแก้ไข เพื่อป้องกันภัยพิบัติ และผลกระทบรุนแรงที่จะเกิด ขึ้นในอนาคตหากอุณหภูมิของโลกยังสูงขึ้นเรื่อยๆ ดงั นนั้ เราควรทำ� ทกุ วถิ ที างเพอ่ื หยดุ ภาวะโลกรอ้ น และ การลดปริมาณขยะท่ีส่งไปหลุมฝังกลบก็เป็น วธิ หี น่งึ ท่ที ุกคนชว่ ยกันท�ำไดแ้ น่นอน 30 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ใน Waste Management Hierarchy มี 3 ขอ้ ทีเ่ ราไดย้ ินบ่อยๆ คือหลักการ 3R เร่ิมจากการลดการใช้ การใช้ซ�้ำ และสุดท้ายคือการรีไซเคิล มาดูกันเลยว่าแต่ละข้อ ส�ำคญั อยา่ งไร ทำ� ไมการลดการใชจ้ งึ สำ� คญั ทส่ี ดุ รไี ซเคลิ กพ็ อแลว้ ไมใ่ ชเ่ หรอ หลายคนคงคิดแบบนี้ในใจ ขยะในตอนนี้มีมากมายมหาศาล และประเทศไทย กม็ ปี รมิ าณขยะเพม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี ในปี 2562 ประเทศไทยมขี ยะมลู ฝอยทง้ั หมด 28.71 ลา้ นตนั เฉพาะในกรุงเทพมหานครผลิตขยะ 13,583 ตัน/วัน มากกว่าปริมาณขยะ/วัน ของ ภาคใต้ ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออก ภาคกลาง และภาคตะวนั ตกเสยี อกี แมว้ า่ จะมกี าร คดั แยกขยะตง้ั แตต่ น้ ทางและนำ� กลบั มารไี ซเคลิ กท็ ำ� ไดไ้ มถ่ งึ ครง่ึ หนงึ่ ของปรมิ าณขยะ ทงั้ หมด ในตอนนส้ี ถานทกี่ ำ� จดั มลู ฝอยหลายแห่งในประเทศกร็ บั ปริมาณขยะเกือบถงึ ปริมาณสงู สุดที่รบั ได้แลว้ และขยะไม่ไดร้ ีไซเคิลได้ทกุ ประเภท เชน่ โฟม ถุงพลาสติก ที่เลอะมากๆ เป็นขยะทร่ี ีไซเคิลไมไ่ ด้ และเราแนใ่ จหรือวา่ ต่อให้เราทงิ้ ขยะลงถังแยก ขยะถกู แลว้ ขยะจะไดร้ บั การจดั การอยา่ งถกู ตอ้ งทงั้ หมด ไมม่ ขี ยะทห่ี ลดุ รอดไปสทู่ ะเล แมแ้ ตช่ นิ้ เดยี ว การลดการใชจ้ งึ สำ� คญั ทส่ี ดุ เพราะเปน็ การไมส่ รา้ งขยะตงั้ แตแ่ รก ถา้ ลอง คิดดูดๆี มีขยะหลายๆ อย่างทเ่ี ราสร้างโดยไมจ่ �ำเป็น เชน่ ขวดน�้ำพลาสติก ถุงแกง ถงุ พลาสตกิ หลอด ซองเครอื่ งปรงุ หอ่ ขนม ฯลฯ ตอ่ ใหเ้ รารบั มาแลว้ เอามาแยกรไี ซเคลิ เช่ือว่าหลายๆ คนคงเหนื่อยกับการล้างและตากถุงเหล่านี้แน่ๆ การ ลดการใช้จงึ ชว่ ยให้เราไมส่ ร้างขยะทไี่ ม่จ�ำเป็นได้ และมีโอกาสไดร้ ไี ซเคิล ขยะอน่ื ๆ ทเี่ กิดข้ึนโดยหลกี เลี่ยงไม่ได้มากข้ึน 31คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ถ้าลดการใช้ไม่ได้ ใชซ้ �้ำ (Reuse) ก็ยังดี ขยะจำ� นวนมากเกิดขน้ึ เพราะเราใชค้ รงั้ เดียวทิง้ ไม่ เกบ็ ไวใ้ ชซ้ ำ้� ทงั้ ๆ ทหี่ ลายๆ อยา่ งยงั ใชต้ อ่ ได้ แมแ้ ตข่ อง ที่แปะป้ายว่าเป็นของใช้ครั้งเดียวทิ้งอย่าง Single-use plastic หรือพลาสติกแบบใช้คร้ังเดียวท้ิงที่เรามักจะได้ มาจากการส่ังอาหาร เช่น กล่องข้าว แก้ว ก็เก็บไว้ใช้ ซ้�ำได้ อย่างกล่องข้าวเป็นพลาสติกชนิด PP (เบอร์ 5) ซ่ึงเป็นพลาสติกชนิดเดียวกับที่ผลิตทัปเปอร์แวร์และทน ความร้อนได้ก็ใช้ซ้�ำได้เหมือนกัน เพราะฉะนั้นคร้ังหน้า อย่ากินอาหารหมดกล่องแล้วทิ้งเลยล่ะ หรือแม้แต่แก้ว พลาสติกจากร้านกาแฟ ถ้าไม่ใช้ใส่เคร่ืองดื่มก็เก็บไว้ใส่ น้�ำลา้ งพกู่ นั เวลาทำ� งานศลิ ปะได้ หากไม่ใชส่ ิ่งของทใ่ี ช้คร้งั เดียวท้งิ การใช้ซ�ำ้ ยงั ช่วย ยดื อายุส่ิงของต่างๆ ไมใ่ หก้ ลายเปน็ ขยะเรว็ เกนิ ไป มี ของหลายอยา่ งทเี่ ราทงิ้ ไปเมอื่ เราไมต่ อ้ งการแลว้ ทงั้ ๆ ทย่ี งั ใชง้ านได้อยู่ เช่น ของเล่น เสือ้ ผา้ อปุ กรณก์ ารเรยี น ซึ่งสามารถใชซ้ ำ้� ไดเ้ ร่ือยๆ จนกวา่ ของจะพัง ถ้าพัง อยา่ เพิ่งรีบท้งิ ลองเอาไปซอ่ มก่อน หรือถา้ ไมอ่ ยากใช้ แล้วจริงๆ ก็บริจาคใหค้ นทีต่ อ้ งการของเหลา่ นีไ้ ด้ 32 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
สุดท้ายคือการรไี ซเคิล การรไี ซเคลิ คอื การลดขยะทจ่ี ะไปหลมุ ฝงั กลบโดยนำ� ขยะเหล่านน้ั ไปแปรรูปเปน็ ของกลบั มาใชใ้ หม่ ในตอนนี้ มแี หลง่ รบั ขยะรไี ซเคลิ ขยะครอบคลมุ เกอื บทกุ ประเภท เชน่ โครงการวน รับถุงพลาสติกและฟิล์มที่ยืดได้ โครงการ หลงั คาเขยี วและโครงการกลอ่ งวเิ ศษ รบั กลอ่ งนม โครงการ ส่งพลาสติกกลับบ้าน รับพลาสติกแข็งและพลาสติก ที่ยืดได้ เป็นต้น การส่งขยะไปรีไซเคิลที่แหล่งรับขยะ รีไซเคิลอย่างถูกต้องช่วยให้ขยะน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ในรปู แบบอนื่ ๆ แทนทจี่ ะหมดประโยชนแ์ ลว้ ไปหลมุ ฝงั กลบ (ดขู อ้ มูลแหล่งรับขยะรีไซเคลิ เพิม่ เตมิ ทท่ี ้ายเล่ม) หลกั การ 3R เป็นหลกั การทปี่ อ้ งกันไมใ่ หเ้ กดิ ขยะต้ังแตต่ น้ ทางและยดื อายสุ ่งิ ของ ตา่ งๆ ใหท้ ำ� ประโยชนไ์ ดม้ ากทสี่ ดุ แทนทจ่ี ะกลายเปน็ ขยะทนั ทหี ลงั จากทเ่ี ราไมต่ อ้ งการ ใชง้ านแล้ว หากทำ� ทัง้ 3 อย่างไปด้วยกนั ก็จะชว่ ยลดขยะทีไ่ ปหลุมฝงั กลบได้มาก 33คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ปั ง เปดิ ใจว่าทกุ คนก�ำลังเรียนรู้ Mindset ดีมีชัยไปกว่าครึ่ง เพราะเรามี Mindset อย่างไร การกระท�ำเรา ก็จะเป็นอย่างนนั้ สำ� หรับคุณครกู ารมี Mindset วา่ “ทกุ คนกำ� ลังเรยี นรู้” คุณครูกำ� ลัง เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับเด็ก เด็กก็เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับคุณครูด้วย เม่ือเกิดสิ่งท่ี ผิดพลาดหรือไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวังก็มองเป็นการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาไปด้วยกัน อีกอย่างคือไม่ควรใช้การบังคับในการปลูกฝังจิตส�ำนึก เพราะในโลกนี้มีวิธี อกี มากมายท่ีชว่ ยใหก้ ารปลกู ฝังจติ สำ� นกึ ใหง้ อกงามในตวั เดก็ ๆ “วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ในการสอนคอื ไมไ่ ดส้ อน แตต่ ง้ั คำ� ถามใหเ้ ขาสอนตวั เอง ใหเ้ ขา หาคำ� ตอบมาสอนตวั เอง ใหเ้ ขาคดิ จน ตกตะกอนไดว้ า่ เขาควรจะทำ� อะไรหรอื เร่มิ จากเรื่องทเี่ ด็กสนใจ ไมท่ ำ� อะไร” ลองนกึ ถงึ ตอนทตี่ อ้ งดหู รอื ฟงั อะไรทต่ี วั เองไมไ่ ดส้ นใจ แนน่ อนวา่ เรารสู้ กึ เบอื่ เดก็ ก็ เหมอื นกนั ดงั นนั้ การเรม่ิ สอนดว้ ยเรอื่ งทเี่ ดก็ สนใจจะทำ� ใหเ้ ขาเกดิ ความกระตอื รอื รน้ สนใจ มแี รงบนั ดาลใจในการเรยี นรู้ แลว้ คอ่ ยเชอื่ มโยงสคู่ วามรอู้ น่ื ๆ เราทตี่ อ้ งการใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรู้ 34 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการเรยี นรู้ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ เดก็ สนใจเรอ่ื งไหน คำ� ตอบคอื ตอ้ งใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการออกแบบ การเรียนรู้ แทนที่จะก�ำหนดทุกอย่างเป๊ะๆ ไว้ล่วงหน้า ลองชวนเด็กๆ พูดคุยว่า เขาสนใจเรอื่ งอะไร เขาอยากเรยี นอะไร เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เกดิ ความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของการเรยี นรู้ แลว้ ความอยากเรยี นรจู้ ะตามมาเอง เมอ่ื รแู้ ลว้ วา่ เดก็ ๆ อยากเรยี นอะไร อยากเรยี นใน รูปแบบไหน คุณครูคอ่ ยนำ� มาออกแบบการเรยี นรู้ ปรบั และสอดแทรกส่ิงทเี่ ดก็ ๆ ควร จะเรียนรู้ไว้ในกระบวนการ ชวนเด็กคิด ตง้ั คำ� ถาม ชวนเดก็ คดิ ชวนเดก็ คยุ เยอะๆ ใหเ้ ดก็ คดิ เอง ใหเ้ ดก็ มคี วามเปน็ เจา้ ของ มสี ว่ นรว่ ม เช่น ถ้าเราอยากให้เดก็ ๆ รู้วา่ โลกใบน้เี ปน็ โลกทเี่ ขาต้องอยู่ตอ่ ไป เราลอง ฟังเขาพดู ว่าเขาจะอยู่อยา่ งไรกบั โลกใบนี้ เขาอยากใหโ้ ลกใบนเี้ ปน็ อยา่ งไร พาเขาคุย วา่ ถา้ เขาอยากใหโ้ ลกใบนเ้ี ปน็ อยา่ งไร เขาคอื ผทู้ จ่ี ะตอ้ งทำ� ใหโ้ ลกเปน็ อยา่ งนน้ั และเขา คดิ ว่าจะมวี ธิ ีการอะไรทส่ี ร้างส่ิงนัน้ ได้บ้าง ใหเ้ ด็กไดล้ งมือท�ำ ไม่มกี ารเรยี นรู้ไหนทจี่ ะทำ� ให้ความรแู้ ละทักษะติดตัวได้เท่ากับการลงมือท�ำจริง ให้เด็กได้ลงมือท�ำเยอะๆ มีกิจกรรมมากมายที่ท�ำให้เด็กได้เรียนรู้เร่ืองสิ่งแวดล้อม ทั้งท�ำสบู่ ปลูกผัก สัมภาษณ์คนที่ดูแลขยะในโรงเรียน ตามรอยเส้นทางขยะ คิดหาวิธีแก้ปัญหา และอ่ืนๆ อีกมากมายแล้วแต่จะออกแบบการเรียนรู้ เม่ือเด็กๆ ไดล้ งมอื ทำ� ความรู้ ทกั ษะ จติ สำ� นกึ และคณุ คา่ ทางจติ ใจจะตดิ ตวั ไปโดยอตั โนมตั มิ ากกวา่ การสอนหรือการบอกเสยี อีก 35คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
พาออกไปเรยี นนอกหอ้ งเรยี น นอกหอ้ งเรยี นมกี ารเรยี นรู้รออย่มู ากมาย ลองพาเด็กๆ ออกไปเรยี นรจู้ ากของ จริง ไปอยูก่ บั ธรรมชาติ ไปสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมเพื่อส่ิงแวดล้อม ไปเห็นบ่อขยะจริงๆ ไปดูปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ จริง ใหพ้ วกเขาได้เรยี นรจู้ ากประสบการณ์ตรง จดจ�ำสงิ่ ทีพ่ บ สิง่ ที่เหน็ กลบั มาพูดคยุ แลกเปล่ยี นกนั เอามาวเิ คราะห์รว่ มกนั อาจจะตอ่ ยอดทำ� โปรเจกต์ การเรยี นรกู้ จ็ ะเกิดข้ึนอีกมากมาย เชอื่ มโยงกบั ชีวิต การเรียนรู้ท่ีไม่เชื่อมโยงกับชีวิตจะท�ำให้เด็กเกิดค�ำถามว่า “เรียนไปท�ำไม” ตงั้ คำ� ถามใหเ้ ดก็ เหน็ วา่ การเรยี นเรอื่ งสงิ่ แวดลอ้ มเชอื่ มโยงกบั ชวี ติ เขาอยา่ งไร ธรรมชาติ ให้คุณค่าอะไรกับชีวิต ถ้าเขายังสร้างขยะ ยังไม่รักส่ิงแวดล้อม จะเกิดอะไรขึ้น กับโลกใบนี้ แล้วเชือ่ มโยงกบั ชวี ิตเขา หนั กลับมามองว่าในชีวติ ประจ�ำวนั ตอนน้ีเขาจะ ทำ� อะไรไดบ้ า้ ง เปน็ ตน้ ทำ� การเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ เรอ่ื งของชวี ติ จรงิ ทำ� ใหส้ นกุ สนาน ความรู้ จะเกิดข้ึนและเชือ่ มโยงกับชวี ิต ท�ำให้เป็นตวั อย่าง ท�ำใหเ้ ปน็ วถิ ีชีวิต การปลูกฝังท่ีดีที่สุดคือการท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่าง อยา่ งสม�่ำเสมอ ถา้ อยากให้เด็กรักส่ิงแวดล้อม เราต้อง รักส่ิงแวดล้อมก่อน ถ้าอยากให้เด็กลดการใช้ของแบบ ใช้ครั้งเดียวทิ้ง เราต้องไม่รับถุงพลาสติก ไม่รับหลอด พกถุงผ้า พกกระบอกน�้ำก่อน ถ้าอยากให้เด็กลดขยะ เราตอ้ งลดขยะกอ่ น... เดก็ ดเู ราและเลยี นแบบเรามากกวา่ ทเี่ ราคดิ เราเป็นอย่างไร เขากจ็ ะเปน็ อยา่ งนัน้
สร้างการเรียนรู้ ด้ วยกิ จกรรมสนุ ก ๆ การปลูกฝังให้เด็กๆ จัดการขยะเป็น เริ่มต้น จากการให้เด็กๆ รักธรรมชาติก่อน เพราะเม่ือ เด็กๆ รักธรรมชาติแล้วเขาจะมีความห่วงใยและไม่ ท�ำลายธรรมชาติ และเขาจะเข้าใจว่าการจัดการขยะ ท่ีดีเป็นการรักษาธรรมชาติที่เขารัก ส�ำหรับเด็กๆ การได้ท�ำกิจกรรมจะท�ำให้เขาได้เรียนรู้ได้ดีเพราะ เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยความ สนกุ ความอยากรอู้ ยากเหน็ ซงึ่ สง่ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรจู้ ากการลงมอื ทำ� จะติดตัวเขาได้มากกว่า ในบทนี้เราจึงรวบรวมกิจ กรรมสนุกๆ ที่จะช่วยให้เด็กๆ รักธรรมชาติและเรียนรู้ เร่ืองการจัดการขยะ ซ่ึงคุณครูสามารถน�ำไปใช้ในการ จดั กระบวนการเรยี นรใู้ หก้ ับเด็กๆ ได้ 37คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
กิจกรรม ปลูกฝั งความรักธรรมชาติ 1 กจิ กรรมนักสืบตน้ ไม้ (ปรบั จากกิจกรรมของโรงเรยี นทอสี) ระดบั ช้นั อนบุ าล-ประถมศึกษา ระยะเวลา 1.5 ชั่วโมง แนวคิด หากเดก็ ๆ ไดร้ บั การปลกู ฝงั ใหร้ กั ธรรมชาตติ งั้ แตเ่ ลก็ เด็กๆ จะรักธรรมชาติและไมท่ ำ� ลายสงิ่ แวดลอ้ ม รวมท้ัง อยากปกปอ้ งธรรมชาติ นอกจากนยี้ งั ไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งการอยู่ ร่วมกันกับสง่ิ แวดล้อมผา่ นการรู้จักตน้ ไม้ การอยรู่ ่วมกัน ของสงั คมพรรณไม้ ทเี่ เสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเชอ่ื มโยงของ ธรรมชาติท่สี ง่ ผลตอ่ กนั กบั ตัวเดก็ ๆ เอง วัตถุประสงค์ 1. ปลกู ฝงั ความรกั ในธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ ให้ เดก็ ๆ รักและไมท่ ำ� ลายธรรมชาติ 2. สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งเกอื้ กลู และการปฏบิ ัติตอ่ ผอู้ ่ืน
ขั้นตอนการทำ� กิจกรรม 1. ก่อนออกไปส�ำรวจต้นไม้ คุณครูจะให้โจทย์แก่เด็กๆ ว่าจะไปส�ำรวจเรื่องอะไร เช่น วันนี้จะไปส�ำรวจต้นไม้ท่ีอาศัยอยู่ในน้�ำ หรือส�ำรวจต้นไม้ใหญ่ ในเด็กเล็ก คุณครูสามารถใช้ตัวละครสมมุติท่ีเป็นสัตว์ที่เด็กๆ ชื่นชอบอย่างกระรอกเพ่ือ นำ� เขา้ สกู่ ารเรียนรู้ ชวนเด็กๆ ไปส�ำรวจต้นไม้และต้งั ค�ำถาม เช่น • เด็กๆ คดิ ว่าพีก่ ระรอกชอบปีนต้นไมท้ ่มี ลี ักษณะอยา่ งไร • เดก็ ๆ ทราบไหมว่าบา้ นพก่ี ระรอกอยู่ท่ีไหน • เดก็ ๆ คดิ วา่ ตน้ ไมบ้ รเิ วณนมี้ ตี น้ ไหนทพี่ ก่ี ระรอกชอบปนี และทำ� ไมพกี่ ระรอก ถึงไม่ปนี ต้นดอกบวั ท่อี ยูใ่ นน�ำ้ ต้นไม้ท่ีพ่ีกระรอกชอบปีนมลี กั ษณะอย่างไร • ตน้ ไมต้ น้ ไหนบา้ งทม่ี ลี กั ษณะลำ� ตน้ สงู ใหญ่ กงิ่ ใบแนน่ หนา (หรอื ลกั ษณะอน่ื ๆ ของต้นไมป้ ระเภทนนั้ ๆ) • เด็กๆ คดิ วา่ ตน้ ไมท้ เ่ี ราส�ำรวจกนั เป็นไม้ประเภทใด • ท�ำไมต้นไม้เหลา่ นี้จงึ เรียกว่า ไม้ยนื ตน้ /ไม้เลือ้ ย/ไมล้ ม้ ลุก เป็นตน้ 2. ทบทวนกตกิ ากอ่ นออกไปสำ� รวจธรรมชาติ เช่น ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผ้อู ื่น ไม่เดด็ กิง่ ไม้ใบไม้เล่น แล้วพาเด็กๆ ไปสำ� รวจธรรมชาติของโรงเรยี น 3. ให้เด็กๆ สำ� รวจธรรมชาติ คุณครูพาเด็กๆ บนั ทกึ ตน้ ไม้ที่เจอ โดยบันทกึ หรอื วาด ภาพลักษณะของตน้ ไม้ทง้ั ล�ำตน้ ก่ิงไม้ ใบ ดอกไม้ (สำ� หรบั เด็กเลก็ การวาดภาพ จะง่ายกว่าการบันทึก) และพาท�ำกิจกรรม เช่น โอบต้นไม้ใหญ่และนับว่าต้นไม้ ดังกล่าวต้องใช้คนก่ีคนในการโอบ ลองเดินแล้วนับก้าวเงาของร่มไม้ว่าห่างจาก ลำ� ตน้ กี่กา้ ว 4. เมอื่ บนั ทกึ เสรจ็ แลว้ คณุ ครตู งั้ คำ� ถามชวนคดิ กบั เดก็ ๆ เชน่ ตน้ ไมช้ นดิ นน้ั มปี ระโยชน์ ตอ่ คน พชื สัตวอ์ ย่างไรบ้าง ถ้าไมม่ ีตน้ ไม้ชนดิ นนั้ จะเกดิ อะไรขึน้ มผี ลกระทบกบั คน พืช สัตว์ อย่างไร จากนัน้ เชอ่ื มโยงสเู่ รือ่ งการอย่รู ว่ มกับธรรมชาติแบบพึ่งพา อาศยั กนั ชวนเดก็ ๆ คดิ วา่ เราจะอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาตอิ ยา่ งไร จะชว่ ยกนั ดแู ลรกั ษา และไมท่ ำ� ลายธรรมชาตไิ ด้อยา่ งไร 39คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
2 กจิ กรรมปลูกผัก (ปรบั จากกจิ กรรมของโรงเรยี นทอส)ี ระดบั ชนั้ อนบุ าล-ประถมศึกษา ระยะเวลา 1 เดือน แนวคดิ การปลกู ผกั ทำ� ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรกู้ ารดแู ลธรรมชาตใิ กลต้ วั และเห็นว่าธรรมชาติให้อะไรกับมนุษย์บ้าง รู้คุณค่าและ ตอบแทนธรรมชาติ วตั ถปุ ระสงค์ ให้เดก็ ๆ ไดเ้ รียนร้คู ณุ คา่ ของธรรมชาติว่าธรรมชาติ ให้อะไรกับเราบ้าง มีความส�ำคัญกับมนษุ ยอ์ ย่างไร ผ่าน กิจกรรมปลูกผักที่ท�ำให้เห็นคุณค่าของธรรมชาติที่สร้าง อาหารใหเ้ ราทาน และใหเ้ ดก็ ๆ เขา้ ใจวา่ เราควรตอบแทน ธรรมชาติอยา่ งไร อุปกรณ์ 1. เมล็ดพันธุ์ผักท่ีเด็กๆ อยากปลูก โดยควรเป็นผักท่ี โตเร็ว เก็บกนิ ไดใ้ นเวลา 1 เดือน 2. บวั รดนำ�้ 3. สอ้ มพรวน 4. สมุดบนั ทกึ 40 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ข้ันตอนการท�ำกิจกรรม 1. เดก็ ๆ เตรยี มแปลงปลกู ผักในโรงเรียนและช่วยกนั ปลกู ผกั 2. เดก็ ๆ ชว่ ยกนั ดูแลรดน้�ำและคอยส�ำรวจแมลงทมี่ ารบกวน ถอนวชั พชื แลว้ บันทึก การเจรญิ เตบิ โตทุกสัปดาห์ 3. เมือ่ ผักโตแลว้ เด็กๆ จะเกบ็ ผักมาล้างท�ำความสะอาด เตรียมท�ำอาหาร 4. ให้เด็กๆ ชว่ ยกนั คิดเมนทู อี่ ยากทำ� และใหเ้ ด็กๆ ทง้ั ห้องได้แบ่งหนา้ ท่ีช่วยกันทำ� อาหาร 5. คณุ ครนู �ำเด็กๆ สรุปกจิ กรรม โดยให้แลกเปลย่ี นความรสู้ กึ ความประทับใจจาก การท�ำกจิ กรรม สง่ิ ท่สี ังเกตเห็นจากการดแู ลผกั จนน�ำผักมาทำ� อาหาร เป็นต้น 41คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
3 กจิ กรรมลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งขยะกับเรา Self-Portrait from Trash ระดับช้นั อนุบาล-มัธยมศึกษา ระยะเวลา 1 ช่ัวโมง แนวคดิ “ขยะท่ีเราก่อสามารถอธิบายความเป็นตัวเราได้ หรอื ไม?่ ” ขยะคอื ขยะไมไ่ ดเ้ ปน็ สง่ิ ทไี่ มด่ เี สมอไป แตเ่ ปน็ ส่ิงที่เราสร้างข้ึนอย่างหลีกเล่ียงได้ยาก บ่อยครั้งที่เราใช้ แล้วทิง้ แล้วมนั กห็ ายไปจากมือของเรา (แต่ไมไ่ ดห้ ายไป จรงิ ๆ) ถา้ เราจำ� เป็นต้องสรา้ งขยะกค็ วรจะทำ� ความร้จู ัก กบั ขยะทเี่ ราสรา้ งกนั สกั หนอ่ ย เรม่ิ ตน้ สงั เกต เปลยี่ นจาก ท่ีปกติก็รีบๆ ใช้ รีบๆ ทิ้ง การสังเกตตัวเอง ว่าเราคือ ใคร เราชอบอะไร ผ่านการสรา้ งงานศลิ ปะจากขยะทตี่ ัว เราเปน็ คนสรา้ งใหอ้ อกมาเป็นใบหนา้ ตวั เอง วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้เด็กๆ ได้สังเกตและท�ำความรู้จักกับขยะที่ ตวั เองสรา้ ง สงั เกตพฤตกิ รรมการสรา้ งขยะของตวั เอง 2. เพอื่ ใหเ้ ดก็ ๆ เหน็ คณุ คา่ ของขยะวา่ มปี ระโยชน์ สามารถ นำ� ไปทำ� อยา่ งอนื่ ตอ่ ไดน้ อกจากการทง้ิ ลงถงั ขยะเมอื่ หมดประโยชน์แลว้ 3. เพอ่ื ให้เดก็ ๆ ไดใ้ ชท้ รัพยากรอย่างรูค้ ุณค่า อปุ กรณ์ 1. ขยะทเี่ ราสรา้ ง เชน่ หอ่ ขนม ฝาขวดนำ้� หลอด 2. กระดาษวาดเขยี น
ข้ันตอนการทำ� กิจกรรม ผลงาน เดก็ หญิงกมลชนก ทองยินดี 1. น�ำกระดาษวาดเขียนมาวาง โรงเรียน ปัญญาประทีป 2. น�ำขยะท่ีเก็บไว้เอามาจัดเรียง ลองวาง ปรับ และ หมนุ วา่ ชน้ิ ไหนเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั การสอื่ เรอื่ ง ราวของตวั เอง แล้วเรียงขยะให้ส่อื ถึงใบหน้าตวั เอง (ไมต่ อ้ งตดิ กาวขยะกบั กระดาษ เพอื่ ใหร้ วบรวมขยะ หลังจบกิจกรรมได)้ 3. เมอ่ื เสรจ็ แลว้ ใหย้ กมอื เรยี กคณุ ครถู า่ ยรปู ผลงานจาก มมุ ดา้ นบน 4. เขยี นอธบิ ายผลงานตามหวั ข้อตอ่ ไปนี้ • วสั ด/ุ ขยะทเี่ ราเอามาใชป้ ระกอบงานมอี ะไรบา้ ง • แต่ละช้ินเก่ียวข้องกับเราอย่างไร เกิดจากการ ใชง้ านตอนไหนในชวี ติ ประจำ� วนั ของเรา • ประมาณการจำ� นวนขยะแต่ละช้นิ ที่เรากอ่ ใน 1 เดอื น 5. เมอื่ ถา่ ยรปู เรยี บรอ้ ยใหน้ ำ� ขยะไปจดั การ โดยใหเ้ ดก็ ๆ ชว่ ยกนั นำ� ถงุ มาใสข่ ยะเพอ่ื นำ� ไปจดั การอย่างเหมาะสม เชน่ แยกขยะที่ยังสามารถรไี ซเคิลได้ เช่น กระดาษ พลาสติกยืด หรือขยะท่ีไม่สามารถการถรีไซเคิลได้ก็ส่งไปเป็นพลังงานทดแทน เปน็ ตน้ 43คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
4 กิจกรรมนาฬกิ าชีวติ ระดับช้นั อนบุ าล-ประถมศกึ ษา ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง แนวคดิ “ชวี ติ ยงุ่ มาก จะเอาเวลาทไ่ี หนไปทำ� เพอ่ื สง่ิ แวดลอ้ ม” มหี ลายคนคดิ เชน่ นี้ โดยทไ่ี มร่ ตู้ วั วา่ บางอยา่ งทท่ี ำ� ในชวี ติ ประจำ� วันกช็ ่วยลดผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มอยู่แล้ว เช่น รกั ษาของ ใชแ้ วน่ ตาแวน่ เดมิ มา 9 ปจี นใชต้ อ่ ไมไ่ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยเปลย่ี น เปน็ คนปดิ ไฟ ปดิ นำ�้ ทกุ ครง้ั เมอื่ ไมใ่ ช้ เปน็ ตน้ ลองใหผ้ เู้ รยี นสำ� รวจตวั เอง และนำ� วธิ ที เ่ี รารจู้ กั ทำ� อยเู่ ปน็ ประจำ� มาแชรก์ บั เพอื่ นๆ ในหอ้ ง เพอ่ื ใหต้ วั เราและเพอ่ื นๆ ไดล้ องท�ำตามและน�ำวธิ ีนี้ไปแนะนำ� ใหผ้ ้คู นรอบตัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เด็กๆ ได้สังเกตพฤติกรรมที่ตัวเองท�ำเพื่อ สิง่ แวดล้อมในชวี ติ ประจำ� วัน 2. เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ๆ ไดแ้ บง่ ปนั พฤตกิ รรมทท่ี ำ� เพอ่ื สงิ่ แวดลอ้ มกบั เพอ่ื นๆ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหแ้ บง่ ปนั ชวนคนอน่ื ๆ ทำ� ตอ่ อุปกรณ์ (ตอ่ 1 กลุ่ม) 1. กระดาษ ขนาด A1 1 แผ่น 2. กระดาษ ขนาด A4 1 แผน่ 3. เครือ่ งเขียน อปุ กรณ์ระบายสี และตกแต่ง 44 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
ขนั้ ตอนการท�ำกิจกรรม 1. แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน (สามารถปรบั จำ� นวนนกั เรยี นไดต้ ามความเหมาะสม) 2. ในกลมุ่ เลอื กสถานทท่ี จี่ ะวาดนาฬิกาชวี ิต เช่นทบ่ี า้ น หรือ โรงเรียน 3. เขียนล�ำดับเวลาใน 1 วัน แบ่งเปน็ ช่ัวโมงๆ ใหค้ รบ 24 ชัวโมง และชว่ ยกนั เขียน พฤติกรรมที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมตามช่วงเวลา เช่น 22.00-06.00 น. นอนปิดไฟ 06.00-07.00 น. ไม่เปิดน�้ำท้งิ ไวต้ อนอาบน้�ำตอนเช้า 08.00 น. กินอาหารมอ้ื เชา้ หมดจาน ใหม้ ีพฤตกิ รรมของสมาชกิ กล่มุ คละกัน จนครบ 1 วนั 4. ช่วยกันวาดนาฬิกาลงบนกระดาษ สามารถออกแบบได้ตามชอบ แต่ต้องมีครบ 24 ชวั่ โมงและมีวา่ งพอวาดรปู และเขียนขอ้ ความ 5. นำ� พฤติกรรมทด่ี ตี ่อสิง่ แวดลอ้ มทีท่ �ำไวใ้ นขอ้ 3 มาใส่ลงนาฬิกาที่วาดไว้ วาดรปู เขยี นข้อความอธบิ าย ตกแตง่ ใหส้ วยงาม 6. แตล่ ะกลุ่มออกมาน�ำเสนอหนา้ ชั้น 45คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
กิจกรรมเรียนรู้ปั ญหาขยะ 1 กจิ กรรมเรยี นรเู้ รอื่ งขยะพลาสตกิ ในทะเล ผา่ นนิทานเร่อื ง “อะไรอยใู่ นทะเล” ระดับช้ัน อนบุ าล-ประถมศกึ ษา ระยะเวลา 40 นาที แนวคิด ปัญหาขยะในทะเลและปัญหาไมโครพลาสติกเป็น ปัญหารุนแรงท่ีส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สัตว์ และ มนษุ ย์ การให้ความรู้ผา่ นนิทานเปน็ วธิ ที ี่เหมาะสมกบั วัย ทำ� ใหเ้ ดก็ เพลดิ เพลนิ กับเร่ืองราวในนทิ าน พรอ้ มกับปลูก ฝงั ใหเ้ ขา้ ใจปญั หาขยะในทะเลและลดขยะพลาสตกิ ในชวี ติ ประจำ� วัน วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งขยะพลาสตกิ ทอ่ี ยใู่ นทะเล ท้ังสาเหตุ ผลกระทบและอันตรายท่ีจะเกิดขึ้น รวมถึง แนวทางที่ผู้เรียนสามารถช่วยลดการเกิดข้ึนของขยะใน ทะเล อปุ กรณ ์ 1. หนังสือนิทานเรอื่ ง “อะไรอย่ใู นทะเล” 2. กระดาษลัง อุปกรณส์ �ำหรบั วาดภาพตามความถนดั (ส�ำหรบั โรงเรยี น สามารถตดิ ตอ่ ขอรบั หนงั สือเพื่อนำ� ไปท�ำกิจกรรมได้ท่ี Inbox เพจ Chula Zero Waste (www.facebook.com/chulazerowaste)
* ส�ำหรับเด็กชั้นอนุบาล แนะน�ำให้ เล่านทิ านทีละครึ่งเร่ือง (จบครง่ึ แรกที่ หนา้ 16) เนอ่ื งจากนทิ านยาวประมาณ 25 หน้า เด็กในวยั นี้ยงั ไม่มีสมาธนิ าน พอที่จะฟงั จนจบในครัง้ เดยี ว * สำ� หรับเดก็ ชัน้ ประถม สามารถเลา่ ให้จบในครั้งเดียวได้ * เดก็ ชนั้ ประถมปลายอาจจะเลา่ นทิ าน เป็นภาษาอังกฤษ และสอนค�ำศัพท์ ภาษาองั กฤษไปดว้ ย ขั้นตอน 1. ทำ� หนุ่ จำ� ลองสตั วท์ ะเลเพอื่ ประกอบการเลา่ นทิ าน โดยนำ� กระดาษลงั มาตดั เปน็ รปู วาฬและไดโนเสาร์ ลงสีตามความถนดั (ข้ันตอนน้ีคณุ ครูอาจจะท�ำหรอื ไมท่ �ำกไ็ ด้ ตามความสะดวก) 2. ชวนเดก็ ๆ พดู คยุ เพอ่ื นำ� เขา้ สนู่ ทิ านวา่ เคยไดย้ นิ ขา่ วสตั วท์ ะเลทตี่ ายเพราะพลาสตกิ ไหม ในชีวิตประจ�ำวันมีอะไรท่ีเป็นพลาสติกบ้าง มีอะไรที่ใช้แล้วกลายเป็นขยะ เดก็ ๆ มวี ิธีการจดั การขยะอยา่ งไร 3. เลา่ นิทานเรือ่ ง “อะไรอยใู่ นทะเล” โดยคณุ ครูอ่านออกเสียงให้ชดั เจน และช้ชี วน ใหเ้ ด็กๆ ดูรายละเอยี ดในภาพ เช่น กระป๋องโค้ก กลอ่ งอาหาร ขยะบนชายหาด เพราะนิทานคือการเล่าเรื่องด้วยตัวอักษรและภาพไปพร้อมๆ กัน ภาพสามารถ เล่าเรอ่ื งไดม้ ากมาย จงึ ตอ้ งใส่ใจรายละเอยี ดในภาพด้วย 4. เมอ่ื เลา่ นทิ านจบ ชวนเดก็ ๆ พดู คยุ วา่ มคี วามคดิ เหน็ อยา่ งไรกบั ปญั หาขยะในทะเล และไมโครพลาสตกิ เราจะชว่ ยกันลดพลาสตกิ ในชวี ติ ประจำ� วนั ไดอ้ ย่างไร หลังจากเล่านิทานจบคุณครูสามารถมอบหมายงานให้นักรียนท�ำเพื่อต่อยอดจาก เน้ือหาในนิทาน เช่น เกมอักษรไขว้ค�ำศัพท์ท่ีเก่ียวกับ สัตว์ ทะเล และ ขยะ หรือ ท�ำกิจกรรมกลุ่ม โดยให้จัดท�ำบอร์ดความรู้เกี่ยวกับขยะทะเลและวาดรูปตามหัวข้อ “ทะเลในฝันของฉัน” 47คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
2 กจิ กรรมทศั นศกึ ษาสำ� รวจไมโครพลาสตกิ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาตอนปลาย-มัธยมศึกษา ระยะเวลา 1 ชว่ั โมง สำ� หรบั การเตรยี มความพรอ้ ม 1 วัน ส�ำหรบั การไปทศั นศึกษา กิจกรรมทัศนศึกษาส�ำรวจไมโครพลาสติก เป็น กจิ กรรมแนวผจญภยั ลา่ สมบตั ิ สาํ รวจและชว่ ยเหลอื สตั ว์ ทะเลท่ีกําลังตกอยู่ในอันตรายจากขยะทะเล เพ่ือสร้าง ความตระหนกั และการมสี ว่ นรว่ มในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม ผา่ นฐานการเรยี นรใู้ นรปู แบบการผจญภยั ในพนื้ ทชี่ ายหาด บางแสนและสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา โดยเน้นเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับไมโครพลาสติก กิจกรรม แบง่ เปน็ 2 ชว่ ง คอื การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นไปทศั นศกึ ษา และ การไปทศั นศกึ ษาสำ� รวจไมโครพลาสตกิ ช่วงที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นไปทศั นศึกษา แนวคดิ ปญั หาไมโครพลาสตกิ เปน็ ปญั หาขยะใกลต้ วั ทเี่ กดิ จาก การใชพ้ ลาสตกิ ในชวี ติ ประจำ� วนั ทงั้ ยงั สง่ ผลกระทบรนุ แรง ต่อส่ิงแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตในน�้ำโดยตรง นอกจากน้ัน ในปจั จบุ นั พบไมโครพลาสตกิ ปนเปอ้ื นในผกั ผลไม้ นำ�้ ดม่ื และทารกในครรภ์แล้ว จึงควรสร้างความตระหนักให้ เดก็ ๆ เขา้ ใจความรนุ แรงของปญั หาและผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนไปทัศนศึกษาและเกิด แรงบนั ดาลใจในการลดการใชพ้ ลาสตกิ ในชวี ติ ประจำ� วนั 48 คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้เด็กๆ มีความรู้และเข้าใจสาเหตุ ผลกระทบของปัญหาขยะและ ไมโครพลาสติก 2. เพ่อื ใหเ้ ด็กๆ มคี วามตระหนกั ในปัญหาขยะและไมโครพลาสติก 3. เพื่อเตรียมความพร้อมเดก็ ๆ ในการไปทัศนศึกษา อปุ กรณ์ 1. กล่องจับฉลาก ใบสลากรปู การต์ นู สัตว์ทะเล และใบจดชื่อสำ� หรับแบง่ กลุ่ม 2. คลปิ วดิ โี อเกยี่ วกบั ไมโครพลาสตกิ 3. ตวั อยา่ งถงุ OXO ทสี่ ภาพดี และถงุ OXO ทเี่ รมิ่ กรอบและเป็นผง 4. ตวั อยา่ งไมโครพลาสตกิ ทพี่ บไดใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ โฟมลา้ งหนา้ ทม่ี ไี มโครบดี ส์ กากเพชรทใ่ี ชใ้ นงานประดษิ ฐ์ 5. ตวั อย่างเศษไมโครพลาสติกบรรจุในขวดแก้วใส หรอื ขวดพลาสิกใส (ถา้ ม)ี 6. ตวั อยา่ ง Plastic Pelets/ Nurdles เมด็ พลาสตกิ กอ่ นนำ� ไปหลอมขนึ้ รปู (ถา้ ม)ี 7. Presentation File หรอื เอกสารประกอบทส่ี รุปเนอ้ื หาท้ังหมดขา้ งต้น และภาพ การแต่งกายและอปุ กรณท์ ีต่ อ้ งเตรียมมาในวนั ทศั นศกึ ษา • Great Pacific Garbage Patch’ Threat To Marine Life https://www.youtube.com/watch?v=QHK2Zg5OibI (2.32 นาท)ี • Why These Plankton are Eating Plastic https://www.youtube.com/watch?v=beUhzQAkanM&t=70s (4.59 นาที) 49คู่มือโรงเรียนปลอดขยะ สร้างเยาวชนพิทักษ์ โลก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119