Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore r1-th

r1-th

Published by jiruntaninsaww, 2020-10-29 05:09:26

Description: r1-th

Search

Read the Text Version

อปุ กรณแ ละหนา ทใี่ นการควบคมุ คนั คลัทช UAU12822 คันเหยยี บเปล่ียนเกยี ร UAU83690 ขอแนะนาํ ระบบ QSS ถูกตงั้ โปรแกรมมาใหม องขามสญั ญาณ 1 2 ขาเขา ทไ่ี มช ดั เจนเพ่ือปอ งกนั การเปล่ยี นเกียรโ ดยไม ตงั้ ใจ ดงั น้นั จงึ ตอ งแนใจวาเปลย่ี นเกยี รโ ดยใชแ รงที่ รวดเร็วและมีกําลงั เพยี งพอ 4 1. คันคลทั ช 1 คนั คลทั ชต ิดตัง้ อยูทางดา นซา ยของแฮนดบ ังคบั ใน 1. คนั เหยียบเปลยี่ นเกียร การใชง านคลทั ช ใหบ ีบคนั คลทั ชเ ขา กบั ปลอกแฮนด 2. เซน็ เซอรเปลยี่ นเกยี ร บงั คบั การเลกิ ใชง านคลทั ช ใหปลอยคนั คลทั ช ควร บีบคันคลทั ชอยา งรวดเร็วและปลอ ยอยางชา ๆ เพอ่ื ให คันเหยียบเปลยี่ นเกียรติดต้งั อยูทางดา นซา ยของรถ คลทั ชทาํ งานไดอ ยางราบรนื่ จกั รยานยนต การเปลยี่ นเปนเกยี รทสี่ ูงขนึ้ ใหเ ลอื่ น คันคลทั ชน ี้ตดิ ต้ังสวิทชค ลทั ช ซง่ึ เปน สวนหนึ่งของ คันเหยียบเปลย่ี นเกยี รขนึ้ การเปลยี่ นเปน เกียรทตี่ าํ่ ลง ระบบการตดั วงจรการสตารท (ดูหนา 4-48) ใหเ ลื่อนคันเหยียบเปลยี่ นเกยี รล ง (ดหู นา 6-2) กานเปลย่ี นเกียรตดิ ต้ังเซน็ เซอรเ ปลย่ี นเกยี รไว ซง่ึ เปน สว นหนึ่งของระบบชวยเปลี่ยนเกยี รอยา งรวดเร็ว เซ็นเซอรเปลย่ี นเกยี รจะตรวจจบั การขยับขน้ึ และลง รวมถงึ กาํ ลงั ของแรงท่ใี ชเมอื่ เลอ่ื นคนั เหยยี บเปลย่ี น เกยี ร 4-31

อุปกรณและหนา ทใ่ี นการควบคมุ คนั เบรคหนา UAU67033 ขอแนะนาํ คันเบรคหลัง UAU12944 ดู ระบบเบรค สาํ หรบั ขอ มูลเพิ่มเติมเกีย่ วกบั วิธกี าร 2 3 ทาํ งานของระบบ UBS และ ABS 4 41 คนั เบรคหนา มกี ารติดต้ังปมุ ปรบั ตงั้ ตาํ แหนงคนั เบรค 1 หนา ไว ในการปรบั ระยะหา งระหวางคนั เบรคหนา 1. เครือ่ งหมายการปรับตง้ั “ ” กบั ปลอกคนั เรง ใหห มุนปมุ ปรบั ต้งั ขณะดนั คนั เบรค 1. คันเบรคหลัง 2. ปุมปรับตั้งตาํ แหนงคนั เบรคหนา หนาออกหางจากปลอกคนั เรงคางไว ตรวจสอบให 3. คันเบรคหนา แนใจวาการตง้ั คาทเี่ หมาะสมบนปมุ ปรับตัง้ อยูต รงกบั คนั เบรคหลงั ตดิ ตง้ั อยูทางดา นขวาของรถจักรยาน 4. ระยะหา ง เครื่องหมายการปรบั ต้ัง “ ” บนคนั เบรคหนา ยนต ในการเบรคลอ หลงั ใหเ หยียบคนั เบรคหลัง คนั เบรคหนาตดิ ตั้งอยูทางดานขวาของแฮนดบ ังคบั ในการใชเ บรคหนา ใหบ บี คันเบรคหนา เขา กบั ปลอก คันเรง รถจกั รยานยนตร ุนน้ีติดต้ังระบบกระจายแรงเบรค แปรผัน (UBS) เม่ือบบี คันเบรคหนา เบรคหนา และสว นหนง่ึ ของ เบรคหลังจะทํางาน เพ่ือสมรรถนะในการเบรคสูงสดุ ใหใ ชท ้งั คนั เบรคหนา และคนั เบรคหลงั พรอ มกัน 4-32

อปุ กรณแ ละหนา ท่ีในการควบคุม ระบบเบรค UAU67041 ขอ แนะนํา  ABS จะทําการทดสอบวเิ คราะหปญหาดวย รถจกั รยานยนตรนุ น้ตี ิดต้งั ระบบเบรคปอ งกนั ลอ ลอ็ ค ตัวเองเมอ่ื สตารทรถจกั รยานยนตและว่ิงดว ย 1 2 4 (ABS) และระบบกระจายแรงเบรคแปรผนั (UBS) ความเรว็ 10 กม./ชม. (6 ไมล/ชม.) ในระหวาง สาํ หรับ ABS ใหใ ชง านเบรคเชน เดยี วกบั เบรค การทดสอบน้ี อาจไดยินเสยี ง “คลกิ ” จากชดุ 1. โรเตอรเ ซ็นเซอรล อหนา ธรรมดา หาก ABS ถกู กระตนุ การทาํ งาน อาจรสู ึก ควบคมุ ไฮดรอลิก และอาจรูสึกถงึ การส่นั 2. เซน็ เซอรลอ หนา ถงึ จังหวะที่คันเบรคหนาหรือคันเบรคหลงั ใน สะเทอื นท่ีคันเบรคหนาหรอื คันเบรคหลัง สถานการณเชน น้ี ใหใ ชเบรคอยางตอเนื่องและ ซง่ึ เปนเร่อื งปกติ ปลอยให ABS ทาํ งาน หา ม “ปม ” เบรค เพราะจะ  ระบบ ABS น้ีมีโหมดทดสอบที่ชว ยใหเ จา ของ ทําใหป ระสิทธภิ าพในการเบรคลดลง รถไดลองสัมผัสถงึ จงั หวะทีค่ นั เบรคหนาหรอื คนั เบรคหลงั เม่ือระบบ ABS ทํางาน อยางไร UWA16051 กต็ าม จําเปนตอ งใชเครื่องมือพิเศษ ดงั นัน้ โปรดตดิ ตอ ผจู ําหนา ยยามาฮา ของทาน คําเตอื น รกั ษาระยะหางจากรถท่ีวง่ิ อยูดานหนา อยา งเพยี งพอ UCA20100 2 เพอ่ื ใหสอดคลองกับความเรว็ ในการขบั ขเี่ สมอ แมวา จะมีระบบเบรค ABS ก็ตาม ขอควรระวงั 1  ABS จะทาํ งานไดดที สี่ ดุ เมอื่ มรี ะยะเบรคที่ยาว ระมดั ระวังอยาทําใหเซ็นเซอรล อ หรือโรเตอร 1. โรเตอรเ ซน็ เซอรลอ หลัง  ในบางสภาพถนน เชน ขรขุ ระหรือโรยหิน เซ็นเซอรล อเสยี หาย มฉิ ะนัน้ จะทาํ ใหสมรรถนะ 2. เซน็ เซอรลอ หลัง ของระบบ ABS ไมส มบูรณ ระยะในการเบรคสําหรับ ABS อาจมากกวา สําหรับ UBS แบบแปรผนั การใชง านคันเบรคหนา เบรคธรรมดา จะสรางแรงดันเบรคทส่ี อดคลอ งกันทคี่ ันเบรคหนา รวมถงึ ทีค่ นั เบรคหลงั ในระดับที่ผนั แปรได โดย ชุดควบคุมไฮดรอลกิ ของ ABS และ UBS จะถูก ปริมาณแรงเบรคของลอ หลงั ท่ีจะใชด วย UBS จะอิง ตรวจสอบโดย ABS ECU ซ่งึ จะเปล่ียนระบบกลบั มา เปน การเบรคแบบธรรมดาหากมกี ารทํางานผิดปกติ เกิดขนึ้ 4-33

อุปกรณและหนาทใ่ี นการควบคมุ จากลักษณะการทรงตวั และมุมเอยี งของรถ อยางไร ฝาปดถังน้าํ มนั เชอ้ื เพลิง UAU13076 ขอแนะนํา กต็ าม การใชง านคนั เบรคหลงั เพยี งอยางเดียวจะไม ฝาปดถงั น้าํ มันเช้อื เพลงิ จะไมสามารถปดไดหาก สรางแรงดันเบรคท่เี บรคหนา 2 1 กญุ แจไมอ ยูในตวั ลอ็ ค นอกจากนี้ กญุ แจจะไม เพอ่ื สมรรถนะในการเบรคสูงสดุ ใหใชท ง้ั คนั เบรค สามารถดงึ ออกไดหากไมป ด และล็อคฝาปดให หนาและคนั เบรคหลงั พรอมกนั ถกู ตอ ง เมือ่ ใชง านท้งั คนั เบรคหนา และคนั เบรคหลังพรอมกัน UBS จะควบคมุ การกระจายแรงเบรคระหวา งลอ UWA11092 4 ทั้งสอง คาํ เตอื น ขอ แนะนาํ หลงั จากเตมิ นํ้ามนั เชอ้ื เพลิง ตรวจสอบใหแนใจวา ได  UBS จะไมท ํางานจนกวา รถจกั รยานยนตจะ ปด ฝาปด ถงั นํา้ มนั เชอ้ื เพลิงแนนสนทิ นํา้ มนั เชือ้ เพลงิ เริม่ เคลอ่ื นที่ 1. ฝาครอบตวั ลอ็ คฝาปดถงั น้าํ มนั เชอื้ เพลิง ทรี่ ั่วออกมาอาจทาํ ใหเ กิดเพลิงไหมได  หลงั จากเรม่ิ หยุดขณะใชค ันเบรคหนา UBS จะ 2. ปลดลอ็ ค ยงั คงทาํ งานอยู เนอื่ งจากการบีบคนั เบรคหนา การเปดฝาปด ถังนา้ํ มนั เช้อื เพลงิ เพิม่ จะไมเ พิม่ แรงเบรคของเบรคหลัง ใหใ ชง าน เปดฝาครอบตัวลอ็ คฝาปด ถงั นํา้ มนั เชื้อเพลงิ เสยี บ เบรคหลงั หากตอ งการแรงเบรคทมี่ ากขน้ึ (เชน กญุ แจเขา ไปในตัวล็อค แลว บิดตามเขม็ นาฬิกา 1/4 เม่อื จอดรถบนทางลาด) รอบ ตวั ล็อคจะถูกปลด และสามารถเปดฝาปด ถงั UBS จะปด การทํางานหลงั จากปลอ ยคนั เบรค นาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ได หนา เมอ่ื รถเรม่ิ เคลื่อนที่ UBS จะถกู เปด ใชง านใหม การปดฝาปดถงั นาํ้ มันเช้ือเพลิง ในขณะทีก่ ุญแจยังเสยี บอยูในตัวลอ็ ค ใหกดฝาปดถัง นํา้ มันเชอื้ เพลงิ ลง บิดกญุ แจทวนเขม็ นาฬกิ า 1/4 รอบ ดึงกุญแจออก จากนน้ั ปด ฝาครอบตวั ลอ็ ค 4-34

อุปกรณแ ละหนาทีใ่ นการควบคุม น้ํามันเชอื้ เพลิง UAU13222 เขาตา ใหรบี พบแพทยท นั ที หากนา้ํ มนั เบนซินสัมผัส ผวิ หนงั ใหล า งดวยสบูแ ละน้าํ หากนา้ํ มนั เบนซนิ เลอะ ตรวจใหแ นใจวามีน้าํ มนั เชื้อเพลงิ ในถงั เพยี งพอ 1 เสอ้ื ผา ใหเปลีย่ นเสอ้ื ผา ทนั ที 2 UWA10882 คาํ เตอื น UAU75320 นา้ํ มนั เบนซินและไอน้ํามนั เบนซินเปนสารไวไฟสูง นํา้ มนั เช้อื เพลิงท่แี นะนํา: ใหปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนาํ ตอไปน้เี พื่อหลกี เลี่ยงการเกิด น้ํามันเบนซนิ ไรสารตะกั่วพเิ ศษ (น้าํ มันแกส โซฮอล 95 [E10]) เพลงิ ไหมแ ละการระเบิด และเพอ่ื ลดความเสี่ยงในการ 4 ไดรบั บาดเจบ็ ขณะเติมนาํ้ มันเช้ือเพลงิ ความจถุ ังน้ํามนั เชือ้ เพลงิ : 1. ทอ เติมของถงั นา้ํ มนั เช้ือเพลิง 17 ลิตร (4.5 US gal, 3.7 lmp.gal) 1. กอ นเติมนํ้ามันเชอื้ เพลงิ ใหด ับเครอ่ื งยนตแ ละ 2. ระดับนาํ้ มนั เชื้อเพลงิ สงู สดุ ตอ งแนใ จวาไมม ีผูใดนง่ั อยบู นรถจกั รยานยนต ปรมิ าณการสํารองน้าํ มนั เช้ือเพลิง หา มเติมน้ํามนั เชอ้ื เพลงิ ขณะสบู บุหรี่ หรือขณะ 3. เชด็ นาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ทห่ี กทนั ที ขอ ควรระวงั : (เมอื่ ไฟเตอื นระดับนํา้ มนั เชอื้ เพลงิ สวางขึ้น): ท่ีอยูใ กลกบั ประกายไฟ เปลวไฟ หรือแหลง เชด็ นํ้ามนั เช้ือเพลงิ ที่หกทนั ทดี ว ยผานุม ท่ี จดุ ระเบดิ ตา งๆ เชน ไฟแสดงการทาํ งานของ 3.0 ลิตร (0.79 US gal, 0.66 lmp.gal) เครื่องทาํ นํา้ รอ นและเครอ่ื งอบผา สะอาดและแหง เนอ่ื งจากน้ํามนั เช้ือเพลงิ อาจ UCA11401 2. อยา เตมิ น้าํ มันเชอื้ เพลงิ จนลนถงั ในการเตมิ ทําความเสยี หายใหกบั พ้ืนผวิ ท่ีเคลือบสีหรอื นาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ตองแนใจวา ไดใ สห วั จา ย ชิ้นสว นพลาสติก [UCA10072] ขอควรระวัง นา้ํ มนั เชอ้ื เพลงิ เขา ไปในชอ งเติมของถงั นํ้ามนั 4. ดใู หแนใ จวาไดป ด ฝาปดถงั นํ้ามันเช้อื เพลิง เช้อื เพลิง หยดุ เติมเม่อื ระดับนาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ถงึ แนนดีแลว ใชเฉพาะนาํ้ มนั เบนซินไรส ารตะกั่วเทาน้นั การใช ปลายทอเติมน้ํามัน เนอื่ งจากนํา้ มันเชอ้ื เพลงิ จะ นาํ้ มันเบนซินทีม่ สี ารตะก่ัวจะทาํ ใหช ้ินสว นภายใน ขยายตวั เมอ่ื รอนขน้ึ ความรอนจากเครือ่ งยนต UWA15152 ของเคร่อื งยนต เชน วาลวและแหวนลูกสบู รวมทง้ั หรอื แสงอาทิตยจ งึ อาจทาํ ใหน ้าํ มันเช้ือเพลงิ ระบบไอเสยี เกิดความเสยี หายไดเปนอยางมาก ไหลลนออกมาจากถงั ได คาํ เตอื น นา้ํ มนั เบนซนิ เปนสารมพี ิษและสามารถทําใหบาดเจ็บ หรอื เสียชีวติ ได ตอ งใชด วยความระมดั ระวงั หามใช ปากดดู นาํ้ มนั เบนซนิ หากกลืนนาํ้ มนั เบนซนิ เขา ไป หรือสูดไอนํา้ มันเบนซินเขา ไป หรอื นาํ้ มันเบนซิน 4-35

อปุ กรณและหนา ทีใ่ นการควบคมุ แกสโซฮอล ทอนาํ้ มันลนของถงั นา้ํ มันเช้ือเพลงิ UAU80200 แกสโซฮอลม ีสองชนดิ : แกส โซฮอลช นิดที่มี เอทานอลและแกส โซฮอลช นดิ ท่ีมีเมทานอล แกส โซฮอลช นดิ ท่ีมีเอทานอลสามารถใชไ ดห ากมปี ริมาณ E10 เอทานอลไมเกิน 10% (E10) ยามาฮา ไมแ นะนําให 1 ใชแกส โซฮอลช นิดท่มี เี มทานอล เนื่องจากสามารถ ทาํ ใหเ กิดความเสียหายแกร ะบบนาํ้ มันเชื้อเพลิงหรือ 4 เกิดปญหาเกยี่ วกบั สมรรถนะของรถได 2 3 ขอ แนะนํา 1. แคลมป  สญั ลักษณน้ีแสดงถงึ นาํ้ มันเชือ้ เพลงิ ที่แนะนาํ สาํ หรับรถจักรยานยนตคันนซี้ ่งึ กาํ หนดโดยขอ 2. เคร่ืองหมายสี บงั คบั ของยุโรป (EN228) 3. ทอน้าํ มันลนของถังนา้ํ มันเช้อื เพลงิ  ตรวจสอบวา หวั จา ยนํา้ มนั เบนซนิ มีตัวระบุ เดียวกนั นีเ้ ม่ือเตมิ นา้ํ มนั เช้ือเพลิง กอ นใชงานรถจักรยานยนต ใหป ฏิบตั ิดังน้:ี  ตรวจสอบการเชอ่ื มตอทอ นํา้ มันลน ของถงั เคร่ืองยนตย ามาฮาของทา นถกู ออกแบบมาสาํ หรับ นํา้ มนั เช้ือเพลิง น้ํามนั เบนซนิ ไรสารตะก่วั พเิ ศษที่มีคา ออกเทน RON  ตรวจสอบทอนาํ้ มันลน ของถงั น้ํามันเชอ้ื เพลงิ 95 ขน้ึ ไป หากเครอ่ื งนอ็ ค (หรือมเี สียงดงั ) ใหเ ปลี่ยน เพือ่ ดรู อยแตกหรือความเสยี หาย และเปลี่ยน ไปใชน าํ้ มนั เบนซนิ ย่ีหอ อนื่ การใชนา้ํ มนั เชือ้ เพลงิ ไร ตามความจําเปน สารตะก่ัวจะชว ยยดื อายกุ ารใชง านของหวั เทียนและ  ตรวจสอบใหแ นใ จวาสว นปลายของทอ นา้ํ มัน ลดคาใชจา ยในการบํารงุ รกั ษา ลน ของถังน้ํามันเชอื้ เพลิงไมอ ุดตัน และทํา ความสะอาดตามความจาํ เปน  ตรวจสอบใหแนใจวาสว นปลายของทอ นา้ํ มัน ลน ของถังนํ้ามันเช้ือเพลิงอยูในตําแหนงดังภาพ 4-36

อุปกรณและหนา ท่ใี นการควบคมุ ขอ แนะนํา ระบบบําบัดไอเสยี UAU13434 UCA10702 ดูหนา 7-13 สาํ หรับขอ มูลเกี่ยวกับกลอ งดักไอนํา้ มนั ขอควรระวงั รถจกั รยานยนตร นุ นม้ี ีระบบบาํ บดั ไอเสีย (catalytic ใชเฉพาะนํ้ามนั เบนซินไรสารตะกั่วเทาน้นั การใช converter) ในระบบไอเสียของรถ นํา้ มนั เบนซินท่มี ีสารตะกวั่ จะทําใหระบบบาํ บดั ไอเสยี เสียหายจนไมส ามารถซอมได UWA10863 คาํ เตอื น ระบบไอเสียจะมคี วามรอ นหลังจากทํางาน เพือ่ ปองกันอันตรายจากไฟไหมห รือการลวกผวิ หนงั : 4  หามจอดรถจกั รยานยนตใกลกบั บรเิ วณทอ่ี าจ เกิดอันตรายจากไฟไหม เชน หญา หรอื วสั ดุ อน่ื ๆ ท่ตี ดิ ไฟงาย  จอดรถจกั รยานยนตใ นที่ทไี่ มมเี ด็กหรอื คนเดิน พลกุ พลา น เพ่ือไมใ หไ ดรบั อันตรายจากการ สมั ผัสกับระบบไอเสยี ทม่ี คี วามรอ น  ตอ งแนใ จวา ระบบไอเสียเย็นลงแลวกอ นทาํ การ ซอ มบาํ รงุ  อยา ปลอ ยใหเ ครื่องยนตเ ดนิ เบานานเกนิ กวา สองสามนาที การปลอยใหเ ครอ่ื งยนตเ ดินเบา เปน เวลานานจะทาํ ใหเ ครือ่ งยนตรอน 4-37

อุปกรณและหนา ทใี่ นการควบคมุ เบาะนง่ั UAU66570 เบาะนง่ั ผโู ดยสาร 1 การถอดเบาะนัง่ ผโู ดยสาร 1 1. เสยี บกุญแจเขากบั ตัวลอ็ คเบาะนงั่ แลว หมุน 4 ตามเข็มนาฬกิ า 2 2 1. เขี้ยวลอ็ ค 1. โบลท 2. ที่ยึดเบาะนั่ง 1 2. ดึงกญุ แจออก เบาะนงั่ ผูขบั ข่ี 1 การถอดเบาะนัง่ ผูขับขี่ 1. ประแจหกเหลย่ี ม 1. ถอดเบาะนั่งผูโดยสารออก 1. ลอ็ คเบาะน่ัง 2. ดึงมมุ ทีด่ านหลงั ของเบาะนั่งผูข ับขขี่ ้นึ ดงั ภาพ การติดตง้ั เบาะน่งั ผูขับขี่ 2. ปลดลอ็ ค ถอดโบลทอ อกดว ยประแจหกเหลีย่ มทอี่ ยูใต 1. สอดเขี้ยวลอ็ คเขาไปในท่ียดึ เบาะนงั่ ดงั ภาพ เบาะน่ังผูโดยสาร จากนั้นดึงเบาะนัง่ ออก จากนนั้ ใสเ บาะนั่งที่ตาํ แหนง เดมิ 2. ยกดา นหนาของเบาะนงั่ ผโู ดยสารขึ้นและดงึ ไป ดานหนา การติดตั้งเบาะนัง่ ผโู ดยสาร 1. สอดเขี้ยวลอ็ คท่ีดานหลังของเบาะนั่งผโู ดยสาร เขา ไปในท่ยี ึดเบาะนั่งดังภาพ จากนัน้ กดที่ดา น หนาของเบาะนั่งลงเพ่ือลอ็ คใหเ ขา ท่ี 4-38

อุปกรณและหนาทีใ่ นการควบคุม CCU (สาํ หรับรุนท่ีมีติดต้ัง) UAU67156 1 CCU (ระบบบนั ทึกขอ มูลการขบั ข)ี่ จะเชอ่ื มตอกับ 12 3 2 CAN (เครือขา ยการติดตอระหวา งตวั ควบคุม) ของ 1. สกรู 1 รถและมตี วั รบั สญั ญาณ GPS เพื่อใหส ามารถบันทกึ 2. ฝาครอบเบาะนั่ง 1. เขี้ยวล็อค 3. ตวั รบั สญั ญาณ GPS 4 2. ที่ยึดเบาะนั่ง ขอมูลรถและการขบั ข่ไี ด (ดู “Logging” ในหนา 4-22) 2. จดหมายเลขของ CCU ไว 2. ตดิ ตงั้ โบลทด ว ยประแจหกเหล่ียม สามารถเขา ถงึ ขอมูลการบนั ทึกและขอมลู การต้งั คา 1 3. ใสประแจหกเหลย่ี มกลับคนื ทเี่ ก็บประแจ YRC ไดห ากเชื่อมตอ สมารท โฟนหรือแทบ็ เลต็ เขา กบั 4. ตดิ ตัง้ เบาะน่งั ผูโดยสาร ขอ แนะนํา เครือขา ยไรสายของ CCU ตรวจสอบใหแ นใ จวาเบาะรถปดสนทิ กอนขับข่ีรถ จกั รยานยนต ขอแนะนาํ จากรานคาแอพพลิเคชัน Google© หรอื Apple© ให ดาวนโหลดแอพพลิเคชนั “Y-TRAC” เพ่ือใชง าน ขอมูลการบันทึก และแอพพลเิ คชนั “YRC Setting” เพอ่ื ปรบั การตงั้ คา YRC จากระยะไกล การเชื่อมตอ กบั เครอื ขายไรส ายของ CCU 1. ถอดสกรู เลื่อนตัวรับสัญญาณ GPS จากนน้ั ถอดฝาครอบเบาะนงั่ ดังภาพ 1. หมายเลขของ CCU 3. บิดกุญแจไปที่ “ON” และเขา หารถจกั รยาน ยนตพ รอมดว ยสมารท โฟนหรอื แทบ็ เล็ตที่ สามารถใชง านแบบไรสายได 4-39

อปุ กรณและหนาทใ่ี นการควบคมุ 4. เชอ่ื มตอกบั เครือขา ยไรสาย “YAMAHA การจดั เกบ็ เอกสาร UAU66920 UCA22540 MOTOR CCU” โดยการปอนหมายเลขของ CCU เปน รหัสผาน 2 ขอ ควรระวัง 5. ติดตง้ั ฝาครอบเบาะน่ังและตัวรบั สญั ญาณ GPS หามวางของทไ่ี วตอความรอ นไวใ นชอ งเก็บเอกสาร ท่ีตําแหนง เดมิ จากน้นั ตดิ ต้ังสกรู ชอ งเกบ็ เอกสารนจี้ ะรอ นเมื่อเครือ่ งยนตท าํ งานหรอื เม่อื รถจักรยานยนตถกู แสงแดดโดยตรง ขอ แนะนํา 1 4 เนื่องจากรถรนุ ที่ติดตง้ั CCU ท้งั หมดจะใชเ ครือขา ย ไรส ายชอื่ เดียวกนั ใหเปดการทํางานของรถจกั รยาน ยนตค ร้งั ละหนงึ่ คันเพอื่ ปอ งกันความสับสน 1. ชองเกบ็ เอกสาร 2. ฝาครอบ C ชอ งเกบ็ เอกสารติดต้ังอยูใ ตฝ าครอบ C (ดหู นา 7-9) ในการจดั เกบ็ คมู ือผูใชรถจกั รยานยนตหรอื ทะเบยี น รถและเอกสารการประกนั ภัยไวในชองเกบ็ เอกสาร ตองหอ ไวในถงุ พลาสตกิ เพ่ือปองกันไมใ หเ อกสาร เปย ก ในการลา งรถ หลกี เลย่ี งไมใหนาํ้ เขาไปในชอ ง เก็บเอกสาร 4-40

อปุ กรณและหนา ทีใ่ นการควบคุม กระจกมองหลัง UAU47261 การปรับตั้งโชค อพั หนา UAU66474 ไปในทิศทาง (a) ในการลดแรงสปริงโชค ซ่ึงจะทําให ระบบกันสะเทือนนมุ ลง ใหหมนุ นัทปรับตง้ั บนแกน กระจกมองหลงั ของรถจกั รยานยนตค ันนี้สามารถพับ UCA22471 โชค อัพแตล ะแกนไปในทศิ ทาง (b) ไปดา นหนาเพ่อื การจอดในพื้นทแ่ี คบได พบั กระจก ขอควรระวัง 1 กลบั มาสตู าํ แหนงเดิมกอ นการขับข่ี  ใชค วามระมัดระวังเปนพิเศษเพอ่ื หลีกเลี่ยงการ (b) ทาํ ใหพ นื้ ผิวชุบทองเกิดรอยขดี ขว นเมอ่ื ทําการ (a) 22 ปรับตั้งระบบกันสะเทือน 11  เพือ่ ปองกันกลไกภายในของระบบกันสะเทอื น ชาํ รดุ เสียหาย อยาพยายามหมนุ เกนิ กวาการ 4 ตงั้ คา สงู สุดหรอื ตา่ํ สดุ 2 2 สําหรบั YZF-R1 1. นทั ปรับต้งั สปรงิ โชค รถจกั รยานยนตรุนน้ตี ดิ ตงั้ ระบบกนั สะเทอื นแบบ การต้ังคา สปริงโชค: 1. ตําแหนงสําหรับการขับข่ี ปรับได สามารถปรับสปรงิ โชค แรงหนว งในการ ตํา่ สุด (นมุ ): 2. ตําแหนงสําหรับจอดรถ คนื ตวั ของกระบอกโชค และแรงหนว งในการยุบตวั 0 รอบในทิศทาง (a)* ของกระบอกโชค ของแกนโชค แตละแกนได มาตรฐาน: UWA14372 9 รอบในทศิ ทาง (a)* สูงสุด (แขง็ ): คาํ เตอื น UWA10181 15 รอบในทิศทาง (a)* * ขณะที่หมุนนทั ปรับตง้ั ไปในทิศทาง (b) จนสดุ ตองแนใจวา พบั กระจกมองหลงั กลับสตู าํ แหนงเดิม คาํ เตอื น แลวกอนการขับข่ี ปรบั แกนโชค อัพหนา ทัง้ คูใหเทา กันเสมอ มฉิ ะน้นั อาจ ทาํ ใหประสทิ ธิภาพในการบังคับลดลงและสญู เสียการ ทรงตัว สปรงิ โชค แรงหนว งในการคืนตวั ของกระบอกโชค ในการเพ่มิ แรงสปริงโชคและทาํ ใหร ะบบกันสะเทือน ในการเพิ่มแรงหนว งในการคนื ตัวของกระบอกโชค แขง็ ขึน้ ใหหมนุ นทั ปรบั ตัง้ บนแกนโชคอัพแตละแกน ซึง่ จะทําใหก ารคนื ตวั ของกระบอกโชค แขง็ ขน้ึ ให หมนุ โบลทป รับตั้งบนแกนโชค อัพหนาแตละแกนไป 4-41

อปุ กรณและหนา ทีใ่ นการควบคมุ 4 ในทศิ ทาง (a) ในการลดแรงหนวงในการคืนตวั ของ แรงหนวงในการยุบตวั ของกระบอกโชค ขอแนะนํา กระบอกโชค ซ่ึงจะทาํ ใหก ารคืนตวั ของกระบอกโชค ในการเพ่ิมแรงหนวงในการยุบตัวของกระบอกโชค  แมวาจํานวนเสยี งคลิกทั้งหมดของกลไกการ นมุ ลง ใหห มนุ โบลทปรับต้งั บนแกนโชค อัพหนา ซ่งึ จะทําใหก ารยุบตัวของกระบอกโชคแข็งขนึ้ ให ปรบั ตั้งแรงหนวงอาจไมเทากนั พอดกี บั ขอมูล แตละแกนไปในทิศทาง (b) หมนุ โบลทป รบั ต้ังบนแกนโชคอัพหนา แตละแกนไป จาํ เพาะดา นบนเนอ่ื งจากขอ แตกตางเลก็ นอย ในทิศทาง (a) ในการลดแรงหนว งในการยุบตัวของ ในการผลติ แตจํานวนเสยี งคลกิ ตามจริงจะ 1 กระบอกโชคซึง่ จะทําใหก ารยุบตัวของกระบอกโชค แสดงชว งการปรบั ต้งั ทง้ั หมดเสมอ เพื่อใหการ นุม ลง ใหห มนุ โบลทป รับตง้ั บนแกนโชค อัพหนา ปรบั ตงั้ มคี วามแมน ยาํ ใหต รวจสอบจํานวน (a) (b) แตล ะแกนไปในทศิ ทาง (b) เสียงคลิกและดดั แปลงคาต่ําสดุ และคา มาตรฐานตามความจาํ เปน 1  เมอื่ หมุนโบลทป รับต้ังแรงหนวงในทศิ ทาง (a) ตาํ แหนง 0 คลิกและตําแหนง 1 คลกิ อาจ 1. โบลทปรับต้ังแรงหนวงในการคนื ตัวของกระบอกโชค (a) (b) เหมือนกนั การตง้ั คา แรงหนวงในการคืนตวั ของกระบอกโชค: 1. โบลทปรับตั้งแรงหนวงในการยบุ ตวั ของกระบอกโชค สําหรบั YZF-R1M ตํา่ สดุ (นมุ ): การต้งั คาแรงหนว งในการยบุ ตวั ของกระบอกโชค : รถจักรยานยนตรุนน้ีตดิ ต้ังโชค อพั อเิ ลก็ ทรอนิกส 14 คลิกในทิศทาง (b)* ตา่ํ สดุ (นมุ ): สําหรับสนามแขงจาก ÖHLINS มาตรฐาน: 23 คลิกในทศิ ทาง (b)* แรงหนวงในการยุบตวั และคืนตวั จะปรับดวยระบบ 7 คลิกในทศิ ทาง (b)* มาตรฐาน: อิเลก็ ทรอนกิ ส (ดู ERS ในหนา 4-19) สงู สุด (แข็ง): 17 คลิกในทศิ ทาง (b)* 1 คลิกในทศิ ทาง (b)* สูงสุด (แขง็ ): สปริงโชค 1 คลกิ ในทศิ ทาง (b)* การปรับสปริงโชค ตอ งปรบั ดวยมือ * ขณะทีห่ มนุ โบลทปรับตั้งไปในทิศทาง (a) จนสุด * ขณะทหี่ มุนโบลทป รับต้ังไปในทิศทาง (a) จนสุด 1. ปด การทาํ งานของรถจกั รยานยนต 2. เลอื่ นตัวครอบยางกลบั ไปทแ่ี ตละขว้ั สาย 4-42

อุปกรณแ ละหนาทใ่ี นการควบคมุ 3. ถอดข้วั สายบนแกนโชค อัพหนา แตละแกนออก การปรับต้งั ชดุ โชค อัพหลัง UAU66493 ขอ ควรระวงั : เพอ่ื ปองกันไมใ หขว้ั สายเสยี หาย หามใชเคร่อื งมือทแ่ี หลมคมหรือใชแ รงทม่ี าก 1 UWA10222 เกินไป [UCA22770] (a) คาํ เตอื น 21 (b) ชดุ โชคอัพหลังน้ีมแี กสไนโตรเจนแรงดันสงู อา นและ ทาํ ความเขา ใจขอ มลู ตอ ไปนก้ี อนการทาํ งานกับชุด โชคอัพหลัง 4 1. โบลทปรับต้ังสปริงโชค  หามกระทงุ หรอื พยายามเปด ชุดกระบอกสูบ  หามนาํ ชดุ โชคอัพหลงั ไปใกลเปลวไฟหรอื 1. ตัวครอบยาง การตั้งคาสปรงิ โชค : 2. ข้วั สาย ตํ่าสุด (นุม): แหลงกาํ เนิดความรอ นสงู เพราะอาจทําให 0 รอบในทศิ ทาง (a)* ระเบดิ เนือ่ งจากมแี รงดันแกสสูงเกินไป 4. ในการเพ่ิมแรงสปริงโชค ซง่ึ จะทําใหร ะบบกัน มาตรฐาน:  หามทาํ ใหกระบอกสบู บดิ เบ้ียวเสยี รูปทรงหรือ สะเทอื นแข็งขนึ้ ใหห มุนโบลทปรับต้งั บนแกน 5 รอบในทิศทาง (a)* เสยี หาย ความเสยี หายของกระบอกสบู จะทําให โชค อพั หนา แตละแกนไปในทศิ ทาง (a) ในการ สงู สุด (แขง็ ): ประสิทธิภาพในการหนวงลดลง ลดแรงสปริงโชค ซงึ่ จะทาํ ใหร ะบบกนั สะเทือน 15 รอบในทิศทาง (a)*  หามกาํ จดั ชดุ โชคอัพหลังทเี่ สียหายหรอื เสอ่ื ม นมุ ลง ใหห มนุ โบลทปรับตง้ั บนแกนโชค อพั สภาพดวยตนเอง ใหนําชุดโชค อพั หลังไปให หนาแตล ะแกนไปในทิศทาง (b) * ขณะท่หี มุนนัทปรับต้ังไปในทศิ ทาง (b) จนสุด ผูจาํ หนายยามาฮาเพ่ือดําเนินการตอไป 5. ตอ ข้ัวสายบนแกนโชคอพั หนาแตละแกน 6. เลอื่ นตวั ครอบยางกลบั สตู ําแหนงเดิม 4-43

อุปกรณและหนา ท่ีในการควบคมุ UCA10102  ใชป ระแจขนั ชนดิ พิเศษท่ีใหม าในชุด สปรงิ โชค: เครือ่ งมือประจาํ รถเพื่อทาํ การปรบั ตา่ํ สุด (นุม): ขอ ควรระวัง ระยะหา ง A = 77.5 มม. (3.05 น้วิ ) มาตรฐาน: เพื่อปองกนั กลไกชาํ รดุ เสียหาย อยา พยายามหมนุ เกินกวาการตง้ั คาสูงสดุ หรอื ต่าํ สุด ระยะหา ง A = 79.0 มม. (3.11 นว้ิ ) สูงสุด (แข็ง): สําหรับ YZF-R1: ระยะหา ง A = 85.5 มม. (3.37 นิ้ว) รถจกั รยานยนตรนุ นตี้ ิดต้ังระบบกันสะเทอื นแบบ 2 (b) 3. ขันนทั ลอ็ คตามคาแรงขนั ท่ีกําหนด 4 ปรบั ได สปรงิ โชค แรงหนว งในการคนื ตวั ของ ขอ ควรระวงั : ขนั นัทลอ็ คใหแ นบกบั แหวน กระบอกโชค แรงหนวงในการยบุ ตวั ของกระบอก ปรับต้ังเสมอ และขนั นทั ล็อคตามคา แรงขนั 1 ท่ีกําหนด [UCA22760] โชค แบบเรว็ และแรงหนว งในการยุบตัวของกระบอก (a) โชค แบบชา สามารถปรับได 1. แหวนปรับตงั้ สปรงิ โชค 2. นัทลอ็ ค สปรงิ โชค คามาตรฐานแรงบิด: 1 นัทลอ็ ค: 1. คลายนทั ล็อค 25 N·m (2.5 kgf·m, 18 lb·ft) 2. ในการเพิ่มแรงสปริงโชคซง่ึ จะทําใหระบบกนั สะเทอื นแขง็ ข้นึ ใหห มนุ แหวนปรับตัง้ ไปใน ทิศทาง (a) ในการลดแรงสปริงโชค ซ่ึงจะทาํ ให แรงหนวงในการคืนตวั ของกระบอกโชค ระบบกันสะเทอื นนุมลง ใหห มุนแหวนปรับตัง้ ในการเพิ่มแรงหนว งในการคนื ตวั ของกระบอกโชค ไปในทศิ ทาง (b) ซ่งึ จะทําใหก ารหนวงการคืนตัวของกระบอกโชค แขง็ ขนึ้ ใหห มุนสกรูปรับต้งั ไปในทิศทาง (a) ในการลด การต้งั คา สปรงิ โชค จะกําหนดโดยการวัดระยะ แรงหนว งในการคนื ตวั ของกระบอกโชค ซ่ึงจะทําให หา ง A ระยะหา ง A ยิ่งมาก สปรงิ โชค จะยิ่งสูง; 1. ระยะหา ง A การหนวงการคนื ตัวของกระบอกโชค นุมลง ใหห มุน ระยะหา ง A ย่ิงสั้น สปรงิ โชคจะยิง่ ตํา่ สกรูปรับตงั้ ไปในทิศทาง (b) 4-44

(a) 1 (b) ลดแรงหนวงในการยุบตวั ของกระบอกโชคซง่ึ จะ อปุ กรณและหนา ทใ่ี นการควบคมุ ทําใหการยุบตัวของกระบอกโชคนมุ ลง ใหหมุน โบลทป รับตง้ั ไปในทศิ ทาง (b) แบบชา แขง็ ขน้ึ ใหห มุนสกรูปรับตง้ั ไปในทศิ ทาง (a) ในการลดแรงหนว งในการยบุ ตัวของกระบอกโชค ซง่ึ จะทําใหก ารยุบตัวของกระบอกโชค นมุ ลง ให หมนุ สกรูปรับตง้ั ไปในทิศทาง (b) 1. สกรูปรับตั้งแรงหนวงในการคืนตัวของกระบอกโชค 1 4 (a) (b) การตง้ั คา แรงหนวงในการคนื ตัวของกระบอกโชค: 1 ตํา่ สุด (นุม): (a) (b) 23 คลกิ ในทิศทาง (b)* มาตรฐาน: 1. โบลทปรบั ตง้ั แรงหนวงในการยุบตัวของกระบอกโชค แบบ 1. สกรูปรับต้ังแรงหนวงในการยุบตัวของกระบอกโชคแบบชา 12 คลิกในทิศทาง (b)* เรว็ การปรบั ตง้ั แรงหนว งในการยุบตัวของกระบอกโชค สูงสุด (แขง็ ): แบบชา 1 คลิกในทิศทาง (b)* การปรับตัง้ แรงหนว งในการยุบตัวของกระบอกโชค ต่ําสดุ (นมุ ): แบบเรว็ 18 คลกิ ในทิศทาง (b)* * ขณะท่ีหมุนสกรูปรับตั้งไปในทศิ ทาง (a) จนสุด มาตรฐาน: ต่าํ สุด (นมุ ): 10 คลกิ ในทิศทาง (b)* แรงหนวงในการยุบตัวของกระบอกโชค 5.5 รอบในทิศทาง (b)* สูงสุด (แขง็ ): 0 คลกิ ในทิศทาง (b)* แรงหนว งในการยุบตัวของกระบอกโชค แบบเร็ว มาตรฐาน: * ขณะท่หี มุนสกรูปรับตั้งไปในทิศทาง (a) จนสดุ ในการเพ่มิ แรงหนวงในการยบุ ตัวของกระบอกโชค 3 รอบในทิศทาง (b)* ซง่ึ จะทําใหการยบุ ตัวของกระบอกโชค แบบเรว็ แขง็ ขนึ้ ใหหมุนโบลทป รับตัง้ ไปในทิศทาง (a) ในการ สงู สุด (แข็ง): 0 รอบในทศิ ทาง (b)* * ขณะท่หี มุนโบลทปรบั ต้ังไปในทศิ ทาง (a) จนสุด แรงหนวงในการยุบตัวของกระบอกโชค แบบชา ในการเพ่มิ แรงหนว งในการยุบตัวของกระบอกโชค ซง่ึ จะทําใหก ารหนว งการยบุ ตัวของกระบอกโชค 4-45

อุปกรณและหนา ทใ่ี นการควบคมุ ขอแนะนํา สปริงโชค 2  แมว า จาํ นวนเสียงคลิกทัง้ หมดของกลไกการ การปรับสปริงโชค ตองปรับดว ยมือ ปรบั ตั้งแรงหนว งอาจไมเ ทา กนั พอดกี ับขอ มลู ขอ ควรระวงั UCA10102 (b) 1 จาํ เพาะดานบนเนื่องจากขอ แตกตางเล็กนอ ย เพอื่ ปอ งกนั กลไกชํารุดเสียหาย อยา พยายามหมุน (a) ในการผลติ แตจ ํานวนเสยี งคลิกตามจริงจะ เกินกวา การตง้ั คาสงู สดุ หรือต่าํ สุด แสดงชวงการปรับต้ังท้ังหมดเสมอ เพื่อใหก าร 1. คลายนัทล็อค 4 ปรบั ต้งั มคี วามแมนยํา ใหต รวจสอบจํานวน 2. ในการเพิ่มแรงสปริงโชค ซง่ึ จะทําใหระบบกนั เสยี งคลิกและดดั แปลงคาต่ําสดุ และคา สะเทอื นแขง็ ข้นึ ใหห มนุ แหวนปรบั ต้งั ไปใน 1. แหวนปรับตง้ั สปรงิ โชค มาตรฐานตามความจําเปน ทศิ ทาง (a) ในการลดแรงสปรงิ โชค ซึ่งจะทําให 2. นัทลอ็ ค  เมื่อหมนุ โบลทปรับตง้ั แรงหนว งในทศิ ทาง (a) ระบบกันสะเทอื นนมุ ลง ใหหมุนแหวนปรับต้งั ตําแหนง 0 คลิกและตําแหนง 1 คลิกอาจ ไปในทศิ ทาง (b) เหมือนกนั การตั้งคา สปริงโชค จะกําหนดโดยการวดั ระยะ หาง A ระยะหาง A ยงิ่ มาก สปริงโชค จะย่ิงสงู ; สาํ หรบั YZF-R1M: ระยะหา ง A ยิ่งสั้น สปรงิ โชค จะยิง่ ตา่ํ 1 รถจกั รยานยนตร ุนนี้ติดตั้งโชค อัพอเิ ลก็ ทรอนกิ ส สาํ หรบั สนามแขงจาก ÖHLINS  ใชป ระแจขนั ชนดิ พิเศษในชดุ เครอื่ งมือ ประจาํ รถเพื่อทาํ การปรบั แรงหนว งในการยบุ ตัวและแรงหนวงในการคนื ตัว ของกระบอกโชค 1. ระยะหาง A แรงหนวงในการยุบตัวและคืนตัวของกระบอกโชค จะควบคมุ ดว ยอิเลก็ ทรอนิกสและสามารถปรับจาก หนา จอ MENU ได ดู ERS ในหนา 4-19 สําหรบั ขอ มลู เกย่ี วกบั วิธีการปรับการตง้ั คา เหลา นี้ 4-46

อปุ กรณและหนา ท่ใี นการควบคมุ สปริงโชค: ระบบ EXUP UAU67050 ขวั้ ตอเสริมกระแสไฟตรง UAU70641 ต่าํ สุด (นมุ ): ระยะหาง A = 0 มม. (0.00 นว้ิ ) รถจกั รยานยนตรนุ น้ตี ดิ ต้ังระบบ EXUP (EXhaust รถจกั รยานยนตร ุนนี้ตดิ ตง้ั ขว้ั ตอเสรมิ กระแสไฟตรง มาตรฐาน: Ultimate Power valve) ของยามาฮา ระบบนชี้ ว ยเพิม่ ระยะหาง A = 4 มม. (0.16 นว้ิ ) กาํ ลังของเครื่องยนตด ว ยการใชวาลว ซง่ึ จะควบคุม ปรกึ ษาผจู าํ หนายยามาฮากอ นตดิ ตง้ั อุปกรณเสริมใดๆ สูงสุด (แข็ง): การไหลของไอเสียภายในหองไอเสีย ระยะหา ง A = 9 มม. (0.35 น้วิ ) UCA15611 3. ขนั นทั ล็อคตามคาแรงขนั ทีก่ ําหนด ขอ ควรระวงั : ขันนทั ล็อคใหแ นบกับแหวน ขอควรระวงั 4 ปรับตง้ั เสมอ และขนั นัทล็อคตามคาแรงขนั ทกี่ าํ หนด [UCA22760] ระบบ EXUP ผา นการตง้ั คาและทดสอบอยา ง ละเอียดแลว ทโ่ี รงงานของยามาฮา การเปลี่ยนการ คามาตรฐานแรงบิด: ตง้ั คาเหลานโ้ี ดยไมม คี วามรทู างเทคนิคท่เี พยี งพอ นทั ลอ็ ค: อาจเปนสาเหตใุ หสมรรถนะของเคร่ืองยนตแยล ง 25 N·m (2.5 kgf·m, 18 lb·ft) หรือทาํ ใหเคร่อื งยนตเ สยี หายได 4-47

อุปกรณและหนา ทใ่ี นการควบคมุ ขาต้ังขาง UAU15306 ขน้ึ กอ นจะเรม่ิ ออกรถ ดังนั้น ควรตรวจสอบระบบนี้ ระบบการตัดวงจรการสตารท UAU57952 เปนประจําและใหผูจําหนายยามาฮาทําการซอ มบาํ รุง ขาตง้ั ขา งอยทู างดา นซา ยของโครงรถ ยกขาต้ังขา งข้นึ หากระบบทาํ งานไมถ กู ตอง ระบบนชี้ ว ยปอ งกนั การสตารทเมอ่ื เขาเกียรโ ดยทไี่ ม หรือเหยียบลงดว ยเทาขณะจบั ตวั รถใหต ้งั ตรง กําคนั คลทั ชแ ละยกขาต้ังขา งขน้ึ และจะหยดุ การ ทํางานของเครอ่ื งยนตห ากขาตัง้ ขางลดต่ําลงขณะที่ ขอแนะนาํ ระบบสง กาํ ลังเขา เกยี รอ ยู สวทิ ชขาตง้ั ขา งแบบตดิ ต้ังมากบั รถเปนสวนหน่งึ ของ ตรวจสอบระบบนี้เปน ระยะตามขนั้ ตอนตอ ไปน้ี ระบบการตดั วงจรการสตารท ซึง่ จะตดั การจดุ ระเบิด 4 ในบางสถานการณ (ดหู ัวขอถดั ไปสําหรับคาํ อธบิ าย ขอแนะนาํ เกย่ี วกบั ระบบการตดั วงจรการสตารท)  การตรวจสอบนี้จะเชอื่ ถอื ไดม ากทส่ี ดุ หากมี UWA10242 การอุนเครอ่ื งยนต  ดูหนา 4-2 สําหรับขอ มลู การทํางานของสวิทช คาํ เตอื น หา มขบั ขร่ี ถจกั รยานยนตโ ดยไมไ ดย กขาตง้ั ขางขนึ้ หรอื หากขาตง้ั ขา งฝด และไมส ามารถเก็บขน้ึ ไดอ ยาง ถกู ตอ ง (หรือเลือ่ นหลน ลงได) มฉิ ะนนั้ ขาตงั้ ขา งอาจ สมั ผัสพนื้ และรบกวนสมาธิของผขู บั ข่ี ทาํ ใหเ สียการ ควบคุมได ระบบการตดั วงจรการสตารทของยามาฮา ออกแบบขน้ึ เพอื่ ชว ยเตอื นใหผ ขู บั ขไ่ี มล ืมยกขาตง้ั ขา ง 4-48

เมื่อเครอื่ งยนตดบั อย‹:ู อปุ กรณและหนา ทใ่ี นการควบคมุ 1. เลือ่ นขาตงั้ ขŒางลง 2. ตัง้ คา‹ สวทิ ชดบั เคร่ืองยนตไปทีต่ ำแหน‹งทำงาน คำเตือน 3. บดิ สวิทชก ญุ แจไปท่ีตำแหน‹งเปด 4. เขาŒ เกียรว า‹ ง หากพบการทำงานผิดปกติ ใหนำรถจกั รยานยนตเขา ตรวจสอบระบบ 5. กดสวิทชสตารท ท่ีผูจำหนายยามาฮากอ นขบั ข่ี เครือ่ งยนตต ดิ หรอื ไม‹ ใช ไมใ ช 4 เมือ่ เครื่องยนตย งั คงทำงาน: สวิทชเกยี รว า‹ งอาจทำงานไมถ‹ กู ตŒอง 6. เล่ือนขาต้ังขŒางขึน้ ไมค วรขบั ขี่รถจกั รยานยนต จนกว‹าจะไดŒรับการ 7. ดงึ คันคลัทชคาŒ งไวŒ ตรวจสอบจากผŒจู ำหนา‹ ยยามาฮ‹า 8. เขŒาเกยี ร 9. เลือ่ นขาตั้งขาŒ งลง เครอ่ื งยนตดบั หรอื ไม‹ ใช ไมใ ช สวทิ ชข าตั้งขาŒ งอาจทำงานไม‹ถูกตŒอง ไมควรขบั ข่รี ถจักรยานยนต จนกวา‹ จะไดŒรับการ เมอื่ เคร่อื งยนตย งั คงทำงาน: ตรวจสอบจากผูจŒ ำหน‹ายยามาฮ‹า 10.เลอื่ นขาตง้ั ขาŒ งข้ึน 11.ดงึ คันคลัทชคŒางไวŒ 12.กดสวทิ ชสตารท เคร่อื งยนตต ิดหรอื ไม‹ ใช ไมใ ช สวทิ ชคลทั ชอ าจทำงานไมถ‹ ูกตŒอง ไมค วรขบั ข่รี ถจกั รยานยนต จนกวา‹ จะไดŒรับการ ระบบเปนš ปกติ สามารถขบั ขีร่ ถจกั รยานยนตได ตรวจสอบจากผŒจู ำหน‹ายยามาฮา‹ 4-49

เพ่ือความปลอดภยั – การตรวจสอบกอนการใชงาน UAU15599 ตรวจสอบรถจกั รยานยนตกอนการขบั ขที่ กุ คร้ังเพอ่ื ใหแ นใจวารถอยูในสภาพการใชง านทีป่ ลอดภยั ปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอนการตรวจสอบและบํารุงรกั ษาตามกําหนดเวลาท่ี ระบไุ วในคูม อื ผูใ ชร ถจกั รยานยนตเสมอ UWA11152 คําเตอื น การไมต รวจสอบหรอื บาํ รุงรักษารถจกั รยานยนตอ ยา งถูกตองจะเพิม่ โอกาสในการเกดิ อบุ ัตเิ หตหุ รือทําใหชิ้นสวนเสยี หายได อยาใชรถหากทา นพบสง่ิ ผดิ ปกตใิ ดๆ หาก ขนั้ ตอนท่รี ะบุไวใ นคูมอื น้ไี มส ามารถแกไขปญั หาได ใหนํารถจักรยานยนตเ ขา รับการตรวจสอบที่ผูจาํ หนายยามาฮา ตรวจสอบรายการตอไปน้กี อนการใชง านรถจักรยานยนต: 5 จดุ ตรวจสอบ การตรวจสอบ หนา น้าํ มันเชื้อเพลิง 4-35, 4-36 น้าํ มนั เครื่อง • ตรวจสอบระดับนา้ํ มนั เช้ือเพลิงในถัง นาํ้ ยาหลอ เยน็ • เติมนํ้ามนั เช้ือเพลงิ ตามความจาํ เปน 7-13 • ตรวจสอบการร่ัวซมึ ของทอนา้ํ มนั เชื้อเพลิง 7-16 เบรคหนา • ตรวจสอบการอุดตัน การแตกราว หรือการชํารดุ ของทอระบายและทอน้ํามนั ลนของถังนํ้ามันเชอ้ื เพลิง และ 7-24, 7-24 ตรวจสอบจดุ เชือ่ มตอ ทอ • ตรวจสอบระดับนํ้ามันเครื่อง • หากจาํ เปน ใหเ ติมน้ํามันเคร่ืองที่แนะนาํ จนถึงระดับที่กาํ หนด • ตรวจสอบรถจกั รยานยนตเพอื่ ดูการรัว่ ซมึ ของนํา้ มนั • ตรวจสอบระดบั นํา้ ยาหลอเยน็ ในถงั • หากจาํ เปน ใหเ ติมน้าํ ยาหลอเย็นที่แนะนําจนถงึ ระดบั ท่ีกําหนด • ตรวจสอบการรัว่ ซมึ ของระบบระบายความรอน • ตรวจสอบการทํางาน • หากออนหรือหยุนตัว ใหนํารถเขา รบั การไลลมระบบไฮดรอลกิ ท่ีผูจาํ หนายยามาฮา • ตรวจสอบความสกึ ของผา เบรค • เปล่ียนตามความจําเปน • ตรวจสอบระดับนาํ้ มันในกระปุกน้ํามนั • หากจําเปน ใหเ ติมนาํ้ มนั เบรคท่ีกําหนดใหอ ยูในระดับทก่ี ําหนด • ตรวจสอบระบบไฮดรอลิกเพอ่ื ดูการรว่ั ซมึ 5-1

เพอ่ื ความปลอดภัย – การตรวจสอบกอนการใชงาน จุดตรวจสอบ การตรวจสอบ หนา 5 เบรคหลัง • ตรวจสอบการทาํ งาน 7-24, 7-24 • หากออ นหรอื หยุนตวั ใหน ํารถเขา รบั การไลลมระบบไฮดรอลิกท่ีผูจําหนายยามาฮา คลทั ช • ตรวจสอบความสึกของผาเบรค 7-22 ปลอกคนั เรง • เปลย่ี นตามความจําเปน 7-18, 7-28 สายควบคมุ ตางๆ • ตรวจสอบระดับนาํ้ มันในกระปกุ นํ้ามนั โซขับ • หากจาํ เปน ใหเ ติมนาํ้ มนั เบรคท่ีกําหนดใหอ ยใู นระดับท่ีกาํ หนด 7-28 • ตรวจสอบระบบไฮดรอลกิ เพือ่ ดูการรั่วซมึ 7-26, 7-27 ลอและยาง • ตรวจสอบการทํางาน คนั เบรคหลังและคนั เหยยี บเปลย่ี นเกยี ร • หลอลน่ื สายตามความจาํ เปน 7-19, 7-21 คนั เบรคหนาและคนั คลัทช • ตรวจสอบระยะฟรี 7-28 ขาต้ังขาง • ปรับตงั้ ตามความจาํ เปน 7-29 • ตรวจสอบใหแ นใ จวาทํางานไดอ ยา งราบรื่น 7-30 • ตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง • หากจาํ เปน ใหผ ูจาํ หนายยามาฮาทําการปรับตัง้ ระยะฟรปี ลอกคันเรง และหลอลื่นสายคันเรงและเบา ปลอกคนั เรง • ตรวจสอบใหแนใ จวาทํางานไดอยา งราบรน่ื • หลอ ล่ืนตามความจําเปน • ตรวจสอบระยะหยอ นโซข ับ • ปรับตงั้ ตามความจาํ เปน • ตรวจสอบสภาพโซ • หลอล่ืนตามความจําเปน • ตรวจสอบความเสยี หาย • ตรวจสอบสภาพยางและความลกึ ของดอกยาง • ตรวจสอบแรงดนั ลมยาง • แกไ ขตามความจาํ เปน • ตรวจสอบใหแนใจวาทํางานไดอยางราบร่ืน • หลอลืน่ จุดเดือยหมุนตามความจําเปน • ตรวจสอบใหแนใจวาทํางานไดอยา งราบรื่น • หลอล่ืนจดุ เดือยหมุนตามความจาํ เปน • ตรวจสอบใหแนใจวาทาํ งานไดอยางราบร่ืน • หลอล่ืนเดอื ยหมุนตามความจําเปน 5-2

เพ่ือความปลอดภยั – การตรวจสอบกอนการใชง าน จดุ ตรวจสอบ การตรวจสอบ หนา จดุ ยึดโครงรถ — ทออากาศเขา • ตรวจสอบใหแนใจวา ไดข ันนัท โบลท และสกรูทุกตัวแนนแลว — อุปกรณ ไฟ สัญญาณ และสวทิ ช • ขนั ใหแ นนตามความจาํ เปน — สวิทชขาตงั้ ขาง • ตรวจสอบใหแ นใจวา ทอ อากาศเขาไมอ ุดตนั 4-48 5 • ขจดั สงิ่ แปลกปลอมทกุ ชนิดออกจากตะแกรงตามความจำเปน • ตรวจสอบการทํางาน • แกไขตามความจาํ เปน • ตรวจสอบการทํางานของระบบการตดั วงจรการสตารท • หากระบบทาํ งานไมถ กู ตอ ง ใหน าํ รถจักรยานยนตเขารับการตรวจสอบท่ีผูจําหนา ยยามาฮา 5-3

การทาํ งานของรถจกั รยานยนตแ ละคําแนะนําทีส่ าํ คญั ในการขับขี่ UAU15952 UAU73461 การสตารทเคร่อื งยนต UAU79303 อานคูม อื ผใู ชร ถจกั รยานยนตโ ดยละเอยี ดเพ่ือให ขอแนะนํา เพ่อื ใหร ะบบการตดั วงจรการสตารท (หนา 4-48) เปด คุน เคยกบั การควบคุมตา งๆ หากมีการควบคมุ หรอื รถจกั รยานยนตร ุนน้ีติดต้ัง: ฟงกชนั ใดทีท่ า นไมเ ขา ใจ ทา นสามารถปรกึ ษาผู ใหส ามารถสตารทเคร่ืองยนตไ ด ตองมีลักษณะตรง จาํ หนายยามาฮา ได  กลองวัดความเฉ่อื ย (IMU) ทจ่ี ะดบั เคร่อื งยนต ตามเง่ือนไขขอ ใดขอหนง่ึ ตอไปน:ี้ ในกรณีทรี่ ถพลกิ ควา่ํ ในกรณนี ี้ ใหป ดสวิทช UWA10272 กญุ แจ (จากน้นั เปด คนื มา) กอ นพยายามสตารท  ระบบสงกําลงั อยูในตําแหนงเกยี รวาง เครอื่ งยนตอีกครง้ั หากไมทาํ เชน นีจ้ ะไม คําเตอื น สามารถสตารทเครื่องยนตได แมวาเครอ่ื งยนต  ระบบสง กาํ ลงั เขา เกยี รอยูพรอ มกบั บบี คนั คลทั ช จะหมนุ เมอื่ กดสวทิ ชสตารทกต็ าม ไวแ ละขาตั้งขางยกขน้ึ การไมท าํ ความคุน เคยกับการควบคุมตา งๆ อาจนําไป สกู ารสญู เสียการควบคมุ รถจักรยานยนต ซงึ่ สามารถ  ระบบดับเครื่องยนตอ ัตโนมัติ เครื่องยนตจ ะดบั การสตารท เครอื่ งยนต ทาํ ใหเกิดอุบัติเหตุหรอื การบาดเจบ็ ได โดยอตั โนมัติหากปลอ ยใหเ คร่ืองเดินเบานาน 1. เสยี บกญุ แจเขาไปในสวิทชก ุญแจ กวา 20 นาที ในกรณีน้ี ใหก ดสวทิ ชสตารท เพื่อ 2. ปรับสวิทช Stop/Run/Start ไปท่ี “ ” สตารท เครื่องยนตอีกครัง้ 3. บิดสวิทชก ญุ แจ (กญุ แจ) ไปที่ “ON” 6 4. ยืนยันวา ไฟเตือนและไฟแสดงตอ ไปน้มี กี าร ตรวจสอบตัวเอง  ไฟเตือนปญ หาเครอ่ื งยนต  ไฟเตือนแรงดนั น้าํ มนั เคร่อื งและ อุณหภูมินาํ้ ยาหลอ เย็น  ไฟเตอื นระบบเบรคปอ งกันลอ ลอ็ ค ABS  ไฟเตือนระดบั นํา้ มันเชอ้ื เพลงิ  ไฟเตอื นระบบเสริม  ไฟแสดงจงั หวะการเปลยี่ นเกียร 6-1

การทาํ งานของรถจกั รยานยนตและคําแนะนาํ ที่สําคญั ในการขับขี่  ไฟแสดงระบบควบคุมการทรงตัว UCA11043 การเปลี่ยนเกียร UAU67082  ไฟแสดงระบบอิมโมบิไลเซอร ขอควรระวัง 6 ขอแนะนาํ 5  ไฟเตอื นแรงดันนํ้ามันเครื่องและอุณหภูมินํ้ายา เพอ่ื รกั ษาเครื่องยนตใ หมอี ายกุ ารใชงานทยี่ าวนาน 4 หลอ เย็นจะสวา งข้นึ ดับลงช่วั ครู แลวสวางคาง หามเรง เคร่ืองยนตม ากขณะเคร่ืองยนตเ ย็น! 13 จนกระทง่ั สตารทเครอ่ื งยนต 2  ไฟเตือน ABS จะสวา งคา งจนกวา รถจะเร่ิม N เคลอื่ นท่ี 1 UCA24110 2 ขอควรระวงั 1. ตาํ แหนงเกยี ร 2. คันเหยยี บเปล่ียนเกียร 6 หากไฟเตือนหรอื ไฟแสดงไมทาํ งานตามทอี่ ธิบายไว ขา งตน ใหนํารถเขารบั การตรวจสอบทผี่ ูจําหนาย การเปลย่ี นเกยี รช ว ยในการควบคมุ การสง กําลงั ยามาฮา เครื่องยนตสําหรับการออกตัว การเรงความเรว็ การขน้ึ เนิน ฯลฯ 5. เขา เกียรว าง (หรือบบี คันคลทั ชค า งไวพรอมกบั รถจกั รยานยนตรุนน้ตี ิดต้งั QSS ดูหนา 3-3 และ 4-17 ยกขาตงั้ ขางขน้ึ ) ขอ แนะนํา 6. กดสวทิ ชส ตารท และปลอ ยสวิทชเม่อื ในการเขา เกยี รวาง ( ) ใหเ หยยี บคันเหยียบเปล่ยี น เครื่องยนตส ตารท เกยี รเบาๆ จากเกยี ร 2 หรือยกคันเหยียบเปลยี่ นเกยี ร หากเคร่ืองยนตไ มส ตารท ภายใน 5 วนิ าทขี อง ขน้ึ เลก็ นอ ยขณะท่อี ยูใ นเกยี ร 1 การกดสวิทชสตารท ใหร อ 10 วนิ าทีกอ นกด สวทิ ชอ ีกคร้ังเพ่ือใหแ รงดนั ไฟฟาแบตเตอร่ี กลบั คืนมา 6-2

การทาํ งานของรถจกั รยานยนตแ ละคาํ แนะนําทสี่ ําคญั ในการขับข่ี UCA22521 คาํ แนะนําสาํ หรับการลดความสน้ิ เปลืองUAU16811 ระยะรันอินเครอื่ งยนต UAU16842 ขอ ควรระวัง นํ้ามันเชือ้ เพลิง  แมระบบสง กาํ ลังจะอยูในตาํ แหนง เกียรวาง ความสิน้ เปลอื งนาํ้ มนั เชือ้ เพลิงโดยมากขนึ้ อยกู บั ไมมชี ว งเวลาใดในอายกุ ารใชง านของเครื่องยนตท่จี ะ ก็หามปลอยใหรถไหลเปน เวลานานขณะดบั ลักษณะการขบั ขข่ี องแตล ะบุคคล คาํ แนะนาํ เพ่ือลด เคร่ืองอยู และหา มลากรถจักรยานยนตเ ปน ความส้นิ เปลอื งน้ํามนั เชอื้ เพลงิ มีดงั น้ี: สาํ คญั ไปกวาชว งระหวาง 0ถึง 1,600 กม. (1,000 ไมล) ระยะทางไกล ระบบสงกําลังจะมกี ารหลอล่ืน ดว ยเหตนุ ้ี จงึ ควรทําความเขาใจเน้อื หาตอ ไปนี้โดย อยางเหมาะสมตอเมอ่ื เครอื่ งยนตทาํ งานอยู  เปลี่ยนเกยี รข้นึ อยางรวดเร็ว และหลกี เลีย่ งการ เทา นน้ั การหลอ ลน่ื ทีไ่ มเ พยี งพออาจทาํ ให ใชความเรว็ รอบเครอื่ งยนตสงู ขณะเรงเคร่ือง ละเอียด ระบบสงกาํ ลงั เสียหาย  ไมเรง เคร่อื งยนตข ณะเปลย่ี นเกยี รลง และ เน่อื งจากเปน เครือ่ งยนตใ หม ควรหลกี เลย่ี งการ  บีบคนั คลทั ชท กุ ครงั้ เมอื่ จะเปลี่ยนเกียรเพ่อื หลีกเล่ียงการใชความเรว็ เครอ่ื งยนตสูงโดย บรรทกุ น้าํ หนกั เกินในชว งระยะ 1,600 กม. (1,000 ปองกันไมใ หเครอื่ งยนต เกยี ร และระบบสง ไมม ีโหลดบนเคร่ืองยนต กาํ ลังเสยี หาย ยกเวนเม่อื ใชระบบชว ยเปลีย่ น ไมล) แรก ชิ้นสวนตา งๆ ในเครื่องยนตจ ะเสียดสี เกยี รอยางรวดเรว็  ดบั เคร่ืองยนตแทนทีจ่ ะปลอยใหเคร่ืองยนต เดินเบาเปน เวลานาน (เชน ในการจราจรท่ี และขัดตัวจนมีระยะหา งในการทํางานท่ีถกู ตอ ง ตดิ ขดั เมอื่ หยุดรอสญั ญาณไฟจราจร หรือรอ ในชว งน้ี จะตองไมใ ชง านโดยบิดคนั เรง จนสุด รถไฟผา น) เปน เวลานาน หรือในสภาวะใดๆ ทีอ่ าจสง ผลให 6 เครือ่ งยนตเกดิ ความรอ นมากเกนิ ไป UAU17085 0–1,000 กม. (0–600 ไมล) หลกี เลย่ี งการทาํ งานเกิน 7,000 รอบ/นาที เปน เวลา นาน ขอ ควรระวงั : หลงั จาก 1,000 กม. (600 ไมล) แรกของการขบั ข่ี ตองมกี ารเปล่ียนถา ยนาํ้ มนั เครือ่ ง และเปลี่ยนกรองและไสกรองนํา้ มนั เคร่ือง [UCA10303] 1000–1,600 กม. (600–1,000 ไมล) หลกี เลย่ี งการทาํ งานเกนิ 8,400 รอบ/นาที เปน เวลา นาน 6-3

การทาํ งานของรถจกั รยานยนตและคําแนะนาํ ทส่ี ําคญั ในการขับขี่ 1,600 กม. (1,000 ไมล) ขน้ึ ไป การจอดรถ UAU17214 ในตอนนส้ี ามารถใชร ถจักรยานยนตไดตามปกติ ในการจอดรถ ใหด ับเครื่องยนตแ ละดึงกุญแจออกจาก UCA10311 ขอควรระวัง สวิทชก ญุ แจ  รักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตไ มใ หอยูใ นพื้นท่ี UWA10312 สีแดงของมาตรวดั รอบเครื่องยนต คําเตอื น  หากมปี ญหาใดๆ เกดิ ขึน้ ในระยะรนั อิน เครอ่ื งยนต กรณุ านาํ รถจักรยานยนตของทา น  เน่ืองจากเครอื่ งยนตและระบบไอเสียจะเกิด เขา ตรวจสอบทผี่ ูจาํ หนายยามาฮา ทันที ความรอนสูง จึงไมค วรจอดรถในทที่ ี่อาจมเี ด็ก หรอื คนเดินสัมผัสและถกู ความรอ นไหม ผวิ หนัง ขอ แนะนาํ  ไมจ อดรถบริเวณพื้นทล่ี าดเอยี งหรอื พื้นดินที่ 6 ในระหวา งและหลงั ชว งระยะรันอินเครื่องยนต ออน มิฉะน้นั อาจจะทาํ ใหร ถลมซงึ่ มโี อกาส ทําใหน ้ํามนั เชอื้ เพลิงรว่ั และเกิดไฟไหมไ ด ความรอนของไอเสียอาจทาํ ใหท อ ไอเสียเปล่ยี นสไี ด ซง่ึ เปน เรอื่ งปกติ  หา มจอดรถจกั รยานยนตใ กลก บั พื้นหญา แหง หรอื วัสดทุ ี่ลกุ ตดิ ไฟไดงาย 6-4

การบาํ รงุ รักษาและการปรบั ต้งั ตามระยะ UAU17246 UWA15123 UAU17303 การตรวจสอบ การปรบั ต้งั และการหลอ ลน่ื ตาม คําเตอื น ระบบควบคมุ แกส ไอเสียไมเ พยี งทําใหม ่นั ใจใน ระยะจะชว ยใหร ถจกั รยานยนตข องทา นอยูในสภาพ อากาศทสี่ ะอาดขนึ้ เทา น้ัน แตยงั มคี วามสําคญั ตอ การ ท่ีปลอดภยั และมปี ระสิทธิภาพทีส่ ดุ ความปลอดภัย ดบั เครอื่ งยนตข ณะทาํ การบาํ รุงรักษา ยกเวน ในกรณี ทาํ งานของเครอ่ื งยนตท ีถ่ กู ตอ งและสมรรถนะสงู สดุ เปนความรบั ผดิ ชอบของเจา ของและผขู ับขี่รถ ในตารางการบาํ รุงรักษาตามระยะตอไปน้ี การซอ ม จกั รยานยนต จุดสาํ คญั ตางๆ สําหรับการตรวจสอบ ทร่ี ะบุเปนอยางอืน่ บํารงุ ทเี่ ก่ียวของกบั ระบบควบคมุ แกสไอเสียถกู จัด การปรับต้งั และการหลอ ล่นื รถจกั รยานยนตจะ กลมุ แยกไว การซอ มบาํ รุงเหลา นีต้ องใชข อ มลู ความรู อธบิ ายรายละเอียดในหนาถดั ไป  เครอ่ื งยนตทก่ี าํ ลงั ทํางานจะมีชิ้นสว นที่ และอุปกรณเฉพาะ การบาํ รุงรกั ษา การเปล่ียน หรือ ชวงระยะเวลาท่กี ําหนดในตารางการบาํ รุงรักษาตาม เคล่ือนท่ซี ง่ึ สามารถเก่ียวอวัยวะหรอื เส้ือผา การซอ มแซมอุปกรณและระบบควบคมุ แกส ไอเสยี ระยะเปน เพยี งคาํ แนะนาํ ทัว่ ไปภายใตส ภาวะการ ตอ งดาํ เนนิ การโดยศูนยซอ มหรือบคุ ลากรท่ีผานการ ขับขป่ี กติ อยางไรก็ตาม ระยะเวลาในการบํารงุ รกั ษา และมีชิ้นสวนไฟฟาท่ีทําใหเกิดไฟดูดหรือ รับรอง (ถา ม)ี ผูจาํ หนายยามาฮา ไดร ับการฝก อบรม อาจจําเปน ตอ งส้นั ขน้ึ ทง้ั น้ีขึ้นอยกู บั สภาพอากาศ และตดิ ตัง้ อุปกรณเ พื่อใหบริการเหลา น้ีโดยเฉพาะ ภูมิประเทศ ตาํ แหนง ทางภูมิศาสตร และลกั ษณะ เพลิงไหมไ ด การใชง านของแตละบุคคล  การปลอยใหเครอ่ื งยนตท าํ งานขณะทาํ การ บาํ รงุ รักษาอาจทําใหดวงตาไดร ับบาดเจบ็ เกดิ การไหมผวิ หนัง เพลงิ ไหม หรอื ไดร ับพิษ จากกา ซคารบ อนมอน็อกไซด–จนอาจถงึ แก ชีวติ ได ดหู นา 1-3 สําหรบั ขอ มลู เพ่ิมเตมิ เกย่ี วกบั กาซคารบอนมอนอ็ กไซด 7 UWA10322 UWA15461 คาํ เตอื น คาํ เตอื น การไมด แู ลรกั ษารถจักรยานยนตอ ยางเหมาะสมหรอื ดิสกเ บรค แมปมเบรคตวั ลาง ดรมั เบรค และผาเบรค ทาํ การบํารุงรกั ษาผิดวิธอี าจเพ่ิมความเสีย่ งในการ ไดร บั บาดเจ็บหรือถงึ แกช วี ติ ขณะทําการบาํ รงุ รกั ษา จะรอ นมากในระหวางการใชงาน เพอ่ื หลกี เล่ยี งการ หรอื ขณะใชงาน หากทานไมค ุนเคยกับการบํารุงรักษา รถจกั รยานยนต โปรดใหผ ูจาํ หนา ยยามาฮา เปนผู ไหมผ วิ หนงั ควรปลอ ยใหช นิ้ สว นเบรคเย็นลงกอ นท่ี ดาํ เนนิ การแทน จะสมั ผัส 7-1

การบํารุงรกั ษาและการปรับต้งั ตามระยะ ชุดเคร่ืองมือ UAU67091 ชดุ เคร่ืองมือควรเกบ็ ไวแยกจากตัวรถ อยางไรกต็ าม มปี ระแจหกเหลย่ี มสองอันอยใู ตเบาะน่งั ผโู ดยสาร (ดูหนา 4-38) 1 7 1. ประแจหกเหลยี่ ม ขอมลู ทีอ่ ยใู นคมู อื เลม นแ้ี ละเครื่องมอื ตางๆ ท่ใี หมา ชว ยใหท า นสามารถทาํ การบํารุงรักษาเพ่ือปอ งกนั และซอ มแซมเลก็ ๆ นอ ยๆ ได อยางไรกต็ าม จําเปน ตองใชประแจขันแรงบิดและเคร่ืองมอื อ่ืนๆ เพื่อทาํ การซอ มบาํ รงุ บางรายการอยางถกู ตอง ขอ แนะนํา หากทา นไมมีเครือ่ งมือหรอื ประสบการณท ี่จําเปน็ ในการบํารงุ รักษารถ ใหผ ูจําหนา ยยามาฮาเปน ผดู ําเนินการแทน 7-2

การบํารุงรกั ษาและการปรบั ต้ังตามระยะ ตารางการบาํ รุงรักษาตามระยะ UAU71033 ขอ แนะนาํ  รายการท่มี เี ครื่องหมายดอกจนั (*) จาํ เปน ตอ งใชเ คร่ืองมือพเิ ศษ ขอ มูล และทักษะดา นเทคนคิ จึงควรใหผ จู ําหนา ยยามาฮาเปนผดู ําเนินการ  ตง้ั แต 37,000 กม. (24,000 ไมล) หรอื 36 เดอื น ใหเร่มิ นับระยะในการบํารุงรกั ษาซ้ําอีกต้ังแต 13,000 กม. (8,000 ไมล) หรอื 12 เดือน  การตรวจสอบประจําปตอ งทําทกุ ป ยกเวนหากมกี ารบำรงุ รกั ษาตามระยะทางแทน ตารางการบํารุงรักษาตามระยะสําหรับระบบควบคมุ แกสไอเสีย UAU71051 ระยะแรก มาตรวดั ระยะทาง ลําดบั จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรอื บํารงุ รักษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) 1 * ทอนา้ํ มันเช้ือเพลงิ • ตรวจสอบรอยแตกหรอื ความเสียหายของทอ นาํ้ มนั หรอื 1 เดือน หรือ 6 เดอื น หรือ 12 เดือน หรอื 18 เดือน หรอื 24 เดอื น หรือ 30 เดือน เชื้อเพลงิ 2 * หัวเทียน 7 3 * ระยะหางวาลว • เปลยี่ นถา จาํ เปน 4 * ระบบหัวฉีดน้าํ มนั เชื้อเพลิง • ตรวจสอบสภาพ  5 * ระบบไอเสยี • ปรบั ตง้ั ระยะหางและทําความสะอาด • เปลี่ยน  • ตรวจสอบและปรับตั้ง ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล) • ตรวจสอบความเรว็ รอบเดินเบาเคร่ืองยนต ทุกๆ 42,000 กม. (26,600 ไมล) • ตรวจสอบและปรบั ต้ังสมดุล • ตรวจสอบการร่ัวซึม  • ขนั ใหแนน ตามความจาํ เปน  • เปลีย่ นปะเกน็ ตามความจําเปน  7-3

การบํารุงรกั ษาและการปรับตง้ั ตามระยะ ระยะแรก มาตรวดั ระยะทาง ลําดับ จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรอื บํารงุ รกั ษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) หรอื 1 เดอื น หรือ 6 เดอื น หรอื 12 เดือน หรือ 18 เดอื น หรือ 24 เดือน หรอื 30 เดอื น 6 * ระบบควบคมุ การระเหยของน้าํ มนั • ตรวจสอบระบบควบคมุ เพอื่ ดูความเสยี หาย  เช้ือเพลิง • เปลย่ี นตามความจําเปน  7 * ระบบ AIS • ตรวจสอบความเสยี หายของวาลว ตัดอากาศ หรีดวาลว และทอ • เปล่ียนชิน้ สว นท่ีเสยี หายตามความจําเปน 7 7-4

การบาํ รงุ รกั ษาและการปรบั ต้ังตามระยะ ตารางการบํารุงรักษาและการหลอล่ืนโดยทัว่ ไป UAU71351 ระยะแรก มาตรวดั ระยะทาง ลาํ ดับ จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรือบํารุงรกั ษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) หรือ 1 เดือน หรือ 6 เดือน หรือ 12 เดือน หรอื 18 เดอื น หรอื 24 เดอื น หรือ 30 เดือน 1 * ตรวจสอบระบบวเิ คราะหหัวฉีด • ทําการตรวจสอบการทํางานโดยใชเ คร่ืองวิเคราะห  2 * ไสกรองอากาศ ระบบหวั ฉดี ยามาฮา ทุก 37,000 กม. (24,000 ไมล) 3 คลทั ช 4 * เบรคหนา • ตรวจสอบรหัสขอผิดพลาด  • เปลีย่ น 5 * เบรคหลงั • ตรวจสอบการทํางาน  7 • ปรบั หรือเปลย่ี นสาย 6 * ทอน้าํ มันเบรค • ตรวจสอบการทํางาน ระดับนาํ้ มนั เบรคและการร่ัว  7 * น้าํ มนั เบรค 8 * ลอ รถ ของนา้ํ มันเบรค  • เปล่ยี นผา เบรคตามความจาํ เปน ทกุ ๆ 4 ป 9 * ยาง • ตรวจสอบการทํางาน ระดบั นาํ้ มันเบรค และการรั่ว ทกุ ๆ 2 ป ของนาํ้ มนั เบรค  • เปลีย่ นผา เบรคตามความจาํ เปน • ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหาย  • เปลี่ยน • เปลี่ยน • ตรวจสอบการแกวง -คดและความเสยี หาย • เปลีย่ นตามความจําเปน • ตรวจสอบความลกึ ของดอกยางและความเสยี หาย • เปล่ียนตามความจําเปน • ตรวจสอบแรงดันลมยาง • ทาํ การแกไขตามความจําเปน 7-5

การบาํ รุงรักษาและการปรับตง้ั ตามระยะ ระยะแรก มาตรวดั ระยะทาง ลําดบั จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรอื บํารงุ รักษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) 10 * ลกู ปนลอ • ตรวจสอบความหลวมหรือความเสยี หายของลกู ปน หรือ 1 เดือน หรอื 6 เดอื น หรอื 12 เดอื น หรือ 18 เดอื น หรอื 24 เดือน หรือ 30 เดือน • ตรวจสอบการทํางานและระยะคลอน 11 * ลกู ปนเดอื ยสวิงอารม • ตรวจสอบสายรดั และเปลีย่ นเมือ่ จําเปน  • หลอลน่ื ดว ยจาระบลี เิ ธยี ม 12 โซขบั • ตรวจสอบระยะหยอน การวางแนว และสภาพของโซ  • ปรับตั้งและหลอลน่ื ขอ ตอโซใ หทวั่ ดวยนํา้ มนั หลอลนื่ 13 * ลูกปนคอรถ ทุกๆ 55,000 กม. (34,000 ไมล) 7 14 * กนั สะบัดคอรถ พเิ ศษ • ตรวจสอบชดุ ลูกปนเพอื่ ดูความหลวม ทุกๆ 800 กม. (500 ไมล) และหลังจากลา งรถจกั รยานยนตท่ีขับข่ขี ณะฝนตก 15 * จดุ ยดึ โครงรถ • อัดดว ยจาระบีลิเธยี มพอประมาณ หรือในบริเวณที่มนี า้ํ ขงั 16 เพลาเดือยคนั เบรค • ตรวจสอบการทาํ งานและการรั่วซมึ ของน้าํ มนั 17 เพลาเดือยคันเบรคหลัง • ตรวจสอบใหแ นใจวาไดข นั นัท โบลท และสกรูทุกตัว   18 เพลาเดือยคนั คลทั ช ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล) 19 เพลาเดือยคนั เปลีย่ นเกยี ร แนนแลว • ทําการแกไ ขตามความจาํ เปน  • ทาบางๆ ดว ยจาระบีซิลิโคน • หลอลืน่ ดวยจาระบีลิเธียม  • หลอ ลน่ื ดวยจาระบีลิเธียม • หลอ ลน่ื ดวยจาระบีลิเธยี ม     7-6

การบํารงุ รกั ษาและการปรับตัง้ ตามระยะ ระยะแรก มาตรวดั ระยะทาง ลําดับ จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรอื บาํ รุงรักษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) หรือ 1 เดือน หรอื 6 เดอื น หรือ 12 เดือน หรือ 18 เดอื น หรือ 24 เดือน หรือ 30 เดือน 20 ขาตงั้ ขาง • ตรวจสอบการทาํ งาน  • หลอลืน่ ดว ยจาระบีลเิ ธียม 21 * สวทิ ชขาต้ังขา ง • ตรวจสอบการทาํ งานและเปลี่ยนตามความจาํ เปน       22 * โชคอพั หนา • ตรวจสอบการทํางานและการร่ัวซมึ ของนํา้ มัน  • เปล่ยี นตามความจาํ เปน 23 * ชุดโชค อพั หลงั • ตรวจสอบการทํางานและการร่ัวซมึ ของนํา้ มัน  • เปลย่ี นตามความจําเปน 24 * รีเลยอ ารม กันสะเทือนหลงั และ • ตรวจสอบการทํางาน  จุดเดือยแขนเช่ือมตอ • เปลีย่ นตามความจาํ เปน 25 นาํ้ มันเครอื่ ง • เปลี่ยนถา ย (อนุ เคร่ืองยนตกอนทําการเปลีย่ นถาย) 7 • ตรวจสอบระดับและการร่วั ของน้ํามนั เคร่ือง  26 ไสก รองนํา้ มนั เครอื่ ง • เปล่ยี น  ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล) • ตรวจสอบระดับและการร่วั ซมึ ของน้ํามนั เครอ่ื ง 27 * ระบบระบายความรอน • ตรวจสอบการรั่วซมึ และระดับนาํ้ ยาหลอเย็น  • เปลีย่ น ทุกๆ 3 ป 28 * ระบบ EXUP • ตรวจสอบการทาํ งาน ระยะฟรสี ายเคเบิล และตาํ แหนง  ทุกๆ 19,000 กม. (12,000 ไมล) พลู เลย 29 * สวิทชเบรคหนาและสวิทชเบรคหลัง • ตรวจสอบการทาํ งาน  7-7

การบาํ รุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ ระยะแรก มาตรวัดระยะทาง ลาํ ดับ จดุ ตรวจสอบ รายการตรวจสอบหรอื บาํ รุงรกั ษา 1,000 กม. 7,000 กม. 13,000 กม. 19,000 กม. 25,000 กม. 31,000 กม. (600 ไมล) (4,000 ไมล) (8,000 ไมล) (12,000 ไมล) (16,000 ไมล) (20,000 ไมล) หรอื 1 เดอื น หรือ 6 เดอื น หรอื 12 เดอื น หรอื 18 เดอื น หรือ 24 เดือน หรือ 30 เดอื น 30 * ช้นิ สวนทีม่ กี ารเคล่ือนท่ี • หลอ ลื่น  และสายเคเบิล • ตรวจสอบการทํางาน 31 * ปลอกคนั เรงและสายคนั เรง • ตรวจสอบระยะฟรีปลอกคนั เรงและปรับต้ังถา จําเปน็  • หลอล่นื สายและเบา ปลอกคนั เรง 32 * ไฟแสงสวา ง สัญญาณไฟ และสวิทช • ตรวจสอบการทาํ งาน  • ปรับตั้งลาํ แสงของไฟหนา UAU72811 7 ขอแนะนํา  กรองอากาศ  รถจักรยานยนตรนุ นี้ใชไ สกรองอากาศกระดาษเคลอื บน้ํามนั แบบใชแลวทิ้ง ไสก รองนีไ้ มส ามารถทําความสะอาดดวยแรงอัดอากาศได มิฉะนัน้ จะทาํ ใหไ สก รอง เสยี หาย  ตองเปลย่ี นไสกรองอากาศบอ ยครัง้ ข้นึ หากขบั ขใี่ นบริเวณทเี่ ปยกหรอื มฝี ุนมากกวา ปกติ  การบํารุงรักษาระบบเบรคไฮดรอลิก  ตรวจสอบระดับนํ้ามนั เบรคหนา และเบรคหลงั เปน ประจํา เตมิ นํา้ มนั เบรคตามความจําเปน  เปลยี่ นแมปม เบรคตัวบนเบรคหลงั ชนิ้ สว นภายในของแมป ม เบรคตัวบนเบรคหนา แมปม เบรคตัวลา ง และเปลย่ี นถายน้าํ มนั เบรคทุก 2 ป  เปลยี่ นทอ น้าํ มันเบรคทกุ 4 ป หรือเรว็ กวา นน้ั หากเกิดรอยแตก เสียหาย หรอื หากสว นใดก็ตามของทอ น้าํ มนั เบรคเหลก็ สเตนเลสกลายเปน สดี ํา 7-8

การบาํ รุงรกั ษาและการปรับต้งั ตามระยะ การถอดและการติดต้ังบังลมและฝาครอUบAU18713 1 2 3 32 3 1 บงั ลมและฝาครอบทแ่ี สดงในรูปจาํ เปน ตอ งถอดออก เพอื่ ทาํ การบาํ รงุ รกั ษาบางรายการตามที่อธบิ ายไว 2 ในบทนี้ อางองิ หวั ขอ น้ที กุ ครั้งเม่อื ตอ งการถอดและ ติดตงั้ บงั ลมหรือฝาครอบ 3 3 2 1 1. ฝาครอบ C 1. บังลม A 2. บังลม B 2. สกรูตัวยึดแบบเรว็ 3. ตัวยึดแบบเรว็ 3. ฝาครอบ D 3 UAU66972 2 1. ฝาครอบ A 4 บังลม A และ B (สําหรบั YZF-R1) 7 2. บังลม A 3. บงั ลม C 1 4. ฝาครอบ B การถอดบงั ลม 3 ถอดสกรตู ัวยดึ แบบเรว็ และตัวยดึ แบบเร็วออก จากนนั้ ถอดบังลมออก 2 1. บังลม B 2. สกรูตัวยดึ แบบเรว็ 3. ตวั ยึดแบบเร็ว 7-9

การบํารงุ รกั ษาและการปรับตั้งตามระยะ การตดิ ต้ังบงั ลม บังลม A และ B (สาํ หรบั YZF-R1M) 2 3 วางบงั ลมในตําแหนง เดมิ 1 จากนัน้ ตดิ ต้ังตัวยึดแบบเรว็ และสกรตู วั ยดึ แบบเร็ว การถอดบงั ลม ถอดสกรู ปลอกรอง สกรตู ัวยดึ แบบเร็ว และตัวยดึ บงั ลม C (สาํ หรับ YZF-R1) แบบเรว็ ออก จากนนั้ ถอดบงั ลมออก การถอดบงั ลม 2 25 1. ถอดบังลม A และ B 2. ถอดสกรแู ละปลอกรอง จากนนั้ ถอดบงั ลมออก 1 1. บังลม B 4 3 2. สกรูตัวยึดแบบเรว็ 2 3. ตัวยึดแบบเร็ว 4. สกรู 1 3 4 5 3 5. ปลอกรอง 7 1. บังลม A การติดตง้ั บงั ลม 2. สกรูตัวยึดแบบเร็ว วางบงั ลมในตําแหนง เดมิ จากนน้ั ตดิ ตงั้ ปลอกรอง 23 3. ตัวยึดแบบเรว็ สกรู ตวั ยึดแบบเรว็ และสกรตู วั ยึดแบบเรว็ 4. สกรู 1. บังลม C 5. ปลอกรอง 2. สกรู 3. ปลอกรอง UAU66980 ฝาครอบ A และ C การตดิ ตงั้ บังลม การถอดฝาครอบ 1. ใสบ งั ลมในตําแหนงเดมิ จากนัน้ ติดตัง้ ถอดตัวยึดแบบเรว็ และสกรู จากนั้นดงึ ฝาครอบออก ปลอกรองและสกรู 2. ตดิ ต้ังบงั ลม A และ B 7-10

การบาํ รงุ รกั ษาและการปรับตง้ั ตามระยะ 1 การติดตั้งฝาครอบ 2 3 วางฝาครอบในตําแหนง เดิม จากนั้นติดตงั้ ตัวยึด แบบเรว็ และสกรู 2 ฝาครอบ B และ D 1. ตวั ยดึ แบบเร็ว 2. สกรู การถอดฝาครอบ 1 3. ฝาครอบ A 1. ถอดบังลม A หรือ B (ดูหนา 7-9) 2. ถอดสกรู จากนัน้ ดงึ ฝาครอบออก 1. สกรู 2. ฝาครอบ D 2 การติดตั้งฝาครอบ 1 วางฝาครอบในตาํ แหนง เดิม จากนั้นจงึ ขันสกรู 7 1 3 2 1. สกรู 2. ฝาครอบ B 1. ตัวยดึ แบบเร็ว 2. สกรู 3. ฝาครอบ C 7-11

การบํารงุ รกั ษาและการปรับต้งั ตามระยะ การตรวจสอบหวั เทียน UAU67110 กอ นติดตัง้ หวั เทยี น ควรวัดระยะหา งเข้ยี วหัวเทียน คามาตรฐานแรงบดิ : ดว ยเกจวัดความหนา และหากจําเปน ใหปรบั ระยะ หวั เทยี น (ใหม) : หวั เทยี นเปนสว นประกอบทส่ี าํ คัญของเครื่องยนต หา งเขีย้ วหวั เทียนใหไดตามคา ทก่ี ําหนดไว 18 N·m (1.8 kgf·m, 13 lb·ft) หวั เทยี น (หลงั การตรวจสอบ): ซึง่ ควรทําการตรวจสอบเปนระยะโดยผจู าํ หนา ย 13 N·m (1.3 kgf·m, 9.6 lb·ft) ยามาฮา เนอื่ งจากความรอ นและคราบตะกอนทําให หวั เทียนสึกกรอนอยางชา ๆ จงึ ควรถอดหัวเทียนออก UCA10841 มาตรวจสอบตามท่ีกาํ หนดในตารางการบาํ รุงรักษา ขอ ควรระวงั และการหลอ ลน่ื ตามระยะ นอกจากนี้ สภาพของ อยา ใชเครอื่ งมอื ใดๆ ในการถอดหรอื ใสปลัก๊ หวั เทยี น หวั เทียนยงั แสดงถงึ สภาพของเคร่ืองยนตได มฉิ ะนั้นขว้ั สายคอยลจุดระเบดิ อาจเสียหายได ปลัก๊ หวั เทยี นอาจถอดออกไดยากเนอ่ื งจากซลี ยางท่ี ฉนวนกระเบื้องรอบๆ แกนกลางของหวั เทยี น ปลายฝาปดคบั แนนพอดี ในการถอดปลั๊กหัวเทยี น แตละตวั ควรเปน สนี ํ้าตาลปานกลางถึงออน (สีท่ี ใหจับบิดไปมาพรอ มกับดงึ ออกเทาน้นั สว นในการ เหมาะสมเมื่อขบั ขีร่ ถตามปกติ) และหัวเทียนทง้ั หมด 11 ใสกลบั ใหจับบดิ ไปมาพรอ มกบั ดันเขา ไป ท่ตี ดิ ตง้ั ในเครือ่ งยนตค วรมสี เี ดียวกนั หากหัวเทยี น 1. ระยะหา งเขีย้ วหัวเทยี น 7 เปน สอี ่ืนอยางชดั เจน แสดงวาเคร่อื งยนตอาจทำงาน ระยะหา งเขยี้ วหัวเทียน: ไมปกติ ไมควรวนิ จิ ฉัยปญ หาดวยตวั เอง โปรดนํารถ 0.6–0.7 มม. (0.024–0.028 น้วิ ) จกั รยานยนตข องทา นไปใหผจู าํ หนายยามาฮาตรวจ ทําความสะอาดพื้นผิวของปะเกน็ หวั เทยี นและ สอบแกไ ข หนาสมั ผสั รองหวั เทียน จากน้นั เชด็ ส่ิงสกปรกออก หากหวั เทียนมกี ารสกึ กรอนของเขีย้ วและมีคราบ จากเกลยี วหวั เทียน เขมา คารบอนปรมิ าณมากหรือมคี ราบอ่ืนๆ ควรเปลย่ี นใหม หัวเทยี นทีก่ าํ หนด: NGK/LMAR9E-J 7-12

การบาํ รุงรกั ษาและการปรบั ตั้งตามระยะ กลองดกั ไอน้าํ มัน#1 #2 #3 #4 UAU36112 น้ํามันเครื่องและไสก รองนํ้ามันเครื่อง UAU66535 1 1 2 ควรตรวจสอบระดับน้าํ มนั เครอ่ื งทุกครง้ั กอนขบั ขี่ 2 5 นอกจากนี้ ตอ งทาํ การเปลย่ี นถายน้าํ มันเครอ่ื งและ 3 เปลยี่ นไสก รองน้าํ มนั เครื่องตามระยะทีก่ าํ หนดใน 4 ตารางการบํารุงรกั ษาและการหลอ ลน่ื ตามระยะ 1. ชองตรวจวัดระดบั นํา้ มันเครื่อง 2. ขีดบอกระดบั สงู สดุ 3 การตรวจสอบระดบั นํ้ามนั เคร่อื ง 3. ขีดบอกระดบั ตา่ํ สดุ 7 1. ตั้งรถจกั รยานยนตบ นพื้นราบและใหอ ยใู น 1. ไปยังถงั นํา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ตาํ แหนงต้งั ตรง การทรี่ ถเอียงเพียงเลก็ นอย 4. หากนาํ้ มนั เครื่องอยูท่หี รอื อยูต่าํ กวา ขีดบอก 2. ไปยังบรรยากาศ กอ็ าจทําใหการอานระดบั คลาดเคลอ่ื นได ระดับตํา่ สุด ใหเติมนํ้ามนั เครื่องชนิดทีแ่ นะนาํ 3. เรือนลน้ิ เรง 2. สตารท เคร่อื ง อุนเครือ่ งสักพัก จากนน้ั จงึ จนไดระดบั ทกี่ ําหนด 4. กลองดกั ไอนํา้ มันแบบใชถ า น ดบั เครือ่ ง 5. ชอ งระบายอากาศของกลองดักไอน้ํามนั 3. รอสกั ครูจนกระทงั่ นํา้ มันตกตะกอน จากนน้ั จงึ ขอแนะนาํ ตรวจสอบระดับนํา้ มันผา นชอ งตรวจวัดทอี่ ยู ตรวจสอบความเสียหายของโอริงฝาปด ชอ งเติม รถจกั รยานยนตรนุ น้ีมกี ารตดิ ต้ังกลอ งดกั ไอน้ํามนั ดา นซายลา งของหอ งเคร่ืองยนต นํา้ มนั เครอ่ื ง และเปลี่ยนใหมต ามความจาํ เปน เพอื่ ปองกนั การปลอยไอระเหยของน้ํามันเชอ้ื เพลงิ ออกไปสูบรรยากาศ กอ นจะใชร ถจกั รยานยนต ขอ แนะนาํ การเปล่ียนถา ยนา้ํ มนั เครอื่ ง (และไสกรอง คันนี้ ตองแนใ จวา ไดทําการตรวจสอบดงั ตอ ไปนี้: น้าํ มันเคร่อื งควรอยูร ะหวา งขดี บอกระดบั ตํา่ สุด นํ้ามนั เครือ่ ง) กับสงู สดุ  ตรวจสอบการเช่ือมตอ ทอ ยางแตละจดุ 1. ถอดบังลม A และฝาครอบ B (ดหู นา 7-9)  ตรวจสอบรอยแตกหรือความเสียหายของ 7-13 2. สตารทเครื่อง อุนเครอ่ื งสักพกั จากน้นั จงึ ทอ ยางและกลอ งดกั ไอน้ํามัน เปลี่ยน หาก ดับเครื่อง เสียหาย  ตรวจสอบใหแ นใ จวาชอ งระบายอากาศของ กลอ งดกั ไอน้าํ มันไมอุดตนั และทาํ ความ สะอาดตามความจาํ เปน

การบาํ รุงรักษาและการปรับตง้ั ตามระยะ 3. วางอางรับนาํ้ มันเคร่อื งไวใตเครอ่ื งยนตเพอ่ื ขอ แนะนาํ 1 รองรบั น้าํ มนั เคร่ืองท่ีใชแ ลว ขา มขน้ั ตอนที่ 5–7 หากไมมีการเปล่ยี นไสก รอง น้าํ มันเครือ่ ง 4. ถอดฝาปดชอ งเตมิ นา้ํ มนั เครอ่ื ง โบลทถา ย นํ้ามันเครอ่ื งและปะเกน็ ออกเพ่ือถาย 5. ถอดไสกรองน้าํ มันเครอ่ื งออกดว ยประแจถอด นํา้ มันเคร่อื งออกมาจากหอ งเคร่อื งยนต กรองน้ํามัน 1 1. โอริง 7 1. ฝาปด ชอ งเติมนํา้ มันเคร่ือง 1 ขอ แนะนาํ ตรวจสอบใหแ นใ จวาไดใ สโอริงเขาที่อยา งถกู ตอ ง 2 2 แลว 1 1. ไสก รองนา้ํ มนั เครอ่ื ง 7. ตดิ ตงั้ ไสก รองนา้ํ มนั เครอ่ื งอนั ใหมดว ย 1. โบลทถายนา้ํ มันเคร่ือง 2. ประแจถอดกรองนํา้ มนั ประแจถอดกรองน้าํ มัน แลว ขนั ตามแรงบดิ 2. ปะเก็น ท่ีกาํ หนดดวยประแจวัดแรงบิด ขอ แนะนาํ ประแจถอดกรองนา้ํ มันเครือ่ งมีจําหนา ยท่ีผูจําหนา ย ยามาฮา 6. ทานาํ้ มนั เคร่อื งสะอาดบางๆ ที่โอรงิ ของ ไสก รองนาํ้ มนั เครอ่ื งอันใหม 7-14

การบาํ รุงรักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ น้ํามนั เครอื่ งทแ่ี นะนํา: 1 น้ํามันเครือ่ งสงั เคราะห 2 10W-40, 15W-50 ปริมาณน้าํ มนั : การเปลี่ยนถา ยนํา้ มนั เคร่ือง: 3.90 ลิตร (4.12 US qt, 3.43 lmp.qt) มีการถอดกรองนํ้ามันเคร่ือง: 1 4.10 ลติ ร (4.33 US qt, 3.61 lmp.qt) 1. ประแจวัดแรงบิด ขอ แนะนาํ 1. ฝาปดชอ งเติมน้าํ มันเครอื่ ง คามาตรฐานแรงบิด: ตอ งแนใ จวาไดเ ชด็ คราบนาํ้ มนั บนช้ินสว นตา งๆ 2. โอริง ไสก รองนา้ํ มันเครือ่ ง: ออกหลังจากเครอ่ื งยนตและระบบไอเสียเยน็ ลงแลว 17 N·m (1.7 kgf·m, 13 lb·ft) 1. ตรวจสอบความเสียหายของโอรงิ ฝาปด ชอง UCA11621 เตมิ น้ํามันเครอ่ื ง และเปลย่ี นใหมต ามความ 8. ติดต้ังโบลทถ า ยนํ้ามันเคร่อื งและปะเกน็ จําเปน อนั ใหม แลว ขันโบลทต ามคา แรงบิดทก่ี ําหนด ขอ ควรระวงั 7 2. ใสฝ าปด ชอ งเติมน้ํามันเคร่ืองและบดิ ใหแ นน คามาตรฐานแรงบิด:  เพอื่ ปอ งกันไมใ หค ลัทชล ื่น (เนอ่ื งจากนา้ํ มัน 3. สตารทเครื่องยนต และปลอ ยใหเ ครื่องยนต โบลทถายนาํ้ มนั เคร่ือง: เครือ่ งจะหลอลื่นคลทั ชเชนกนั ) หา มผสมสาร 23 N·m (2.3 kgf·m, 17 lb·ft) เคมเี ตมิ แตง ใดๆ หามใชนา้ํ มนั ดีเซลทร่ี ะบุ เดนิ เบาสกั ครูพ รอมกบั ตรวจสอบวาไมมนี ํา้ มนั สําหรบั “CD” หรอื น้ํามันทมี่ คี ุณภาพสูง ร่ัวซมึ ออกมา หากมีนํา้ มันรั่วออกมา ใหด บั 9. เตมิ นาํ้ มันเครื่องทแี่ นะนําตามปริมาณที่กาํ หนด กวาทก่ี าํ หนด นอกจากนี้ หามใชนาํ้ มนั ท่ี เคร่ืองยนตท นั ทีและตรวจสอบสาเหตุ ตดิ ฉลาก “ENERGY CONSERVING II” หรือสูงกวา ขอแนะนํา หลงั จากสตารท เครือ่ งยนต ไฟเตือนแรงดนั นํ้ามัน  ระวงั ไมใ หส่งิ แปลกปลอมเขา ไปในหอง เครอ่ื งและอณุ หภมู ินํา้ ยาหลอเย็นควรจะดับลงหากมี เครือ่ งยนต ระดบั น้ํามันเครือ่ งเพยี งพอ 7-15

การบาํ รงุ รักษาและการปรับตง้ั ตามระยะ UCA22490 นาํ้ ยาหลอ เย็น UAUS1203 2. เมอ่ื รถอยใู นตําแหนงตง้ั ตรง ใหด ทู ร่ี ะดบั นํา้ ยา หลอ เย็นในถังพกั ขอควรระวัง 1 หากไฟเตอื นแรงดนั นาํ้ มนั เครื่องและอุณหภูมนิ ํ้ายา ควรตรวจวัดระดบั น้ํายาหลอเย็นเปน ประจาํ หลอ เย็นกะพรบิ หรอื สวา งคางแมวา ระดับนาํ้ มัน 2 เครอื่ งจะถูกตอง ใหดบั เครอื่ งยนตท นั ทแี ละใหผู นอกจากน้ี ตอ งเปลย่ี นนาํ้ ยาหลอ เยน็ ตามท่ีกําหนด จาํ หนา ยยามาฮาตรวจสอบรถจักรยานยนต ในตารางการบาํ รงุ รักษาตามระยะ 1. ขดี บอกระดับสูงสุด 2. ขดี บอกระดับตาํ่ สดุ 4. ดับเคร่อื งยนต รอสักครูจนกวา น้าํ มนั จะตก นาํ้ ยาหลอเยน็ ท่แี นะนาํ : ตะกอน จากน้ันตรวจสอบระดบั น้าํ มนั นาํ้ ยาหลอเยน็ YAMALUBE เครอ่ื งและเติมตามความจําเปน ปรมิ าณนํา้ ยาหลอเยน็ : 5. ตดิ ตง้ั บงั ลมและฝาครอบ ถงั พักน้าํ ยาหลอเย็น (ขีดบอกระดับสงู สดุ ): 0.25 ลิตร (0.26 US qt, 0.22 lmp.qt) หมอนํ้า (รวมในสายตา งๆ): 2.25 ลติ ร (2.38 US qt, 1.98 lmp.qt) 7 ขอแนะนาํ 3. หากระดบั น้าํ ยาหลอ เย็นอยูท ข่ี ีดบอกระดับ หากไมมนี ้าํ ยาหลอ เย็นของแทของยามาฮา ใหใชน ้ํายา ต่าํ สุดหรือตํา่ กวา ใหถ อดฝาปดถงั พกั นา้ํ ยา หลอ เย็นออก คาํ เตอื น! เปดเฉพาะฝาปดถงั พกั ตานการแข็งตัวเอธิลีนไกลคอลทีม่ สี ารยบั ย้ังการกัด นาํ้ ยาหลอเยน็ เทา นน้ั หามพยายามเปด ฝาปด กรอนสาํ หรับเคร่อื งยนตอ ะลูมิเนยี ม และผสมกบั นํา้ กลน่ั ทีอ่ ัตราสว น 1:1 หมอนาํ้ ในขณะทเี่ ครื่องยนตย ังรอ นอยู [UWA1562] การตรวจวดั ระดับนาํ้ ยาหลอเย็น UAU20097 เนื่องจากระดบั นา้ํ ยาหลอเย็นจะเปลยี่ นไปตามอุณหภมู ิ เครื่องยนต จึงควรตรวจวัดในขณะทเี่ คร่ืองยนตเ ย็น 1. จอดรถจกั รยานยนตบนพ้นื ราบ 7-16

การบํารงุ รกั ษาและการปรบั ตงั้ ตามระยะ 5. ติดตง้ั ฝาปด ถงั พกั นํ้ายาหลอเย็น ไสก รองอากาศ UAU36765 1 การเปลี่ยนนาํ้ ยาหลอ เยน็ UAU33032 ตองเปลยี่ นไสกรองอากาศตามระยะทีก่ ําหนดใน 1. ฝาปดถังพกั นา้ํ ยาหลอ เยน็ ตองเปลยี่ นนา้ํ ยาหลอ เย็นตามท่ีกาํ หนดในตาราง ตารางการบาํ รงุ รกั ษาและการหลอ ลื่นตามระยะ เปลย่ี นไสกรองอากาศโดยผูจ ําหนา ยยามาฮา 4. เตมิ นาํ้ ยาหลอ เย็นถึงขีดบอกระดบั สงู สดุ การบาํ รุงรักษาและการหลอ ลน่ื ตามระยะ ใหผ ู ขอ ควรระวงั : หากไมมนี ้ํายาหลอ เยน็ ใหใ ช นาํ้ กลั่นหรือน้าํ กอกที่ไมก ระดางแทน หามใช จําหนา ยยามาฮาทําการเปลย่ี นน้าํ ยาหลอ เยน็ ให นํา้ กระดา งหรือนา้ํ เกลือเนื่องจากจะเปน อันตรายตอเครื่องยนต หากใชน้าํ แทนนาํ้ ยา คาํ เตอื น! หา มพยายามเปด ฝาปดหมอ นํา้ ในขณะท่ี หลอ เย็น ใหเปลี่ยนกลับไปเปนนํา้ ยาหลอเย็น โดยเรว็ ทส่ี ดุ มฉิ ะน้ันระบบระบายความรอน เครอ่ื งยนตย ังรอ นอยู [UWA10382] จะไมส ามารถปองกันการแข็งตวั และการ กัดกรอนได หากเติมนํา้ ลงไปในนํ้ายาหลอ เยน็ 7 ใหผ จู ําหนายยามาฮาตรวจสอบความเขม ขน ของสารปองกันการแข็งตวั ในนํา้ ยาหลอเย็น โดยเรว็ ทส่ี ดุ มิฉะนั้นประสทิ ธิภาพของนํา้ ยา หลอเยน็ จะลดลง [UCA10473] 7-17

การบํารงุ รักษาและการปรับตัง้ ตามระยะ การตรวจสอบความเร็วรอบเครื่องยนต UAU44735 การตรวจสอบระยะฟรีปลอกคันเรง UAU21386 ระยะหา งวาลว UAU21403 เดินเบา วดั ระยะฟรีปลอกคนั เรงดังภาพ วาลว เปน สว นประกอบท่ีสําคญั ของเครอ่ื งยนต และ เนอ่ื งจากระยะหา งวาลว จะเปลย่ี นแปลงเมอ่ื ใชง าน ตรวจสอบความเร็วรอบเคร่ืองยนตเดนิ เบา และใหผ ู จงึ ตอ งทาํ การตรวจสอบและปรบั ตงั้ ตามท่ีกําหนด จําหนายยามาฮา ปรับแกใ หตามความจําเปน ไวในตารางการบํารุงรกั ษาตามระยะ วาลวท่ไี มไ ด ความเร็วรอบเคร่ืองยนตเดินเบา: ปรับตง้ั จะสงผลใหสวนผสมระหวางอากาศกบั น้าํ มัน 1,200–1,400 รอบ/นาที เช้ือเพลงิ ไมไ ดสัดสว น มีเสียงรบกวนของเคร่ืองยนต และเครอ่ื งยนตเสียหายในท่สี ุด เพอ่ื ปองกันปญหา 1 ดงั กลา ว ตองใหผจู าํ หนา ยยามาฮาตรวจสอบและ ปรบั ตง้ั ระยะหางวาลว ตามระยะเวลาสมาํ่ เสมอ 1. ระยะฟรีปลอกคันเรง ขอ แนะนาํ 7 ระยะฟรปี ลอกคนั เรง: ตอ งทําการบํารงุ รักษาเมอื่ เครื่องยนตเ ย็น 3.0–5.0 มม. (0.12–0.20 นิว้ ) ตรวจสอบระยะฟรีปลอกคนั เรงตามระยะท่กี ําหนด และใหผูจําหนายยามาฮาทาํ การปรับตง้ั ตามความ จําเปน 7-18

การบํารงุ รกั ษาและการปรบั ตัง้ ตามระยะ ยาง UAU70961 แรงดนั ลมยางขณะยางเยน็ : ควรตรวจสอบสภาพยางทุกครัง้ กอ นการขบั ขี่ หาก หนา: ความลกึ รอ งดอกยางบริเวณกงึ่ กลางถงึ คาท่ีกําหนด ยางเปนสิ่งเดียวทสี่ ัมผัสกับถนน ความปลอดภยั ใน 250 kPa (2.50 kgf/cm², 36 psi) หรือหากยางโดนเศษแกว ตะปู หรือมีการฉีกขาด ทุกสภาวะการขับข่ขี น้ึ อยกู บั สวนเลก็ ๆ ท่ีสมั ผสั กบั หลงั : ของแกมยาง ใหน ํารถไปเปลย่ี นยางท่ผี จู าํ หนาย ถนน นนั่ คอื ยาง ดังน้ันจงึ จาํ เปน ตอ งบํารุงรักษายาง 290 kPa (2.90 kgf/cm², 42 psi) ยามาฮา ทันที ใหอ ยใู นสภาพทีด่ ีตลอดเวลา และเปล่ยี นเม่ือถงึ เวลาท่เี หมาะสมดวยยางท่กี าํ หนด นาํ้ หนกั บรรทุกสูงสุด*: ความลึกรองดอกยางต่ําสุด (หนา และหลงั ): 187 กก. (412 ปอนด) 1.6 มม. (0.06 นว้ิ ) * นาํ้ หนกั รวมของผูข บั ขี่ ผูโดยสาร สมั ภาระ และอุปกรณตกแตง แรงดันลมยาง UWA10512 ขอแนะนํา ควรตรวจสอบแรงดันลมยางทุกคร้ังกอนการขบั ขี่ ขดี จาํ กดั ความลกึ รองดอกยางอาจแตกตางกันในแต และปรบั ตามความจําเปน คําเตอื น ละประเทศ ปฏบิ ตั ิตามกฎขอ บงั คับของทอ งถน่ิ เสมอ UWA18370 หา มบรรทกุ น้าํ หนักมากเกินไป การใชงานรถ จกั รยานยนตท ม่ี ีนาํ้ หนกั บรรทุกมากเกนิ ไปอาจ คาํ เตอื น ทําใหเกดิ อุบตั ิเหตุได UWA10472  การใชรถจักรยานยนตโ ดยทแ่ี รงดนั ลมยางไม คําเตอื น 7 ถกู ตอ งอาจทําใหส ูญเสียการควบคมุ จนเกิด การบาดเจ็บสาหัสหรือถงึ แกชวี ิตได การตรวจสอบสภาพยาง  ใหผูจําหนายยามาฮาเปลย่ี นยางทส่ี กึ หรอให รถของทา น การขับขร่ี ถจกั รยานยนตท ยี่ างสึก  การตรวจสอบและการปรับแรงดนั ลมยางตอ ง มากเกนิ ไปไมเ พียงผิดกฎหมาย แตย ังทาํ ให ทําขณะที่ยางเย็น (เมือ่ อณุ หภูมขิ องยางเทา กบั เสถียรภาพในการขบั ขลี่ ดลงและทาํ ใหสญู เสีย อุณหภูมโิ ดยรอบ) การทรงตัวได  การเปลีย่ นชิ้นสวนทเี่ ก่ียวขอ งกับเบรคและลอ ทง้ั หมด รวมถึงยาง ควรใหผ จู าํ หนายยามาฮา ท่มี คี วามรูความชาํ นาญเปนผูดําเนนิ การ 1. แกม ยาง 2. ความลึกรองดอกยาง 7-19

การบํารงุ รักษาและการปรับตง้ั ตามระยะ  ขับขร่ี ถจกั รยานยนตด วยความเร็วปานกลาง รว มดวย เปน ส่งิ ที่บงถึงการเสอ่ื มสภาพตามอายุ ยางหนา: หลังจากเปลี่ยนยางใหมๆ เนอ่ื งจากตอ งรอให จงึ ควรตรวจสอบอายุของยางทเ่ี กา เก็บโดยผูเชย่ี วชาญ ขนาด: หนา ยางเขา ท่ี (broken in) กอน เพ่ือใหใ ชย าง เพื่อใหแนใจวายางมีความเหมาะสมท่จี ะใชตอ ไป 120/70 ZR17MC (58W) ไดเ ตม็ ประสทิ ธิภาพ ผผู ลิต/รุน: UWA10482 BRIDGESTONE/BATTLAX RACING ขอ มลู เกยี่ วกบั ยาง STREET RS10F คาํ เตอื น 7 ยางหลัง: 1. วาลวลมยาง  ยางหนา และยางหลงั ของรถจกั รยานยนตค วร ขนาด: 2. ไสวาลว ลมยาง เปนยางยี่หอและรูปแบบเดียวกัน มฉิ ะน้นั 190/55 ZR17M/C (75W) (YZF-R1) 3. จุกปด วาลว ลมยางพรอมซลี สมรรถนะในการบังคับรถอาจลดลง ซงึ่ 200/55 ZR17M/C (78W) (YZF-R1M) สามารถนําไปสกู ารเกิดอุบัตเิ หตไุ ด ผผู ลิต/รุน: รถจักรยานยนตรุนนใี้ ชย างแบบไมม ยี างในและ BRIDGESTONE/BATTLAX RACING วาลว ลมยาง  ตรวจสอบใหแ นใ จทุกครง้ั วา ไดใ สจกุ ปด วาลว STREET RS10R ยางมีการเส่ือมสภาพตามอายุ แมวาจะไมไ ดใช ลมยางแนน สนทิ แลวเพื่อปองกนั แรงดัน งานหรือใชใ นบางโอกาส การแตกของดอกยาง ลมยางรวั่ ยางหนาและยางหลัง: และแกม ยาง ซึง่ บางคร้งั มีการเสยี รปู ของโครงยาง วาลวลมยาง:  ใชเฉพาะวาลวลมยางและไสว าลว ท่ีอยใู น TR412 รายการตอ ไปน้เี พอื่ ปองกันยางแบนในระหวา ง ไสว าลว: การขบั ขด่ี วยความเร็วสงู #9100 (ของแท) หลังจากการทดสอบอยา งละเอยี ด รายชอื่ ยางตอ ไปนี้ UWA10601 เทานนั้ ท่ไี ดรบั การยอมรับจากบรษิ ทั ไทยยามาฮา มอเตอร จาํ กัด วา สามารถใชกบั รถจกั รยานยนต คําเตอื น ยามาฮารุนนีไ้ ด รถจกั รยานยนตคนั นต้ี ดิ ตงั้ ยางความเร็วสูง ปฏบิ ตั ติ าม รายการตอ ไปนี้เพ่อื การใชย างอยางมปี ระสทิ ธภิ าพมาก ทสี่ ุด  ใชเฉพาะยางอะไหลทกี่ าํ หนดเทา นนั้ ยางชนดิ อ่นื อาจมอี ันตรายจากการระเบิดเมอ่ื ขบั ขดี่ ว ย ความเรว็ สงู 7-20

การบาํ รุงรักษาและการปรบั ตง้ั ตามระยะ  ยางใหมอ าจยึดเกาะไมค อยดใี นบางพ้ืนผวิ ถนน ลอแม็ก UAU66460  ตรวจสอบรอยบากและรอยขดี ขว นบนลอ จนกวา หนา ยางจะเขา ท่ี (broken in) ดงั นนั้ เปนประจํา ใชสีแตม หรอื ซีลแลนทอ ื่นๆ เพื่อ กอนขับขด่ี วยความเร็วสงู จึงควรขบั ขใ่ี หได เพ่ือใหร ถจกั รยานยนตของทา นมสี มรรถนะในการ ปอ งกันการกดั กรอน ระยะทางประมาณ 100 กม. (60 ไมล) หลังจาก ตดิ ต้ังยางใหม ขับขี่สงู มีความทนทานและปลอดภัย ทา นควรคาํ นึง  ปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนําสาํ หรบั การทําความสะอาด ถึงจุดท่ีสาํ คญั เกยี่ วกบั ลอ รถดังตอไปน้ี ท่ีใหไวใ นหนา 8-1  ตอ งอุนเคร่ืองยางกอนการขับขดี่ ว ยความ เร็วสูง  ควรตรวจสอบรอยแตก ความโคงงอ การบิดงอ 7  ปรบั แรงดันลมยางใหเหมาะกบั สภาพการใชงาน หรอื ความเสียหายของวงลอ กอ นขบั ขที่ กุ ครง้ั เสมอ หากพบวาลอ ชํารดุ ใหน ํารถจกั รยานยนตเขา รับ การเปลย่ี นลอโดยผจู ําหนายยามาฮา อยา พยายามซอ มแซมลอ รถดวยตนเอง แมจ ะเปน การซอ มแซมเลก็ ๆ นอยๆ ก็ตาม ลอ รถทมี่ ีการ เสยี รูปทรงหรือรอยแตกจะตอ งเปลยี่ นใหม  ควรทาํ การต้งั ศนู ยลอทกุ ครง้ั ที่มีการเปล่ียนลอ หรือยาง ลอ ทไี่ มไ ดศ ูนยอ าจทาํ ใหส มรรถนะ แยลง การบงั คบั ควบคมุ ลดลง และอายุของ ยางสัน้ ลง ลอเหลา น้ที ําจากแมกนีเซยี มและตองการการดแู ล เปนพเิ ศษ  ในการตั้งศนู ยลอ ใหใ ชตมุ ถว งแบบติดเพอ่ื หลกี เล่ียงการขดี ขวนลอ 7-21

การบาํ รงุ รักษาและการปรับตง้ั ตามระยะ การปรับต้ังระยะฟรีคนั คลัทช UAU67342 ขอ แนะนาํ 1 2 (b) หากยังไมไดระยะฟรีคนั คลัทชท ่กี าํ หนดตามทอี่ ธิบาย วดั ระยะฟรีคันคลัทชด งั ภาพ (a) ไวด านบน ใหทําตามขนั้ ตอนตอไปนี้ (a) 1 (b) 1. หมุนโบลทปรบั ตั้งท่ีคันคลทั ชไ ปในทิศทาง (a) 1. นัทลอ็ ค 2 จนสดุ เพ่ือคลายสายคลทั ช 2. นัทปรับต้ังระยะฟรคี ันคลทั ช 1. โบลทปรับตั้งระยะฟรีคนั คลทั ช 2. ถอดบงั ลม B (ดูหนา 7-9) 5. ขนั แนน นทั ล็อค 2. ระยะฟรคี นั คลทั ช 3. คลายนทั ล็อคลงมาตามสายคลทั ช 6. ติดต้งั บงั ลม 4. ในการเพ่มิ ระยะฟรีคนั คลทั ช ใหหมนุ นัท ปรบั ตง้ั ระยะฟรีคันคลทั ชไปในทิศทาง (a) ในการลดระยะฟรคี ันคลทั ช ใหห มนุ นทั ปรบั ตัง้ ไปในทิศทาง (b) 7 ระยะฟรคี ันคลทั ช: 10.0–15.0 มม. (0.39–0.59 นวิ้ ) ตรวจสอบระยะฟรีคันคลัทชต ามระยะท่ีกาํ หนด และปรบั ตงั้ ตามขนั้ ตอนตอ ไปนีต้ ามความจําเปน ในการเพ่ิมระยะฟรคี นั คลทั ช ใหห มุนโบลทป รบั ตัง้ ระยะฟรคี ันคลทั ชท อี่ ยูบนคันคลทั ชไปในทิศทาง (a) ในการลดระยะฟรีคนั คลทั ช ใหห มุนโบลทปรบั ตง้ั ไปในทศิ ทาง (b) 7-22

การบาํ รุงรกั ษาและการปรบั ตงั้ ตามระยะ การตรวจสอบระยะฟรคี ันเบรคหนา UAU37914 ซง่ึ อาจสง ผลใหสญู เสยี การควบคุมและกอ ใหเ กดิ สวิทชไ ฟเบรค UAU36505 อบุ ัตเิ หตุ ไฟเบรคควรสวา งข้ึนกอ นการเบรคจะทํางานเล็กนอ ย ไฟเบรคจะถกู กระตุนการทํางานโดยสวทิ ชท เี่ ชอื่ มตอ กับคนั เบรคหนา และคันเบรคหลงั เนอื่ งจากสวิทช 1 ไฟเบรคเปน สวนประกอบของระบบเบรคปอ งกนั ลอลอ็ ค จึงควรทําการบํารงุ รักษาโดยผูจําหนา ย ยามาฮาเทานัน้ 1. ไมม รี ะยะฟรคี นั เบรคหนา ไมควรมรี ะยะฟรีท่ปี ลายคนั เบรคหนา หากมีระยะฟรี 7 โปรดใหผ จู ําหนายยามาฮา ตรวจสอบระบบเบรค UWA14212 คาํ เตอื น คันเบรคที่ออนหรือหยุน อาจบงบอกถงึ การทาํ งาน ของระบบไฮดรอลิกในเบรคหนา วา มอี ากาศเขา ไป จึงควรใหผ ูจําหนา ยยามาฮา ทําการไลลม (ไลฟอง อากาศ) ออกจากระบบไฮดรอลกิ กอนใชงานรถ จกั รยานยนต เนอื่ งจากฟองอากาศทอี่ ยใู นระบบ ไฮดรอลิกจะทาํ ใหส มรรถนะในการเบรคลดลง 7-23

การบํารงุ รกั ษาและการปรับตั้งตามระยะ การตรวจสอบผา เบรคหนาและผา เบรคหUAลU2งั 2393 ผาเบรคหลัง UAU48071 การตรวจสอบระดบั นํ้ามันเบรค UAU22583 1 ตองตรวจสอบความสกึ ของผาเบรคหนา และผา เบรค กอ นขบั ขี่ ใหตรวจสอบวานาํ้ มนั เบรคอยูเ หนอื ขีด หลงั ตามระยะทีก่ ําหนดในตารางการบํารุงรักษาและ การหลอ ลน่ื ตามระยะ บอกระดบั ตา่ํ สุด ตรวจสอบระดบั น้ํามนั เบรคโดยให กระปกุ น้ํามันเบรคอยูในตําแหนงตั้งตรง เติมนา้ํ มนั 1 เบรคตามความจาํ เปน ผา เบรคหนา UAU36891 นํา้ มนั เบรคท่ีกาํ หนด: DOT 4 UCA17641 1. รองบอกพกิ ัดความสกึ ของผาเบรค ขอควรระวงั ผา เบรคหลงั แตละชนิ้ จะมีรองบอกพิกดั ความสกึ นาํ้ มนั เบรคอาจทาํ ใหพ้ืนผวิ สีหรอื ชิ้นสว นพลาสตกิ ของผาเบรค เพอื่ ใหผ ูใ ชส ามารถตรวจสอบความสกึ เสียหายได จึงตอ งทําความสะอาดน้ํามันเบรคทหี่ ก 7 1 ของผาเบรคไดโ ดยไมตอ งถอดแยกชนิ้ สว นของเบรค ทนั ทีทกุ คร้งั 1. เข็มบอกพกิ ดั ความสกึ ของผาเบรค ซึง่ การตรวจสอบความสกึ ของผา เบรค ใหด ทู รี่ องบอก เบรคหนา พกิ ดั ความสกึ หากผา เบรคสึกจนเกือบเห็นรองบอก พกิ ัดความสึกของผาเบรค ใหผ จู าํ หนายยามาฮาเปลยี่ น ผา เบรคหนา แตละช้ินจะมเี ข็มบอกพิกดั ความสึก ผาเบรคท้ังชดุ เพ่อื ใหผ ูใชส ามารถตรวจสอบความสกึ ของผาเบรคได โดยไมตอ งถอดแยกชน้ิ สวนเบรค ในการตรวจสอบ ความสกึ ของผาเบรค ใหต รวจสอบตําแหนงของเข็ม บอกพกิ ัดความสกึ ขณะใชเบรค หากผา เบรคสกึ จนเห็นเข็มบอกพิกดั ความสกึ เกือบถงึ ดสิ กเบรค ควร 1 ใหผจู าํ หนายยามาฮาเปล่ยี นผา เบรคใหใ หมท ้ังชุด 1. ขีดบอกระดับต่ําสุด 7-24


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook