Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 150311_สึนามิ

150311_สึนามิ

Published by kru_leed, 2020-10-18 05:42:00

Description: 150311_สึนามิ

Search

Read the Text Version

สึนามิ ภูเกต็ จดั ทาโดย นายอศั ม์เดช อนิ ทชัย เลขที่ 3 ช้ันม.5/4 นางสาวสุรีย์นิภา ป้ันปลือ เลขที่ 27 ช้ันม.5/4 โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต41 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ก รายงาน เร่ืองสึนามิ ภูเกต็ เสนอ ครูจิระวฒั น์ โรจนศิลป์ จดั ทาโดย นายอศั มเ์ ดช อินทชยั เลขที่ 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/4 นางสาวสุรียน์ ิภา ป้ันปลือ เลขท่ี 27 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5/4 รายงานส่วนน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ า ส32101 สงั คมศึกษา 3 โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา อาเภอปางศิลาทอง จงั หวดั กาแพงเพชร สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 41 กาแพงเพชร

ข คานา รายงานน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นส่ือในการเรียนการสอนในรายวชิ าสงั คมศกึ ษา 3 ส32101 ในรายงานเล่มน้ีจะประกอบดว้ ยที่มาของสึนามิ สถานท่ีเกิด ภาพแผนที่ท่ีไดร้ ับ ความเสียหาย สรุปผเู้ สียชีวติ อน่ึงผจู้ ดั ทารายงานเล่มน้ีหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชนแ์ ก่ผทู้ ่ีมา ศกึ ษาความรู้ดา้ นสึนามิที่ใชใ้ นการศึกษาต่อยอดความรู้เป็นอยา่ งยง่ิ นายอศั มเ์ ดช อินทชยั เลขที่ 3 ช้นั ม.5/4 นางสาวสุรียน์ ิภา ป้ันปลือ เลขที่ 27 ช้นั ม.5/4 ผจู้ ดั ทา

สารบญั ค เรื่อง หน้า ปกนอก ปกใน ก คานา ข สารบญั ค จุดเริ่มตน้ สึนามิ 1 ภาพแสดงศูนยก์ ลางของการเกิดสึนามิ 2 ความเสียหายดา้ นชีวติ และทรัพยส์ ิน 3 แผนที่แสดงจงั หวดั ที่ไดร้ ับผลกระทบจากสึนามิ 4 ความเสียหายดา้ นเศรษฐกิจ 5 ความเสียหายดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 7 สรุปผเู้ สียชีวติ ในประเทศไทย 8 สรุป 9 บรรณานุกรม 10

1 จุดเร่ิมต้นสึนามิ 26 ธ.ค.2547 เกิด \"สึนามิ\" โศกนาฏกรรมคลื่นยกั ษ์ มีจุดเริ่มตน้ เมื่อเวลา 07.58 น. วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2547 (ตามเวลาประเทศไทย) เกิดแผน่ ดินไหวอยา่ งรุนแรง ศนู ยก์ ลางอยบู่ ริเวณตะวนั ตก เฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ห่างจากจงั หวดั ภูเกต็ ประมาณ 580 กิโลเมตร ที่ละติจูด 3.4 องศาเหนือ ลองจิจูด 95.7 องศา ตะวนั ออก ขนาดความรุนแรง 8.9 ส่งผลกระทบเกือบทุกจงั หวดั ในภาคใต้ รวมถึงอาคารสูงหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร ต่อมาเวลา 08.30 น. เกิดแผน่ ดินไหวรู้สึกไดอ้ ีกคร้ัง ศูนยก์ ลางอยบู่ ริเวณรัฐฉาน ประเทศพม่า ห่างจากจงั หวดั เชียงใหม่ ประมาณ 200 กิโลเมตร ที่ละติจูด 20.76 องศาเหนือ 98.04 องศาตะวนั ออก มีขนาดประมาณ 6.4 ริกเตอร์ ทาใหเ้ กิดความสน่ั สะเทือนในหลายจงั หวดั ภาคเหนือ ไดแ้ ก่ ลาปาง เชียงใหม่ เชียงราย และแม่ฮ่องสอน แผน่ ดินไหวท่ีมีจุดศูนยก์ ลางบริเวณเกาะสุมาตรา ท่ีเกิดข้ึนใตน้ ้าน้ีเอง ไดก้ ่อใหเ้ กิดคล่ืนน้า ขนาดใหญ่ ที่เรียกวา่ ‘สึนามิ’ (TSUNAMI) หรือคล่ืนอ่าวเรือ หรือคลื่นชายฝ่ัง ส่งผลกระทบต่อ สถานที่ท่องเที่ยว บริเวณชายฝ่ังไม่วา่ หาดป่ าตอง หาดกมลา หาดกะรน รวมถึงหาดในยาง ซ่ึงเป็น ท่ีต้งั ของสนามบินนานาชาติภูเกต็ รวมถึงประเทศอินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลงั กา มาเลเซีย อยา่ งรุนแรง

2 ภาพแสดงศูนย์กลางของการเกดิ สึนามิ

3 ความเสียหายด้านชีวติ และทรัพย์สิน จากรายงานเบ้ืองตน้ เมื่อวนั ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2548 หลงั การเกิดพบิ ตั ิภยั คลื่นสึนามิได้ 15 วนั ไดร้ ะบุจานวนของผเู้ สียชีวติ ผบู้ าดเจบ็ และผสู้ ูญหาย ไวใ้ นตารางขา้ งล่างน้ี จะเห็นไดว้ า่ จานวนผเู้ สียชีวติ ท่ีเป็นคนต่างชาติมีถึง 1240 คน จากจานวนผเู้ สียชีวติ ท้งั หมด 5390 คน นอกจากน้ี ยงั มีผเู้ สียชีวติ ท่ีไม่ทราบวา่ เป็นคนไทยหรือคนต่างชาติอีก 2341 คน ส่วนผสู้ ูญ หายจานวนท้งั หมด 3370 คน น้นั ไดม้ าจากการรับแจง้ ต่อทางราชการจากญาติพี่นอ้ งของ ผปู้ ระสบภยั ภายหลงั การเกิดเหตุ ต่อมา จานวนดงั กล่าวน้ีลดลง เพราะไดพ้ บผทู้ ่ีรับแจง้ วา่ สูญหาย บางคนแลว้ นอกจากน้ี ยงั มีการคน้ พบศพผเู้ สียชีวติ เพมิ่ ข้ึน รวมท้งั มีการตรวจสอบเอกลกั ษณ์ของ ศพ ท่ีเกบ็ รักษาไว้ เพือ่ ใหท้ ราบวา่ เป็นผใู้ ด ในรายงานของกระทรวงมหาดไทยท่ีเสนอต่อ คณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2548 หลงั เกิดเหตุการณ์คล่ืนสึนามิได้ 3 เดือนเศษ ไดม้ ีการ เปล่ียนแปลงตวั เลขผเู้ สียชีวติ ผบู้ าดเจบ็ และผสู้ ูญหาย แยกเป็นคนไทยและคนต่างชาติดงั น้ี นอกจากจะมีผเู้ สียชีวติ บาดเจบ็ และสูญหายเป็นจานวนมากแลว้ ยงั มีความเสียหายที่เกิด ข้ึนกบั ทรัพยส์ ิน เป็นจานวนมากเช่นกนั ไดแ้ ก่ อาคารของโรงแรมขนาดใหญ่ ท่ีพกั ของนกั ท่องเที่ยว ประเภทบงั กะโล และเกสตเ์ ฮาส์ ร้านคา้ และร้านอาหารบริเวณชายหาด บา้ นเรือนของราษฎรที่มี อาชีพทางการประมง ทรัพยส์ ินส่วนตวั ของนกั ท่องเท่ียวที่ประสบภยั ยานพาหนะ เรือประมง และ เรือของหน่วยงานราชการ ตลอดจนสาธารณูปโภคของทอ้ งถ่ิน เช่น ไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์ ถนน หนทาง ความเสียหายท่ีเกิดข้ึน กบั ทรัพยส์ ินเหล่าน้ี ถา้ คิดเป็นมูลค่าแลว้ มีจานวนหลายพนั ลา้ นบาท

4 แผนที่แสดงจงั หวดั ทไี่ ด้รับผลกระทบจากสึนามิ

5 ความเสียหายด้านเศรษฐกจิ ความเสียหายดา้ นเศรษฐกิจท่ีสาคญั ท่ีสุดคือ อุตสาหกรรมการท่องเท่ียว เนื่องจาก บริเวณท่ี ไดร้ ับพบิ ตั ิภยั หลายแห่งเป็นสถานที่ท่องเท่ียวท่ีไดร้ ับความนิยมมาก มีการลงทุนสร้างโรงแรมที่พกั ในระดบั ต่างๆ รวมท้งั ส่ิงอานวยความสะดวกแก่นกั ท่องเท่ียว นอกจากจะเสียหายในดา้ นทรัพยส์ ิน แลว้ การหยดุ กิจการของธุรกิจต่างๆ ที่ประสบพิบตั ิภยั ยงั ทาใหบ้ ุคลากรเป็นจานวนมากตอ้ งสูญเสีย รายได้ ไม่วา่ จะเป็นเจา้ ของกิจการเอง หรือพนกั งานลูกจา้ งของกิจการน้นั ๆ ถึงแมว้ า่ กิจการอื่นๆ ท่ีไม่ ประสบพิบตั ิภยั โดยตรงยงั สามารถดาเนินงานอยไู่ ด้ กอ็ าจมีปัญหาการขาดแคลนลูกคา้ เนื่องจาก นกั ท่องเที่ยวเกิดความเกรงกลวั ไม่กลา้ เดินทางมาเส่ียงภยั อีก ปรากฏวา่ ภายหลงั การเกิดภยั คลื่นสึนา มิ จานวนนกั ท่องเที่ยวใน 6 จงั หวดั ภาคใตไ้ ดล้ ดลงอยา่ งเห็นไดช้ ดั จงั หวดั ท่ีไดร้ ับผลกระทบมาก ท่ีสุด คือ ภูเกต็ พงั งา และกระบ่ี ซ่ึงเป็นจงั หวดั ที่มีนกั ท่องเที่ยวเสียชีวติ และบาดเจบ็ มากท่ีสุด โดยรวมแลว้ แหล่งท่องเท่ียว ท่ีประสบความเสียหายมาก มี 8 แห่งดงั น้ี คือ  ชายทะเลเขาหลกั ในอุทยานแห่งชาติเขาหลกั - ลารู่ ตาบลคึกคกั อาเภอตะกว่ั ป่ า จงั หวดั พงั งา เป็นจุดที่นกั ท่องเที่ยวเสียชีวติ และบาดเจบ็ มากท่ีสุด เน่ืองจากเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีสาคญั มี โรงแรม และที่พกั นกั ท่องเท่ียวต้งั อยเู่ ป็นจานวนมาก  เกาะสิมิลนั อาเภอตะกวั่ ป่ า จงั หวดั พงั งา  หาดราไวย์ ตาบลราไวย์ อาเภอเมืองฯ จงั หวดั ภูเกต็  หาดกะรน ตาบลกะรน อาเภอเมืองฯ จงั หวดั ภูเกต็  หาดกะทู้ ตาบลกะทู้ อาเภอกะทู้ จงั หวดั ภูเกต็  หาดกมลา ตาบลกมลา อาเภอกะทู้ จงั หวดั ภูเกต็  หาดป่ าตอง ตาบลป่ าตอง อาเภอกะทู้ จงั หวดั ภูเกต็  เกาะพพี ี อาเภออ่าวนาง จงั หวดั กระบี่

6 นอกจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ความเสียหายดา้ นเศรษฐกิจที่สาคญั อีกอยา่ งหน่ึงคือ การ ประมง เน่ืองจาก มีหมู่บา้ นประมงหลายแห่งไดร้ ับความเสียหายจากภยั คลื่นสึนามิ ท้งั ในดา้ นอาคาร บา้ นเรือน และเรือประมง ที่ใชใ้ นการประกอบอาชีพ หมู่บา้ นประมงที่ไดร้ ับความเสียหายมาก คือ บา้ นน้าเคม็ ซ่ึงต้งั อยทู่ ่ี ปากคลองปากเกาะ ในอ่าวแหลมป้อม ตาบลบางม่วง อาเภอตะกวั่ ป่ า จงั หวดั พงั งา และที่บา้ นสุขสาราญ ตาบลกาพวน กิ่งอาเภอสุขสาราญ จงั หวดั ระนอง

7 ความเสียหายด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม คล่ืนสึนามิที่ซดั เขา้ สู่ฝ่ังดว้ ยพลงั แรง และมีระดบั ยอดคลื่นสูงหลายเมตร ยอ่ มก่อใหเ้ กิดความ เสียหาย แก่ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มบนชายฝ่ังไดม้ าก ซ่ึงไม่สามารถประเมินค่าเป็นตวั เงินได้ ตวั อยา่ ง ของความเสียหายท่ีสาคญั ๆ ไดแ้ ก่ ความเสียหายของปะการังใตน้ ้า ซ่ึงถูกคล่ืนกระแทกแตกหกั เสียหาย หรือถูกตะกอนและวสั ดุ ต่างๆ ที่น้าพดั พามาจากทอ้ งทะเลและบนพ้นื ดิน ทบั ถมกนั บนส่วนยอดของปะการัง ความเสียหายของป่ าชายเลนที่ถูกคลื่นซดั จนหกั โค่น หรือหลุดลอยไปกบั มวลน้า การเปลี่ยนแปลงของแนวชายหาด โดยบางส่วนถดถอยเขา้ มาในบริเวณชายฝ่ัง เน่ืองจาก การ กดั เซาะของพลงั คล่ืน และบางส่วนอาจรุกล้าออกไปในทะเลจากการทบั ถมของตะกอนที่น้าพดั พา มา การเปลี่ยนแปลงของบริเวณปากแม่น้า ซ่ึงอาจขยายกวา้ งออกหรือเคล่ือนที่ไปจากเดิม เนื่องจาก พลงั การกดั เซาะของคลื่น และการเปล่ียนเสน้ ทางน้าไหลจากปากน้าออกสู่ทะเล การมีซากปรักหกั พงั ของสิ่งก่อสร้างตามบริเวณชายหาด ซ่ึงทาใหเ้ กิดความสกปรกรกรุงรัง รวมท้งั มีเศษขยะต่างๆ ที่คลื่นซดั มากองไวเ้ ป็นจานวนมาก

8 สรุปผ้เู สียชีวติ ในประเทศไทย

9 สรุป แผน่ ดินไหวที่มีจุดศูนยก์ ลางบริเวณเกาะสุมาตรา ท่ีเกิดข้ึนใตน้ ้าน้ีเอง ไดก้ ่อใหเ้ กิดคลื่นน้า ขนาดใหญ่ ท่ีเรียกวา่ ‘สึนามิ’ (TSUNAMI) หรือคล่ืนอ่าวเรือ หรือคล่ืนชายฝั่ง ส่งผลกระทบต่อ สถานท่ีท่องเท่ียว บริเวณชายฝั่งไม่วา่ หาดป่ าตอง หาดกมลา หาดกะรน รวมถึงหาดในยาง ซ่ึงเป็น ที่ต้งั ของสนามบินนานาชาติภูเกต็ รวมถึงประเทศอินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลงั กา มาเลเซีย อยา่ งรุนแรง สาหรับประเทศไทย ถือเป็นเหตุการณ์ ‘สึนามิ’ คร้ังแรก และร้ายแรงเกินจะนึกฝัน เหตุการณ์สึนามิไทย ท่ีภูเกต็ พงั งา ระนอง กระบ่ี ตรัง และสตูล ทาใหม้ ีผเู้ สียชีวติ ประมาณ 5,400 คน บาดเจบ็ กวา่ 8,000 คน และสูญหายอีกจานวนมาก บา้ นเรือนประชาชน รีสอร์ต และโรงแรม ตลอดจนระบบสาธารณูปโภคต่างๆ อาทิ ไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์ ถนน มูลค่าความเสียหายหลายพนั ลา้ นบาท

10 บรรณานุกรม จุดเร่ิมตน้ สึนามิ.เขา้ ถึงไดท้ ี่ https://www.khaosod.co.th. เม่ือวนั ท่ี 18 ตุลาคม 2563. วารสารอุตุนิยมวทิ ยา ป่ี ที่ 14 ฉบบั ที่ 1 ประจาเดือนมกราคม-เมษายน 2557


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook