Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 151583_ภัยพิบัติทางธรรมชาติ-pm-2.5

151583_ภัยพิบัติทางธรรมชาติ-pm-2.5

Published by kru_leed, 2020-10-19 12:33:35

Description: 151583_ภัยพิบัติทางธรรมชาติ-pm-2.5

Search

Read the Text Version

1

2 รายงาน เรือ่ ง คา ฝนุ p.m. 2.5 จงั หวัดเชยี งใหม เสนอ ครู จริ ะวัฒน โรจนศลิ ป จัดทําโดย นางสาวชนัญชิดา พดั นาค เลขท่ี 24 นางสาวมาลินี ดวงสแี กว เลขที่ 26 ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 5/1 รายงานเลม นเี้ ปน สวนหนึง่ ของวิชา ส32101 สังคมศกึ ษา 3 โรงเรียนปางศลิ าทองศกึ ษา อาํ เภอปางศลิ าทอง จงั หวดั กาํ แพงเพชร สํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 41 จังหวดั กาํ แพงเพชร

3 คาํ นาํ รายงานนี้จดั ทําข้ึนเพื่อเปนส่ือในการเรียนการสอนในรายวิชาสังคมศึกษา ส 32101 ในรายงานเลมนี้จะประกอบไปดวยการไขวิกฤต p.m 2.5 การปองกันการเกิดฝุน p.m. 2.5 และการ รบั มอื p.m 2.5 ของประเทศตา งๆ รวมถงึ ผลกระทบที่เกดิ ข้นึ อน่ึงผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูท่ีสนใจเกี่ยวกับ คาฝุน p.m. 2.5 จงั หวัดเชยี งใหม เพื่อใชใ นการศกึ ษา และตอยอดความรูเปน อยางย่งิ ผูจดั ทาํ 10 ตุลาคม 2563

สารบญั 4 เรอื่ ง หนา ปกนอก ปกใน 2 คาํ นํา 3 สารบัญ 4 ไขวกิ ฤต p.m. 2.5 จังหวดั เชยี งใหม 5 7 วิธปี อ งกนั ฝุน p.m. 2.5 9 9 การรบั มือ p.m. 2.5 ดวยวธิ กี ารของตางประเทศ 9 9 ประเทศอังกฤษ 10 10 กรงุ โซล ประเทศเกาหลใี ต 10 10 กรุงมาดรดิ ประเทศสเปน 11 12 กรงุ ปารีส ประเทศฝร่งั เศส กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวเี ดน ประเทศจนี ประเทศไทย สรุปการปองกนั และการรบั มือ p.m. 2.5 ของแตล ะประเทศ บรรณานกุ รม

5 ไขวิกฤต p.m. 2.5 จงั หวัดเชียงใหม ปญหาฝุนละอองขนาดเล็กเกินคามาตรฐาน PM 2.5 ที่ปกคลุมท่ี จ.เชียงใหม จนอยูภาวะ วิกฤตตอเน่ืองรว ม 2 เดือน โดยไมมีทีทาวา จะบรรเทาเบาบางลง สถานการณหนักหนาสาหัสถึงขนาดมองไมเห็นแมแตวัดพระธาตุดอยสุเทพ สัญลักษณคูบานคูเมือง เชียงใหม และเปนแลนดมารคของเมือง ซึ่งถือเปนหมุดหมายแหงการทองเที่ยวสูงสุดของจังหวัด ภาคเหนอื อกี ดวย แตวันน้ีเมืองเชียงใหมกลับจมหายไปอยูใตการปกคลุมของฝุนละออง PM 2.5 โดยไมรูวาจะรองหา ความชว ยเหลือจากใคร วิกฤตหมอกควันในพ้ืนท่ีเชียงใหมไมไดสงผลกระทบแคสุขภาพประชาชนเทาน้ัน แตกําลัง ทาํ ลายบรรยากาศการทอ งเท่ยี วและเศรษฐกิจโดยรวมใหคอ ยๆ ยอ ยยับดวย ดังน้ันคําถามใหญในวันนี้ จะทําอยา งไรใหคนท่ีอาศัยอยใู นเชยี งใหมไ ดอ ากาศบริสุทธ์ิกลบั คืนมา รศ.ดร.พิสุทธ์ิ เพียรมนกุล อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมส่ิงแวดลอม คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั ช้แี นะการแกไ ขปญหาไวอยางนาคบคิดวา สถานการณฝุน PM 2.5 ท่ี จ.เชียงใหม เกิดมาจาก 4 ปจจัยรวมกัน คือ 1.แหลงกําเนิดที่กอใหเกิดมลพิษฝุนละออง มี สาเหตุหลักจากการเผาในท่ีโลง 2.สภาพอากาศฝนตกนอยอากาศแลงเปนตัวการทําใหเกิดฝุนละออง ย่ิงชวงท่ีผานมาอากาศรอนที่กดทับชั้นบรรยากาศทําใหฝุนควันสะสมในพื้นท่ี ประกอบกับในชวง สภาพอากาศในฤดูหนาวท่ีช้ันความเย็นกดตํ่าทําใหฝุนไมสามารถลอยสูงหรือระบายออกได 3.สภาพ พ้ืนท่ีภูเขาสูงโอบลอมเปนหุบเขา และ 4.จํานวนพื้นท่ีสีเขียวของเชียงใหมนับวันนอยลงไปเร่ือยๆ จน นาเปนหว ง “หากเปรียบเทียบปญหาฝุนละออง PM 2.5 กรุงเทพมหานครกับเชียงใหม ปญหายอม แตกตางกนั เร่มิ ทแี่ หลงกําเนิดของฝุนละอองในเชียงใหม ตนกําเนิดจากการเผาในท่ีโลงและมักมาจาก จังหวัดขางเคียงอ่ืนๆ รวมถึงประเทศเพื่อนบาน คือ เมียนมา ที่พัดฝุนควันขามเขามาสมทบ ขณะท่ี กรงุ เทพฯ เจอปญ หาการจราจรติดขัดและการกอ สรางกลางใจเมอื ง” รศ.ดร.พิสุทธ์ิ ระบุ รศ.ดร.พิสุทธ์ิ กลาววา ย่ิงสภาพอากาศของเชียงใหมอยูในสภาพอากาศปด ย่ิงทําใหเกิดการกักสะสม ของฝุนละออง PM 2.5 ในพื้นที่ ยิ่งสภาพพื้นท่ีของจังหวัดแวดลอมไปดวยภูเขาสูงทําใหฝุนละอองไม ระบาย จึงมีโอกาสกลับมาสะสมจนสงู ไดอ ีก ดังนั้นในการแกปญหาตองเริ่มท่ีตนกําเนิด คือ จัดการกับ แหลงกําเนิดของฝุน PM2.5 อยางจริงจัง สิ่งแรก คือ ตองหยุดการเผาไหมในท่ีโลงโดยตองเจรจา พูดคุยกับประเทศเพื่อนบานแบบรัฐตอรัฐ ขณะเดียวกันตองหยุดการเผาในท่ีโลงในชวงฤดูแลง ไมวา ในพื้นที่ปา หรือพ้ืนท่ีเกษตรกรรม เพื่อทําใหปริมาณการเกิดฝุนควันสะสมจนมีคาฝุนละอองท่ีเกิน มาตรฐานไดล ดลง

6 “การเผาไหมในที่โลง อาทิ เผาไร หรือแมแตการเผาไหมทางการเกษตรจากประเทศเพื่อน บาน เชน เมียนมา ตองหยุด เพราะกอใหมลพิษขามแดนเกิด PM 2.5 ไมนอยกวา 30 – 40% เลย ทีเดียว” รศ.ดร.พสิ ุทธ์ิ กลา ว สําหรับแนวทางแกปญหาถดั มา คอื ควรเนน เพ่มิ พื้นท่ีสีเขียว เพราะแนวโนมพื้นที่สีเขียว ของ เชียงใหมลดนอยลงไปเร่ือยๆ แมปจจุบันจะอยูในเกณฑดีคิดเปน 9 ตรม.ตอคน ขณะที่คามาตรฐาน ควรเพิ่มเปน 10 ตรม.ตอคน หรือเพิ่มมากขึ้นไปเรื่อยๆ ยิ่งดี จึงควรปลูกพืชตระกูลใบใหมากขึ้นเพ่ือ ชวยดดู ซบั ดักจบั และฟอกอากาศจากฝนุ ละออง แมตามเกณฑพื้นที่สีเขียวขององคการอนามัยโลก (WHO) ระบุใหสัดสวนพื้นท่ีสีเขียวตอ ประชากร 1 คน คือ 9 ตร.ม. แตกรุงเทพฯ กลับนาเปนหวงยิ่งกวา นั่นเพราะมีสัดสวนพ้ืนท่ีสีเขียว เพียง 3 ตร.ม.ตอคนเทาน้ัน ดังนั้นการเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวเปนมาตรการท่ีตองเรงทําในวันนี้ เพราะใน อนาคตจะชวยบรรเทาปญหา PM 2.5 ใหเบาบางลงได ไมเชนนั้นเชียงใหมจะเปนเหมือนกรุงเทพฯ เพราะปจจุบันมีปญหาการจราจรหนาแนนติดขัดอยางมากเชนเดียวกัน ดังน้ันท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนตองชวยกัน โดยเฉพาะภาครัฐควรมุงไปท่ีการปรับเปลี่ยนเช้ือเพลิงพลังงาน โดยเฉพาะนาํ้ มนั ดีเซล ตองปรับเปลีย่ นมาเปนเบนซนิ หรอื หากเปนไปไดควรปรับจากยูโร 4 เปนยูโร 5 ซึ่งจะชวยลดกาํ มะถนั ลง ลดฝนุ PM2.5 ลงได “วันนี้เครื่องยนตรถเกาควรเปล่ียนเปนรถใหม แมจะเปนเรื่องยาก แตถือเปนนโยบายระยะ ยาว เพราะสภาพการจราจรเชียงใหมติดขัดอยางหนัก สถานการณแยมากข้ึนทุกวันๆ อีกปจจัยท่ีชวย เพิ่มปริมาณฝุนละออง PM 2.5 คือ หากรถย่ิงวิ่งชาลงๆ หรือ ติดแบบไมเคลื่อนไหวยอมเปนตัวการ กอกําเนิดฝุน PM 2.5 สะสมมากขึ้นๆ ดังน้ันตองทําใหรถวิ่งไดไหลล่ืน โครงขายการจราจรตองไม ตดิ ขัด” รศ.ดร.พสิ ุทธ์ิ กลา ว อาจารยจากจุฬาฯ ย้าํ วา หากจะทาํ ใหเ ชียงใหมไ ดบรสิ ุทธ์ิคืนมา ตองเพ่มิ พืน้ ที่สีเขยี ว รวมถึง การพัฒนาผังเมือง กลา วคอื ตองขยายเมืองออกไปรอบนอกหรือชานเมือง เพ่ือไมใหการจราจรติดขัด หรอื เกดิ การกระจกุ ตัวของส่ิงปลูกสราง นั่นคือ แนวทางแกปญหา PM2.5 ในระยะยาว รวมถึงการจะ ทําใหการจราจรไหลลื่น เชน การจอดรถริมทางเทาท่ีเปนตนเหตุทําใหรถติด เจาหนาท่ีรัฐตองจริงจัง หรอื สง เสรมิ นโยบาย “คารพลู ” ตลอดจนทําอยางไรใหคนเชียงใหมห นั มาใชร ะบบขนสง สาธารณะ “ตอ งพดู คุยเร่อื งน้ีกนั ใหมากๆ เก่ยี วกับโครงขายขนสงสาธารณะ น่ีคือเรื่องเรงดวน เพื่อชวยทําใหการ ใชรถยนตสวนตัวลดลง แมแตการใชรถวันคูวันค่ีเชนกัน ตองจุดประกายเร่ืองเหลานี้ใหประชาชนได ตระหนักเขา ใจและรว มมอื กัน หากทาํ เชนน้ีได คนเชียงใหมจะไดสูดอากาศบริสุทธิ์ไดเตม็

7 ปอด และไดยลโฉมความงดงามของวิวทิวทัศนพระธาตุดอยสุเทพไดเต็มตาอีกครั้งและตลอดไป” อาจารยว ิศวะ จุฬาฯ กลาว วิธปี อ งกันฝุน p.m. 2.5 PM 2.5 ทีเ่ ปนแหลง หลกั มาจากการเผาไหมเชื้อเพลิงธรรมชาติมากเปนประจําอยูแลว แตถา วันรายคืนรายที่อุณหภูมิอากาศเปล่ียนแปลงเร็ว ความชื้นในอากาศสูงขึ้น ลมอับ แสงแดดยังไมได เวลามาเยอื น ประกอบกับกรุงเทพฯ มีอาคารสูงจํานวนมาก ก็จะทําใหการไหลถายเทของอากาศยาม ลมอับไมดี ไมตางกับจังหวัดเชียงใหมท่ีเปนเมืองแองกระทะตามธรรมชาติ ก็จะเกิด ปรากฏการณ “impaction” หมายถึง ฝุนขนาดเล็ก คือ PM 2.5 ฟุงกระจายออกไปไดยาก เจาตัว รายน้ีจะมีผลเสียตอสุขภาพมนุษยท่ีสําคัญทันทีทันใด คือ 1.ทําใหผูปวยโรคปอดเรื้อรังทุกชนิดมี อาการกําเริบ และ 2.ทําใหผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจมีอาการกําเริบ ท้ังน้ีไมนับผลระยะยาวท่ีมีอีก มากเหลือพรรณนา ดังน้ันคําแนะนําการปฏิบัติตัวในสถานการณเชนวันน้ีและคงอีกหลายวันจนถึงป หนา มีดงั น้ี 1. ตดิ ตามสถานการณค ณุ ภาพอากาศจากแหลงของกรมควบคมุ มลพิษ ที่มีครอบคลุมพื้นที่ทั่ว ประเทศไมใ ชแตก รุงเทพฯ อยา งเดยี ว 2. ถา เหน็ คาปรมิ าณ PM 2.5 เปนสีแดง แสดงวาสูงเกินคากําหนดขององคการอนามัยโลก ที่ คาเฉล่ียตลอด 24 ช่วั โมงไมค วรเกิน 25 µg/m3 3. เมื่อเห็นแลวคนทั่วไปควรหลีกเลี่ยงเดินทางออกจากที่พักอาศัยจนกวาระดับจะลดลงมา เปนสีสม ทีย่ ังพอจะยอมรับได

8 4. แตถาจําเปนจะตองเดินทาง สําหรับคนท่ีไมมีโรคเร้ือรังที่รุนแรงดังกลาวมาแลว แนะนําให ใชหนากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยูนอกอาคาร โดยตองสวมใหถูกวิธีและกระชับกับใบหนาสวนปาก และจมกู ใหมากท่สี ุด 5. แตถา เปนคนที่มโี รคเรื้อรังที่รนุ แรงดงั กลา วมาแลว ไมควรออกจากบา น แตถ า จาํ เปน จริง ๆ เชน ตอ งไปโรงพยาบาลพบแพทยต ามนดั (ทีจ่ ริงโรงพยาบาลตา ง ๆ ควรอํานวยความสะดวกเลื่อนนดั ใหผ ปู ว ยเชน นีไ้ ดโ ดยสะดวกในทุกชอ งทาง) ใหใชหนากากชนดิ N95 ซึ่งพอจะชว ยกรองเจาตัวฝนุ ราย ขนาดเล็กนี้ไดใ นปริมาณที่มากกวา หนากากอนามัยธรรมดาแตต องมกี ารตรวจสอบหลังการใสว า หนากากน้นั กระชับรูปหนา จริงตามคาํ แนะนาํ ท่ีปรากฏบนซองของหนากากนนั้ ๆ PM 2.5 คืออนภุ าค ขนาดเล็กท่ีมเี สนผาศนู ยกลางเฉล่ยี นอ ยกวา 2.5 ไมโครเมตร แขวนลอยอยูในอากาศรวมกับไอนํ้า ควนั และกาซ สามารถนาํ พาสารตา ง ๆ ลองลอยอยูร อบตวั เราไดใ นปริมาณสงู ทาํ ใหเ กิดเปนหมอก ควันท่ถี อื เปน มลพิษตอสุขภาพของมนุษย คนทัว่ ไปทสี่ ดู เอาฝนุ PM 2.5 เขาไป จะมีอาการระคาย เคืองจมูก น้ํามูกไหล ไอ เจบ็ คอ แตสําหรับคนท่ีปวยเปนโรคเกย่ี วกบั ระบบการหายใจ รวมถึงผูท่ปี ว ย เปนโรคระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด จะทําใหโ รคทเี่ ปน อยูกาํ เรบิ ขนึ้ มาได สวนในระยะยาวอาจกอ มะเร็งปอดและทําใหส มรรถภาพปอดของเยาวชนถดถอย ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแ หง ประเทศไทยมี ความเปน หว งสุขภาพของประชาชน ซ่งึ ในระยะนท้ี ุกคนตองหม่นั ตรวจสอบคุณภาพอากาศเม่ือไหรก็ ตามทีด่ ชั นคี ุณภาพอากาศเปนสสี ม ผูท่อี ยใู นกลุมเสย่ี ง คือ ผมู โี รคเรอ้ื รังขางตน เด็ก ผูส งู อายุ และ สตรมี คี รรภ ควรงดการทาํ กจิ กรรมกลางแจง แตถาเปนสีแดง ขอใหทกุ คนทัง้ หมดหลกี เลี่ยง กรณคี น ทีไ่ มใ ชกลุมเส่ียงแลว หลีกเลยี่ งไมไ ด จําเปน ตองใชหนา กาก N95 หรืออยางนอ ยเปนหนากากอนามยั ซอ นกนั 2 ชน้ั โดยไมว าจะใชหนากากชนิดใดตองสวมใสใ หกระชับใบหนา และจํากัดระยะเวลาการ สมั ผัสฝุน ใหน อ ยที่สดุ ความหมายของสี 0 - 25 26 - 50 51 - 100 101 - 200 201 ขน้ึ ไป ดมี าก ดี ปานกลาง เรม่ิ มผี ลกระทบตอ มผี ลกระทบตอ สุขภาพ สขุ ภาพ

9 การรับมอื p.m. 2.5 ดวยวธิ ีการแกป ญ หาของตา งประเทศ ประเทศองั กฤษ รัฐบาลของประเทศอังกฤษ ไดตั้งเปาหมายการเปนแกนนํา ในการควบคุมคาฝุนละออง PM2.5 โดยมีการตั้งเปาหมายไววา เมืองตางๆในอังกฤษตองมีคา PM2.5 ตํ่ากวาท่ี WHO ( องคการ อนามัยโลก ) กําหนด ภายในป 2030 โดยสาเหตุสําคัญอยางหนึ่งของการเกิดฝุนละอองขนาดเล็กใน องั กฤษ เกิดจากการเผาไมและถานหินท่ีใชในครัวเรือน และการระเหยของกาซแอมโมเนียจากการใช ปุยที่มากข้ึนจากภาคการเกษตร ซ่ึงหากกาซชนิดนี้ทําปฏิกิริยากับสารเคมีชนิดอื่นในอากาศ จะเกิด อนุภาคมลพิษ ทางรัฐบาลอังกฤษจึงแกไขปญหานี้โดยการหามขายเช้ือเพลิงในครัวเรือนท่ีกอใหเกิด มลพิษ ต้ังแตป 2022 เปนตนไป และยังมีการหารือกันวาอาจจะคอยๆ เลิกขายเชื้อเพลิงถานหินท่ีใช ในครวั เรือน อีกทั้งจํากดั การขายไมเปย กสาํ หรับการใชเ ปนเชอื้ เพลงิ อีกดวย ในภาคการเกษตร รัฐบาล จะมมี าตรการจาํ กัดการปลอยกาซแอมโมเนียใหน อยลง โดยชวยเหลอื ในการลงทุนเทคโนโลยีที่ชวยลด การปลอยกา ซแอมโมเนยี ลงได กรุงโซล ประเทศเกาหลใี ต ต้ังแตตนป 2017 เปนตนมา รัฐบาลเกาหลีมีใตมีมาตรการฉุกเฉินในการลดปญหามลพิษโดย การ บรกิ ารรถสาธารณะฟรชี ว งเวลาเรง ดวนในกรงุ โซล เพ่ือใหประชาชนลดการใชร ถยนตสวนบุคคล โดยสาเหตุหลักของปญหามลพิษในกรุงโซลเกิดจาก การใชถานหินและน้ํามันดีเซล อีกท้ังผลจาก หมอกควันท่ีมาจากประเทศจีน มีการแกปญหาโดยจํากัดการใชรถยนตรถเกา และปดลานจอดรถใน หนวยงานรัฐ 360 แหงเพื่อจํากัดการใชรถยนตของลูกจางรัฐ นอกจากน้ีกระทรวงส่ิงแวดลอมของ เกาหลีใต ยังมีการใชโดรนในการบินตรวจสอบการปลอยมลพิษของโรงงานอุตสาหกรรมในแถบกรุง โซล ซ่ึงเช่ือวาจะมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบผูลักลอบปลอยควันเสีย ไดดีกวาการตรวจสอบของ เจาหนา ท่ีภาคพื้นดนิ กรงุ มาดริด ประเทศสเปน สเปนใชมาตรการจํากัดรถยนตท่ีจะวิ่งเขาไปในเขตควบคุมคุณภาพอากาศ ยานใจกลางกรุง มาดริด โดยที่ผูใชรถจะตองนํารถไปตรวจวัดการปลอยไปเสีย ทั้งนี้รถยนตรุนเกาจะถูกส่ังหามในการ ขับเขาไปยังเขตควบคุมคุณภาพอากาศใจกลางกรุงมาดริด ในขณะท่ี “รถยนตไฮบริด” ( รถท่ีใช ระหวา งน้าํ มนั และไฟฟา ) สามารถทจ่ี ะสัญจรไดอยา งเสรี ซึ่งมีการเร่ิมใชม าตรการนเ้ี ม่ือปลายป 2018

10 กรุงปารสี ประเทศฝรั่งเศส ฝรง่ั เศสมีมาตรการในการสั่งหามรถยนตท่ีผลิตกอนป 1997 เขาไปยังใจกลางกรุงปารีสในชวง วันจันทร-ศุกร เวลา 08.00-20.00 น. และยงั ส่งั หา มรถยนตด ีเซล ท่ีไดขึน้ ทะเบยี นกอ นป 2001 เขา ไป ยังพื้นท่ีดังกลาว ท้ังน้ียังมีการสั่งหามรถรุนเกาและรถดีเซลขับเขาไปยังใจกลางเมืองหลวง เพ่ือให ประชาชนหันมาใชการเดินทางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และวางแผนใหใจกลางเมืองเปนพื้นท่ีถนน คนเดิน กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวีเดน สวเี ดนมกี ารใชม าตรการเรียกเก็บคาธรรมเนียมสําหรับบุคคลท่ีจะขับรถเขาไปยังเขตพ้ืนท่ี ท่ีมี การจราจรหนาแนนยานใจกลางเมอื งหลวง และมีการจักพนื้ ท่ีสาํ หรบั การจอดรถยานชานเมือง เพื่อให ประชาชนหันมาใหบริการรถสาธารณะเขาในเมืองแทน ท้ังนี้ยังมีการวางแผน เพ่ิมการลงทุนในระบบ รถโดยสารประจาํ ทาง รถรางและรถไฟใตด ิน ประเทศจนี รัฐบาลของประเทศจีนไดยกใหปญหาคาฝุนละอองทางอากาศ เปนนโยบายระดับชาติ โดยมี การวางแผนใชพลังงานสะอาดแทนการใชถานหิน ประกาศใหมีการเก็บภาษีอนุรักษส่ิงแวดลอม จํานวน 12 หยวนตอ หนวย ในการปลอ ยมลพิษทางอากาศ ซงึ่ ผลจากการใชมาตรการนี้สงผลใหคาPM ลดลงถึง 3.5 ตอ ป โดยทกี่ รุงปกกง่ิ ลดลงถึงรอ ยละ 20.5 ประเทศไทย ทางฝงของประเทศไทยไดมีการแกไขปญหาคาฝุนละออง PM2.5 เกินมาตรฐาน โดยกรม ควบคุมมลพษิ ซึ่งมีการแจง 9 มาตรการแกไ ขปญ หาในเบอ้ื งตน ไดแ ก 1.เพม่ิ ความถี่ในการลางทําความสะอาดถนน และมกี ารพนนํ้าในอากาศ ตั้งแตเวลา 18.00- 06.00 น. จนกวาคาฝนุ ละอองจะลดลงมาอยใู นระดบั มาตรฐาน 2. มีการแจกหนา กากอนามัยตามพืน้ ที่ตางๆ โดยใหความสําคัญกับผทู ี่เปน กลมุ เสีย่ งไดแ ก ผู ปว ย,คนชรา,เดก็ รวมถึงบุคคลท่ีทํางานใกลช ดิ กบั แหลง กําเนิด 3. มกี ารบังคับใชก ฎหมายอยา งเครง ครดั กับการตรวจจบั ควนั ดาํ ทัง้ รถยนตขนาดเลก็ รถยนต ขนาดใหญ และรถสาธารณะ 4. ต้งั คณะกรรมการแกไ ขปญหาจากการกอสรา งทางรถไฟฟา โดยเรงคืนพน้ื ทผี่ วิ จราจรในจุด ทีท่ ําเสร็จแลว

11 5. ตง้ั คณะทาํ งานในการตรวจสอบการกอสรางอาคารสูงและสาธารณปู โภค ใหผ ูป ระกอบการ นําเนินการใหถูกตองตามหลักวิชาการ 6. อาํ นวยความสะดวกดานการจราจร ไมใ หม ีการจราจรติดขบั และเขม งวดกับการจอดรถริม ถนนสายหลกั 7. เขม งวดไมใ หมีการเผาในทีโ่ ลงแจง 8. รณรงคไมใหติดเคร่ืองยนตขณะจอดในสถานท่ีราชการและพ้นื ท่ีที่มมี ลพิษสูง 9. ทําฝนเทยี มโดยกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร ในระหวา ง 15-19 มกราคม 2562 สรปุ การปองกันและรับมือ p.m. 2.5 ของแตล ะประเทศ จะเห็นไดวาปญหา “ฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5” เกิดจากการปลอยควันเสียจากรถยนต และอุตสาหกรรม ซ่ึงเมืองหลวงในหลายๆ ประเทศรวมถึงประเทศไทย ทั้งจังหวัดเชียงใหม และ จังหวัดอื่นๆ ภายในประเทศ ก็ไดมีมาตรการจํากัดการใชรถยนต ในยานใจกลางเมืองรวมถึงการเก็บ คาธรรมเนียมการใชรถยนตสวนบุคคล และใหประชาชนหันมาใชบริการรถสาธารณะกันมากข้ึน อีก ทั้งมีมาตรการตรวจสอบ ควบคุมการปลอยควันเสียในอุตสาหกรรม เพื่อแกไขปญหาคาฝุนละออง ขนาดเล็กในอากาศ หวังวาความรูในครั้งนี้จะเปนประโยชนกับผูที่สนใจได อยาลืมชวยกันลดฝุนละอองในอากาศ และใสห นากากอนามัยกอนออกจากบา นทกุ ครง้ั เพอ่ื ปองกนั ฝุนละออง PM2.5

12 บรรณานุกรม ทมี ขาวสงิ่ แวดลอ ม.ไขวกิ ฤต p.m. 2.5 จงั หวดั เชยี งใหม.(ออนไลน)เขาถึงไดจ าก https://greennews.agency/?p=18743. (วันทส่ี ืบคน ขอมลู : 11 ตุลาคม 2563) CHIANG MAI NEWS.รับมือฝุน p.m. 2.5 ดว ยวิธกี ารของตา งประเทศ.(ออนไลน)เขาถึง ไดจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/888217/. (วนั ที่สืบคนขอมลู : 11 ตุลาคม 2563) Origin.วธิ ีการปองกันฝุน p.m. 2.5.(ออนไลน)เขาถึงไดจ าก https://www.origin.co.th/origin-blog. (วันท่ีสืบคน ขอมูล: 11 ตลุ าคม 2563)

13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook