Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 152851_รายงานน้ำท่วมอุบลราชธานี

152851_รายงานน้ำท่วมอุบลราชธานี

Published by kru_leed, 2020-10-25 05:15:59

Description: 152851_รายงานน้ำท่วมอุบลราชธานี

Search

Read the Text Version

1 นำ้ ทวมจังหวดั อบุ ลราชธานี จัดทำโดย นายธนพล แรมี เลขที่ 1 นางสาวศิรมิ าศ ชทู อง เลขท่ี 13 ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5/4 สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 41 สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

2 รายงาน นำ้ ทวมจงั หวดั อุบลราชธานี จดั ทำโดย นายธนพล แรมี เลขท่ี 1 นางสาวศิรมิ าศ ชูทอง เลขท่ี 13 ชั้นมธั ยมศกึ ษาที่ 5/4 เสนอ ครู จิระวัฒน โรจนศลิ ป รายงานเลมนเ้ี ปนสวนหน่ึงของวิชา ส32101 สงั คมศกึ ษา 3 โรงเรยี นปางศลิ าทองศกึ ษา อำเภอปางศลิ าทอง จงั หวดั กำแพงเพชร สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 41 กำแพงเพชร

3 คำนำ รายงานเลมนจี้ ัดทำข้ึนเพ่ือเปนสอ่ื ในการเรียนการสอนรายวชิ าสงั คมศึกษา 3 ส 32101 ในรายงาน เลมนีจ้ ะประกอบไปดวยสาเหตุการเกิดน้ำทวม ผลกระทบจากน้ำทวม ขอปฏบิ ัตใิ นการปองกนั ตนเองจากภัย น้ำทวม อนง่ึ ผูจัดทำรายงานเลมนีห้ วงั เปนอยางยิ่งวา รายงานเลมน้ีจะเปนประโยชนแกผูท่ีมาศึกษาความรู ทางดานนำ้ ทวม เพื่อท่ใี ชในการศกึ ษาตอยอดความรเู ปนอยางยิง่ นายธนพล แรมี เลขที่ 1 นางสาวศริ มิ าศ ชทู อง เลขที่ 13 ผูจดั ทำ

สารบัญ 4 เร่อื ง หนา ปกนอก ปกใน 2 3 คาํ นาํ 4 5 สารบัญ 6 บทนำ 8 น้ำทวมอบุ ล 8 สาเหตุการเกิดน้ำทวม 9 การแกปญหานำ้ ทวมอบุ ล 11 สรุปสถานการณที่จังหวดั อบุ ลราชธานี 12 ภาพการเกิดน้ำทวมอบุ ลราชธานี 13 สรุป บรรณานุกรม

5 บทนำ ในอดตี พ้ืนท่ี จ.อุบลราชธานี เคยเกิดน้ำทวมครัง้ ใหญในป 2521 และป 2545 กระทัง่ ลาสุดในเดือน ก.ย. ป 2562 ไดทุบทำลายสถิตปิ 2545 ไปแลว โดยระดับแมน้ำมูลลนตลง่ิ อยทู ี่ 115.88 ม.รทก. จากระดบั 115.77 ม.รทก. ขณะที่มวลนำ้ กอนใหญจากพน้ื ท่ี จ.ยโสธร รอยเอด็ และอำนาจเจริญ กำลังเขามาสมทบในวันท่ี 12 ก.ย. น้ี หลายฝายทเี่ กย่ี วของเตรียมพรอมรบั มือเพ่ือปองกันไมใหน้ำทะลกั เขาพื้นทีเ่ ศรษฐกจิ ชั้นใน นอกจากนจ้ี ากการคาดการณของกรมชลประทานจะมมี วลน้ำกอนใหญในวนั ที่ 12 ก.ย. ซ่งึ จะถงึ จดุ พคี ชวงประมาณเที่ยงคืน และหลังจากนนั้ นำ้ จะเร่ิมนง่ิ เน่ืองจากกอนหนานัน้ สถานการณน้ำไดเลยจุดสงู สุดไปแลว จากวันละ 40-50 ซม. เหลืออยูที่ 15 ซม. กระทั่ง ณ วันนี้เหลอื ไมเกนิ 10 ซม. ภายหลงั ไดรับผลกระทบจากฝน ตกหนกั จากรองมรสมุ ในชวงทีผ่ านมา ซึง่ ไมใชจากพายุ และโดยภาพรวมยังคงมฝี นประมาณ 30-40%

6 นำ้ ทวมอบุ ล จงั หวดั อบุ ลราชธานี ขณะน้ีนำ้ ในพนื้ ท่ีตอนบนของ จ.อุบลราชธานี ไดระบายออกจากทงุ น้ำลงสแู มน้ำมลู และแมน้ำชี ซึ่งไดชะลอการไหลของน้ำในแมน้ำมูลทีจ่ ะลงมาสมทบกับลำน้ำชี โดยใชนำ้ เข่อื นราษีไศลและเข่ือน หัวนา เพ่ือไมใหน้ำไหลเขาพ้ืนท่หี ลกั สวนสถานการณน้ำทวมในพน้ื ทีต่ อนกลาง ซง่ึ ขณะนีย้ งั วกิ ฤตใิ นเขต อ. เมอื ง, อ.วารนิ ชำราบ, อ.พบิ ูลมงั สาหาร และ อ.สวางวรี ะวงศ อยรู ะหวางการเรงระบายน้ำ และติดตัง้ เพ่ิมเครื่อง ผลกั ดันนำ้ ใน อ.พบิ ูลมังสาหาร เพอ่ื ระบายนำ้ ลงสแู มน้ำโขง รวมถงึ เปดประตเู ขอ่ื นปากมูลทัง้ หมด 8 บาน นอกจากนี้จากการคาดการณของกรมชลประทานจะมีมวลน้ำกอนใหญในวันท่ี 12 ก.ย. ซ่งึ จะถงึ จุดพีค ชวงประมาณเทย่ี งคนื และหลังจากนนั้ น้ำจะเริ่มน่ิง เนือ่ งจากกอนหนานัน้ สถานการณน้ำไดเลยจดุ สูงสดุ ไปแลว จากวันละ 40-50 ซม. เหลอื อยูท่ี 15 ซม. กระทั่ง ณ วันนีเ้ หลอื ไมเกิน 10 ซม. ภายหลังไดรบั ผลกระทบจากฝน ตกหนกั จากรองมรสุมในชวงที่ผานมา ซึง่ ไมใชจากพายุ และโดยภาพรวมยงั คงมีฝนประมาณ 30-40%

7 ผวู าราชการจังหวัดอุบลราชธานี แถลงรายงานสถานการณนำ้ มลู สูงทบุ สถติ ิป 2545 เปน 10.97 เมตร ขณะที่กรมชลประทานเพ่ิมเคร่ืองสูบน้ำ 2 จุด เปนจุดละ 60 ตวั เพือ่ เรงระบายน้ำ คาดชวยระบายน้ำลงน้ำโขง ไดจดุ ละ 14 ลาน ลบ.ม. วันนี้ (13 ก.ย.2562) นายสฤษดิ์ วิฑรู ย ผวู าราชการจังหวัดอบุ ลราชธานี แถลงรายงานสถานการณนำ้ ทวมในพื้นที่ จ.อบุ ลราชธานี วา วันน้ีตัง้ แต 06.00 น. สถานการณน้ำตรวจวัดบรเิ วณสถานีวดั M7 สะพานแมนำ้ มูล เพ่มิ เปน 10.97 เมตร เพ่ิมจากเม่ือวาน 6 เซนตเิ มตร เปนผลทำใหนำ้ ที่ไหลลงแมนำ้ มลู เพิ่มขึน้ เปน 5,265 ลบ.ม.ตอวนิ าที ทำใหน้ำกระจายไปพ้นื ทีต่ ่ำ จนทำใหบางพนื้ ท่ีเหมือนเกาะ โดยจะมชี มุ ชนไดรบั ผลกระทบจาก น้ำทวมเพ่ิมขึ้นโดยเฉพาะในเขตพืน้ ที่ตำ่ แตนำ้ จะไมเพิ่มสงู ขน้ึ ขณะทีน่ ำ้ ในเขตเทศบาลบรเิ วณสถานทรี่ าชการยงั ไมทวม รวมถึงบริเวณรอบนอกหมบู านท่อี ยชู ุมชน ริมแมน้ำมลู กย็ ังไมไดรับผลกระทบ แตมีบางชุมชนในเมอื งไดรับผลกระทบแตประชาชนไดตัง้ กระสอบทรายไว ทำใหนำ้ ไมเพิ่มสูงขนึ้ แตนำ้ นงิ่ ลดลงชาตองรอสถานการณน้ำโขงขณะท่ีเสนทางเขาสนามบนิ ถูกน้ำทวมขงั นอกจากนี้ วานนม้ี ฝี นตกลงมาชวงกลางคืนประมาณ 30 นาที สงผลใหมนี ้ำเพ่มิ น้ำตองทยอย ระบาย ทำใหน้ำดันทอระบายน้ำออก ทงั้ นี้ เทศบาลไดออกสำรวจแนวทอระบายน้ำที่จะตองเอากระสอบทราย ไปทับ และสำรวจบานเรือนประชาชนเพื่อกระจายกระสอบทรายใหประชาชนเพ่ิมขน้ึ สำหรบั การลดระดบั น้ำ ทางจังหวัดเรงระบายนำ้ ลงแมนำ้ โขง โดยกรมชลประทานไดสนับสนุน เครอ่ื งสบู น้ำ ชวยระบายน้ำมูลเปน 60 เครื่อง จาก 30 เคร่ือง ทส่ี ะพานขามแมน้ำมูล และบรเิ วณทายแมนำ้ มูล ซ่ึงประสิทธภิ าพของเคร่ืองสูบน้ำ 1 เคร่ืองสามารถระบายน้ำไดวนั ละ 120,000 ลบ.ม. เพราะฉะน้ัน 60 เครอ่ื ง จะสามารถระบายน้ำไดวนั ละ ประมาณ 14 ลาน ลบ.ม. ขณะน้ีอยรู ะหวางการตดิ ตั้ง ทั้งนี้ ทางจงั หวดั จะมีการแถลงสถานการณวันละ 4 ครั้ง เพ่ือใหประชาชนมคี วามม่นั ใจ โดยหากประชาชน ตองการขอความชวยเหลือขนยายและแจกจายถงุ ยังชีพ สามารถแจงผานสายดวน 045 429610 และ 06 1029 9618

8 สาเหตกุ ารเกดิ น้ำทวม สวนสาเหตุทำให จ.อุบลราชธานเี กิดนำ้ ทวม เน่ืองจากเปนพืน้ ที่รวมแมน้ำสายหลักทง้ั แมนำ้ มูลและ แมน้ำชี ซ่งึ รองรับน้ำทีไ่ หลมาจากพืน้ ทีภ่ าคอสี านตอนบนและภาคอีสานตอนลาง กอนไหลลงลำนำ้ โขง อยางไร กต็ ามทางผวู าราชการจังหวดั อบุ ลราชธานีไดประสานขอเครือ่ งผลกั ดันน้ำเพิ่มเตมิ เพ่ือเรงระบายน้ำในเขตพ้นื ที่ เศรษฐกจิ คาดสถานการณจะกลบั สภู าวะปกติหลายสัปดาห หรอื ประมาณ 2-3 สัปดาห เน่อื งจากยังมนี ำ้ คาง ทงุ ประมาณ 5 แสนไร การแกปญหานำ้ ทวมอุบล 1) ควรมกี ารจดั การทั้งลำน้ำสาขาอยางเปนระบบ หากมีการบรู ณาการท้ังลำนำ้ กอนเขา และออกจาก เมอื งอุบลราชธานจี ะชวยแกปญหาน้ำทวมไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) สรางกลไกมาตรการแจงเตอื นใหเขาถึงประชาชนทกุ พ้นื ที่ และสื่อสารดวยขอมูลทป่ี ระชาชนสามารถ เขาใจไดทนั ที 3) หนวยงานภาครัฐควรมีการเตรียมความพรอมในการรับมือ 4) และสรางองคความรสู งตอชมุ ชนเพ่ือใหชุมชนรจู ักการคิดวิเคราะหและแกไขปญหาดวยตนเอง 5) ผลกั ดันใหเกิดการกระจายอำนาจสทู องถิ่น และชมุ ชนสามารถจดั การตนเองได 6) หนวยงานภาครัฐตองมีเอกภาพในการจัดการ และควรมีเจาภาพหลักในการดำเนินงาน 7) มีศนู ยกลางของขอมลู ทปี่ ระชาชน และหนวยงานสามารถเขาถึงได อีกท้ังขอมูลดงั กลาวเปนขอมลู ท่ี มคี วามนาเชือ่ ถือ 8) ควรมกี ารจัดการงบประมาณเพ่ือกลไกท่ียั่งยืน

9 สรปุ สถานการณที่จังหวดั อบุ ลราชธานี สภาพภูมปิ ระเทศแบบแองกระทะ ภาคอีสานของเรานน้ั มีลกั ษณะทางภูมิศาสตรท่ีคลายกับแองกระทะ หมายถงึ บริเวณขอบๆ ของพนื้ ทจ่ี ะ เปนท่ีราบสงู สวนตรงกลางจะเปนจดุ ตำ่ ลงมา ซ่ึงทำใหระบายน้ำไดคอนขางยากเวลาเกิดฝนตกหรือเกิดนำ้ ทวม หนกั ๆ ในจงั หวดั อุบลฯ นอกจากความเปนแองกระทะแลว ตวั ทตี่ ั้งของจังหวดั อบุ ลฯ เองกอ็ ยูในจดุ หลกั ในการรบั น้ำมาจากภาค อสี านตอนบนและลาง โดยเฉพาะจากจังหวัดรอยเอด็ ยโสธร อำนาจเจรญิ อีกทัง้ ยังเปนพื้นทีร่ วมแมนำ้ สายหลัก จากแมน้ำมูลและแมน้ำชีอีกดวย อธิบายอีกแบบหนงึ่ ไดวา ตำแหนงและลกั ษณะทางภมู ิศาสตรของ อบุ ลฯ เปนเหมือนกับ ‘ปราการดานสุดทาย’ หรือ ‘ปลายทางรับนำ้ ’ ทีจ่ ะรบั มวลนำ้ กอนไหลลงสแู มน้ำโขงนัน่ เอง และถึงแมวาเขื่อนปากมูลจะเปดประตรู ะบายน้ำออกมาแบบเตม็ กำลงั ทงั้ 8 บานเพ่ือชวยระบายน้ำลงสแู มนำ้ โขง แตแมนำ้ โขงเองกม็ ีระดับทีส่ งู อยแู ลว มนั เลยย่ิงทำใหการระบายเปนไปไดคอนขางยากเหมอื นกัน พายกุ ระหนำ่ ทภี่ าคอสี านตองเผชิญ บอยครง้ั ทธี่ รรมชาติมีความนากลวั และนาเกรงขามในตวั ของมันเอง เม่ือเร็วๆ นี้ภาคอสี านตอนลางตอง เผชญิ หนากับอทิ ธิพลจากพายุโซนรอนโพดุล และพายุคาจิกิ ทที่ ำใหเกิดฝนตกหนกั และน้ำทวมในหลายจังหวดั ขอมูลจาก ชยพล ธิตศิ ักด์ิ อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภยั ทใี่ หไวเมื่อวันท่ี 14 กันยายนทผ่ี านมา ได ระบุวา นบั ต้ังแตวนั ที่ 29 สงิ หาคมเปนตนมา มีน้ำทวมฉับพลนั และนำ้ ปาไหลหลาก ดินสไลด และวาตภยั รวม แลวอยางนอย 32 จังหวัด

10 การขยายตวั ของเมือง ถมดนิ บางทางนำ้ เพราะพื้นทแ่ี กมลงิ รับมวลน้ำหายไป มรี ายงานที่นาสนใจจาก ThaiPBS ทีน่ ักขาวลงพน้ื ที่ไปตรวจสอบถึงอกี หนึ่งปจจยั ท่ีอาจเกีย่ วของกบั ปญหานำ้ ทวมใหญในอบุ ลฯ คร้งั น้ี ซงึ่ นน่ั กค็ ือประเด็นเร่อื งการเตบิ โตของเมอื งที่ขวางทางนำ้ มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี เคยมงี านวิจยั ทีพ่ ูดถึงความสถานะของ ‘ปาบุงปาทาม’ (ทำหนาทีค่ ลายๆ กับปาชายเลนใหกับภาคอีสาน) ท่สี ามารถชวยชะลอหรือบรรเทาปญหานำ้ ทวมได แตตอนน้ีพ้ืนท่จี ำนวนไมนอย ไดกลายเปนทีพ่ ัก โรงแรม และรสี อรทไปแลว “อะไรก็ตามที่คุณทำมันไดคำนงึ ถงึ ระบบนิเวศ และการระบายนำ้ เดมิ ไหม ถาไดคำนึง คำนึงแคไหน หรือไมได คำนึง จะแก จะชวยกันยงั ไง” อ.สมหมาย ชินนาค จากสาขาวิชาภูมิภาคลุมน้ำโขงศึกษา คณะศิลปศาสตร ม. อบุ ลฯ ระบุ ทางออก : การบริหารจัดการทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ อ.สุทธิศกั ดิ์ ศรลมั พในฐานะผูเช่ยี วชาญดานธรณภี ยั คณะวศิ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ใหสมั ภาษณกับ BBC Thai เอาไววา ทางออกทคี่ วรจะเปนอยทู กี่ ารบริหารจัดการน้ำใหมีประสทิ ธิภาพ การบรหิ ารจดั การนำ้ ในมุมมองของ อ.สุทธศิ ักด์ิ ไมไดหมายถงึ แคเรื่องแกไขนำ้ ทวม แตยงั รวมไปถงึ การจดั การปรมิ าณของนำ้ ท้งั ปลอย-กกั เกบ็ น้ำในชวงหนาแลงใหมปี ระสทิ ธภิ าพดวยเหมือนกนั ทั้งนี้ หน่ึงในเคร่อื งมอื สำคัญที่ชวยใหจัดการน้ำไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพคือ ‘แกมลงิ ’ (พื้นทกี่ ักเก็บพักน้ำ) ท่ีจะ ชะลอไมใหมวลน้ำโหมเขาสูพื้นทีอ่ ืน่ ๆ ในรวดเดยี ว ซ่ึงพ้นื ที่แกมลิงในอบุ ลฯ ลดหายไปพอสมควร เพราะการ เจริญเตบิ โตและการขยายตวั ของเมอื งที่เขามาแทนที่แกมลิงเหลานนั้ ในขณะเดียวกนั ยังมีคนที่ต้ังขอสงั เกตถึงเร่ืองการกระจายอำนาจและงบประมาณการจดั การภยั พิบตั ิ ใหกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ กวานี้ดวยเหมือนกัน

11 ภาพการเกิดนำ้ ทวมอุบลราชธานี

12 สรปุ ตวั ทีต่ ัง้ ของจังหวัดอบุ ลฯ เองก็อยใู นจุดหลกั ในการรบั นำ้ มาจากภาคอีสานตอนบนและลาง โดยเฉพาะ จากจังหวดั รอยเอด็ ยโสธร อำนาจเจริญ อีกท้งั ยงั เปนพื้นท่ีรวมแมนำ้ สายหลกั จากแมนำ้ มลู และแมน้ำชอี กี ดวย อธิบายอีกแบบหนึ่งไดวา ตำแหนงและลกั ษณะทางภมู ิศาสตรของ อบุ ลฯ เปนเหมือนกบั ‘ปราการดานสุดทาย’ หรอื ‘ปลายทางรบั นำ้ ’ ทจี่ ะรับมวลน้ำกอนไหลลงสูแมนำ้ โขงนน่ั เองและถึงแมวาเขื่อนปากมลู จะเปดประตู ระบายน้ำออกมาแบบเต็มกำลังทั้ง 8 บานเพ่ือชวยระบายน้ำลงสแู มน้ำโขง แตแมน้ำโขงเองกม็ รี ะดับทสี่ ูงอยู แลว มนั เลยยิ่งทำใหการระบายเปนไปไดคอนขางยากเหมือนกนั

13 บรรณานกุ รม วกิ ิพีเดีย สารานกุ รมเสร.ี (2545). น้ำทวมอุบลราชธาน.ี (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : https://wikipedia.org/wiki/. (วันทคี่ นขอมลู : 13 ตุลาคม 2563).

14


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook