Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 152116_พายุโซนร้อนปาบึก

152116_พายุโซนร้อนปาบึก

Published by kru_leed, 2020-10-21 13:44:58

Description: 152116_พายุโซนร้อนปาบึก

Search

Read the Text Version

1 พายุโซนร้อนปาบกึ จดั ทำโดย นายรัฐธรรมนญู กลุ กอม เลขท่ี 10 นางสาววชิ ญาพร พูลสารกิ จิ เลขท่ี 24 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรยี นปางศิลาทอง ศึกษา สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 41 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื ฐาน กระทรวงการศึกษา

2 รายงาน เรอื่ ง พายุโซนรอ้ นปาบกึ (พ.ศ.2562) จดั ทำโดย นายรฐั ธรรมนูญ กลุ กอม เลขที่ 10 นางสาววชิ ญาพร พูลสารกิ จิ เลขที่ 24 เสนอ อาจารย์ จิระวฒั น์ โรจนศิลป์ รายงานเล่มน้ีเปน็ สว่ นหน่งึ ของวชิ า ส32101 สังคมศึกษา 3 โรงเรียนปางศลิ าทองศกึ ษา อำเภอปางศลิ าทอง จงั หวัดกำแพงเพชร สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 41

3 คำนำ รายงานน้ีจดั ทำข้นึ เพื่อเป็นส่อื การเรียนการสอนในรายวิชาสงั คมศึกษา 3 ส 32101 ในรายงานเล่มนจ้ี ะ ประกอบไปดว้ ย พายโุ ซนรอ้ นปาบกึ ผลกระทบจากพายุโซนร้อนปาบกึ ประวตั ทิ างอุตนุ ยิ มวทิ ยา เสน้ ทางพายุ แผนภาพแสดงเสน้ ทางพายุท่ีเคลื่อนผา่ นภาคใต้ของประเทศไทยความสงู คล่ืนทะเล และการเตรยี มการป้องกนั อนั ตรายจากพายุ อ่งึ ผู้จัดทำรายงานเลม่ นหี้ วงั เปน็ อยา่ งย่งิ วา่ รายงานเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์แกผ่ ูที่มาศึกษาความรู้ ทางด้านพายโุ ซนรอ้ น เพ่ือที่ใชใ้ นการศึกษาต่อยอดตวามรู้เป็นอยา่ งยิ่ง รัฐธรรมนูญ กลุ กอม วชิ ญาพร พูลสารกิ ิจ ผู้จดั ทำ

สารบัญ 4 เรื่อง ปกนอก หนา้ ปกใน คำนำ 2 สารบญั 3 พายุโซนร้อนปาบึก 4 ผลกระทบจากพายโุ ซนร้อนปาบกึ 5 ประวัติทางอุตนุ ยิ มวทิ ยา 5 เส้นทางพายุ 6 แผนภาพแสดงเส้นทางพายุทีเ่ คลื่อนผา่ นภาคใต้ของประเทศไทย 7 ความสงู คล่ืนทะเล 8 การเตรียมการปอ้ งกนั อนั ตรายจากพายุ 9 สรุป 10 ภาคผนวก 11 ภาพการเกิดพายปุ าบกึ 12 บรรณานุกรม 13 14

5 พายุโซนรอ้ นปาบึก(พ.ศ.2562) พายุโซนร้อนปาบกึ หรอื พายไุ ซโคลนปาบึก เป็นพายกุ ำลงั ออ่ นท่ีพดั เข้าคาบสมุทรมลายูใน เดือนมกราคม พ.ศ. 2562 ทั้งยังเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่เป็นพายุโซนร้อนเร็วที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิก ตะวันตกเฉียงเหนอื และมหาสมทุ รอินเดยี เหนอื ก่อตัวข้ึนในวันสิ้นปีของปี พ.ศ. 2561 และมกี ำลังอยู่ในชว่ งต้น เดือนมกราคม พ.ศ. 2562 และเคลื่อนตัวลงสู่แอ่งมหาสมุทรอินเดียเหนือในช่วงท้าย ปาบึกเป็นพายุหมุนเขต ร้อนลูกแรกที่ได้รับชื่อของฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 และพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2562 เริ่มต้นจากการเป็นพื้นที่ของอากาศแปรปรวนในเขตร้อนบริเวณทะเลจีนใต้ตอนล่างเมื่อวันที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 จากน้ันระบบได้มีการจดั ระเบียบเปน็ พายุดเี ปรสชันเขตร้อนในวนั ที่ 31 ธนั วาคม หน่ึงวัน ให้หลัง ระบบได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนและได้รับชื่อว่า ปาบึก ต่อมาพายุปาบึกพัดขึ้นฝั่งในภาคใต้ ของประเทศไทย ก่อนจะพัดลงสู่อ่าวเบงกอลในแอ่งมหาสมุทรอินเดียเหนือ จากนั้นปาบึกได้อ่อนกำลังลงเป็น หย่อมความกดอากาศตำ่ เขตร้อนทหี่ ลงเหลือในวันที่ 7 มกราคม และสลายตวั ลงในวันต่อมา ปาบกึ ทำให้มผี ู้เสยี ชีวิตทัง้ หมด 10 คน และสรา้ งความเสียหายตามประมาณการรวม 157 ลา้ นดอลลาร์ สหรัฐ (ประมาณ 5 พันล้านบาท) โดยในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตจำนวน 8 คน และสร้างความเสียหายทาง เศรษฐกิจประมาณ 156 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 4.9 พันล้านบาท) และยังทำให้มีผู้เสียชีวิตในประเทศ เวยี ดนามและมาเลเซยี ประเทศละหนึ่งคน ผลกระทบจากพายุโซนร้อนปาบกึ ประเทศเวียดนาม ในประเทศเวยี ดนาม พายโุ ซนร้อนปาบึกทำใหม้ ีผ้เู สยี ชวี ติ จำนวนหนง่ึ คน และสร้างความเสียหายขึ้นใน ประเทศเวยี ดนามประมาณ 2.787 หมืน่ ลา้ นดง่ (1.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 38 ลา้ นบาท) ประเทศไทย ในประเทศไทยมีความเสียหายจากอุทกภัย และวาตภัยในช่วงกลางคืน ต้นไม้หักโค่นจำนวนมาก โดย พายุปาบึกทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 8 คนในประเทศไทย หนึ่งในนั้นเป็นนักท่องเที่ยวชาวรัสเซีย โดย 3 คน เสียชีวิตจากเศษที่ปลิวโดยลมและน้ำขึ้นจากพายุ ปาบึกทำให้เกิดความเสียหายในประเทศไทยประมาณ 5 พันลา้ นบาท (156 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ) ประเทศพมา่ ในประเทศพมา่ มีรายงานตน้ ไมห้ กั โค่นและเสาไฟฟ้าลม้ หลายพนื้ ท่ี และทาใหม้ ีไฟฟ้าดบั เป็นบรเิ วณกวา้ ง

6 ประวัติทางอตุ ุนิยมวทิ ยา การแปรปรวนของอากาศในเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตอนใต้ของทะเล ก่อตัว 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 จีนใต้ในวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2561 โดยรวมเข้ากับหย่อมความกดอากาศ ต่ำที่หลงเหลือของพายุดีเปรสชันเขตร้อน 35W ในวันที่ 30 ธันวาคม ภายใต้ สลายตวั 8 มกราคม พ.ศ. 2562 ลมเฉือนแนวตั้งกำลังแรง ทำให้หย่อมความกดอากาศต่ำยังคงไม่มีการจัด ระเบียบจนวันที่ 31 ธันวาคม เมื่อทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นและศูนย์เตือน (เป็นหย่อมความกดอากาศต่ำทหี่ ลงเหลอื หลงั วนั ที่ 7 มกราคม) ไตฝ้ ุ่นร่วมไดป้ รับใหร้ ะบบเปน็ พายุดีเปรสชันเขตร้อน ส่วนกรมอุตุนิยมวิทยา ได้ออกประกาศเรื่องพายุดีเปรสชนั ฉบับท่ี 1 ในเวลา 16.00 น. โดยศูนย์เตือน ไต้ฝุ่นร่วมได้ให้รหัสเรียกกับพายุว่า 36W เป็นพายุลูกสุดท้ายอย่างไม่เป็น ความเร็วลม เฉล่ียลมใน 10 นาท:ี ทางการของฤดูพายุไต้ฝุ่น พ.ศ. 2561 ต่อมาในเวลา 06.00 น. UTC (เวลา สงู สุด 85 กม./ 13.00 น. ตามเวลาในประเทศไทย) วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 กรม ชม. (50 ไมล/์ ชม.) อุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นได้ปรับให้พายุดีเปรสชันเขตร้อนเป็นพายุโซนร้อนลูกแรก เฉล่ียลมใน 3 นาที: ของฤดูพายุไต้ฝุ่น พ.ศ. 2562 และให้ชื่อว่า ปาบึก (Pabuk) โดยเป็นพายุที่ 85 กม./ เหนอื กว่าพายุไต้ฝุ่นอลิซใน พ.ศ. 2522 และเป็นพายโุ ซนร้อนท่ีก่อตัวเร็วท่ีสุด ชม. (50 ไมล์/ชม.) ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือในสถิติ โดย ณ เวลานั้น ปาบึกอยู่ เฉลย่ี ลมใน 1 นาที: ห่างจากนครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนามไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 650 กม. 95 กม./ และเคลื่อนตวั เล้ียวไปทางตะวนั ตกอยา่ งชา้ ๆ พร้อมการไหลเวียน ชม. (60 ไมล/์ ชม.) ระดบั ตำ่ ทีศ่ ูนยก์ ลางทเ่ี ปิดออกเปน็ บางสว่ น ความกด 996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์) ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ร่อแร่ คือ อุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลที่อบอุ่น, มี อากาศตำ่ สดุ การไหลออกที่ขั้วอย่างดีเยี่ยม แต่มีลมเฉือนแนวตั้งที่พัดแรง ทำให้ปาบึก พยายามเร่งการทวีกำลังแรงมากขึ้นเป็นเวลาสองวัน ก่อนที่จะเคลื่อนตัวเร่ง ผูเ้ สยี ชีวติ รวม 10 คน ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือและเข้าสู่อ่าวไทยในวันท่ี 3 มกราคม ซ่งึ ในอ่าวไทย ความ 157.2 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐ เป็นบรเิ วณท่ลี มเฉือนแนวตั้งพัดเบาลงและอ่อนลง ทำให้ปาบึกกลายเป็นพายุ เสยี หาย (ค่าเงนิ ปี 2019) โซนร้อนลูกแรกที่พัดอยู่ในอ่าวนับตั้งแต่พายุหมุ่ยฟ้าในฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2547 โดยที่เวลาขณะนั้น พายุปาบึกพยายามที่จะสร้างตาพายุขึ้น ซึ่ง พื้นท่ีได้รับ ประเทศเวียดนาม, ไทย สามารถสังเกตได้ผ่านทางภาพถ่ายคลื่นไมโครเวฟวันที่ 4 มกราคม กรม ผลกระทบ , มาเลเซีย, พมา่ , หมเู่ กาะอันดา อุตุนิยมวิทยารายงานว่าปาบึกพัดขึ้นฝั่งที่อำเภอปากพนัง จังหวัด มัน นครศรีธรรมราช ในเวลา 12.45 น. (05.45 UTC) แม้ว่าสำนักอุตุนิยมวิทยา อื่น ๆ จะชี้ว่าปาบึกจะพัดขึ้นฝั่งขณะมีกำลังสูงสุดในระหว่างเวลา 06.00 ถึง 12.00 UTC (13.00 ถงึ 19.00 น. ตามเวลาในประเทศไทย)

7 ทำให้ปาบึกกลายเป็นพายุโซนร้อนลูกแรกที่พัดขึ้นฝั่งในภาคใต้ของประเทศไทย นับตั้งแต่พายุลินดาเมื่อ พ.ศ. 2540 ไม่นานหลังจาก 12.00 UTC (19.00 น. ตามเวลาในประเทศไทย) กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นได้ออก คำแนะนำฉบับเต็มสำหรับปาบึกเป็นฉบับสุดท้าย เนื่องจากพายุได้เคลื่อนตัวออกจากแ อ่งและเข้าสู่แอ่ง มหาสมทุ รอินเดียเหนอื แล้ว ไม่นานหลังจากที่ปาบึกพัดข้ามแอ่งไปแล้ว กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดียได้ออกคำแนะนำฉบบั แรกกบั พายุ ทำให้ปาบึกกลายเป็นพายุไซโคลนลูกแรกของแอ่งที่ก่อตัวเร็วที่สุดเช่นกัน โดยเร็วกว่าพายุไซโคลนฮีบารูในปี พ.ศ. 2548 รวมถึงยังเป็นพายุไซโคลนลูกแรกของแอ่งที่มีชื่อที่ได้รับจาก RSMC โตเกียวด้วย ต่อมาอีกไม่กี่วัน ปาบึกยังคงเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนืออย่างต่อเนื่อง ก่อนจะอ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศ ต่ำกำลังแรงในวันที่ 7 มกราคม โดยหย่อมความกดอากาศต่ำที่หลงเหลือได้เลี่ยวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ และสลายตวั ลงในวนั ที่ 8 มกราคม ตามลำดับ เส้นทางพายุ พายุ “ปาบึก” ก่อตวั ขึน้ จากหยอ่ มความกดอากาศต่ำบรเิ วณทะเลจีนใตต้ อนลา่ ง เมอื่ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2561 แล้วทวกี ำลังแรงข้ึนเปน็ พายุดเี ปรสชันในวนั เดยี วกัน หลังจากน้ันได้เคล่ือนตวั ไปทางทศิ ตะวันตกเฉียง ใต้ แลว้ ทวกี ำลงั แรงขน้ึ เปน็ พายุโซนร้อนในวันท่ี 1 มกราคม 2562 พร้อมกบั เคล่ือนตัวไปทางทิศตะวนั ตกอย่าง ตอ่ เน่ือง จนถงึ ชว่ งเชา้ ของวนั ที่ 3 มกราคม 2562 พายดุ ังกลา่ วได้เร่มิ เปลี่ยนทศิ ทางการเคลือ่ นตวั ไปทางทิศ ตะวันตกเฉยี งเหนอื มุ่งหนา้ เข้าสู่บริเวณอ่าวไทยตอนลา่ ง ในขณะทค่ี วามแรงของพายยุ ังคงอย่ใู นระดับพายโุ ซน ร้อน ตอ่ มาในชว่ งเทย่ี งของวนั ท่ี 4 มกราคม 2562 พายดุ ังกลา่ วไดเ้ คล่ือนขึ้นฝงั่ บริเวณ อ.ปากพนงั จ. นครศรีธรรมราช ในขณะท่ีความแรงของพายดุ ังคงอยู่ในระดบั พายโุ ซนร้อน และต่อมาได้เคลื่อนตัวปกคลมุ บรเิ วณจงั หวัดพังงาพรอ้ มกบั ลดกำลังลงเปน็ พายุดีเปรสชันในช่วงเช้าของวนั ท่ี 5 มกราคม 2562 แล้วเคลื่อนตัว ลงทะเลอันดามันไปในวนั เดยี วกนั ก่อนสลายตวั ไปในช่วงค่ำของวนั ที่ 5 มกราคม 2562 ภาพ เสน้ ทางพายปุ าบกึ ทีม่ า : https://en.wikipedia.org/wiki/2019_Pacific_typhoon_season

8 แผนภาพแสดงเสน้ ทางพายทุ ี่เคลือ่ นผา่ นภาคใตข้ องประเทศไทย หากเปรียบเทียบเส้นทางและความรุนแรงของพายุโซนร้อน \"ปาบึก\" (PABUK) กับพายุลูกอื่นที่เคย สร้างความเสียหายให้กับภาคใต้ของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นพายุโซนร้อน \"แฮเรียต\" (HARRIET) ในปี 2505 พายุไต้ฝุ่น \"เกย์\" (GAY) ปี 2532 พายุไต้ฝุ่น \"ลินดา\" (LINDA) ปี 2540 และพายุไต้ฝุ่น \"ทุเรียน\" (DURIAN) ปี 2549 จะพบว่าพายุโซนร้อนแฮเรียตและพายุโซนร้อนปาบึก เคลื่อนขึ้นฝั่งที่บริเวณ อ.ปากพนัง จ. นครศรธี รรมราช เหมอื นกัน ดว้ ยความแรงท่อี ย่ใู นเกณฑ์พายโุ ซนรอ้ นเหมือนกนั ท่ีมา : Weather Underground https://www.wunderground.com/ , U.S. research Laboratory , www.thaiwater.net แตพ่ ายุโซนร้อนปาบึกมีความเรว็ ลมมากกว่า สว่ นพายลุ นิ ดาเคลอ่ื นขน้ึ ฝงั่ บริเวณ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ด้วยความเรว็ ลมในระดบั พายุโซนร้อน ส่วนพายไุ ตฝ้ ุน่ ทุเรียน ถงึ แมจ้ ะเปน็ พายุที่มีความเร็วลมอยใู่ นเกณฑ์พายุ ไตฝ้ ่นุ แตก่ ่อนทจี่ ะเคล่ือนตวั เขา้ สู่ภาคใต้ของไทย พายไุ ด้ลดกำลงั ลงมาอยใู่ นเกณฑ์พายุดีเปรสชันเท่านัน้ มีเพียง พายไุ ต้ฝ่นุ เกย์เพียงลูกเดียวในประวัตศิ าสตร์ ที่เคล่ือนตัวเข้ามาในประเทศไทยด้วยความแรงในระดับพายุไตฝ้ ุ่น

9 ความสงู คลื่นทะเล 2/1/2562 3/1/2563 4/1/2562 5/1/2562 ทมี่ า : OceanWeather inc. https://www.oceanweather.com/ , คลงั ขอ้ มลู นำ้ และ ภมู ิอากาศแหง่ ชาติ www.thaiwater.net แผนภาพแสดงความสูงของคล่ืนและทิศทางของคลน่ื แสดงให้เห็นว่า จากอิทธิพลของพายโุ ซนรอ้ น \"ปา บึก\" (PABUK) ส่งผลให้ความสงู ของคลื่นบรเิ วณอ่าวไทยตอนล่างเร่มิ เพิ่มสูงขึ้นเปน็ 1-2 เมตร ในวันท่ี 2 มกราคม 2562 ตอ่ มาในวันที่ 3 มกราคม 2562 ชายฝัง่ ภาคใตต้ ัง้ แต่จังหวดั พัทลุงลงไปมีความสูงคล่ืนเพมิ่ ขน้ึ เป็น 3-5 เมตร เนอ่ื งจากพายุได้เคล่ือนเข้ามาใกลบ้ ริเวณดังกลา่ ว และเนื่องจากพายมุ ีทิศทางการเคล่ือนตวั ข้ึน ไปทางทศิ เหนือ สง่ ผลทำให้บริเวณชายฝงั่ ที่พายเุ คล่อื นเข้าไปใกล้มีความสงู เพิม่ ขึ้น โดยเฉพาะชายฝ่ังบริเวณ จงั หวัดนครศรีธรรมราชและสุราษฎร์ธานี ทีม่ ีคลน่ื สงู เพ่ิมขน้ึ เป็น 3-5 เมตร ในวนั ท่ี 4 มกราคม 2562 แต่บริเวณ

10 ชายฝง่ั ต้งั แต่จังหวดั สงขลาลงไป ความสูงของคลืน่ ลดลงเหลือประมาณ 2-3 เมตร ต่อมาในวันที่ 5 มกราคม 2562 ที่ถึงแม้พายุจะเคลื่อนตัวลงทะเลอันดามันไปแล้ว แต่อิทธิพลของพายยุ ังคงสง่ ผลทำให้มคี ลืน่ สูง 2-4 เมตร บรเิ วณชายฝั่งจงั หวัดชมุ พรและประจวบคีรขี นั ธ์ และเรมิ่ กลบั เขา้ สู่สภาวะปกติในวันที่ 6 มกราคม 2562 การเตรยี มการป้องกนั อนั ตรายจากพายุ 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คำเตอื นจากกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยาสม่ำเสมอ 2. สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้ายแกก่ รมอุตุนยิ มวทิ ยา 3. ซ่อมแซม อาคารใหแ้ ข็งแรง เตรยี มปอ้ งกันภยั ใหส้ ัตว์เล้ียงและพืชผลการเกษตร 4. ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพบิ ตั ิ เตรยี มพร้อมรบั มือ และวางแผนอพยพหากจำเปน็ 5. เตรยี มเคร่ืองอุปโภค บรโิ ภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยกุ ระเปา๋ ห้วิ ติดตามขา่ วสาร 6. เตรียมพร้อมอพยพเมื่อไดร้ ับแจง้ ใหอ้ พยพ

11 สรปุ พายโุ ซนรอ้ น “ปาบึก” (PABUK) ก่อตวั ขึน้ จากหย่อมความกดอากาศต่ำบรเิ วณทะเลจีนใตต้ อนลา่ ง เมอ่ื วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และมีทิศทางการเคลื่อนตวั มาทางทิศตะวันตกม่งุ เข้าสู่อ่าวไทยตอนลา่ ง โดย อทิ ธพิ ลของพายเุ ริ่มส่งผลทำให้เกดิ ฝนตกเพิม่ ขน้ึ บรเิ วณภาคใต้ตอนลา่ งตง้ั แตว่ ันท่ี 2 มกราคม 2562 และได้ เคลือ่ นขนึ้ ฝ่งั บริเวณ อ.ปากพนงั จ.นครศรีธรรมราช ในขณะท่คี วามแรงของพายุอยใู่ นระดบั พายโุ ซนร้อน ในช่วงเทีย่ งของวนั ท่ี 4 มกราคม 2562 และต่อมาได้เคลอื่ นตวั เข้าปกคลมุ บรเิ วณจงั หวัดพงั งาพรอ้ มกบั ลดกำลงั ลงเปน็ พายุดเี ปรสชันในช่วงเช้าของวนั ท่ี 5 มกราคม 2562 ก่อนทีจ่ ะเคล่ือนตัวลงทะเลอันดามันไปในวัน เดยี วกนั เม่อื เปรียบเทียบเสน้ ทางและความรุนแรงของพายโุ ซนร้อน \"ปาบกึ \" (PABUK) กับพายุลูกอ่นื ท่ีเคย สรา้ งความเสียหายให้กับภาคใต้ของไทยอดีต ไม่ว่าจะเป็นพายโุ ซนรอ้ น \"แฮเรยี ต\" (HARRIET) ในปี 2505 พายุ ไตฝ้ ุ่น \"เกย์\" (GAY) ปี 2532 พายุไต้ฝ่นุ \"ลนิ ดา\" (LINDA) ปี 2540 และพายุไตฝ้ นุ่ \"ทุเรียน\" (DURIAN) ปี 2549 พบวา่ พายโุ ซนร้อนแฮเรยี ตและพายโุ ซนร้อนปาบกึ เคล่ือนขนึ้ ฝง่ั ท่บี รเิ วณ อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เหมอื นกัน ด้วยความแรงท่ีอยใู่ นเกณฑ์พายุโซนรอ้ นเหมือนกนั แตพ่ ายุโซนรอ้ นปาบึกมคี วามเร็วลมมากกวา่ ส่วนพายุลนิ ดาเคล่อื นข้ึนฝ่ังบรเิ วณ อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ด้วยความเร็วลมในระดบั พายโุ ซนร้อน เช่นเดยี วกันกับพายุแฮเรียตและพายุปาบึก ส่วนพายไุ ต้ฝุน่ ทเุ รียน ถึงแม้จะเปน็ พายุทม่ี ีความเร็วลมอยูใ่ นเกณฑ์ พายไุ ตฝ้ ุน่ แตก่ ่อนทีจ่ ะเคลือ่ นตัวเข้าสู่ภาคใต้ของไทย พายุได้ลดกำลงั ลงมาอยู่ในเกณฑ์พายดุ เี ปรสชนั เทา่ น้ัน มี เพยี งพายุไต้ฝุ่นเกยเ์ พียงลูกเดียวในประวตั ิศาสตร์ ที่เคลอ่ื นตัวเขา้ มาในประเทศไทยด้วยความแรงในระดับพายุ ไต้ฝุน่

12 ภาคผนวก

13 ภาพการเกดิ พายปุ าบกึ

14 บรรณานกุ รม บันทึกเหตุการณน์ ำ้ ท่วมจากอิทธพิ ลของพายโุ ซนร้อน\"ปาบึก\"(PABUK).เข้าถึงได้ท่ี https://www.thaiwater.net/current/2019/pabuk/pabuk2019.html เมอ่ื วนั ท่ี 20 ตุลาคม 2563 พายโุ ซนร้อนปาบึก.เขา้ ถึงได้ที่ https://th.wikipedia.org/wiki/%1_(%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2562) เม่อื วันที่ 20 ตลุ าคม 2563 การเตรยี มการปอ้ งกันภัยอนั ตรายจากพายุ.เข้าถึงได้ที่ http://storm5.weebly.com/3585363436193611365736293591358536333609362936333609360 53619363436183592363435853614363436183640.html เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563

15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook