Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore paksa 31001

paksa 31001

Description: paksa 31001

Search

Read the Text Version

43 แนวการตอบ การพูดทุกคร้งั จําเปนตอ งคดิ และเปน การคดิ กอ นพดู กิจกรรม ใหอา นเรื่อง “การมองโลกในแงดี” และสรปุ เร่ืองทอี่ า น ใหไดป ระมาณ 15 บรรทัด เรอื่ ง “การมองโลกในแงด ี” ความหมายและความสําคญั ของการมองโลกในแงด ี การดําเนินชีวิตของมนุษยเราน้นั ไดใ ชค วามคดิ มาชวยในการตดั สินใจเรอื่ งราวตา งๆ ที่อยูร อบตัวเรา ไดอยางเหมาะสม ซึ่งในบางครั้งการมองโลกโดยใชความคิดนี้ ก็อาจจะมีมุมมองไดหลายดาน เชน ทางดาน บวกและทางดานลบ การมองโลกในลักษณะเชนนี้ สามารถถายทอดความรูสึกนึกคิดออกมาทางจิตใจ เปน ตน วา ถา มองโลกในแงด กี จ็ ะสง ผลตอความรสู กึ นกึ คดิ ในดา นดีโดยทําใหก ารแสดงออกของคน ๆ นนั้ มี ความสุขตอการดําเนินชีวิตได แตในทางกลับกันถามองโลกในแงรายก็จะสงผลมายังความรูสึกนึกคิดทําให จติ ใจเกดิ ความวติ กกงั วล ขาดความสุขและอาจจะทําใหมองคนรอบขางอยางไมเปนมิตรได ฉะนน้ั การมอง โลกในแงด เี พ่ือใหเ กดิ ประโยชนต อ การดาํ เนนิ ชวี ิตควรมีหลกั อยา งไร ลองฟงความคิดเห็นของบุคคลทั่วไป วาเขามีความเขาใจกันอยางไรดูบาง การมองโลกในแงด ี หมายถึงมองสิ่งตาง ๆ หรือมองปญหาตางๆ ที่เขามาในทางที่ดี ในทางบวก ไมใชในทางลบ มีผลตอสุขภาพจิตของเราดวย มองสิ่งรอบขาง รอบตัวเรา และมองดคู นรอบขา งดว ย รวมทงั้ มองตวั เราเองดวย สําหรับการมองโลกในแงดี คิดวาถาเรามองคนรอบตัวหรือมองเหตุการณที่ผานมา ถา เราคิดในสิ่งที่ ดี คอื ไมคดิ มาก คดิ วา คงจะไมมีเหตุการณอะไรเขามาสตู วั เรา จะทาํ ใหจ ติ ใจเราเปนสขุ ซึง่ จะสงผลถงึ ประสิทธิภาพในการทํางานและครอบครัวของเราดวย หลกั การมองโลกในแงดี คําวา การมองโลกในแงดี โดยในแงของภาษาสามารถแยกออกเปน 3 คําแตกตางจากกัน คาํ ท่ีหนึ่ง คือ การมอง คําที่สองคือ โลก คาํ ทสี่ าม คือ ในแงด ี เปาหมายของการมอง คือ เพ่ือใหเ ห็นการจะเห็นสิ่งใดเรามวี ิธีเหน็ 2 วธิ ี 1. ใชตามอง เรียกวามองเห็น เราเหน็ หองน้ํา กาแฟ เห็นสรรพสิ่งในโลกเราใชตามอง 2. คดิ เหน็ เรากับคุณแมอ ยหู า งกันแตพ อเราหลบั ตาเรายังนึกถงึ คณุ แมได เราไมไดไปเมืองนอกมา นานหลบั ตายงั นึกถึงสมยั เราเรยี นๆ ที่ตรงน้ัน อยางน้ีเรยี กวาคิดเห็น เพราะฉะนั้นการที่จะเห็นสิ่งใดสามารถ ทําไดทั้งตากับคิด การมองโลกบางครั้งอาจมองดูเห็นปบคิดเลย หรือบางทไี มต อ งเห็นแตจ นิ ตนาการ ทา นคดิ และเหน็ คําวาโลก เราสามารถแยกเปน 2 อยาง คือ โลกท่ีเปน ธรรมชาติ ปา ไม แมน า้ํ ภูเขา อยางนเ้ี รียกวาเปน ธรรมชาติโลกอีกความหมายหนึ่ง คือ โลกของมนุษย พวกที่มนษุ ยอยเู รยี กวาสังคมมนุษย เพราะฉะน้ันเวลา มองโลกอาจมองธรรมชาติ บางคนบอกวามอง ภูเขาสวย เห็นทิวไมแลวชอบ เรียกวามองธรรมชาติ แต

44 บางครั้งมองมนุษยดวยกัน มองเห็นบุคคลอื่นแลวสบายใจ เรียกวาการมองเหมือนกัน เพราะฉะนั้นโลกจึง แยกออกเปน 2 สว น คือธรรมชาติกับมนุษย คาํ วาดี เปน คาํ ที่มีความหมายกวางมาก ในทางปรัชญาถือวาดี หมายถึงสิ่งที่จะนําไปสู ตัวอยางเชน ยาดี หมายถงึ ยาท่ีนาํ ไปสู คอื ยารักษาโรคน่นั เอง มีดดี คอื มีดทีน่ าํ ไปสู คือสามารถตดั อะไรได หรืออาหารดี หมายความวาอาหารนําไปสูใหเรามีสุขภาพดีขึ้น เพราะฉะนน้ั อะไรท่ีนาํ ไปสสู กั อยางหนึง่ เราเรยี กวา ดี ดีใน ที่นี้ดูได 2 ทางคือ นําไปทําใหเราเกิดความสุข หรือนําไปเพื่อใหเราทํางานประสบความสําเร็จ ชวี ติ เราหนี การทาํ งานไมได หนีชีวติ สว นตวั ไมไ ด เพราะฉะนน้ั ดูวา มองคนแลว ทาํ ใหเราเกดิ ความสขุ ทําใหทํางาน ประสบความสําเร็จ ถารวม 3 ตวั คือเราเห็น หรอื เราคิดเกี่ยวกับคน แลวทําใหเรามีความสุข เรามอง เราคิดกับคน ทําให เราประสบความสําเร็จ นี่คือความหมาย สรุปความสําคัญของคําวา การมองโลกในแงด ี คือ 3 อยางนี้ตองผกู พันกนั เสมอคือ การคิด การทํา และผลการกระทํา ถาเราคิดดีเรากท็ าํ ดี ผลจะไดดดี วย ตัวอยา งเชน เราคดิ ถึงเรอ่ื งอาหาร ถา เราคดิ วา อาหารน้ี ดี เราซื้ออาหารน้ี และผลจะมตี อรา งกายเรา ถาเราคดิ ถงึ สุขภาพ เร่ืองการออกกําลัง เราก็ไปออกกําลังกาย ผล ที่ตามมาคือ รางกายเราแข็งแรง เพราะฉะนั้นถาเราคิดอยางหนึ่ง ทําอยางหนึ่ง และผลการกระทําออกมาอยาง หนง่ึ เสมอ ถาการมองโลกจะมีความสําคัญคือ จะชวยทําใหชีวิตเรามีความสุข เพราะเราคิดคนๆ นี้ในแงดี เรา จะพดู ดีกบั เขา ผลตามมาก็คือเขาจะมีปฏิกิริยาในทางดีกับเรา ถาเราคิดในทางรายตอเขา เชน สมมติคณุ กําลัง ยืนอยู มีคนๆ หนง่ึ มาเหยยี บเทา คุณ ถาคิดวาคนที่มาเหยียบเทาคุณ เขาไมสบายจะเปนลม แสดงวา คณุ คดิ วา เขาสุขภาพไมดี คุณจะชวยพยงุ เขา แตถ า คุณคิดวาคนนี้แกลง คณุ แสดงวา คุณมองในแงไมด ี คณุ จะมีปฏิกริ ิยา คอื ผลักเขา เมื่อคุณผลกั เขาๆ อาจจะผลกั คุณและเกิดการตอสกู ันได เพราะฉะนั้นคิดทีด่ ีจะชว ยทาํ ใหชวี ิตเรามี ความสุข ถาคิดรายหรือคิดทางลบชีวิตเราเปนทุกข ถาคิดในทางที่ดีเราทํางานประสบความสําเร็จ ถา คดิ ในแง ลบงานของเราก็มีทุกขตามไปดวย (ท่มี า: http://www.stou.ac.th/Thai/Offices/Oce/Knowledge/4-46/page6- 4-46.html) สขุ หรือทกุ ขขนึ้ อยูก ับอะไร? ขาวที่มีผูถูกหวยรฐั บาลไดรางวัลเปนจํานวนหลายลานบาท เรียกวาเปนเศรษฐภี ายใน ชว่ั ขามคนื คงเปนขาวที่ทุกทานผานตามาแลว และกด็ เู หมอื นจะเปนทุกขลาภอยไู มนอ ยทต่ี องหลบเล่ยี งผทู ่ีมาหยิบยมื เงนิ ทอง รวมทั้ง โจร-ขโมย จองจะแบงปนเงินเอาไปใช ในตางประเทศ ก็เคยมีการศึกษาถึงชีวิตคนที่ถูกหวยในลักษณะของกรณีศึกษาก็คนพบวาหลายตอ หลายคน ประสบความทุกขยากแสนสาหัสกวาเดิม หลายรายตองสูญเสียเงินทองจํานวนมาก มอี ยรู ายหนง่ึ ที่ สุดทายกลับไปทํางานเปนพนักงานทําความสะอาด ความเปนจริงแลว พบวา วิธคี ดิ หรือโลกทัศนข องเรา

45 ตางหากที่บงบอกถึงความสามารถในการมีความสุขหรือความทุกข วธิ คี ิดอยา งไร นํามาซึง่ ความสุข? คงไมใ ชว ธิ คี ดิ แบบเดยี วอยา งแนน อน แตวิธคี ิดซ่ึงมีอยูหลายแบบและนํามาซึง่ ความสขุ นน้ั มกั มี พนื้ ฐานคลายๆกัน คอื การมองดา นบวกหรือคาดหวงั ดานบวกรวมทั้งมองเห็นประโยชนจากสิ่งตางๆ (แมว า จะเปนเหตกุ ารณท ่เี ลวรา ยกต็ าม) แตก วาทีค่ นเราจะ \"บรรล\"ุ ความเขาใจได ก็อาจใชเวลาเปนสิบๆ ป เลยทเี ดยี ว ครสิ โตเฟอร รฟี อดีตดาราในบทบาทของซุปเปอรแมน ไดประสบอุบัติเหตุตกจากหลังมา เขาเคยใหส มั ภาษณใ นรายการหนึ่ง วา เขาตองปรับตัวอยางมากในชวงแรกๆ แลวในที่สุด เขาก็สามารถมีความสุขได แมวาจะไมสามารถขยับ แขนขยับขาไดดังใจนึกก็ตาม ผบู รหิ ารคนหนงึ่ ของบรษิ ัทในเครือเย่ือกระดาษสยาม เลาวา เขาโชคดีทีถ่ ูกลูกคาดา เมอ่ื สบิ กวา ปที่ แลว ในเวลานน้ั ลูกคาซ่งึ เปน ผจู ดั การบรษิ ทั แถวถนนสาธปุ ระดษิ ฐ ไมพอใจเซลลขายกระดาษคนกอนเปน อยางยิ่งที่ปรับราคากระดาษโดยกระทันหัน จนทําใหบริษัทของเขาตองสูญเสียเงินจํานวนมากเขา (เซลลขาย กระดาษ) ทานนี้ไดใชความพยายามเอาชนะใจลูกคาคนนี้อยู 6 เดอื นเตม็ ๆ อนั เปนเวลาท่ีออเดอรล อ ตปรากฎ ข้ึน “ผมขอบคณุ วกิ ฤติการณในครัง้ น้ันมาก มันทําใหผมเขาใจในอาชีพนักขายและสอนบทเรียนที่สําคัญมา จนถงึ ปจ จบุ ัน” จากตัวอยา งดงั กลา ว สามารถสรุปไดวา 1. ผูประสบความสาํ เรจ็ มักผานวิกฤติการณแ ละไดบ ทเรยี นมาแลวท้ังสนิ้ 2. ผูที่จะมีความสุขในการทํางานและใชชีวิตได ยอมตอ งใชวิธคี ดิ ทเ่ี ปนดา นบวกซึ่งไดรับการพสิ ูจน มาแลว หากอยากมคี วามสขุ ตองเริ่มจากการสรา งความคิดดานบวก มองเหตุการณอ ยางไดประโยชน (ทีม่ า: http://drterd.com/news/view.asp?id=4) ทานไดพัฒนาทักษะการอาน เขียน ใหมีประสิทธิภาพ ซึง่ เปน ทักษะในการแสวงหาความรู

46 เรื่องท่ี 3 การทาํ แผนผงั ความคดิ แผนผงั ความคิด (Mind Map) การเขยี นแผนผังความคิดคอื อะไร การเขียนแผนผังความคิด คือ การเอาความรูม าสรุปรวมเปนหมวดหมูเ พิม่ การใชสี และใชรูปภาพ มาประกอบ ชวยใหเรามองเห็นภาพรวมไดชัดเจน แผนผังความคิด (Mind Map) จะชวยใหเราฝกคิดเปนรูปภาพ จําเปน ภาพ เปน สี ซ่งึ กต็ รงกับลกั ษณะการจาํ ตามธรรมชาติ การทาํ แผนผังความคิด (Mind Map) กฎของการทําแผนผังความคิด 1. เริม่ ตนดวยภาพสีตรงกึง่ กลางหนากระดาษ ภาพ ๆ เดียวมีคากวาคําพันคํา ซ้ํายังชวยใหเกิดความคิด สรางสรรค และเพิ่มความจํามากขึ้นดวย ใหวางกระดาษตามแนวนอน 2. ใชภาพใหมากทส่ี ดุ ใน แผนผงั ความคิดของคุณ ตรงไหนที่ใชภ าพไดใหใ ชก อ นคําหรอื รหัสเปนการชว ยการ ทํางานของสมอง ดึงดูดสายตาและชวยจํา 3. ควรเขียนคาํ บรรจงตัวใหญ ๆ ถาเปนภาษาอังกฤษใหใชตัวพิมพใ หญ เพ่อื ทีว่ าเมอื่ ยอ นกลับมาอานใหมจ ะให ภาพทีช่ ัดเจน สะดุดตาอานงาย และกอผลกระทบตอความคิดมากกวา การใชเวลาเพิม่ อีกเล็กนอยในการ เขยี นตวั ใหใ หญอา นงา ยชดั เจน จะชว ยใหเ ราสามารถประหยัดเวลาไดเ มือ่ ยอนกลับมาอานใหมอกี คร้งั 4. เขยี นคาํ เหนอื เสน และแตล ะเสน ตองเชื่อมตอ กบั เสนอ่นื ๆ เพือ่ ใหแผนผงั ความคดิ มโี ครงสรางพื้นฐานรองรบั 5. คาํ ควรมีลักษณะเปน “หนว ย” เชน คําละเสน เพราะจะชว ยใหแตละคําเชอ่ื มโยงกับคาํ อ่นื ๆ ไดอ ยางอสิ ระ เปดทางใหแผนผังความคิดคลองตัวและยืดหยุนมากขึ้น 6. ใชส ี ใหท วั่ แผนผังความคิด เพราะสชี วยยกระดบั ความจําเพลินตา กระตุนสมองซกี ขวา 7. เพอื่ ใหเ กดิ ความคิดสรางสรรคใ หม ๆ ควรปลอ ยใหหัวคิดมอี สิ ระมากท่สี ดุ เทา ทจี่ ะเปนไปได อยา มัวแตค ดิ วา จะเขยี นลงตรงไหนดี หรือวาจะใสห รือไมใสอะไรลงไป เพราะลวนแตจะทาํ ใหง านลาชาไปอยางนาเสียดาย หลักของแผนผังความคิด (Mind Map) คือ การฟน ความจําในทุกเรื่องทีห่ ัวคิดนึกออกจากอบ ศูนยกลางความคิด สมองของคุณสามารถจะจุดประกายความคิดตาง ๆ ไดเร็วกวาทีม่ ือคุณเขียนทัน คุณจึง ตองเขยี นแบบไมหยุดเลย เพราะถา คณุ หยดุ คณุ จะสงั เกตไดวา ปากกาหรือดนิ สอของคุณยังคงขยุกขยิกตอไป บนหนากระดาษ ในชวงที่คุณสังเกตเห็นนี้ก็อยาปลอยใหผานไป จงรีบเขียนตออยากังวลถึงลําดับ หรือการ จัดองคประกอบใหดูดี เพราะในทีส่ ุดมันก็จะลงตัวไปเอง หรือไมอยางนั้นคอยมาจัดอีกครัง้ ในตอนทายเปน ครงั้ สุดทายก็ยอ มได

47 กิจกรรม “ตัวของฉัน” ใหผูเ รียนใชกฎของแผนผังความคิด (Mind Map) โดยใหเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) ใน หัวขอ “ตัวของฉัน”

48 กจิ กรรม “สาระทักษะการเรียนรู” ใหผูเ รียนใชกฎของแผนผังความคิด (Mind Map) โดยใหเขียนแผนผังความคิด (Mind Map) ใน หัวขอ “สาระทักษะการเรียนรู” โดยสรุปใหไดเนือ้ หาครอบคลุมรายวิชาสาระทักษะการเรียนรูต าม ความเขาใจของทาน

49 เร่ืองที่ 4 ปจ จัยทที่ ําใหก ารเรยี นรูด ว ยตนเองประสบความสาํ เรจ็ ความพรอมในการเรยี นรดู วยตนเอง ความพรอมในการเรียนรูด วยตนเอง (Self-Directed Learning Readiness : SDLR) เปนสิง่ สําคัญ และจําเปนอยางมากสําหรับผูท ีม่ ีความสนใจ มีความรักจะเรียนรูดวยตนเอง วัดไดจากความรูส ึก และความ คิดเห็นทีผ่ ูเรียนมีตอการแสวงหาความรู การทีบ่ ุคคลจะเรียนรูดวยตนเองไดนั้นตองมีลักษณะความพรอม ของการเรียนรดู วยตนเอง 8 ประการ ดังน้ี 1. การเปดโอกาสตอการเรียนรู ไดแก การมีความสนใจในการเรียนรูม ากกวาผูอ ืน่ มีความพึงพอใจ กับความคิดริเริ่มของบุคคล มีความรักในการเรียนรูและความคาดหวังวาจะเรียนรูอยางตอเนื่อง แหลงความรู มีความดึงดูดใจ มีความอดทนตอการคนหาคําตอบในสิ่งที่สงสัย มีความสามารถในการยอมรับและใช ประโยชนจากคําวิจารณได การนําความสามารถดานสติปญญามาใชได มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของ ตนเอง 2. มีอัตมโนทัศนในดานของการเปนผูเ รียนทีม่ ีประสิทธิภาพ ไดแก การมีความมัน่ ใจในการเรียนรู ดวยตนเอง ความสามารถจัดเวลาในการเรียนรูไ ด มีระเบียบวินัยตอตนเองมีความรูใ นดานความจําเปนใน การเรียนรู และแหลง ทรพั ยากรการเรยี นรู มีความคิดเห็นตอ ตนเองวาเปนผทู ม่ี ีความอยากรูอยากเหน็ 3. การมีความคิดริเริ่มและเรียนรูดวยตนเอง ไดแก ความสามารถติดตามปญหายาก ๆ ไดอยาง คลองแคลว ความปรารถนาตอการเรียนรูอ ยูเสมอ ชืน่ ชอบตอการมีสวนรวมในการจัดประสบการณการ เรียนรู มีความเชื่อมัน่ ในความสามารถที่จะทํางานดวยตนเองไดดี ชื่นชอบในการเรียนรู มีความพอใจกับ ทักษะการอาน การทําความเขาใจ มีความรูเ กี่ยวกับแหลงความรูต าง ๆ มีความสามารถในการวางแผนการ ทํางานของตนเองได และมีความคิดริเริ่มในเรื่องการเริ่มตนโครงการใหม ๆ 4. การมีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตน ไดแก การมีทัศนะตอตนเองในดานสติปญญาอยูใน ระดับปานกลางหรือสูงกวา ยินดีตอการศึกษาในเรื่องทีย่ าก ๆ ในขอบเขตทีต่ นสนใจ มีความเชื่อมัน่ ตอ หนาทีใ่ นการสํารวจตรวจสอบเกีย่ วกับการศึกษา ชืน่ ชอบทีจ่ ะมีบทบาทในการจัดประสบการณการเรียนรู ดวยตนเอง มีความเชื่อมั่นตอหนาทีใ่ นการสํารวจตรวจสอบเกี่ยวกับการศึกษา ชืน่ ชอบทีจ่ ะมีบทบาทในการ จดั ประสบการณการเรียนรดู วยตนเอง มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเอง และมีความสามารถในการ ตดั สนิ ความกา วหนา ในการเรยี นรขู องตนเองได 5. รักการเรียนรู ไดแก มคี วามชน่ื ชมในการเรยี นรูสิ่งใหม ๆ อยเู สมอ มคี วามปรารถนาอยางแรงกลา ในการเรียนรู มีความสนุกสนานกับการสืบสวนหาความจริง 6. ความคิดสรางสรรค ไดแก มีความคิดที่จะทําสิ่งตาง ๆ ไดดี สามารถคิดคนวิธีการ แปลก ๆ ใหม ๆ และความสามารถทจ่ี ะคิดวิธีตา ง ๆ ไดมากมายหลายวธิ ีสาํ หรบั เร่ืองนั้น ๆ 7. การมองอนาคตในแงดี ไดแก การมีความเขาใจตนเองวาเปนผูท ีม่ ีการเรียนรูต ลอดชีวิต มีความ สนุกสนานในการคิดถึงเรือ่ งในอนาคต มีแนวโนมในการมองปญหาวาเปนสิง่ ทาทายไมใชสัญญาณใหหยุด กระทํา

50 8. ความสามารถในการใชทกั ษะทางการศึกษาหาความรแู ละทักษะการแกปญหา คือ มีความสามารถ ใชท กั ษะพื้นฐานในการศึกษา ไดแ ก ทักษะการฟง อาน เขียนและจาํ มีทกั ษะในการแกป ญ หา กิจกรรมท่ี 1 ใหอธิบายลักษณะของ “ความพรอ มในการเรยี นรูดว ยตนเอง” มาพอสังเขป กจิ กรรมที่ 2 “รูเขา รเู รา” วตั ถปุ ระสงค เพือ่ ใหผูเรยี นแสดงความคิด และความรูส กึ ทมี่ ีตอตนเอง และผอู ืน่ แนวคดิ ส่ิงแวดลอ มของการมีเพือ่ นใหม คือ การทําความรูจักคุนเคยกัน บรรยากาศที่เปนกันเองมารยาททาง สังคมจะเปนแนวทางการนําไปสูสัมพันธภาพที่ดีระหวางสมาชิกในกลุมซึ่งจะนําไปสกู ารแสดงความคิดเห็น การอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ และความรวมมือในการทํางาน คําชแ้ี จง 1. ใหทา นคิดสัญลักษณแทนตัวเองซงึ่ บงบอกถึงลักษณะนสิ ยั ใจคอ จํานวน 1 ขอ วาด/เขยี นลงใน ชองวางที่กําหนดใหขางลาง หลังจากน้นั ใหท า นเขยี นอุดมการณ แนวคิด หรือคาํ ขวญั ประจําตัวลงใตภาพ 2. ใหท า นไปสัมภาษณ พดู คยุ กับเพ่อื นหรือคนใกลชิด โดยการใหเพอื่ นหรือคนใกลชิดคดิ สญั ลกั ษณแทนตวั เองซึ่งบง บอกถงึ ลกั ษณะนิสัยใจคอ จํานวน 1 ขอ วาด/เขียนลงในชองวางที่กําหนดให ขางลาง หลงั จากน้นั ใหเ ขยี นอดุ มการณ แนวคิด หรอื คาํ ขวญั ประจาํ ตัวลงใตภ าพ 3. ทานไดขอคิดอะไรบางจากกิจกรรมนี้

51 กิจกรรม “คณุ คาของตน” วัตถปุ ระสงค 1. เพ่อื ใหผ เู รยี นเกดิ ความตระหนักในคุณคาของตนเอง และสรางความภูมิใจในตนเอง 2. เพือ่ ใหผูเ รียนสามารถระบุปจจัยที่มีผลทําใหตนไดรับความสําเร็จ และความตองการ ความสําเร็จ รวมทั้งความคาดหวังที่จะไดรับความสําเร็จอีกในอนาคต แนวคดิ ทุกคนยอมมีความสามารถอยูในตนเอง การมองเห็นถึงความสําคัญของตน จะนําไปสูการรูจักคุณคา แหงตน และถามีโอกาสนําเสนอถึงความสามารถและผลสําเร็จในชีวิตใหผูอื่นไดรับทราบในโอกาสที่ เหมาะสม จะทําใหคนเราเกิดความภาคภูมิใจยิ่งขึ้น การทบทวนความสําเร็จในอดีตจะชวยสรางเสริมความ ภมู ใิ จ กาํ ลังใจ เจตคติท่ีดี เกิดความเชอื่ ม่ันวาตนเองจะเปน ผูท่สี ามารถเรยี นรดู ว ยตนเองได และความตองการ ประสบความสําเร็จตอไปอีกในอนาคตความรูสึกเห็นคุณคาในตนเองอยางแทจริงเปนการเห็นคุณคา คุณประโยชนในตนเอง เขาใจ ตนเอง รับผิดชอบตอทุกสิ่งที่ตนเปนเจาของ ยอมรับความแตกตางของ บุคคล เหน็ คณุ คาการยอมรับของผูอื่น สามารถพัฒนาตนเองทัง้ ในดานสวนตวั ยอมรับ ยกยอง ศรทั ธาใน ตวั เองและผูอ ่นื ทําใหเกดิ ความเชื่อม่นั ในตนเองเปนความรูสึกไวว างใจตนเอง สามารถยอมรับใน จุดบกพรอง จุดออนแอของตนและพยายามแกไข รวมทั้งยอมรับความสามารถของตนเองในบางครั้ง และ พัฒนาใหด ีขน้ึ เรื่อยไป เม่ือทําอะไรผิดแลว กส็ ามารถยอมรับไดอยา งแทจริง และแกปญ หาไดอยา ง สรา งสรรค คาํ ชีแ้ จง 1. ใหผูเรยี นเขยี นความสาํ เรจ็ ท่ภี าคภมู ิใจในชวี ติ ในชวง 5 ป ที่ผานมา จํานวน 1 เรอ่ื ง และตอบ คําถามในประเด็น 1) ความรูสึกเมื่อประสบความสําเร็จ 2) ปจ จัยทมี่ ผี ลทาํ ใหตนไดรับความสาํ เร็จ 2. ใหผ ูเรยี นเขยี นเรือ่ งทม่ี ีความมงุ หวัง ท่ีจะใหส ําเร็จในอนาคตและซง่ึ คาดวา ทาํ ไดจริง จาํ นวน 1 เร่ือง และตอบคําถามในประเด็น ปจจัยอะไรบางที่จะทําใหความคาดหวังไดรับความสําเร็จใน อนาคต” แนวการตอบ ไดเกิดความมั่นใจในตนเองวาจะเปนผทู ส่ี ามารถเรยี นรดู ว ยตนเองได ความรูสึกเห็นคุณคาในตัวเองของบุคคลที่มีตอตนเองวามีคุณคา มีความสามารถในการกระทําสิ่ง ตาง ๆ ใหประสบความสําเร็จ มีความเชื่อมั่นและนับถือตัวเอง สวนการมีอัตมโนทัศนในดานของการเปน ผเู รยี นทม่ี ีประสทิ ธภิ าพนั้น หมายถึง การมีความมั่นใจในการเรียนรูดวยตนเอง ความสามารถจัดเวลาในการ เรยี นรไู ด มรี ะเบียบวินัยตอตนเอง มีความรใู นดา นความจําเปน ในการเรยี นรูและแหลง ทรพั ยากรการเรียนรู มีความคิดเห็นตอตนเองวาเปนผูที่มีความอยากรูอยากเห็น

52 กิจกรรม “เวลาของชวี ติ ” วัตถปุ ระสงค เพ่ือใหผเู รียนตระหนักถึงการใชเวลาอยางคุมคะ แนวคดิ เวลาเปน สิง่ มีคา ทุกคนมเี วลาในแตละวนั คือ 24 ชั่วโมงเทา ๆ กันเพียงแตวา แตละคนจะบรหิ ารจดั เวลาของตนเองใหมีคาไดอยางไร คาํ ช้ีแจง 1. ในแตละวันทานไดใชเวลาของทานอยางไรบาง 2. ใหท า นอานเร่ือง “อาคารขยายเวลา” แลว ใหเ ขยี นถงึ ความรูส กึ ของตนตอ การใชเวลาท่ีผาน มาในอดตี และแผนการใชเ วลาของตนนบั แตน ไ้ี ป

53 อาคารขยายเวลา แด...ทุกคนที่มเี วลาวันละ 24 ชั่วโมงเทา กัน ในตอนค่ํา ฉนั โยนหนังสือสองสามเลม บนโตะอยางเบื่อหนาย เวลาอกี ไมกีเ่ ดือนกจ็ ะถึงฤดสู อบที่ เขาจะคัดเลือกพวกเราหน่งึ ในจาํ นวนผสู มัครเปนแสน ๆ คน ใหเขาไปเรียนในท่ีโก ๆ ท่ชี อื่ มหาวทิ ยาลัย ไมร ู เหมอื นกนั วาเร่อื งราวอยางน้ีมันเรม่ิ ตน ข้ึนทีไ่ หน ฉนั เพียงแตรูส กึ เหมือนวา คนเอารั้วยาว ๆ สองแถวมาก้ัน ทุงกวางใหเปนทางเดินแคบ ๆ แลวก็ตอนพวกเราใหเขา ไปเบียดเสียดกันเดินตามทางแคบ ๆ นัน้ และเมือ่ ถงึ ปลายทาง เขาก็เปดประตูรับเราไปหมดทุกคน คนที่ไดมีโอกาสเขาไปก็เปนเรื่องดี สวนคนที่ไมไดผานไปแน หละ...มนั กค็ งจะแยมากทเี ดียว จรงิ อยแู มจะมีทางเลือกอน่ื สําหรับบางคนท่ีจะตัดสินใจมดุ หรือปน ร้วั ออกไป ขางนอกเพื่อหาทางเดินที่ดีกวา ฉันเองก็อยากเปนอยางนั้นบาง แตฉันไมกลาพอ ฉันเอาคางเกยขอบโตะ ไลปลายนิ้วไปตามสันหนังสือที่ตั้งเรียงรายเปนแถวยาวรอใหอานตองลองสู ดสู .ิ ..สักคร้งั แตอีกใจหน่งึ มันคอยบอกวา เดยี๋ ว...ยังขีเ้ กียจอยู ขอนอนกอน ขอดทู ีวีกอน ขอไปเทีย่ วกอน ฯลฯ เวลาเปนปที่เขามีไวใหเราเตรียมตัวจึงผานไปอยางไมเปนชิ้นเปนอัน เพราะ ความเฉื่อยชาของฉันเอง อากาศกาํ ลงั ดี ฉนั ทิ้งตัวลงบนเตยี งนอนทคี่ ลุมดวยผาหมขนหนูลายฝูงนกนางนวลสีเขยี วเห็น หนังสือกองโตที่ยังคางคาคอยใหฉันไปอาน พัดลมคอยาวสงเสียงครางเบา ๆ แลวฉันก็หลับไป พบตวั เองอีกทที หี่ นา อาคารหลังใหญ ดเู หมือนจะสรา งดวยหนิ ออน ลักษณะคลายธนาคารมีบันไดสี เขียวเปนมันวบั เรยี งรายเปนช้ัน ๆ สุดบนั ไดขน้ั สุดทายมปี ระตูกระจกติดฟล มกรองแสงสีเขม มปี ายแผน หนึง่ แขวนไวต รงประตมู ขี อ ความวา “มีเวลาขาย” ฉันไมแนใจวาเปนเพราะความอยากรูอยากเห็น หรือเพราะอะไรกันแนที่ทําใหเทาทั้งสองขางกาว ขึ้นไปบนอาคารแหงนี้ เมื่อเอื้อมมือผลักประตูกระจกเขาไป ไอเย็นของเครื่องปรับอากาศก็ปะทะรางกาย สถานที่นนั้ ดูโอโถงและสวยงาม ดูราวกบั หองรบั รองช้ันดี มีโตะ สีเขยี วตัวยาวซ่ึงกองแฟม เอกสาร เรียงรายอยูทั่วไปบนนั้น ชายหนุมคนที่นั่งประจําโตะเอยทักทายฉัน ทาทางเขาอบอุนและเปนมิตร “สวัสดคี รบั ” “ครบั ผม” ฉันตอบรับคําเขาเบา ๆ “ผมคิดวา คุณคงจะไมไ ดมาซ้อื เวลา ทาทางคณุ ยังเปน เดก็ อยูเลย อายยุ ังไมเกนิ ย่ีสิบ” “ผมไมไ ดม าซื้อเวลาหรอกครับ” ฉนั ตอบไปทัง้ ๆ ท่ยี ังไมแ นใ จวา สนิ คาหรอื บริการอะไรกนั แนท ี่ เขากําลังขายอยู “เพียงแตวาผมอยากดู...ผคู น แลว กก็ ารซื้อขายของคณุ เทาน้ัน” “ตามสบายเลยครับ” เขายิ้มอยางมีไมตรี “เชญิ นง่ั ” เขาผายมือไปทางโซฟาชุดที่ตั้งอยูชิดผนังดาน หนง่ึ ฉนั จึงถอยไปทรดุ ตัวลงนั่ง ลูกคาคนแรกที่ฉันพบในอาคารขายเวลาคือชายชรารายกายผอมเกร็งผมขาวโพลน ใบหนาซีดเหลือง เขาพยุงตัวใหกาวผานบันไดทีละขั้น ๆ อยางลําบากยากเยน็ จนกระทั่งผลักประตูมาหยุดยืนตรงหนาชายขาย เวลา

54 “ผมมาขอซอ้ื เวลาที่ผานไป...หาป” น้ําเสียงเขาแหลมแหง และสัน่ พรา อยา งคนที่ปวยหนกั “หมอ บอกวาผมมาหาหมอชาไปหาป ไมอยางนั้นแลวโรคนี้ก็พอจะมีทางรักษาหายและผมก็จะไมตาย” คนตอ มาเปน ชายหนมุ หนา ตาดี แตง ตัวสะอาดสะอา น เพยี งแตด วู า หมน หมองและหมดหวงั ... “ขอซอ้ื เวลาสามเดอื น” เขาพูดกับชายขายเวลา “คณุ รูไหม ผูห ญงิ ทีผ่ มรัก เธอไปเมืองนอกเมอ่ื สาม เดือนกอน เราคบกนั มาเปนป แตผ มก็ยังไมเคยบอกรักเธอทง้ั ๆ ท่รี ักเธอมาก เธอไปโดยไมรอู ะไรเลย ชายขายเวลามีทีทาวาเห็นใจ ฉันคิดวาเขาเปนนักขายที่มีความอดทนมากทีเดียว ที่จะตองพบลูกคาที่ ลว นแตม ีปญหาตาง ๆ กนั ไป พรอ ม ๆ กบั นกึ เสยี ดายแทนผูชายคนนท้ี ีเ่ ขา ผานเวลารวมปโ ดยเปลา ประโยชน แลวเพ่ิงจะเหน็ คณุ คา ของเวลาเหลา นั้น...เมื่อมนั ไดผานไปแลว ยงั ไมท นั ทช่ี ายหนมุ คนนน้ั จะกา วพน ประตูออกไป หญงิ คนหนง่ึ กเ็ ดินสวนเขา มา หลอ นสวมชดุ ไว ทุกขสดี ํา ใบหนา ยังเปอนคราบน้ําตา ดวงตายังมีรอยบอบช้ํา “อยากไดเวลาคะ สักสองป ปเ ดยี วหรือเพียงครง่ึ ปก ไ็ ด” หลอ นพดู ดวยน้ําเสยี งท่ีโศกเศรา “ผมคิดวา คณุ คงมปี ญหาเกี่ยวกับเวลาในอดีตเหมือนคนอื่น ๆ” ชายขายเวลากลาวขึ้น “คะ” หลอ นรับคาํ เสียงแผว “คณุ แมของดิฉันเพิง่ เสยี เมือ่ สองวันกอน ทา นดีกบั ฉันมาก เลย้ี งดอู ยาง เอาอกเอาใจ แตดฉิ ันยงั ไมทนั ทจ่ี ะทําอะไรใหแมช่ืนใจเลย มแี ตต ัง้ แงตงั้ งอน ทา นกม็ าดว นจากไป” “คุณเลยอยากซอ้ื เวลาทผ่ี านไปเพอื่ ทาํ ดกี ับคุณแมของคณุ ” “คะ” หลอนปายนํา้ ตา ฉนั นกึ เวทนาหลอ น เวทนาท่ีหลอ นมาคดิ อะไร ๆ ไดก ็เม่ือสายไป ถาหากหลอนไดท ําอะไรไปต้ัง นานแลว กค็ งไมต องมานกึ เสียดายตอนน้ี วบู หนงึ่ ฉันจึงนึกยอ นกลับมาทตี่ ัวเอง คนตอมาเปนเด็กหนมุ ใบหนาเขายังออ นเยาว แตพ กร้วิ รอยความกังวลไวเ ต็มเปย ม “ตองการเวลา เทา ไรดีครับ” ชายขายเวลาถามขึ้นกอน “สองป” เขายม้ิ อยางออ นเพลยี “ผมอยากกลับไปตอนเลือกแผนการ เรยี นใหม ผมพลาดไปตอนน้ัน บางทีผมอาจจะไดเรมิ่ ตนใหมด ว ยดีจะไดเรยี นวิชาท่ีชอบแทนวชิ าที่นาเบือ่ ตอนน้ี” แลว เขาก็จากไป เมื่อไดสง่ิ ท่ตี อ งการแลว ฉันเห็นชายขายเวลาหลบั ลงในขณะทกี่ ําลังเวน วา งลูกคา ตอ เม่ือฉนั ขยบั ตัวเขาก็ลมื ตาขน้ึ แลว หันมายม้ิ ใหฉ นั ดวงตาเขาอบอนุ ... เปนเวลานานเทา ไรก็ไมท ราบท่ฉี นั นง่ั มองดผู ูคนเดนิ ผา นมา ลว นแลวแตมีทา ทวี ิตก กังวล ผดิ หวงั เสียใจ แลวก็มาซอ้ื เวลาไป เพราะวา พวกเขาไดพลาดสงิ่ ท่นี าจะไดในอดีต แลวชายขายเวลาก็เปดแฟมพรอมกับเงยหนา ขึ้นมาทางฉัน สกั ครจู ึงเดินมาทรุดตัวลงนง่ั เกาอ้ีโซฟา ขาง ๆ “จะปด รา นแลว หรือครบั ” ฉันถาม “ครบั ...ไดเ วลาแลว ” “ขอบคุณมากนะครับ สาํ หรับวนั น้ี ผมเหน็ จะกลบั เสยี ท”ี ฉนั วา แมจ ะไมแนใ จวา ฉนั จะกลบั ไปไหน อยางไร

55 “เชญิ ครบั ...ขอใหคุณโชคดี จงใชเวลาของคุณใหมีคา จงเห็นความสําคัญของทุกวินาทีที่ผานไป ผม หวงั วา ...คงจะไมไ ดเ หน็ คณุ มาท่ีน่เี พือ่ ซอ้ื เวลา” เขากลา วในทส่ี ุด “ขอบคุณมากครับ ผมจะไมลืมคุณ...และทีน่ ี”่ ฉนั ลกุ ขึ้นยนื ทนั ใดไฟก็ดบั วูบ ฉนั ตนื่ ขึ้นมาดว ยความรสู ึกทแี่ ปลกใหม เอื้อมมือไปรูดผามานหนาตา งสคี รีม พบวาทองฟายังไม สวา งดี และไกกย็ ังไมขัน ฉนั ลุกขึน้ มาเกบ็ ทนี่ อนและกระโดดเขาหองนาํ้ อยา งสดชืน่ แลว ถงึ กลับเขามานงั่ ที่ โตะ เขยี นหนังสือตวั เดมิ ที่ฉันไมเ คยจรงิ จังดว ยมานานแลว คิดอยากจะฮัมเพลงไปดวยซ้ําถาไมต ดิ วาจะ ทําลายสมาธใิ นการอานหนังสือ วบู หนง่ึ ...ฉนั รสู ึกดีใจทีฉ่ นั ยังมีเวลาเหลืออยู ยงั ไมสายเกนิ ไปทจ่ี ะเรมิ่ ลงมอื ทําอะไร ๆ อยา งมี ความหวัง ไมเหมือนกบั ผคู นเหลา น้ัน...ที่ฉันพบที่...อาคารขายเวลา มหาวิทยาลัย คอื ดินแดนท่ีใครใครตางใฝฝ น แมเ หน่ือยยาก..จะกาวไปใหถึงมัน ดว ยถอื เปน สิ่งสําคญั ในชีวิต ในสนามของการแขงขัน ตา งมุงมน่ั ชิงชยั ใหไดสิทธิ์ ใชศรัทธาอันคมเขมเปนเข็มทิศ ถูกหรอื ผดิ ยงั คงตอ งลองทําดู หวังเบื้องหนามีรุงทองงามผองใส ชอดอกไมไมตรีคงมีอยู มคี วามรัก ความเรงิ รนื่ ใหช น่ื ชู ทกุ สง่ิ สวยเลศิ หรดู งั วาดไว แลว เมอ่ื การแขง ขนั ถึงจุดจบ ยอ มไดพ บคนย้ิมช่ืน คนรองไห ตางมีความมุงหวังความตั้งใจ หากไมไดดังหมายมาดอาจทอแท แตจะมใี ครบางไหมทไ่ี ดรู ความหมายของชีวิตอยูที่ใดแน เทา น้หี รอื เรียกไดวา ชนะ-แพ อนั เกิดแตมายาคานยิ ม ตอเมื่อถึงพรุงน้ขี องชีวิต อาจไดคิดเหน็ จรงิ ทุกสิง่ สม การแขงขันครั้งใหมในสังคม ไดชมผชู นะอยา งแทจรงิ

56 เรยี น พกั ผอน 6 สวน 6 สวน ครอบครัว สว นตัว/เพอ่ื น 6 สวน (3+3) = 6 สวน คนเรามี 24 ชั่วโมง ใน 1 วันเทากัน การใชเวลาใหเ กดิ ประโยชน จงึ เกิดจากการทีม่ นุษยบริหาร จัดการเวลาทุกวนิ าทใี หเกนิ ประโยชนส งู สุด ตวั อยาง การบรหิ ารเวลา โดยใชส ตู ร 24 ชว่ั โมง ใน 1 วนั มงี านหลกั 4 อยาง สามารถทําไดดังนี้ เนอ่ื งจากมนุษยเปนสตั วสงั คมท่ีตอ งปฏสิ ัมพันธกบั บุคคลขาง พรอมกันไปกับการปฏิบัติหนาที่ ตามวัยของตน นักเรียนจึงควรมีการใชเวลาใหครบทั้ง 4 สว นอยางสมดุล ซึ่งเวลาทั้ง 4 สว น ดงั กลา ว สามารถยืดหยุนสัดสวนไดขึ้นกับความจําเปนในแตละชวงวัยและความรับผิดชอบของบุคคลนั้น ๆ

57 กิจกรรม “บณั ฑติ สงู วัย” วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื ใหผ เู รยี นทราบและเขาใจในแนวคดิ การเรยี นรดู ว ยตนเอง และความพรอมในการ เรยี นรูดว ย ตนเอง 2. เพือ่ นาํ ไปสลู ักษณะการเรียนรดู ว ยตนเองท่ใี ฝเ รียนรู เห็นคุณคาของการเรยี นรู ความสามารถที่จะ เรียนรูดวยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรู การมองอนาคตในแงดี ของสมาชิก รวมทั้งสมาชิกเห็น ความสําคัญ และตระหนักในความพรอมในการเรียนรูดว ยตนเอง แนวคิด คุณลักษณะพิเศษในการที่จะเรยี นรูและพัฒนาตนเองอยา งตอ เนอื่ งโดยมิจาํ เปนตองรอคอยจาก การศึกษาหรอื การเรยี นรอู ยางเปน ทางการเพยี งอยา งเดียว คณุ ลักษณะพิเศษ ดังกลาวคอื “ความพรอมในการ เรยี นรโู ดยการช้ีนําตนเอง” ซง่ึ เปน ความคดิ เห็น วา ตนเองมเี จตคติ ความรู ความสามารถที่จะเรียนรูโดยมิ ตอ งใหคนอ่นื กาํ หนดหรอื สั่งการ พรอ มที่จะเรยี นรูวธิ กี ารเรียนรูและประเมินการเรียนรู ท้ังอาจดวยความ ชวยเหลือจากผูอนื่ หรอื ไมก ็ตาม การทบ่ี ุคคลสามารถชีน้ าํ ตนเองทจี่ ะเรยี นรู ยอมเปนโอกาสทบี่ คุ คลจะเรียนรู ทจ่ี ะพฒั นาตนเองอยา งตอเน่ืองและเรียนรตู ลอดชีวิต การพัฒนาการเรยี นรูโดยการชี้นาํ ตนเอง ยอ มเปน หนทางท่ที าํ ใหบคุ คลเรียนรูอยางไมสิ้นสุด คําชแี้ จง ใหผ เู รยี นศึกษาภาพขาว การสําเร็จการศกึ ษาจากภาพ ของ บณั ฑติ สงู วัย พรอมอธิบาย ในประเด็น (1) “ความรูสึกของทานตอภาพที่ไดเหน็ ” (2) “ทําไมบุคคลในภาพ ถึงประสบความสําเร็จในการเรียนรู” แนวการตอบ ไดเ ห็นคณุ คา และความสําเร็จทีจ่ ะมีตอ ผมู ีใจใฝเรยี นรู

58 กจิ กรรม “ทางแหงความสําเร็จ” คาํ ชแ้ี จง ใหผ เู รยี นอานเร่ือง “ทางแหงความสําเร็จ” แจง ใหส รุปเรื่องทอ่ี า นตามความเขาใจ ผลไมลกู หนง่ึ กวา จะสกุ มีกลน่ิ หอม ใหเราไดล้ิมรสฉาํ่ หวานกผ็ านกาลเวลาเพาะบมคนเรากเ็ ชนกนั กวาจะประสบผลสาํ เร็จให ไดก็ผานกาลเวลาแหงการพิสูจน มิใชฉับพลันทันใดความสําเร็จนั้นอาศัยหลายสิ่งหลายอยาง เฉพาะความ มงุ หวงั ตั้งใจอยางเดยี วยงั ไมเพยี งพอตองมีความรูจ รงิ รูวธิ ีท่ีดาํ เนินไป รเู หตุปจ จัยทม่ี าสมั พันธเ กี่ยวขอ งและ สาํ คญั คือตองปฏิบัตใิ หถกู วิธี มปี ญหาคอยตรวจสอบอยเู สมอ ถาประสบผลสาํ เรจ็ เพยี งเพราะตง้ั ความหวัง โดยไมตองทําอะไร ในโลกนี้คงไมตองมีใครผิดดังตั้งความหวังสักวันคงตองไดสมหวังตั้งใจ แหลงที่มา : http://watsunmamout.i.getweb.com ลักษณะชีวิตและลักษณะนิสัยภายในของคนเปนฐานของความสําเร็จเปนเหตุใหคนสรางฐานชีวิตปรับ ความสาํ เรจ็ ทย่ี ่งั ยนื ในอนาคตได

59 กิจกรรม “ แปรงสฟี นมหัศจรรย ” วัตถปุ ระสงค เพื่อใหผูเรียนตระหนักถึงความสําคัญของการมองโลกในแงดี ความคิดสรางสรรคและพัฒนาทั้ง ความคิดในดานบวก และความคิดสรางสรรคที่มีในตนเอง คําช้แี จง 1. ใหผ เู รยี นเขยี นประโยชนข องแปรงสฟี น ใหไดม ากทสี่ ุด ในเวลา 5 นาที ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ทา นไดเรียนรแู ละตระหนกั ถึงความสําคัญของความคิดสรางสรรคที่มีอยูในตนเอง กิจกรรม “ บทสะทอ นจากการเรียนรู ” วตั ถุประสงค ใหผเู รยี นสรุปความรทู ี่ไดจากการเรียนรูเกีย่ วกบั “ความพรอ มในการเรยี นรูดว ยตนเอง” มีความสําคัญที่ผูเรียนสามารถนําไปปรับใชในการเรียนรูของตนเองใหมีคุณภาพไดอยางไร

60 แบบประเมินตนเองหลงั เรยี น แบบสอบถาม เรื่อง ความพรอมในการเรียนรดู ว ยตนเองของผเู รียน ชื่อ........................................................นามสกุล...................................................ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คาํ ชแี้ จง แบบสอบถามฉบับนี้ เปนแบบสอบถามที่วัดความชอบและเจตคติเกี่ยวกับการเรียนรูของทาน ใหท านอา นขอความตา ง ๆ ตอไปน้ี ซึ่งมีดวยกัน 58 ขอ หลังจากนั้น โปรดทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับ ความเปนจรงิ ของตัวทานมากที่สุด ระดับความคิดเห็น มากที่สดุ หมายถึง ทา นรสู ึกวา ขอ ความนั้นสว นใหญเปนเชนนห้ี รือมนี อ ยคร้งั ทไี่ มใ ช มาก หมายถึง ทานรสู ึกวา ขอ ความเกนิ ครึ่งมกั เปนเชนน้ี ปานกลาง หมายถึง ทานรสู กึ วา ขอ ความจรงิ บา งไมจรงิ บา งครึง่ ตอครง่ึ นอ ย หมายถึง ทานรูส ึกวา ขอความเปน จรงิ บา งไมบอ ยนัก นอยทีส่ ดุ หมายถึง ทานรูสกึ วา ขอ ความไมจ ริง ไมเ คยเปน เชน น้ี ความคิดเห็น รายการคําถาม มาก มาก ปาน นอ ย นอย ทสี่ ดุ กลาง ท่สี ุด 1. ขาพเจา ตอ งการเรยี นรอู ยูเ สมอตราบชว่ั ชีวติ 2. ขาพเจาทราบดีวาขาพเจา ตอ งการเรียนอะไร 3. เม่อื ประสบกบั บางส่ิงบางอยางทไ่ี มเจาใจ ขาพเจา จะหลกี เลี่ยงไปจากสิ่งนนั้ 4. ถาขา พเจา ตองการเรยี นรสู ่ิงใด ขาพเจา จะหาทางเรยี นรใู หได 5. ขา พเจา รักทจี่ ะเรยี นรอู ยเู สมอ 6. ขาพเจา ตองการใชเ วลาพอสมควรในการเรม่ิ ศึกษาเร่ืองใหม ๆ 7. ในชนั้ เรียนขาพเจาหวังทจี่ ะใหผ สู อนบอกผูเรียนทง้ั หมดอยางชดั เจนวาตอ งทํา อะไรบางอยตู ลอดเวลา 8. ขาพเจาเชือ่ วา การคิดเสมอวา ตวั เราเปนใครและอยทู ่ีไหน และจะทาํ อะไร เปน หลักสําคญั ของการศกึ ษาของทุกคน 9. ขา พเจาทํางานดว ยตนเองไดไ มด ีนกั 10. ถาตอ งการขอมลู บางอยา งที่ยงั ไมมี ขา พเจา ทราบดวี าจะไปหาไดที่ไหน 11. ขา พเจา สามารถเรียนรสู ิง่ ตาง ๆ ดวยตนเองไดดกี วา คนสว นมาก 12. แมข า พเจาจะมคี วามคดิ ทด่ี ี แตด เู หมอื นไมสามารถนํามาใชปฏบิ ตั ไิ ด

61 รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย ท่สี ดุ กลาง ท่สี ดุ 13.ขาพเจา ตองการมสี ว นรวมในการตดั สนิ ใจวา ควรเรยี นอะไรและจะเรยี นอยา งไร 14. ขาพเจาไมเ คยทอถอยตอการเรียนส่ิงที่ยาก ถาเปนเรื่องทขี่ า พเจาสนใจ 15. ไมม ีใครอน่ื นอกจากตวั ขาพเจา ที่จะตอ งรบั ผิดชอบในส่ิงทีข่ าพเจา เลือกเรยี น 16. ขาพเจา สามารถบอกไดวา ขาพเจา เรยี นสิง่ ใดไดดหี รอื ไม 17. สิ่งท่ีขา พเจา ตอ งการเรียนรไู ดม ากมาย จนขาพเจาอยากใหแตละวนั มมี ากกวา 24 ช่ัวโมง 18. ถาตดั สินใจทจี่ ะเรยี นรอู ะไรกต็ าม ขาพเจา สามารถจะจดั เวลาทจี่ ะเรียนรสู งิ่ นั้น ได ไมวาจะมภี ารกจิ มากมายเพยี งใดกต็ าม 19. ขา พเจามปี ญ หาในการทาํ ความเขา ใจเรื่องท่อี า น 20. ถาขาพเจาไมเ รียนก็ไมใ ชค วามผิดของขา พเจา 21. ขา พเจาทราบดวี า เมือ่ ไรทขี่ า พเจา ตอ งการจะเรยี นรใู นเร่ืองใดเรือ่ งหนง่ี ใหมากขน้ึ 22. ขอมคี วามเขา ใจพอทจ่ี ะทาํ ขอสอบใหไ ดคะแนนสงู ๆ กพ็ อใจแลว ถงึ แมวา ขาพเจา ยงั ไมเขาใจเรื่องนน้ั อยา งถอ งแทกต็ ามที 23. ขาพเจา คดิ วา หองสมดุ เปนสถานท่ีทนี่ าเบ่อื 24. ขา พเจา ชน่ื ชอบผูทีเ่ รียนรสู ่งิ ใหม ๆ อยูเ สมอ 25. ขาพเจาสามารถคดิ คนวธิ กี ารตา ง ๆ ไดห ลายแบบสําหรบั การเรยี นรหู วั ขอ ใหมๆ 26. ขา พเจา พยายามเช่อื มโยงสิ่งทกี่ าํ ลังเรียนกับเปา หมายระยะยาว ทต่ี ้งั ไว 27. ขาพเจา มีความสามารถเรียนรู ในเกอื บทกุ เรอ่ื ง ทข่ี าพเจาตองการ จะรู 28. ขาพเจาสนกุ สนานในการคนหาคาํ ตอบสาํ หรบั คาํ ถามตา ง ๆ 29. ขาพเจาไมช อบคาํ ถามท่ีมคี าํ ตอบถกู ตองมากกวา หนึง่ คําตอบ 30. ขา พเจา มคี วามอยากรูอยากเหน็ เกย่ี วกบั สิง่ ตา ง ๆ มากมาย 31. ขา พเจาจะดใี จมาก หากการเรยี นรูของขา พเจาไดสนิ้ สุดลง 32. ขา พเจาไมไ ดส นใจการเรียนรู เมอื่ เปรียบเทียบกับผอู ่ืน 33. ขาพเจาไมมปี ญ หา เกี่ยวกับทกั ษะเบอื้ งตนในการศกึ ษาคน ควา ไดแ ก ทกั ษะการฟง อาน เขยี น และจาํ 34. ขา พเจา ชอบทดลองสิ่งใหม ๆ แมไมแนใจ วา ผลนน้ั จะออกมา อยา งไร 35. ขา พเจา ไมช อบ เมื่อมีคนชี้ใหเ ห็นถงึ ขอผิดพลาด ในสิ่งทขี่ า พเจากาํ ลงั ทาํ อยู

62 รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ 36. ขาพเจา มคี วามสามารถในการคดิ คน หาวธิ แี ปลกๆ ทจี่ ะทําสง่ิ ตา ง ๆ 37. ขา พเจาชอบคดิ ถงึ อนาคต 38. ขา พเจามคี วามพยายามคน หาคําตอบในส่งิ ท่ตี องการรไู ดด ี เมื่อเทียบกบั ผอู นื่ 39. ขาพเจาเห็นวา ปญหาเปน สง่ิ ทที่ า ทาย ไมใ ชส ญั ญาณใหหยุดทาํ 40. ขาพเจา สามารถบงั คบั ตนเอง ใหก ระทาํ สงิ่ ท่ี คดิ วา ควรกระทาํ 41. ขาพเจาชอบวธิ กี ารของขาพเจา ในการสาํ รวจตรวจสอบปญหาตาง ๆ 42. ขา พเจามกั เปนผนู าํ กลุม ในการเรยี นรู 43. ขาพเจาสนกุ ท่ไี ดแ ลกเปลีย่ นความคิดเห็นกับผอู นื่ 44. ขาพเจา ไมช อบสถานการณการเรยี นรทู ี่ทา ทาย 45. ขาพเจา มคี วามปรารถนาอยางแรงกลา ที่จะเรยี นรสู ง่ิ ใหม ๆ 46. ย่งิ ไดเ รียนรมู าก ขาพเจา กย็ ่งิ รูสกึ วา โลกนน้ี าตน่ื เตน 47. การเรยี นรเู ปน เรือ่ งสนุก 48. การยึดการเรียนรทู ่ใี ชไดผลมาแลว ดกี วา การลองใชวธิ ใี หม ๆ 49. ขา พเจาตองการเรยี นรใู หมากยิง่ ขึน้ เพ่ือจะได เปนคนทม่ี คี วามเจรญิ กาวหนา 50. ขาพเจาเปนผรู บั ผิดชอบเก่ียวกับการเรียนรขู องขา พเจา เอง ไมม ใี ครมา รับผิดชอบแทนได 51. การเรียนรถู ึงวิธีการเรยี น เปนสิง่ ที่สาํ คัญสําหรบั ขาพเจา 52. ขาพเจา ไมม ีวันทจี่ ะแกเกนิ ไป ในการเรยี นรสู ่งิ ใหม ๆ 53. การเรียนรอู ยูต ลอดเวลา เปน สิ่งทน่ี าเบื่อหนาย 54. การเรยี นรเู ปน เครอื่ งมือในการดาํ เนนิ ชีวิต

63 รายการคําถาม ความคิดเห็น มาก มาก ปาน นอย นอย ท่ีสดุ กลาง ท่ีสดุ 55. ในแตละปข าพเจา ไดเรียนรสู งิ่ ใหมๆ หลายๆ อยา งดวยตนเอง 56. การเรยี นรูไมไ ดท าํ ใหช วี ติ ของขา พเจา แตกตา งไปจากเดมิ 57. ขาพเจา เปนผเู รยี นท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั ในช้ันเรยี น และการเรยี นรู ดว ยตนเอง 58 ขาพเจา เห็นดวยกับความคิดทว่ี า “ผูเรยี นคอื ผนู าํ ”

64 แบบประเมินตนเองหลงั เรียน บทสะทอ นท่ไี ดจากการเรียนรู 1. สิ่งท่ที า นประทับใจในการเรียนรูรายวิชาการเรยี นรูดว ยตนเองตนเอง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา / อุปสรรค ทีพ่ บในการเรยี นรูรายวชิ าการเรียนรูดว ยตนเอง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 3. ขอ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

65 แบบวัดระดับการเรยี นดว ยตนเองของผเู รียน คําชแี้ จง แบบวดั นเ้ี ปนแบบวดั ระดบั การเรยี นดว ยตนเองของผูเ รยี น มจี าํ นวน 7 ขอ โปรดกาเครื่องหมาย  ลงในชอง  ที่ตรงกับความสามารถในการเรียนดวยตนเองตาม ความเปนจริงของทาน 1. การวนิ ิจฉยั ความตองการเนือ้ หาในการเรียน 5. การดําเนนิ การเรยี น  นักศกึ ษาไดเรยี นเน้ือหา ตามคําอธิบายรายวิชาเทา นนั้  นักศกึ ษาดาํ เนนิ การเรยี นตามแนวทางท่คี รกู าํ หนด  ครู นําเสนอเนอ้ื หาอืน่ นอกเหนือจากคาํ อธบิ ายรายวิชา แลว ให  นกั ศกึ ษาดาํ เนนิ การเรยี น ตามแนวทางที่ครนู ําเสนอ แลวให นกั ศกึ ษาเลอื กเรียนเพิม่ เติม นักศึกษาปรบั  นักศึกษาไดเสนอเนื้อหาอ่นื เพื่อเรียนเพิ่มเตมิ นอกเหนือจาก  นักศกึ ษาดาํ เนินการเรยี น ตามแนวทางทีน่ กั ศกึ ษารว มกัน คําอธบิ ายรายวชิ าดว ย กาํ หนดกบั ครู  นักศกึ ษาเปน ผูก าํ หนดเนอ้ื หาในการเรยี นเอง  นกั ศกึ ษาดําเนนิ การเรยี น ตามการกาํ หนดของตนเอง 2. การวนิ จิ ฉัยความตองการวธิ ีการเรยี น 6. การแสวงหาแหลง ทรพั ยากรการเรยี น  ครเู ปนผกู ําหนดวา จะจัดการเรียนการสอนวิธีใด  ครูเปน ผจู ดั หาแหลง ทรพั ยากรการเรยี นใหนกั ศึกษา  ครูนาํ เสนอวธิ ีการเรยี นการสอนแลว ใหน กั ศกึ ษาเลือก  ครเู ปนผจู ัดหาแหลง ทรัพยากรการเรียน แลวใหนักศกึ ษาเลอื ก  นกั ศกึ ษารว มกบั ครูกาํ หนดวธิ กี ารเรียนรู  นกั ศึกษารว มกบั ครหู าแหลง ทรพั ยากรการเรียน รวมกัน  นกั ศึกษาเปนผกู ําหนดวิธกี ารเรยี นรเู อง  นักศึกษาเปนผจู ัดหาแหลง ทรัพยากรการเรียนเอง 3. การกําหนดจุดมุง หมายในการเรยี น 7. การประเมินการเรียน  ครเู ปน ผกู าํ หนดจดุ มงุ หมายในการเรยี น  ครู เปนผปู ระเมินการเรยี นของนักศกึ ษา  ครนู าํ เสนอจดุ มงุ หมายในการเรียนแลวใหน กั ศึกษาเลอื ก  ครู เปนผปู ระเมนิ การเรยี นของนักศกึ ษาเปน สว นใหญ และเปด  นกั ศึกษารว มกับครูกําหนดจดุ มงุ หมายในการเรยี น โอกาสใหนักศึกษาไดป ระเมินการเรยี นของตนเองดว ย  นกั ศึกษาเปนผูกาํ หนดจุดมงุ หมายในการเรียนเอง  มกี ารประเมินการเรียนโดยครู ตัวนกั ศึกษาเอง และเพอ่ื น นกั ศึกษา 4. การวางแผนการเรยี น  นกั ศึกษาเปน ผูประเมินการเรยี นของตนเอง  นักศกึ ษาไมไ ดเ ขียนแผนการเรยี น  ครนู าํ เสนอแผนการเรียนแลว ใหนกั ศกึ ษานาํ ไปปรบั แก กระบวนการเรยี นรทู ่เี ปนการเรยี นรดู ว ยตนเอง  นกั ศึกษารว มกับครูวางแผนการเรียน มคี วามจาํ เปน ทจี่ ะตองอาศยั ทกั ษะและความรู  นักศกึ ษาวางแผนการเรียนเอง โดยการเขยี นสญั ญาการเรียนที่ บางอยา ง ผเู รียนควรไดม กี ารตรวจสอบพฤติกรรม ระบุจดุ มุงหมายการเรียน วธิ ีการเรียน แหลง ทรพั ยากรการเรยี น ที่จาํ เปนสาํ หรบั ผูเรียนทจ่ี ะเรียนรดู ว ยตนเอง วธิ ีการประเมนิ การเรยี น และวนั ทีจ่ ะทาํ งานเสรจ็

66111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 บทที่ 2 การใชแ หลง การเรยี นรู  สาระสำคัญ แหลงเรียนรูมีความสำคัญในการพัฒนาความรูของมนุษยใหสมบูรณมากยิ่งขึ้น นอกเหนือการเรียนในช้ันเรียน และเปนแหลงท่ีอยูใหสังคมมนุษยลอมรอบตัว ผเู รยี น ทส่ี ามารถเขา ไปศกึ ษาคน ควา เพอื่ การเรยี นรไู ดต ลอดชวี ติ  ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 1. ผเู รยี นมคี วามรู ความเขา ใจ เหน็ ความสำคญั ของแหลง เรยี นรู และหอ งสมดุ ประชาชน 2. ผเู รยี นสามารถใชแ หลง เรยี นรู หอ งสมดุ ประชาชนได  ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสำคญั ประเภทของแหลง เรยี นรู เรอื่ งที่ 2 แหลง เรยี นรปู ระเภทหอ งสมดุ เรอ่ื งที่ 3 ทกั ษะการเขา ถงึ สารสนเทศของหอ งสมดุ ประชาชน เรอ่ื งท่ี 4 การใชแ หลง เรยี นรสู ำคญั ๆ ภายในประเทศ เรอื่ งท่ี 5 การใชแ หลง เรยี นรผู า นเครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444467 เรอ่ื งที่ 1 : ความหมาย ความสำคญั ประเภทของแหลง เรยี นรู ความรหู รอื ขอ มลู สารสนเทศเกดิ ขน้ึ และพฒั นาอยา งตอ เนอื่ งตลอดเวลา และมกี ารเผยแพร ถงึ กนั โดยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศภายในไมก วี่ นิ าที ทำใหม นษุ ยต อ งเรยี นรกู บั สงิ่ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงใหมๆ เพ่ือใหสามารถรูเทาทันเหตุการณ และนำมาใชใหเกิดประโยชนตอการดำรงชีวิตไดอยางมีความสุข ความรูหรือขอมูลสารสนเทศตาง ๆ ดังกลาวมีอยูในแหลงเรียนรูลอมรอบตัวเรา ดังน้ันการเรียนรูที่ เกดิ ขน้ึ ภายในหอ งเรยี นยอ มเปน การไมเ พยี งพอในความรทู ไ่ี ดร บั ความหมายของแหลง เรยี นรู แหลง เรยี นรู หมายถงึ บรเิ วณ ศนู ยร วม บอ เกดิ แหง หรอื ที่ ทม่ี สี าระเนอื้ หาเปน ขอ มลู ความรู ความสำคญั ของแหลง เรยี นรู แหลง เรยี นรมู บี ทบาทสำคญั ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ดงั นี้ 1. เปนแหลงที่มีขอมูล/ ความรู ตามวัตถุประสงคของแหลงเรียนรูน้ัน เชน สวนสัตว ใหค วามรเู รอื่ งสตั ว พพิ ธิ ภณั ฑใ หค วามรเู รอื่ งโบราณวตั ถสุ มยั ตา ง ๆ 2. เปน สอ่ื การเรยี นรสู มยั ใหมท คี่ วามรกู อ ใหเ กดิ ทกั ษะ และชว ยการเรยี นรสู ะดวกรวดเรว็ เชน อนิ เทอรเ นต็ 3. เปนแหลงชวยเสริมการเรียนรูของการศึกษาประเภทตาง ๆ ท้ังการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. เปนแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตที่มนุษยเขาไปหาความรูไดดวยตนเองตามความสนใจ และความสามารถ 5. เปน แหลง ทม่ี นษุ ยส ามารถเขา ไปปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ เชน การประดษิ ฐเ ครอื่ งใชต า ง ๆ การ ซอ มเครอ่ื งยนต เปน ตน ชว ยกระตนุ ใหเ กดิ ความสนใจ ความใฝร ู 6. เปน แหลง ทมี่ นษุ ยส ามารถเขา ไปเรยี นรเู กยี่ วกบั วทิ ยาการใหม ๆ ยงั ไมม ขี องจรงิ ใหเ หน็ หรอื ไมส ามารถเขา ไปดจู ากของจรงิ ไดโ ดยเรยี นรู การดภู าพยนตร วดี ทิ ศั น หรอื สอื่ อน่ื ๆ 7. เปนแหลงสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางคนในทองถ่ินใหเกิดความตระหนักและ เหน็ คณุ คา ของแหลง เรยี นรู 8. เปน สงิ่ ทชี่ ว ยเปลยี่ นแปลงทศั นคติ คา นยิ มใหเ กดิ การยอมรบั สง่ิ ใหม แนวคดิ ใหม เกดิ จนิ ตนาการ และความคดิ สรา งสรรคก บั ผเู รยี น 9. เปน การประหยดั คา ใชจ า ยและเพมิ่ รายไดใ หแ หลง เรยี นรขู องชมุ ชน

68111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 ประเภทของแหลง เรยี นรู แหลง เรยี นรมู กี ารแบง แยกตามลกั ษณะได 6 ประเภท ดงั น้ี 1. แหลงเรียนรูประเภทบุคคล ไดแก บุคคลที่มีความรู ความสามารถดานตาง ๆ ที่สามารถถายทอดความรูดวยรูปแบบวิธีตาง ๆ ท่ีตนมีอยูใหผูสนใจหรือผูตองการเรียนรู เชน ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาการตาง ๆ ผูอาวุโสที่มีประสบการณมามาก หรืออาจจะเปนบุคคลที่ ไดรับแตงตั้งเปนทางการ มีบทบาทสถานะทางสังคม หรืออาจเปนบุคคลที่เปนโดยการงานอาชีพ หรอื บคุ คลทเ่ี ปน โดยความสามารถเฉพาะตวั หรอื บคุ คลทไี่ ดร บั แตง ตงั้ เปน ภมู ปิ ญ ญา 2. แหลง เรยี นรปู ระเภทธรรมชาติ ไดแ ก สงิ่ ตา ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติ และให ประโยชนตอมนุษย เชน ดิน น้ำ อากาศ พืช สัตว ตนไม แรธาตุ ทรัพยากรธรรมชาติ เหลาน้ีอาจถูกจัดใหเปนอุทยาน วนอุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา สวนพฤกษศาสตร ศูนย ศกึ ษาธรรมชาติ เปน ตน 3. แหลง เรยี นรปู ระเภทวสั ดแุ ละสถานที่ ไดแ ก อาคาร สงิ่ กอ สรา ง วสั ดุ อปุ กรณ และสงิ่ ตา ง ๆ ทป่ี ระชาชนสามารถศกึ ษาหาความรใู หไ ดม าซง่ึ คำตอบ หรอื สง่ิ ทต่ี อ งการจากการเหน็ ไดย นิ สมั ผสั เชน หอ งสมดุ ศาสนสถาน ศนู ยก ารเรยี น พพิ ธิ ภณั ฑ สถานประกอบการ ตลาด นทิ รรศการ สถานทท่ี างประวตั ศิ าสตร ชมุ ชนแหง การเรยี นรตู า ง ๆ 4. แหลงเรียนรูประเภทส่ือ ไดแก ส่ิงท่ีทำหนาที่เปนส่ือกลางในการถายทอดเน้ือหา ความรสู ารสนเทศ ใหถ งึ กนั โดยผา นประสาทสมั ผสั ไดแ ก หู ตา จมกู ลนิ้ กาย และใจ แหลง เรยี นรู ประเภทน้ี ทำใหกระบวนการเรียนรูเปนไปไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพสูง ทั้งส่ืออิเล็กทรอนิกส สอื่ สง่ิ พมิ พ สอื่ โสตทศั น 5. แหลง เรยี นรปู ระเภทเทคนคิ สงิ่ ประดษิ ฐค ดิ คน ไดแ ก สง่ิ ทแี่ สดงถงึ ความกา วหนา ทาง นวัตกรรม เทคโนโลยีดานตาง ๆ ท่ีไดมีการประดิษฐคิดคนหรือพัฒนาปรับปรุงข้ึนมาใหมนุษยได เรยี นรถู งึ ความกา วหนา เกดิ จนิ ตนาการ แรงบนั ดาลใจ 6. แหลง เรยี นรปู ระเภทกจิ กรรม ไดแ ก การปฏบิ ตั กิ ารดา นประเพณวี ฒั นธรรม ตลอดจน การปฏิบัติการความเคล่ือนไหวเพื่อแกปญหา และปรับปรุงพัฒนาสภาพตาง ๆ ในทองถ่ิน การท่ี มนษุ ยเ ขา ไปมสี ว นรว มในกจิ กรรมตา ง ๆ เชน การรณรงคป อ งกนั ยาเสพตดิ การสง เสรมิ การเลอื กตง้ั ตามระบบประชาธปิ ไตย การรณรงคค วามปลอดภยั ของเดก็ และสตรใี นทอ งถน่ิ

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444469 เรอ่ื งท่ี 2 : แหลง เรยี นรปู ระเภทหอ งสมดุ หอ งสมดุ เปน แหลง เรยี นรทู ส่ี ำคญั ประเภทหนงึ่ ทจี่ ดั หา รวบรวมสรรพวชิ าการตา ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ จากทวั่ โลกมาจดั ระบบ และใหบ รกิ ารแกก ลมุ เปา หมายศกึ ษาคน ควา อยา งตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ ปจ จบุ นั มคี ำอน่ื ๆ ทหี่ นว ยงานตา ง ๆ ใชใ นความหมายของคำวา หอ งสมดุ เชน หอ งสมดุ และศูนยสารสนเทศ สำนักบรรณาสารการพัฒนา สำนักบรรณสารสนเทศ สำนักหอสมุด สำนัก วทิ ยบรกิ าร เปน ตน หอ งสมดุ โดยทวั่ ไปแบง ออกเปน 5 ประเภท ดงั น้ี 1. หอสมดุ แหง ชาติ นั บ เ ป น ห อ ง ส มุ ด ท่ี ใ ห ญ ที่ สุ ด ใ น ป ร ะ เ ท ศ ดำเนินการโดยรัฐบาล ทำหนาที่หลัก คือ รวบรวมหนังสือ สิ่งพิมพ และส่ือความรู ทุกอยางที่ผลิดข้ึนในประเทศ และ ทุกอยางที่เกี่ยวกับประเทศ ไมวาจะจัดพิมพในประเทศใด ภาษาใด ทงั้ นเ้ี ปน การอนรุ กั ษส อื่ ความรู ซง่ึ เปน ทรพั ยส นิ ทาง ปญญาของชาติมิใหสูญไป และใหมีไวใชในอนาคต นอกจากรวบรวมสิ่งพิมพในประเทศแลว ก็มี หนาที่รวบรวมหนังสือที่มีคุณคา ซ่ึงพิมพในประเทศอ่ืนไวเพื่อการคนควาอางอิง ตลอดจนทำหนาท่ี เปนศูนยรวบรวมบรรณานุกรมตาง ๆ และจัดทำบรรณานุกรมแหงชาติออกเผยแพรใหทราบทั่ว กันวามีหนังสืออะไรบางท่ีผลิตขึ้นในประเทศ หอสมุดแหงชาติจึงเปนแหลงใหบริการทางความรูแก คนทงั้ ประเทศ ชว ยเหลอื การคน ควา วจิ ยั ตอบคำถาม และใหค ำแนะนำปรกึ ษาเกยี่ วกบั หนงั สอื 2. หอ งสมดุ ประชาชน หองสมุดประชาชนดำเนินการโดยรัฐ อาจจะ เปน รฐั บาลกลาง รฐั บาลทอ งถนิ่ หรอื เทศบาล แลว แตร ะบบ การปกครอง ตามความหมายเดิม หองสมุดประชาชนเปน หองสมุดที่ประชาชนตองการใหมีในชุมชนหรือเมืองท่ีเขา อาศยั อยู ประชาชนจะสนบั สนนุ โดยยนิ ยอมใหร ฐั บาลจา ยเงนิ รายไดจากภาษีตาง ๆ ในการจัดต้ังและดำเนินการหองสมุด ประเภทนใ้ี หเ ปน บรกิ ารของรฐั จงึ มไิ ดเ รยี กคา ตอบแทน เชน คา บำรงุ หอ งสมดุ หรอื คา เชา หนงั สอื ท้ังน้ีเพราะถือวาประชาชนไดบำรุงแลว โดยการเสียภาษีรายไดใหแกประเทศ หนาท่ีของหองสมุด ประชาชนกค็ อื ใหบ รกิ ารหนงั สอื และสอื่ อนื่ ๆ เพอ่ื การศกึ ษาตลอดชวี ติ บรกิ ารขา วและเหตกุ ารณ ตาง ๆ ท่ีประชาชนควรทราบ สงเสริมนิสัยรักการอานและการรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน ให ขา วสาร ขอ มลู ทจ่ี ำเปน ตอ งใชใ นการปฏบิ ตั งิ านและการพฒั นาดา นตา ง ๆ

70111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 3. หอ งสมดุ ของมหาวทิ ยาลยั และวทิ ยาลยั เปนหองสมุดท่ีต้ังอยูในสถานศึกษาระดับ อุดมศึกษา ทำหนาท่ีสงเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยการจดั รวบรวมหนงั สอื และสอ่ื ความรอู นื่ ๆ ในหมวดวชิ า ตา ง ๆ ตามหลกั สตู ร ชว ยเหลอื ในการคน ควา วจิ ยั ของอาจารย และนักศึกษา สงเสริมพัฒนาการทางวิชาการของอาจารย และนักศึกษา และชวยจัดทำบรรณานุกรมและดรรชนีสำหรับคนหาเรื่องราวท่ีตองการ แนะนำ นกั ศกึ ษาในการใชห นงั สอื อา งองิ บตั รรายการและคมู อื สำหรบั การคน เรอื่ ง 4. หอ งสมดุ โรงเรยี น เปนหองสมุดท่ีตั้งอยูในโรงเรียนมัธยมและโรงเรียนประถมศึกษา มีหนาที่สงเสริมการ เรียนการสอนตามหลักสูตร โดยการรวบรวมหนังสือและสื่อ ความรอู นื่ ๆ ตามรายวชิ า แนะนำ สอนการใชห อ งสมดุ แก นกั เรยี น จดั กจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ยั รกั การอา น แนะนำใหร จู กั หนังสือที่ควรอาน ใหรูจักวิธีศึกษาคนควาหาความรูดวย ตนเอง ใหร จู กั รกั และถนอมหนงั สอื และเคารพสทิ ธขิ องผอู น่ื ในการใชหองสมุดและยืมหนังสือซ่ึงเปนสมบัติของทุกคน รว มกนั รว มมอื กบั ครอู าจารยใ นการจดั ชวั่ โมงใชห อ งสมดุ จดั หนงั สอื และสอ่ื การสอนอน่ื ๆ ตามรายวชิ าใหแ กค รอู าจารย 5. หอ งสมดุ เฉพาะ เปน หอ งสมดุ ซงึ่ รวบรวมหนงั สอื ในสาขาวชิ าบางสาขาโดยเฉพาะ มกั เปน สว นหนง่ึ ของ หนวยราชการ องคการ บริษัทเอกชน หรือธนาคาร ทำหนาที่จัดหาหนังสือและใหบริการความรู ขอ มลู และขา วสารเฉพาะเรอ่ื งทเี่ กยี่ วขอ งกบั การดำเนนิ งานของหนว ยงานนนั้ ๆ หอ งสมดุ เฉพาะจะเนน การรวบรวมรายงานการคน ควา วจิ ยั วารสารทางวชิ าการ และเอกสารเฉพาะเรอื่ งทผี่ ลติ เพอ่ื การใชใ น กลุมนักวิชาการบริการของหองสมุดเฉพาะจัดพิมพขาวสารเก่ียวกับส่ิงพิมพเฉพาะเรื่องสงใหถึงผูใช จดั สง เอกสารและเรอื่ งยอ ของเอกสารเฉพาะเรอื่ งใหถ งึ ผใู ชต ามความสนใจเปน รายบคุ คล ในปจจุบันน้ี เน่ืองจากการผลิตหนังสือและสิ่งพิมพอ่ืน ๆ โดยเฉพาะวารสารทางวิชาการ รายงานการวิจัย และรายงานการประชุมทางวิชาการมีปริมาณเพิ่มข้ึนมากมาย แตละสาขาวิชา แยกยอยเปนรายละเอียดลึกซ้ึง จึงยากท่ีหองสมุดแหงใดแหงหนึ่งจะรวบรวมเอกสารเหลานี้ไดหมด ทกุ อยา ง และใหบ รกิ ารไดท กุ อยา งครบถว น จงึ เกดิ มหี นว ยงานดำเนนิ การเฉพาะเรอื่ ง เชน รวบรวม หนงั สอื และสงิ่ พมิ พอ นื่ ๆ เฉพาะสาขาวชิ ายอ ย วเิ คราะหเ นอ้ื หา จดั ทำเรอื่ งยอ และดรรชนคี น เรอ่ื ง

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444471 นนั้ ๆ แลว พมิ พอ อกเผยแพรใ หถ งึ ตวั ผตู อ งการเรอ่ื งราวขา วสารและขอ มลู ตลอดจนเอกสารในเรอื่ งนน้ั หนว ยงานทที่ ำหนา ทปี่ ระเภทน้ี จะมชี อ่ื เรยี กวา ศนู ยเ อกสาร ศนู ยส ารสนเทศ ศนู ยข า วสาร หรอื ศูนยสารนิเทศ เชน ศูนยเอกสารการวิจัยทางวิทยาศาสตร ศูนยขาวสารการประมง เปนตน ศูนยเหลานี้บางศูนยเปนเอกเทศ บางศูนยก็เปนสวนหนึ่งของหองสมุด บางศูนยก็เปนสวนหน่ึงของ หนว ยงานเชน เดยี วกบั หอ งสมดุ เฉพาะ หอ งสมดุ ประชาชน ในทน่ี จี้ ะกลา วถงึ หอ งสมดุ ประชาชนเปน หลกั เนอื่ งจากเปน หอ งสมดุ ทใ่ี หบ รกิ ารในทกุ อำเภอ และใน กทม.บางเขต หรอื ใหบ รกิ ารประชาชนทวั่ ไป และอยใู นชมุ ชนใกลต วั นกั ศกึ ษามากทส่ี ดุ หอ งสมดุ ประชาชน หมายถงึ สถานทจ่ี ดั หา รวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศ เพอื่ การอา น และการศกึ ษาคน ควา ทกุ ชนดิ ทกุ ประเภท มกี ารจดั ระบบหมวดหมตู ามหลกั สากล เพอื่ การบรกิ าร และจดั บรกิ ารอยา งกวา งขวางแกป ระชาชนในชมุ ชน สงั คม โดยไมจ ำกดั เพศ วยั ความรู เชอ้ื ชาติ ศาสนา รวมทงั้ การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา นโดยมบี รรณารกั ษศาสตรเ ปน ผอู ำนวยความสะดวก หองสมุดประชาชนดำเนินการโดยหนวยงานตาง ๆ ไดแก สำนักงาน กศน. (หองสมุด ประชาชนท่ัวประเทศ) กรุงเทพมหานคร (หองสมุดประชาชนในเขต กทม.) เทศบาล (หองสมุด ประชาชนเทศบาล) เปน ตน ประเภทของหอ งสมดุ ประชาชน (สงั กดั สำนกั งาน กศน.) หอ งสมดุ ประชาชน แบง ตามขนาดไดเ ปน ๓ ประเภทใหญ ๆ ดงั น้ี 1. หองสมุดประชาชนขนาดใหญ ไดแก หองสมุดประชาชนจังหวัด สวนใหญตั้งอยูใน เขตอำเภอเมอื ง และหอสมดุ รชั มงั คลาภเิ ษกพระราชวงั ไกลกงั วล หวั หนิ ซง่ึ มลี กั ษณะอาคารสว นใหญ เปน 2 ชน้ั ชน้ั บนจดั บรกิ ารหนงั สอื เอกสาร และสอื่ เกยี่ วกบั การศกึ ษาตามหลกั สตู รระดบั ตา ง ๆ โดยจัดเปนหองการศึกษานอกโรงเรียนและหองโสตทัศนศึกษา หองหรือมุมหนังสือมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคำแหง และหองหรือมุมศูนยขอมูลชุมชนทองถ่ิน เปนตน สว นชน้ั ลา งจดั เปน ชน้ั หนงั สอื และบรกิ ารหนงั สอื เอกสาร สอื่ ความรทู างงวชิ าการ สารคดโี ดยทวั่ ไป และจดั บรกิ ารหนงั สอื สำหรบั เดก็ สอ่ื สำหรบั เดก็ เยาวชน มมุ จดั กจิ กรรมสำหรบั เดก็ 2. หอ งสมดุ ประชาชนขนาดกลาง ไดแ ก หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ลกั ษณะ อาคารเปน 2 ชนั้ มรี ปู แบบอาคารเหมอื นกนั เกอื บทกุ แหง ชนั้ บนจดั เปน หอ งศนู ยข อ มลู ทอ งถนิ่ บรกิ าร เกยี่ วกบั ขอมลู ชมุ ชน หอ งการศกึ ษานอกโรงเรยี น บรกิ ารสอ่ื ความรหู ลกั สตู รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ทกุ หลกั สตู ร ทกุ ประเภท ตลอดจนหอ งโสตทศั นศกึ ษาและหอ งการศกึ ษาดาวเทยี มไทยคม และหอ ง สำคญั ทสี่ ดุ หอ งหนงึ่ คอื หอ งเฉลมิ พระเกยี รตฯิ จดั บรกิ ารขอ มลู เกย่ี วกบั พระราชประวตั ิ พระราชกรณยี กจิ

72111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 โครงการในพระราชดำรหิ นงั สอื พระราชนพิ นธข องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และพระราชวงศที่เกี่ยวของ เปนตน ช้ันลางจัดบริการมุมเด็กซ่ึงประกอบดวยสื่อความรูสำหรับเด็ก เครอื่ งเลน พฒั นาความพรอ ม สอื่ ความรทู กุ ประเภท รวมทง้ั เปน ทจี่ ดั กจิ กรรมสำหรบั เดก็ และจดั สอ่ื เอกสารหนงั สอื วชิ าการ สารคดี ความรทู ว่ั ไปสำหรบั ผใู หญ ประชาชนทวั่ ไป หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เปน หอ งสมดุ ทไ่ี ดพ ระราชทานพระราชานญุ าตจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสท่ีทรงมีพระชนมายุครบ 36 พรรษา และพระองคท รงเสดจ็ เปด หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ทกุ แหง ดว ยพระองคเ อง 3. หอ งสมดุ ประชาชนขนาดเลก็ ไดแ ก หอ งสมดุ ประชาชนอำเภอทวั่ ไป จดั บรกิ ารหนงั สอื และสอ่ื ความรปู ระเภทตา ง ๆ จดั มมุ เดก็ และครอบครวั มมุ วารสารหนงั สอื พมิ พ มมุ การศกึ ษานอก โรงเรยี นและหนงั สอื วชิ าการ สารคดที ว่ั ไป รวมทง้ั หนงั สอื อา งองิ เปน ตน ความสำคญั ของหอ งสมดุ ประชาชน หอ งสมดุ ประชาชนมคี วามสำคญั เปน อยา งมากตอ การพฒั นาคนในชมุ ชน และของประเทศ ในทกุ ดา น ดงั น้ี 1. เปนแหลงกลางในการจัดหารวบรวม และบริการขอมูลขาวสารสำคัญที่ทันเหตุการณ และความเคลอ่ื นไหวของโลกทปี่ รากฏในรปู ลกั ษณต า ง ๆ มาไวบ รกิ ารแกป ระชาชน 2. เปนแหลงเรียนรูการศึกษาตามอัธยาศัยที่ใหพ้ืนฐานความคิดของประชาชนโดย สว นรวมและเปน พน้ื ฐานความเตบิ โตทางสตปิ ญ ญาและวฒั นธรรมอยา งตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ 3 เปน ศนู ยข อ มลู ชมุ ชนในการสง เสรมิ กจิ กรรมดา นการศกึ ษาและวฒั นธรรมของชมุ ชน 4. เปน แหลง กลางทจี่ ะปลกู ฝง ใหป ระชาชนมนี สิ ยั รกั การอา น การศกึ ษาคน ควา หาความรู การศกึ ษาวจิ ยั 5. เปน แหลง ทปี่ ระชาชนสามารถใชห นงั สอื สอื่ ความรตู า ง ๆ ใหเ ปน ประโยชนอ ยา งเตม็ ที่ ตามความตอ งการและสภาพแวดลอ มของประชาชน 6. เปนแหลงสนับสนุนการเผยแพรความรู ความคิด ทัศนคติ ประสบการณในรูปแบบ ของสอ่ื ตา งๆ 7. เปน แหลง การเรยี นรทู เี่ ชอ่ื มโยงการศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาในระบบ และเชอื่ มโยง แหลง เรยี นรตู า ง ๆ 1. การบรกิ ารภายในหอ งสมดุ หองสมุดประชาชนทุกประเภทจะจัดบริการภายในหองสมุดตามความเหมาะสมของแตละ หอ งสมดุ และการสนองตอบความตอ งการของผรู บั บรกิ าร ดงั น้ี

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444473 1.1 บริการการอาน การศึกษาคนควา จัดส่ือตาง ๆ ในพ้ืนท่ีท่ีถูกจัดเปนสัดสวน และ สงิ่ อำนวยความสะดวกตา ง ๆ 1.2 บรกิ ารสบื คน ดว ยคอมพวิ เตอร เพอ่ื การเขา ถงึ สารสนเทศทตี่ อ งการไดอ ยา งรวดเรว็ ดว ย โปรแกรม PLS (Public Library Service) โดยจัดบริการเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อการสืบคนและ แนะนำการใช 1.3 บรกิ ารสบื คน ดว ยตบู ตั รรายการ โดยสารสนเทศทกุ ประเทภ ทกุ ชนดิ จะถกู จดั ทำรายการ คน เปน บตั รรายการ จดั เรยี งไวใ นตบู ตั รรายการ แยกประเภทเปน บตั รผแู ตง บตั รชอ่ื หนงั สอื และ บตั รเรอ่ื ง รวมทงั้ บตั รดรรชนตี า ง ๆ ไวบ รกิ าร 1.4 บรกิ ารยมื -คนื หนงั สอื -สอื่ ความรตู า ง ๆ ใหผ ใู ชบ รกิ ารยมื อา นนอกหอ งสมดุ โดยแตล ะ แหง จะกำหนด กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ฯลฯ ตามความเหมาะสมของแตล ะหอ งสมดุ และมกี ารใช ระบบเทคโนโลยใี นการบรกิ ารทรี่ วดเรว็ 1.5 การบริการแนะแนวการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแกนักศึกษา และ ประชาชนผสู นใจทว่ั ไป 1.6 บรกิ ารสอื่ เอกสารของสถาบนั อดุ มศกึ ษา ทงั้ ของมหาวทิ ยาลยั รามคำแหง มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช 1.7 บรกิ ารขอ มลู สารสนเทศและเอกสารงานวจิ ยั ตา ง ๆ รวมทงั้ หนงั สอื อา งองิ 1.8 บรกิ ารการเรยี นรกู ารใชค อมพวิ เตอรโ ปรแกรมตา ง ๆ อนิ เทอรเ นต็ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต า ง ๆ 1.9 บรกิ ารสถานทจี่ ดั กจิ กรรมเสรมิ ความรตู า ง ๆ 1.10 บรกิ ารแนะนำใหค วามรแู กน กั เรยี น นกั ศกึ ษา สถาบนั ตา ง ๆ รวมทง้ั ประชาชนในการ รจู กั ใชห อ งสมดุ ประชาชน 1.11 บรกิ ารแนะนำทางบรรณารกั ษศาสตรแ กบ คุ ลากรเครอื ขา ยในการจดั ปรบั ปรงุ พฒั นา แหลง เรยี นรหู อ งสมดุ ของทอ งถนิ่ 1.12 บรกิ ารฝก ประสบการณก ารปฏบิ ตั งิ านหอ งสมดุ แกน กั เรยี น นกั ศกึ ษา สถาบนั ตา ง ๆ 2. การบรกิ ารภายนอกหอ งสมดุ 2.1 บรกิ ารหอ งสมดุ เคลอื่ นทกี่ บั หนว ยงานองคก รทอ งถน่ิ 2.2 บรกิ ารหมนุ เวยี นสอ่ื ในรปู แบบตา ง ๆ ไปยงั ศนู ยก ารเรยี น แหลง ความรู ครอบครวั ฯลฯ ทอ่ี ยหู า งไกลหอ งสมดุ ในรปู แบบตา ง ๆ เชน เป ยา ม หบี กระเปา ฯลฯ 2.3 บรกิ ารความรทู างสถานวี ทิ ยุ โทรทศั น หอกระจายขา ว เสยี งตามสาย แผน พบั แผน ปลวิ ฯลฯ 2.4 บรกิ ารสอ่ื ตา ง ๆ แกบ คุ ลากร กศน. ทงั้ ครู วทิ ยากร นกั ศกึ ษากลมุ การเรยี นรตู า ง ๆ

74111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 เรอ่ื งท่ี 3 : ทกั ษะการเขา ถงึ สารเทศของหอ งสมดุ ประชาชน ปจจุบันความกาวหนาของเทคโนโลยี ชวยลดขั้นตอนการหาขอมูลของหองสมุดประชาชน ผเู รยี นสามารถคน หาไดจ ากอนิ เทอรเ นต็ วา มหี อ งสมดุ ประชาชนทใี่ ดบา ง สถานทต่ี งั้ เวลาเปด -ปด หมายเลขโทรศพั ท กจิ กรรมทใ่ี หบ รกิ าร ชว ยใหผ ใู ชส ะดวกและสามารถเขา ถงึ หอ งสมดุ ไดง า ย หอ งสมดุ ทกุ ประเภททกุ ชนดิ จะมกี ารจดั ระบบหมวดหมขู องสารสนเทศ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค สำคัญเพื่อใหประชาชนเขาถึงสิ่งที่ตองการสนใจไดงาย สะดวกรวดเร็ว และสะดวกในการบริหาร จดั การหอ งสมดุ เพอ่ื การบรกิ ารกลมุ เปา หมายในระยะยาว ระบบหมวดหมูที่หองสมุดนำมาใชจะเปนระบบสากลที่ทั่วโลกใช และเหมาะกับกลุม เปา หมายเขา ถงึ ไดง า ย ระบบทนี่ ยิ มใชใ นประเทศไทยเปน สว นใหญ มี 2 ระบบ ไดแ ก ระบบทศนยิ ม ของดวิ อี้ ซง่ึ ใชต วั เลขอารบกิ เปน สญั ลกั ษณ แทนหมวดหมสู ารสนเทศ นยิ มใชใ นหอ งสมดุ ประชาชน กบั อกี ระบบหนง่ึ ไดแ กร ะบบรฐั สภาอเมรกิ นั ใชอ กั ษรโรมนั (A-Z) เปน สญั ลกั ษณ นยิ มใชใ นหอ ง สมดุ มหาวทิ ยาลยั ระบบทศนยิ มของดวิ อี้ แบง ความรใู นโลกออกเปน หมวดหมจู ากหมวดใหญไ ปหาหมวดยอ ย จากหมวดยอ ยแบง เปน หมยู อ ย และหมยู อ ยๆ โดยใชเ ลขอารบกิ 0-9 เปน สญั ลกั ษณ ดงั นี้ 000 สารวทิ ยาความรเู บด็ เตลด็ ทว่ั ไป 100 ปรชั ญาและวชิ าทเ่ี กย่ี วขอ ง 200 ศาสนา 300 สงั คมศาสตร 400 ภาษาศาสตร 500 วทิ ยาศาสตร (วทิ ยาศาสตรบ รสิ ทุ ธ)ิ์ 600 เทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตรป ระยกุ ต) 700 ศลิ ปกรรมและการบนั เทงิ 800 วรรณคดี 900 ภมู ศิ าสตรแ ละประวตั ศิ าสตร ระบบรฐั สภาอเมรกิ า (Library of Congress Classification) หอ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยสว นใหญใ ชร ะบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั ซง่ึ ปรบั ปรงุ และพฒั นาโดย เฮอรเ บริ ด พทั นมั (Herbirt Putnum) เมอ่ื ป พ.ศ. 2445 ระบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั แบง หมวดหมวู ชิ าออกเปน 20 หมวด ใชอ กั ษรโรมนั ตวั ใหญ A-Z ยกเวน ตวั อกั ษร I, O, W, X, Y เพอ่ื สำหรบั การขยายหมวดหมวู ชิ าการใหม ๆ ในอนาคต

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444475 ตารางการแบงหมวดหมูหนังสือระบบหอสมุดอเมริกัน แบงหมวดหมูวิชาการเปน 20 หมวดใหญ ดงั น้ี 1. หมวด A : ความรทู วั่ ไป 2. หมวด B : ปรชั ญา ศาสนา 3. หมวด C : ประวตั ศิ าสตร 4. หมวด D : ประวตั ศิ าสตรส ากล 5. หมวด E-F : ประวตั ศิ าสตรอ เมรกิ า 6. หมวด G : ภมู ศิ าสตร มานษุ ยวทิ ยา คตชิ นวทิ ยา 7. หมวด H : สงั คมศาสตร 8. หมวด J : รฐั ศาสตร 9. หมวด K : กฎหมาย 10. หมวด L : การศกึ ษา 11. หมวด M : ดนตรี 12. หมวด N : ศลิ ปกรรม 13. หมวด P : ภาษาและวรรณคดี 14. หมวด Q : วทิ ยาศาสตร 15. หมวด R : แพทยศาสตร 16. หมวด S : เกษตรศาสตร 17. หมวด T : เทคโนโลยี 18. หมวด U : วชิ าการทหาร 19. หมวด V : นาวกิ ศาสตร 20. หมวด Z : บรรณารกั ษศาสตร สำหรบั หอ งสมดุ ประชาชนซงึ่ ผใู ชบ รกิ ารเปน ประชาชนทว่ั ไป การจดั หมวดหมหู นงั สอื นอกจาก ระบบดงั กลา วแลว ยงั มชี อื่ หมวดหนงั สอื และสอ่ื เพอ่ื เพมิ่ ความสะดวกในการคน หา เชน นวนยิ าย เรอ่ื งสนั้ สารคดี ประวตั ศิ าสตร วทิ ยาศาสตร กฬี า นนั ทนาการ เปน ตน การเขา ถงึ สารสนเทศหอ งสมดุ ประชาชน หอ งสมดุ ประชาชนมหี ลากหลายสงั กดั เชน สงั กดั สำนกั งาน กศน. สงั กดั กรงุ เทพมหานคร สังกัดเทศบาล การจัดระบบการสืบคนหองสมุดประชาชนไดอำนวยความสะดวกในการสืบคนสาร สนเทศ ดงั นี้

76111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 1. การใชโ ปรแกรมเพอ่ื การสบื คน ในยคุ ปจ จบุ นั สำนกั งาน กศน. ไดพ ฒั นาโปรแกรม เพอื่ บรหิ ารจดั การงานหอ งสมดุ ใหค รบวงจร เชน ขอ มลู หนงั สอื สอ่ื ขอ มลู สมาชกิ ขอ มลู อน่ื ๆ ดงั นนั้ หากผูใชบริการตองการรูวามีหนังสือหรือส่ือท่ีตองการในหองสมุดแหงนั้นหรือไม ก็สามารถคนหา ไดดวยโปรแกรมดังกลาว ซ่ึงหองสมุดจะมีคอมพิวเตอรใหสืบคนไดดวยตนเอง โดยพิมพคำท่ี เกี่ยวของกับหนังสือ เชน ประวัติศาสตร สัตวเลี้ยงลูกดวยนม การศึกษา โลกรอน ฯลฯ สวน รายละเอยี ดวธิ กี ารใชโ ปรแกรม สามารถศกึ ษาไดจ ากหอ งสมดุ ประชาชนแหง นน้ั กแลิจะกฝรก ใรทหมกั ผษูเระียกนาไรปใชหโ อปงรสแกมรุดมปจรนะสชาามชานรทถ่ีใสชบื โคปน รแหกนรงั มสบอื ไรดิห ารงานหองสมุด111111111111111111111111111112222222222222222222222222222233333333333333333333333333333444444444444444444444444444445555555555555555555555555555566666666666666666666666666666777777777777777777777777777778888888888888888888888888888899999999999999999999999999999000000000000000000000000000001111111111111111111111111111122222222222222222222222222222333333333333333333333333333334444444444444444444444444444455555555555555555555555555555666666666666666666666666666667777777777777777777777777777788888888888888888888888888888999999999999999999999999999990000000000000000000000000000011111111111111111111111111111222222222222222222222222222223333333333333333333333333333344444444444444444444444444444555555555555555555555555555556666666666666666666666666666677777777777777777777777777777888888888888888888888888888889999999999999999999999999999900000000000000000000000000000111111111111111111111111111112222222222222222222222222222211111111111111111111111111111222222222222222222222222222223333333333333333333333333333344444444444444444444444444444555555555555555555555555555556666666666666666666666666666677777777777777777777777777777888888888888888888888888888889999999999999999999999999999900000000000000000000000000000111111111111111111111111111112222222222222222222222222222233333333333333333333333333333444444444444444444444444444445555555555555555555555555555566666666666666666666666666666777777777777777777777777777778888888888888888888888888888899999999999999999999999999999000000000000000000000000000001111111111111111111111111111122222222222222222222222222222333333333333333333333333333334444444444444444444444444444455555555555555555555555555555666666666666666666666666666667777777777777777777777777777788888888888888888888888888888999999999999999999999999999990000000000000000000000000000011111111111111111111111111111222222222222222222222222222221111111111111111111111111111122222222222222222222222222222333333333333333333333333333334444444444444444444444444444455555555555555555555555555555666666666666666666666666666667777777777777777777777777777788888888888888888888888888888999999999999999999999999999990000000000000000000000000000011111111111111111111111111111222222222222222222222222222223333333333333333333333333333344444444444444444444444444444555555555555555555555555555556666666666666666666666666666677777777777777777777777777777888888888888888888888888888889999999999999999999999999999900000000000000000000000000000111111111111111111111111111112222222222222222222222222222233333333333333333333333333333444444444444444444444444444445555555555555555555555555555566666666666666666666666666666777777777777777777777777777778888888888888888888888888888899999999999999999999999999999000000000000000000000000000001111111111111111111111111111122222222222222222222222222222111111111111111111111111111112222222222222222222222222222233333333333333333333333333333444444444444444444444444444445555555555555555555555555555566666666666666666666666666666 2. การสบื คน ขอ มลู สารสนเทศดว ยบตั รรายการ หอ งสมดุ ประชาชนบางแหง อาจยงั จดั บรกิ ารสบื คน ดว ยบตั รรายการ ซงึ่ มลี กั ษณะเปน บตั รแขง็ เกบ็ ไวใ นลนิ้ ชกั ในตบู ตั รรายการ ตวั อยา งลกั ษณะของบตั รรายการ บตั รรายการหนงั สอื ทปี่ รากฏขา งบน จะมชี อ่ื ผแู ตง อยบู รรทดั บนสดุ มชี อ่ื เรยี กวา บตั รผแู ตง

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444477 โใรสรกปาชามิจยยรหุดกแงกอปากรางนรใรรสระหมสทมมชค หง ี่คาุดครอนชู แรงนใูกหสหศลมไนโงุดดด.สจยาารหปรวกรรสมชือะนก้ันสจเลหาาทมุ นกนศผตงังเูาสูบรนแยีือัตกลนอรบั ระแยาบใบายหรงง กรผกรณาวลูเรรดมุ าียเรลรนักใะ็วหแษปขผใรแงูแหะขลขมแ ันะงนาขใกณะหันานแหรำ1ตหยห0ลิบาอ ะหหงคกสนนนลมังังุมสสดุ ไืืจออปัดตจหกาทาอ ามกำงร111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666666666666666666666

78111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 เรอื่ งที่ 4 : การใชแ หลง เรยี นรสู ำคญั ๆ ภายในประเทศ หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ในโอกาสมงิ่ มงคลสมยั ทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระ ชนมายุ 36 พรรษา เมอื่ ปพ ทุ ธศกั ราช 2534 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดร บั พระราชทานพระราชานญุ าต ใหด ำเนนิ โครงการจดั ตง้ั หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รติ และเพอ่ื สนอง แนวทางพระราชดำรใิ นการสง เสรมิ การศกึ ษาสำหรบั ประชาชนทไ่ี ดท รงแสดงในโอกาสตา ง ๆ เชน ในโอกาสท่ีทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จเปนองคประธานในการประชุมสมัชชาสากล วา ดว ยการศกึ ษาผใู หญ เมอ่ื วนั ท่ี 12 มกราคม 2533 ไดท รงพระราชทานลายพระหตั ถเ ชญิ ชวนให “รว มกนั ทำใหช าวโลกอา นออกเขยี นได” และในบทพระราชนพิ นธเ รอื่ ง “หอ งสมดุ ในทศั นะของขา พเจา ” ไดท รงกลา ววา “...ความรขู องมนษุ ยเ ปน มรดกทต่ี กทอดกนั มาแตโ บราณ เมอื่ มกี ารประดษิ ฐค ดิ คน อกั ษรขนึ้ ผูมีความรูก็ไดบันทึกความรูของตน สิ่งที่ตนคนพบเปนการจารึก หรือเปนหนังสือทำใหบุคคลอ่ืนใน สมยั เดยี วกนั หรอื อนชุ นรนุ หลงั ไดม โี อกาสศกึ ษาทราบถงึ เรอ่ื งนนั้ นๆ และไดใ ชค วามรเู กา ๆ เปน พนื้ ฐาน ทจ่ี ะหาประสบการณค ดิ คน สง่ิ ใหมๆ ทเ่ี ปน ความกา วหนา เปน ความเจรญิ สบื ตอ ไป... หอ งสมดุ เปน สถานทเี่ กบ็ เอกสารตา ง ๆ อนั เปน แหลง ความรดู งั กลา ว แลว จงึ เรยี กไดว า เปน ครู เปน ผชู นี้ ำใหเ รามปี ญ ญาวเิ คราะหว จิ ารณใ หร สู งิ่ ควรรอู นั ชอบดว ยเหตผุ ลได ขา พเจา อยากใหเ รามหี อ งสมดุ ทด่ี ี มหี นงั สอื ครบทกุ ประเภทสำหรบั ประชาชน...” ดวยความจงรักภักดีและความมุงม่ันศรัทธาท่ีจะรวมสนองแนวทางพระราชดำริในการ สง เสรมิ โอกาสทางการศกึ ษา ภายในป 2533 และ 2534 ไดม ปี ระชาชนในแตล ะพน้ื ที่ หนว ยงาน ภาครฐั และภาคเอกชนใหค วามสนบั สนนุ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ตง้ั หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จำนวน 59 แหง ในพนื้ ท่ี 47 จงั หวดั เกนิ เปา หมายทกี่ ำหนดไวเ ดมิ 37 แหง และนบั เนอ่ื งจากนน้ั ยังมีขอเสนอจากจังหวัดตางๆ ขอเขารวมโครงการเพ่ิมเติมจวบจนปจจุบันมีหองสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จำนวน 82 แหง (ขอ มลู จากสถาบนั พฒั นาวตั กรรมการเรยี นรู สำนกั งาน กศน. พฤศจกิ ายน 2553) บทบาทหนา ท่ี 1. ศนู ยข า วสารขอ มลู ของชมุ ชน หมายถงึ การจดั หอ งสมดุ ใหเ ปน แหลง ศกึ ษาหาความรู คน ควา วจิ ยั โดยมกี ารจดั บรกิ ารหนงั สอื เอกสารสงิ่ พมิ พ สอื่ โสตทศั น ตลอดจนการจดั ทำทำเนยี บ และการแนะแนวแหลง ความรอู นื่ ๆ ทผี่ ใู ชบ รกิ ารสามารถไปศกึ ษาเพม่ิ เตมิ

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444479 2. ศนู ยส ง เสรมิ การเรยี นรขู องชมุ ชน หมายถงึ การเปน แหลง สง เสรมิ สนบั สนนุ และจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู ห่ี ลากหลาย โดยหอ งสมดุ อาจดำเนนิ การเอง หรอื ประสานงานอำนวยความสะดวก ใหช มุ ชน หรอื หนว ยงานภายนอกมาจดั ดำเนนิ การ กจิ กรรมการเรยี นรทู จ่ี ดั ขน้ึ จะใหค วามสำคญั แก การจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอา น การแนะแนว การศกึ ษา และการพฒั นาอาชพี การสนบั สนนุ การเรยี นรดู ว ยตนเอง การจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น สายสามัญ การจัดกลุมสนใจและช้ันเรียนวิชาชีพ การสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปของ นทิ รรศการ การอภปิ รายการเรยี นรรู ะหวา งสมาชกิ ในครอบครวั การถา ยทอดความรจู ากผรู ใู นชมุ ชน และการแสดงภาพยนตรแ ละสอื่ โสตทศั น 3. ศนู ยก ลางจดั กจิ กรรมของชมุ ชน หมายถงึ การใหบ รกิ ารแกช มุ ชนในการจดั กจิ กรรม การศกึ ษาและศลิ ปวฒั นธรรม เชน การประชมุ ขององคก รทอ งถน่ิ และชมรมตา งๆ การจดั นทิ รรศการ การแสดงผลติ ภณั ฑ การจดั กจิ กรรมวนั สำคญั ตามประเพณี การจดั สวนสขุ ภาพ สนามเดก็ เลน และ สวนสาธารณะ เปน ตน 4. ศนู ยก ลางสนบั สนนุ เครอื ขา ยการเรยี นรใู นชมุ ชน หมายถงึ การจดั ใหเ กดิ กระบวน การทจ่ี ะเชอ่ื มประสานระหวา งหอ งสมดุ และแหลง ความรใู นชมุ ชนอน่ื ๆ เชน ทอ่ี า นหนงั สอื ประจำหมบู า น สถานศึกษา แหลงประกอบการ ภูมิปญญาทองถ่ิน ดวยการผลิตและเผยแพรเอกสารส่ิงพิมพไป สนบั สนนุ เวยี นหนงั สอื จดั ทำทำเนยี บผรู ใู นชมุ ชน จดั กจิ กรรมเพอื่ ใหเ กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู ะหวา ง ชมุ ชน เปน ตน อาคารหอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ทจ่ี ดั สรา งขน้ึ ในรนุ แรกจะเปน อาคาร 2 ชนั้ มเี นอื้ ที่ ใชส อยประมาณ 320 ตารางเมตร และมรี ปู ทรงทคี่ ลา ยคลงึ กนั จะตา งกนั เฉพาะบรเิ วณหลงั คาและ จั่ว ท้ังน้ีเปนไปตามมติของคณะกรรมการอำนวยการโครงการท่ีกำหนดใหหองสมุดมีท้ังเอกลักษณะ เฉพาะของหอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี และในขณะเดยี วกนั ใหม เี อกลกั ษณเ ฉพาะภาค

80111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ.ศรมี โหสถ จ.ปราจนี บรุ ี หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ราชบรุ ี หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี นครราชสมี า หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี สมทุ รสาคร หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี สกลนคร

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444481 หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ.ดอนเจดีย จ.สุพรรณบุรี อ.สตั หบี จ.ชลบรุ ี หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ.สามพราน จ.นครปฐม อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ.วเิ ศษชยั ชาญ จ.อา งทอง อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

82111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 การบรกิ ารของหอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี บรกิ ารหนงั สอื ทวั่ ไป หนงั สอื ทจี่ ดั บรกิ ารประกอบดว ย หนงั สอื อา งองิ นวนยิ าย สารคดี และแบบเรยี นในระดบั ตา งๆ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ สำหรบั นกั ศกึ ษานอกโรงเรยี นทจ่ี ะสามารถยมื หนงั สอื เรยี นไปใช นอกจากนี้ ยงั มหี นงั สอื พมิ พแ ละวารสารจดั บรกิ าร พรอ มกบั กฤตภาค จลุ สาร และสง่ิ พมิ พอ น่ื ๆ รปู : ตำรายาจารกึ ตามเสาระเบยี งว บรกิ ารพเิ ศษทเ่ี ปน เอกลกั ษณเ ฉพาะสำหรบั หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ไดแ ก บรกิ ารศนู ยข อ มลู ทอ งถน่ิ หอ งสมดุ แตล ะแหง จะจดั ศนู ยข อ มลู ทอ งถนิ่ ตามพระราโชบายของ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทม่ี พี ระราชประสงคใ หห อ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จัดรวบรวมขอมูลเก่ียวกับ อำเภอ และจังหวัดท่ีตั้งในรูปของสถิติ เอกสารสิ่งพิมพ บทสมั ภาษณ แผนที่ ตลอดจนภาพถา ย ในปจ จบุ นั ศนู ยข อ มลู ภายในหอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ยงั มคี วามแตกตา งกนั ใน ความสมบรู ณแ ละวธิ กี ารนำเสนอ แตส ว นใหญจ ะมขี อ มลู ในเรอื่ งดงั ตอ ไปนี้ 1. ขอ มลู สภาพทวั่ ไป 2. ขอ มลู ทางสงั คม 3. ขอ มลู ทางการเมอื งการปกครอง 4. ขอ มลู ทางการศกึ ษา 5. ขอ มลู ทางศลิ ปวฒั นธรรม 6. ขอ มลู ทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 7. ขอ มลู ทางการเกษตร 8. ขอ มลู ทางอตุ สาหกรรม 9. ขอ มลู ทางเศรษฐกจิ มมุ นกั เขยี นทอ งถนิ่ ไดม คี วามพยายามทจ่ี ะประกาศเกยี รตคิ ณุ และรวบรวมผลงานนกั เขยี น ทองถิ่นท่ีมีผลงานมีช่ือเสียงระดับชาติ และเปนที่รูจักภายในทองถ่ิน ทั้งน้ีเพ่ือใหประชาชนในแตละ พนื้ ทเี่ กดิ ความภาคภมู ใิ จในพลงั ความสรา งสรรคใ นทอ งถน่ิ ของตนและเยาวชนรนุ หลงั เกดิ แรงบนั ดาลใจ ทจ่ี ะเจรญิ รอยตาม มมุ วรรณกรรมพน้ื บา น นอกจากมมุ นกั เขยี นทอ งถน่ิ แลว หอ งสมดุ ยงั มงุ เพอ่ื จะรวบรวม วรรณกรรมพนื้ บา นทง้ั ทอ่ี ยใู นรปู ของเอกสารสง่ิ พมิ พ และเปน ตำนานเลา สบื ตอ กนั มา มมุ ธรรมะ หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี หลายแหง ไดร เิ รม่ิ หอ งธรรมะหรอื มมุ ธรรมะ ซ่ึงนอกจากจะนำเสนอประวัติและผลงานของพระสงฆท่ีเปนที่เคารพในพ้ืนท่ีแลว ยังจัดหนังสือ พระไตรปฏ ก และรวบรวมหนงั สอื ธรรมะ ตลอดจนเทปธรรมะเพอื่ ประโยชนใ นการศกึ ษาคน ควา อกี ดว ย

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444483 วดั โพธิ์ มุมธรรมะ มุมหนังสือทั่วไป มุมศิลปนทองถิ่น บรกิ ารแนะแนว เนอื่ งจากผใู ชบ รกิ ารหอ งสมดุ จำนวนไมน อ ยเปน ประชาชนนอกระบบโรงเรยี น จงึ มกี ารจดั มมุ แนะแนวขน้ึ ในหลายแหง เพอื่ ใหข อ มลู เกย่ี วกบั โอกาสในการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น ประโยชนท จี่ ะไดร บั และขอ มลู เกย่ี วกบั แหลง ทจี่ ดั สอน คา เลา เรยี น และรายละเอยี ดพน้ื ฐานอนื่ ๆ

84111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 หอ งเดก็ และครอบครวั หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี แตล ะแหง ไดจ ดั บรเิ วณเฉพาะสำหรบั เดก็ และเยาวชน ใหม าใชบ รกิ ารรว มกนั ดว ยการจดั หนงั สอื และสอื่ นานาชนดิ ซง่ึ มที ง้ั สอื่ ทดลองทผ่ี ใู ชส ามารถทดลองดว ย ตนเองหรอื เปน กลมุ เครอื่ งเลน และสอ่ื สาธติ ในบริเวณดังกลาว จะจัดบรรยากาศใหดึงดูดใจ โดยอาจจำลองภาพจากตำนานพ้ืนฐาน เทพนยิ าย หรอื สภาพภมู ปิ ระเทศทงั้ ใกลแ ละไกลตวั มาตกแตง พรอ มกบั จดั ทน่ี งั่ อา น ทน่ี งั่ เลน ทเ่ี หมาะสม มบี รเิ วณจดั กจิ กรรมทเ่ี ดก็ และครอบครวั สามารถมสี ว นรว มและแสดงออก เชน การเลา นทิ าน การแสดง ละครหนุ การวาดภาพ การแขง ขนั อา นเขยี น เปน ตน หอ งสมดุ บางแหง เชน ทอ่ี ำเภอไพธทิ์ อง ได สอดแทรกการปลูกฝงระเบียบวินัยใหกับเด็ก ดวยการจัดระบบใหเด็ก ไมวาจะเล็กเพียงใดไดฝกหัด เบกิ และเกบ็ ของเลน ใหเ ปน ระเบยี บ การจัดกิจกรรมสงเสริมการอานที่หลากหลายและตอเน่ือง การรักษาระเบียบวินัยภายใน หอ งสมดุ การสง เสรมิ ใหค รอบครวั มาใชบ รกิ ารรว มกนั การดแู ลสภาพเครอื่ งเลน ใหใ ชก ารได ตลอดจน การเสรมิ หนงั สอื และสอื่ ใหม พี อเพยี ง จงึ เปน ประเดน็ ทท่ี า ทายผมู สี ว นรว มในการจดั หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ทกุ คน

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444485 หองโสตทัศนศึกษา หองโสตทัศนศึกษา เปนหองท่ีมุงพัฒนาใหเปนศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาของอำเภอ โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะจัดบริการส่ือเพื่อการศึกษาคนควา เพ่ือสงเสริมการศึกษาดวยตนเอง เพ่ือ ประกอบการเรยี นการสอน ทง้ั ในและนอกระบบโรงเรยี น และเพอื่ สง เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม และการ นนั ทนาการ ในแตล ะหอ งสมดุ จะมสี อ่ื พน้ื ฐาน ซงึ่ ไดแ ก สไลด CD C.A.I CD-ROM และคมู อื ประกอบ การฟง และการชมซง่ึ จะมเี นอื้ หา ดงั น้ี 1. ส่ือการศึกษาสำหรับศึกษาดวยตนเอง หรือเสริมหลักสูตรการศึกษาสายสามัญทั้งใน และนอกระบบโรงเรยี น ตง้ั แตร ะดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา และในบางแหง มถี งึ ระดบั อดุ มศกึ ษา ทงั้ นโ้ี ดยไดร บั การสนบั สนนุ จากศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา และมหาวทิ ยาลยั เปด 2. สอื่ การศกึ ษาสายอาชพี สำหรบั ศกึ ษาดว ยตนเอง หรอื ประกอบการเรยี นตามหลกั สตู ร 3. สอ่ื ทใี่ หค วามรทู ว่ั ไปเชงิ สารคดี เชน เรอ่ื งศลิ ปวฒั นธรรม การทอ งเทยี่ ว เปน ตน 4. สอื่ ทใ่ี หค วามรใู นเรอ่ื งธรรมะ และศาสนา 5. สอื่ ดนตรปี ระเภทตา งๆ ทง้ั ดนตรพี นื้ บา น ดนตรไี ทย และดนตรสี ากล 6. สอ่ื บนั เทงิ

86111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 หองอเนกประสงค หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี มบี ทบาทในการเปน ศนู ยส ง เสรมิ การเรยี นรขู องประชาชน ในการวางแผนเบื้องตน จึงกำหนดใหมีหองอเนกประสงคที่จะสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาท่ีหลาก หลายทง้ั ในรปู ของพพิ ธิ ภณั ฑท อ งถน่ิ นทิ รรศการ การอภปิ ราย การพบกลมุ ของนกั ศกึ ษา หรอื การ เรยี นการสอนกลมุ สนใจ ซงึ่ มเี นอื้ หาดงั ตอ ไปน้ี 1. ประวตั ศิ าสตร โบราณคดขี องพนื้ ทน่ี นั้ ๆ ทงั้ ในภาพรวม และเจาะลกึ ในบางประเดน็ เชน หอ งสมดุ อา วลกึ แสดงนทิ รรศการถ้ำหวั กะโหลกและลกู ปด โบราณ หอ งสมดุ ปต ตานจี ดั หอ งพเิ ศษ เพอ่ื นำเสนอเรอื่ งเมอื งโบราณ หอ งสมดุ พฒั นานคิ มจดั นทิ รรศการตามรอยสมเดจ็ พระนารายณ และ หอ งสมดุ ทองผาภมู ิ เสนอเสน ทางเดนิ ทพั เปน ตน

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444487 2. ภมู ศิ าสตรแ ละสง่ิ แวดลอ ม หอ งสมดุ แตล ะแหง จะนำเสนอแผนทแี่ สดงอาณาเขต และ สภาพทางภูมิประเทศ พรอมกับเสนอประเด็นปญหา เชน หองสมุดนำ้ พองเสนอนิทรรศการลำนำ้ แหงชีวิต หองสมุดบางปะกงจัดนิทรรศการปาชายเลน หองสมุดวิเศษชัยชาญแสดงเรื่องแมน้ำนอย หอ งสมดุ สงิ หนครเนน การสรา งความตระหนกั ในเรอ่ื งทะเลสาปสงขลา เปน ตน 3. ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี หอ งสมดุ หลายแหง ใหค วามสนใจตอ การนำเสนอนทิ รรศการ ทเ่ี กย่ี วกบั ความหลากหลายของศลิ ปวฒั นธรรมประเพณี และการเปลยี่ นแปลงในวถิ ชี วี ติ ของประชาชน เชน หอ งสมดุ แมส ะเรยี งเสนอเรอ่ื งไทยใหญแ ละชาวเขาเผา ตา งๆ หอ งสมดุ ทจ่ี ตั รุ สั แสดงวฒั นธรรมชาว ชยั ภมู ิ ทม่ี พี น้ื ฐานไทยโคราช และลาว หอ งสมดุ ลาดหลมุ แกว จดั นทิ รรศการวฒั นธรรมมอญ หอ งสมดุ ศขี รภมู เิ นน เรอื่ งสว ย ในขณะทหี่ อ งสมดุ กาบเชงิ เนน เรอื่ งวฒั นธรรมเขมร เปน ตน 4. อาชพี เปน หวั ขอ ทมี่ กี ารนำเสนออยา งกวา งขวางทงั้ ในแงข องการแสดงววิ ฒั นาการของ อาชพี ในพนื้ ท่ี เชน การทำเครอื่ งปน ดนิ เผาทห่ี อ งสมดุ ชมุ พวง ผา ยกดอกทลี่ ำพนู ผา ไหม ผา ขติ ผา แพรวา ในหอ งสมดุ เขตอสี าน จนถงึ การทำขนมเคก ทขี่ นึ้ ชอ่ื ของจงั หวดั ตรงั การประกาศเกยี รตคิ ณุ ครชู าวบา น ทม่ี คี วามรู และประสบการณท ม่ี คี ณุ คา แกก ารสนบั สนนุ ใหถ า ยทอดไปสปู ระชาชน การปรบั ปรงุ อาชพี ในพนื้ ทแ่ี ละการนำเสนอทางเลอื กใหมต ลอดจนขนั้ ตอนในการประกอบอาชพี 5. การสงเสริมคุณภาพชีวิต หองสมุดหลายแหงไดรับความรวมมือในการจัดนิทรรศการ เก่ียวกับการสงเสริมคุณภาพชีวิต เชน นิทรรศการเรื่องคุณคาทางโภชนาการของพืชผักพ้ืนเมืองที่ หนองบวั ลำภู นทิ รรศการเรอ่ื งการขาดวติ ามนิ เอ ทป่ี ต ตานี เรอ่ื งอบุ ตั ภิ ยั ทศี่ ขี รภมู ิ การพฒั นาชายแดน ทห่ี อ งสมดุ นาดี เปน ตน 6. คนดีมีฝมือ นอกเหนือการจัดมุนนักเขียนทองถิ่นในหองอานหนังสือทั่วไปแลว ยังมี ความพยายามทจ่ี ะรวบรวมประวตั แิ ละผลงานของคนดมี ฝี ม อื ทเี่ กดิ ในอำเภอ และจงั หวดั เพอื่ เผยแพร ในหอ งนดี้ ว ย 7. ภูมิปญญาทองถิ่น สอดแทรกภายในนิทรรศการแตละหัวขอ มีความพยายามที่จะ เสนอผลงานและประสบการณจ ากผรู ใู นชมุ ชน เชน หมอยาสมนุ ไพร ชา งทอผา ชา งตเี หลก็ เกษตรกร ที่ทำไรทำนาสวนผสม ท้ังนี้เพ่ือใหหองสมุดไดเปนส่ือกลางระหวางเทคโนโลยีจากภายนอก และ ภมู ปิ ญ ญาทไ่ี ดส งั่ สมไวใ นแตล ะพนื้ ที่

88111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 หองเฉลิมพระเกียรติ หัวใจของหองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” คือหองเฉลิมพระเกียรติซึ่งมีวัตถุประสงค ทจ่ี ะนำเสนอพระราชประวตั ิ พระปรชี าญาณ และพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทส่ี ถาบนั พระมหากษตั รยิ ม ตี อ ประชาชนชาวไทย หอ งเฉลมิ พระเกยี รตจิ งึ แบง เปน 4 สว น กลา วคอื 1. นทิ รรศการเกย่ี วกบั พระราชประวตั ขิ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2. พระราชนพิ นธข องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชนพิ นธ ของพระบรมวงศานวุ งศ ในราชวงศจ กั รี หนงั สอื เทดิ พระเกยี รตสิ ถาบนั พระมหากษตั รยิ แ ละราชวงศจ กั รรี 3. นทิ รรศการเกยี่ วกบั พระอจั ฉรยิ ภาพของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในดา นตา งๆ เชน ศลิ ปกรรม วรรณกรรม การดนตรี 4. พระราชกรณียกิจและโครงการพระราชดำริในรัชกาลปจจุบันของสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี การนำเสนอนนั้ จะแตกตา งในแตล ะหอ งสมดุ สว นใหญจ ะประกอบดว ย ภาพซง่ึ สว นหนง่ึ ไดร บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา โปรดกระหมอ มพระราชทาน และอกี สว นหนง่ึ ไดจ ากประชาชนใน พน้ื ทที่ เี่ กบ็ รกั ษาไวด ว ยความเทดิ ทนู บชู า หลายภาพมอี ายกุ วา 20 ป หนงั สอื กฤตภาค สงิ่ ทจี่ ำลอง ผลงาน ฝพ ระหตั ถ และสอื่ โสตทศั น

111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444489 หองสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หอ งสมดุ วทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั เปน แหลง เรยี นรหู ลกั ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา มบี ทบาท หนาที่สงเสริมการเรียนการสอนตามหลักสูตรท่ีเปดในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยน้ัน ๆ เปนสำคัญ โดยการจัดรวบรวมหนังสือและส่ือความรูอ่ืน ๆ ในสาขาวิชาตามหลักสูตร สงเสริมชวยเหลือการ คน ควา วจิ ยั ของอาจารยแ ละนกั ศกึ ษา สง เสรมิ พฒั นาการทางวชิ าการของอาจารยแ ละนกั ศกึ ษาโดย จัดใหมีแหลงความรู และชวยเหลือจัดทำบรรณานุกรมและดรรชนีสำหรับคนหาเรื่องราวที่ตองการ แนะนำนกั ศกึ ษาในการใชห นงั สอื อา งองิ บตั รรายการและคมู อื สำหรบั การคน เรอ่ื ง หอ งสมดุ วทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั เนน การใหบ รกิ ารกบั นสิ ติ นกั ศกึ ษาของวทิ ยาลยั นน้ั ๆ แตก ม็ หี ลายแหง ทเี่ ปด ใหป ระชาชนเขา ไปใชบ รกิ ารไดต ามขอ กำหนดของวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั นนั้ (ใหค น ควา ขอ มลู เพมิ่ เตมิ ในอนิ เทอรเ นต็ ) ตวั อยา งหอ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช เปน หอ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั เปด มชี อ่ื เรยี กวา “สำนักบรรณสารสนเทศ” มีบริการทั้งในมหาวิทยาลัยสวนกลาง (กทม.) ระดับภาค ที่ ประชาชนมีโอกาสเขาใชบริการได โดยเสียคาบำรุงรายวัน จังหวัดที่เปดใหบริการ ไดแก นครศรธี รรมราช เพชรบรุ ี นครสวรรค สโุ ขทยั อดุ รธานี อบุ ลราชธานี ลำปาง จนั ทบรุ ี ยะลา และ นครนายก เนน เพอ่ื การเรยี นของ มสธ. ตามหลกั สตู รตา ง ๆ และหนงั สอื ทวั่ ไป เชน นวนยิ าย เรอ่ื งสน้ั หนงั สอื เยาวชน เ‰พปรด อ ก-มปจิ ทด ใกง้ัหบรบผ รอรเู รกมกิ ยี ลานรกั ยษคกณา ตบวัะรอกกิ ยาารา รใงหหสบ อ ำรงหกิสรามบั รดุ ปขใอรนะงวชหทิ าอ ยชงานสลทมยั วั่ดุ หไปรอืไดฯมแ ลหกฯา วทิ สยถาาลนยั ทต่ี 1ง้ั แกหางร111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777888888888888888888888888888888999999999999999999999999999999000000000000000000000000000000111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222111111111111111111111111111111222222222222222222222222222222333333333333333333333333333333444444444444444444444444444444555555555555555555555555555555666666666666666666666666666666777777777777777777777777777777

90111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 หอสมดุ แหง ชาตขิ องไทย สถาปนาขน้ึ ดว ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ สมเดจ็ พระมหากษตั ราธริ าช ในพระบรมราชจกั รวี งศ โดยการรวบรวมหอพระมณเฑยี รธรรม หอพระสมดุ วชริ ญาณ และหอพทุ ธสาสน สงั คหะ เขา ดว ยกนั ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๕ ทรงพระกรณุ า โปรดเกลาฯ ใหมีพระบรมราชโองการประกาศจัดการหอพระสมุดวชิรญาณ ใหเปนหอสมุดสำหรับ พระนคร เมอ่ื วนั ท่ี 12 ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช 2448 และไดว วิ ฒั นาการเปน สำนกั หอสมดุ แหง ชาตปิ จ จบุ นั บทบาทและหนา ที่ 1. ดำเนนิ การจดั หา รวบรวม และสงวนรกั ษาทรพั ยส นิ ทางปญ ญา วทิ ยาการ ศลิ ปกรรม และวฒั นธรรมของชาตใิ นรปู ของหนงั สอื ตวั เขยี น เอกสารโบราณและจารกึ หนงั สอื ตวั พมิ พ สอ่ื สง่ิ พมิ พ สอ่ื โสตทศั นวสั ดุ และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ทผี่ ลติ จากในประเทศและตา งประเทศ 2. ศึกษา วิเคราะห วิจัย ดำเนินงานดานเทคนิควิชาการบรรณารักษศาสตร สารนิเทศศาสตร และเทคโนโลยีสารนิเทศตามหลักมาตรฐานสากล ตลอดจนใหการฝกอบรมแก บคุ ลากรของหนว ยงาน และสถาบนั การศกึ ษาทงั้ ในประเทศและตา งประเทศ 3. ใหบริการการอาน ศึกษาคนควา และวิจัยแกประชาชนเพื่อใหเปนแหลงการเรียนรู ตลอดชวี ติ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. เปน ศนู ยป ระสานงานระบบสารนเิ ทศทางวชิ าการแหง ชาติ 5. เปนศูนยขอมูลวารสารระหวางชาติแหงประเทศไทย และภูมิภาคเอเซียตะวันออก เฉียงใต ศูนยกำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือและวารสาร ศูนยกำหนดรายละเอียดทาง บรรณานกุ รมของหนงั สอื ทจี่ ดั พมิ พใ นประเทศ และเปน ศนู ยก ลางแลกเปลยี่ นและยมื สง่ิ พมิ พใ นระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ หอสมดุ แหง ชาตสิ าขาตา ง ๆ หอสมดุ แหง ชาติ นอกจากจะตงั้ อยทู ท่ี า วาสกุ รี เทเวศน เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ ยงั มหี อสมดุ แหง ชาตสิ าขาในภมู ภิ าคตา ง ๆ อกี 17 แหง ดงั นี้ ภาคกลาง หอสมดุ แหง ชาตเิ ขตลาดกระบงั เฉลมิ พระเกยี รติ 280/8 หมู 2 ถนนหลวงพรตพทิ ยพยตั เขตลาดกระบงั กรงุ เทพฯ 10520 โทรศพั ท 0-2739 - 2297 - 8 โทรสาร 0 - 2739 - 2297 - 8 ตอ 206 เวลาเปด - ปด ทำการ/บรกิ าร : 08.30 - 16.30 น. วนั จนั ทร - วนั ศกุ ร หยดุ วนั เสาร - วนั อาทติ ย และวนั นกั ขตั ฤกษ

ภาคเหนอื 111111222222ห333333น444444งั 555555ส666666อื 777777เร888888ยี 999999นส000000า111111ร222222ะท333333กั 444444ษะ555555ก666666าร777777เร888888ยี 999999น000000ร111111ู ร222222า333333ย444444วชิ555555า666666ทร777777กั ะษด888888ะบัก999999มา000000รธั 111111เยร222222มยี 111111ศนกึร222222ษู333333(าท444444ตร555555อ.3666666น1ป7777770ล8888880า999999ย100000011111122222233333344444491 หอสมดุ แหง ชาตอิ นิ ทรบ รุ ี สงิ หบ รุ ี 109 หมู 1 ตำบลอนิ ทรบ รุ ี อำเภอนิ ทรบ รุ ี จงั หวดั สงิ หบ รุ ี 16110 โทรศพั ท 036 - 581 - 520 เวลาเปด - ปด ทำการ/ บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร - และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตริ ชั มงั คลาภเิ ษก กาญจนบรุ ี ถนนแสงชโู ต ตำบลบา นเหนอื อำเภอเมอื ง จงั หวดั กาญจนบรุ ี 71000 โทรศพั ท 034 - 513 924 - 6, 516 - 755 โทรสาร 034 - 513 -924 เวลาเปด - ปด ทำการ / บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตจิ งั หวดั สพุ รรณบรุ ี เฉลมิ พระเกยี รติ ถนนสพุ รรณบรุ -ี ชยั นาท ตำบลสนามชยั อำเภอเมอื ง จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี 72000 โทรศพั ท 035 - 535 - 343, 535 - 244 โทรสาร 035 - 535 -343 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั พธุ และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตริ ชั มงั คลาภเิ ษก เชยี งใหม ถนนบญุ เรอื งฤทธ์ิ อำเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม 50200 โทรศพั ท 053 - 278 - 3223, 053 - 808 - 550 โทรสาร 053 - 808 - 550 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตลิ ำพนู ถนนอนิ ทรยงยศ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื ง จงั หวดั ลำพนู 5100 โทรศพั ท 053 - 511 - 911 โทรสาร 053 - 560 - 801 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.11 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร และวนั นกั ขตั ฤกษ

92111111122222223333333444444455555556666666รห7777777ะนด8888888งับั 9999999สม0000000อื ธั 1111111เยร2222222มยี ศ3333333นกึส4444444ษา5555555รา6666666ะตท7777777อกั น8888888ษปะ9999999กล0000000าาร1111111ยเร2222222ยี 3333333น4444444ร5555555ู ร6666666า7777777ยว8888888ชิ 9999999า0000000ท1111111กั ษ2222222ะก1111111า2222222ร3333333เร4444444ยี 5555555นร6666666ู 7777777(ท8888888ร9999999.30000000111111110222222203333333144444445555555 ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื หอสมดุ แหง ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ ร.9 นครราชสมี า ถนนราชดำเนนิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000 โทรศพั ท 044 - 256 - 029 - 30 โทรสาร 044 - 256 - 030 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร - และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตปิ ระโคนชยั บรุ รี มั ย ถนนโชคชยั - เดชอดุ ม ตำบลประโคนชยั อำเภอประโคนชยั จงั หวดั บรุ รี มั ย 31140 โทรศพั ท 044 - 671 - 239 โทรสาร 044 - 671 - 239 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร - และวนั นกั ขตั ฤกษ หอสมดุ แหง ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ นครพนม ถนนอภบิ าลบญั ชา อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครพนม 48000 โทรศพั ท 144 - 512 - 200, 042 - 512 - 204 โทรสาร 042 - 516 - 246 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร-วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร - และวนั นกั ขตั ฤกษ ภาคตะวันออก หอสมดุ แหง ชาตชิ ลบรุ ี ถนนวชริ ปราการ ตำบลบางปลาสรอ ย อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี 20000 โทรศพั ท 038 - 286 - 339 โทรสาร 038 - 273 - 231 เวลาเปด -ปด ทำการ/บรกิ าร : 09.00 - 17.00 น. วนั องั คาร - วนั เสาร หยดุ วนั อาทติ ย - วนั จนั ทร - และวนั นกั ขตั ฤกษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook