Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore BikeForLife

BikeForLife

Description: BikeForLife

Search

Read the Text Version

ในปัจจุบัน มีจักรยานประมาณ 15,000 คัน 14 ข้ามสะพานเพ่ือไปท�ำงานในเมือง (จากค.ศ. 1975 มีเพียงประมาณ 200 คัน) จักรยานไม่เป็นแค่ 15 พาหนะในการเดินทาง แต่เป็นส่วนหนึ่งของทุก 16 กิจกรรมในวิถีชีวิต ไม่ว่าจะไปท�ำงาน ไปเรียน ไป ออกก�ำลังกาย ไปซื้อของ ไปประท้วง ฯลฯ จักรยาน Portland by Bike ยังเป็นสัญลักษณ์ท่ีบอกเล่าถึงตัวตนและทัศนคติ ของชาวพอร์ตแลนด์ในการด�ำเนินชีวิตอย่างย่ังยืน Bike for Life ปั่นเพ่ือชีวิต 47

Bike for Life 48 ป่นั เพื่อชวี ติ

เอกสารอ้างอิง 1. วิถีจักรยาน http://www.dek-d.com/board/view/2434507/ สืบค้นเม่ือวันที่ 25 สิงหาคม 2558 2. สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). ปัจจัยท่ีสนับสนุนให้ชุมชนเข้มแข็ง. สืบค้นเมื่อวันท่ี 17 สิงหาคม 2558, จากเว็บไซต์: http://www.ryt9.com/s/nesd/238500 3. Guthrie C (2000). Three wheels on my wagon. British Medical Journal, 320. 1 Apr 2000 (letter) 4. Litman, T. (2015). Evaluating Active Transport Benefits and Costs: Guide to valuing walking and cycling improvements and encouragement programs. Retrieved August 17, 2015, from Victoria Transport Policy Institute Website: http://www.vtpi.org/nmt-tdm.pdf 5. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. 2557. สถานการณ์ด้านการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย ระหว่าง พ.ศ.2555- 57. [Factsheet]. 6. Wheway, R. and Millward, A. (1997). Child’s play: Facilitating play on housing estates, Coventry: Chartered Institute of Housing/Joseph Rowntree Foundation 7. มูลนิธิสงเคราะห์เด็กพัทยา, http://www.thepattayaorphanage.org/index_th.php?s_ page=50&ac=2011 &page_sys=updatenews_th สืบค้นเม่ือวันที่ 29 สิงหาคม 2558 8. ร่ายล�ำน�ำระบ�ำดอกไม้ บท 2 เจ้าดอกแก้ว, http://www.lesla.com/board/gen.php?mode_id=4&id=39587 สืบค้นเม่ือวันที่ 29 สิงหาคม 2558 9. McLaren, W. (2011). World’s most energy efficient transport. Retrieved August 17, 2015, from ABC Environment Website: http://www.abc.net.au/environment/articles/2011/03/17/3164607.htm 10. Science of Cycling. (2015). Human Power. Retrieved August 17, 2015, from the Exploratorium Website: https://www.exploratorium.edu/cycling/humanpower1.html 11. ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. (2558). Carbon Footprint (CF) คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันท่ี 17 สิงหาคม 2558, จากเว็บไซต์: https://www.mtec.or.th/ecodesign2012/ 12. เปิดโลกสื่อพลัง. (2558). พอร์ตแลนด์สวรรค์ของนักปั่น. วารสารส่ือพลัง, ปีท่ี 23 (ฉบับที่ 1) เดือนมกราคม- มีนาคม 2558 หน้า 6-18. 13. Discover and save creative ideas, https://www.pinterest.com/pin/93520129735678172/ สืบค้น เม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2558 14. File:Bike lane markings on Wheeler Ave south of Rose Qtr TC - Portland Oregon 2013.jpg, https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Bike_lane_markings_on_Wheeler_Ave_south_of_Rose_ Qtr_TC_-_Portland_Oregon_2013.jpg สืบค้นเม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2558 15. Portland’s public stairways, http://www.museumofthecity.org/portlands-public-stairways/ สืบค้น เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2558 16. Portland by bike, http://www.travelportland. com/collection/port- land-by-bike/ สืบค้นเม่ือวันที่ 26 สิงหาคม 2558 Bike for Life ปน่ั เพ่ือชีวติ 49



บทท่ี 5 นโยบายส่งเสริมการปั่นจักรยาน...การขับเคล่ือนนโยบาย เพ่ือส่งเสริมทางเลือกในการเดินทาง

หากย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ไทย นอกจาก ท่องเที่ยวและนันทนาการมามากมาย แต่การด�ำเนินการ การก�ำหนดหลักสุขบัญญัติแห่งชาติแล้ว ยังเป็นลักษณะกระจัดกระจาย เช่น การจัดกิจกรรมปั่น ประเทศไทยยังไม่มีการส่งเสริมกิจกรรมทาง จักรยาน การสร้างเส้นทางจักรยานได้เพียงบางเส้นทาง กายในการเดินทางอย่างจริงจัง1 อาจเพราะสังคมใน เป็นต้น อย่างไรก็ตามก็มีความพยายามในการขับเคลื่อน อดีตยังไม่มีนวัตกรรมอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทาง นโยบายเพื่อการเดินทางน้ีร่วมกันระหว่างภาคส่วน อย่างแพร่หลายเหมือนในปัจจุบัน ท�ำให้การใช้พาหนะ จนกระท่ัง พ.ศ. 2555 เร่ิมมีรูปธรรมชัดเจนขึ้น อย่างจักรยานและการเดินทางรูปแบบอื่นถูกมองว่าเป็น เมื่อองค์กรต่างๆร่วมกันผลักดันมติการจัดระบบและ เรื่องปกติของคนทั่วไป อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้าของ โครงสร้างเพ่ือส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานใน เทคโนโลยีในปัจจุบันท�ำให้เรามีพฤติกรรม “เนือยนิ่ง” ชีวิตประจ�ำวัน เป็นวาระระดับชาติส�ำเร็จในการประชุม มากขึ้นหลายเท่า ตลอดจนทรัพยากรเชื้อเพลิงก็ร่อยหรอ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม ลดลงและเกิดมลพิษจากการเดินทางเพิ่มข้ึนทุกที จึงน่า นโยบายเพ่ือให้ประชาชนสามารถเดินและใช้จักรยานใน จะถึงเวลาแล้วท่ีจะมีการส่งเสริมนโยบายสนับสนุนทั้ง ชีวิตประจ�ำวัน ต่อมาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 สุขภาพและส่ิงแวดล้อมโดยใช้จักรยานเพื่อเป็นทางออก มติดังกล่าวได้รับการเสนอเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี หน่ึงเพ่ือการเดินทางเพ่ือสุขภาพและส่ิงแวดล้อม! โดยคณะรัฐมนตรีได้รับทราบประเด็นดังกล่าวและมอบ ที่ผ่านมาในประเทศไทยมีองค์กรต่างๆท้ังภาครัฐ หมายให้กระทรวงทั้ง 8 กระทรวงรับประเด็นดังกล่าวไป และเอกชนทเี่ หน็ ความสำ� คญั ของใชจ้ กั รยานเพอ่ื การเดนิ ทาง ดำ� เนนิ การตามบทบาท หน้าที่ที่ได้รบั มอบหมายดังน2ี้ , 3 Bike for Life 52 ป่นั เพื่อชีวติ

ตารางแสดงบทบาทหน้าท่ีของกระทรวงท่ีมีต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กระทรวง บทบาท/หน้าท่ี กระทรวงคมนาคม สง่ เสรมิ การเชอ่ื มตอ่ การเดินเทา้ และการใชจ้ กั รยานกับระบบขนสง่ สาธารณะ และใหค้ วามร้ผู ทู้ ีจ่ ะสอบใบขับขี่ เน้นใหเ้ ห็นความสำ� คัญต่อคนเดนิ และผู้ใช้ จกั รยาน กระทรวงอุตสาหกรรม ส่งเสรมิ ผู้ประกอบการอตุ สาหกรรม ใหผ้ ลติ สนิ คา้ และบริการเกีย่ วกบั การ เดินและจักรยาน อปุ กรณ์เคร่ืองช่วยคนพกิ ารในการเดินทางท่ีมีคณุ ภาพ ได้ มาตรฐาน ราคาเป็นธรรม กระทรวงพลังงาน มนี โยบายและมาตรการ ส่งเสรมิ การเดินทางมทไี่ ม่ใชเ้ คร่อื งยนต์ เชน่ เดนิ และใช้ กระทรวงศึกษาธิการ จกั รยาน การใช้อุปกรณเ์ ครอื่ งชว่ ยคนพกิ ารในการเดนิ ทาง ใหส้ ถานศึกษามหี ลักสตู รความรู้ และพฒั นาทกั ษะการเดนิ และการใช้จกั รยาน สง่ เสริมใหเ้ ดนิ หรอื ใชจ้ กั รยานมาโรงเรียน จัดใหม้ ีส่ิงอำ� นวยความสะดวกเพ่ือเอ้ือ ให้เดก็ เดินและใช้จักรยานในสถานศึกษา กระทรวงสาธารณสขุ สง่ เสริมและรณรงคเ์ ร่ืองเดนิ และจักรยานในชวี ิตประจำ� วนั อยา่ งต่อเนอื่ ง กระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า สนับสนนุ การทอ่ งเท่ียวด้วยจกั รยานและกระตนุ้ ให้ผูป้ ระกอบการท่พี กั มี จักรยานให้บริการนักท่องเทยี่ ว กระทรวงมหาดไทยและองคก์ ร -ปรับปรงุ กฎกระทรวง พรบ.ควบคมุ อาคารและขอ้ บัญญัตทิ อ้ งถิ่น ให้เจ้าของ ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ ต้องมที จ่ี อดจกั รยานปลอดภยั -กำ� หนดให้จงั หวดั สนบั สนุนการเดนิ และการใชจ้ กั รยาน ให้เกดิ ผลเปน็ รูปธรรม -ก�ำหนดใหเ้ ดินและจกั รยาน เป็นระเบยี บวาระของ อปท. -ก�ำหนดพืน้ ทีจ่ ำ� กดั ความเรว็ ยานยนต์ -มีสญั ลักษณ์ชัดเจน แสดงช่องทางเดิน ทางจกั รยานในเขตชุมชน กระทรวงการคลัง มมี าตรการทางภาษี สนบั สนุน สง่ เสริม สร้างแรงจงู ใจให้ประชาชนใช้จกั รยานใน ชวี ิตประจ�ำวนั นอกจากหน่วยงานระดับกระทรวงแล้ว ยังมีหน่วยงานรัฐ องค์กรอิสระและหน่วยงานภาคประชาสังคม Bike for Life อืน่ ๆ ท่เี ขา้ มามบี ทบาทดว้ ยเช่นเดียวกนั ซึ่งหนว่ ยงานดงั กลา่ วประกอบดว้ ย 1. สำ� นกั นายกรัฐมนตรี - ก�ำหนดใหเ้ รื่องเดนิ -จักรยานเปน็ นโยบายหลกั ประสานหนว่ ยงานรฐั ในการนำ� นโยบายน้ีไปปฏิบตั ิ 2. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ - รณรงค์การสร้างองค์ความรู้เพ่ือผลักดันนโยบาย และเพอื่ สรา้ งพฤตกิ รรมสขุ ภาพดว้ ยการเดินและการใช้จกั รยานในชวี ติ ประจ�ำวนั 3. ชมรมจักรยานเพ่ือสุขภาพแห่งประเทศไทย – เป็นหน่วยประสานงานและสนับสนุนด้านวิชาการตาม มติคณะรฐั มนตรี ปน่ั เพื่อชวี ติ 53

เจตนารมณ์ในการสง่ เสริมการใช้จักรยานของรฐั บาล4 คำ� กล่าวของพลเอกประยทุ ธใ์ นรายการ บทบาทการรับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ ที่ชัดเจน บวกกับ “คืนความสุขใหก้ ับประชาชน” ในสว่ นที่ เจตนารมณ์ในการส่งเสริมการใช้จักรยานของรัฐบาลภายใต้การ ก�ำหนดเป้าหมายเป็นนิมิตหมายท่ีดีต่อการส่งเสริมการใช้จักรยานเป็น เกีย่ วกบั การใช้จกั รยาน4 พาหนะทางเลือกเพื่อการเดนิ ทางในชีวติ ประจำ� วนั ซ่งึ หลายหนว่ ยงาน ได้ดำ� เนนิ การตามบทบาทท่รี บั ผิดชอบไปแลว้ และในอนาคตคาดหวัง ทจ่ี ะเหน็ รูปธรรมมากขึ้นเร่อื ยๆ แต่ส่วนทส่ี ำ� คัญไม่แพน้ โยบายหรอื การ ลงทนุ เชิงโครงสร้างเพอ่ื การสง่ เสรมิ จกั รยาน คือ การทพี่ วกเราจะเหน็ ประโยชน์ของการใชจ้ ักรยานทั้งในมมุ ดา้ นสุขภาพ สงั คม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ้ ม ขอเพยี งหยิบจักรยานคนั เก่าท่ยี งั ใชง้ านได้มารว่ มปั่น ในชีวติ ประจำ� วัน อยา่ งน้อยเริ่มจากจดุ หมายสั้นๆท่เี ป็นไปได้ แลว้ ค่อยๆขยับขยายไกลขนึ้ ๆ ใหม้ คี นจำ� นวนมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ นอกจากจะ เป็นประโยชนต์ ่อตัวเอง ยงั เป็นการส่งสัญญาณไปยงั ผใู้ ช้ทางสาธารณะ กลมุ่ อน่ื ๆและภาครัฐ ให้ค�ำนงึ ถึงจกั รยานในบทบาทท่ชี ว่ ยขบั เคลื่อน สงั คมอยา่ งสรา้ งสรรค์ มารว่ มผลักดนั ให้เกิดพลงั นโยบายดา้ นจักรยาน ในสงั คมไทยรว่ มกนั 5 Bike for Life 54 ป่นั เพ่ือชีวติ

โครงการผลักดันการเดินและการใช้จักรยาน Bike for Life ไปสู่นโยบายสาธารณะของประเทศไทย5 “การลงมือปฏิบัติควรมุ่งไปท่ีการเพิ่มการมีส่วนร่วมจากประชาชนในวงกว้างซึ่งควรมีการวางแผนและน�ำไปปฏิบัติผ่าน ภาคีหลากหลายภาคส่วนและชุมชน ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น” ป่นั เพ่อื ชีวติ 55

Bike for Life เอกสารอ้างอิง 1. สุขบัญญัติแห่งชาติ http://www.nmt.ac.th/product/web/1/fitnessopera1.html เขา้ ถงึ วนั ที่ 24 สงิ หาคม 2558 2. ความเปน็ มาเรื่อง “เดนิ และจกั รยานสนู่ โยบายสาธารณะ” http://www.citizenthaipbs.net/node/4312 เขา้ ถึง วันท่ี 24 สิงหาคม 2558 3.กฎบัตรโตรอนโตhttp://www.ispah.org/AcuCustom/Sitename/DAM/132/Toronto_Charter_Thai_FINAL. pdf เขา้ ถงึ วันที่ 24 สิงหาคม 2558 4. นายกรัฐมนตรีแถลงในรายการคืนความสุขให้คนไทย ประเด็นส่งเสริมการใช้จักรยานออกอากาศทางโทรทัศน์ทั่ว ประเทศ, http://www.thaicyclingclub.org/article/detail/2566 เข้าถึงวนั ท่ี 26 สงิ หาคม 2558 เขา้ ถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2558 5. เดนิ หนา้ พฒั นาทางจกั รยานทัว่ ประเทศ http://www.nationalhealth.or.th/node/357 เข้าถงึ วนั ท่ี 24 สงิ หาคม 2558 56 ปน่ั เพอื่ ชวี ิต

บทสง่ ทา้ ย Bike for Life ส่ิงประทับใจและประสบการณ์จากการปั่นจักรยาน โดย วสันต์ อนุ านนั ท์ นกั ป่นั แหง่ กองออกกำ� ลงั กายเพือ่ สุขภาพ ผู้ผ่านประสบการณ์การป่นั จักรยานมาตัง้ แต่สมยั เยาว์วัย ปัจจุบันเป็นผู้ประสานงานของกระทรวงสาธารณสุขในการจัดกิจกรรม ปั่นจกั รยาน ...ลา่ สุดคือ งาน Bike for Mom จักรยานเปน็ ของเล่นทเี่ กือบทุกคนในช่วงวยั เดก็ อยากจะมี เพราะมันทำ� ให้เราไดไ้ ปเลน่ ไดไ้ กลขนึ้ ไดไ้ ปเจอสง่ิ ใหมๆ่ ไดป้ ั่นไปกบั เพ่อื นๆ ละแวกบา้ นเดียวกนั แทบจะเปน็ สว่ นหนึ่งของชวี ติ จ�ำไดว้ ่าตอนทป่ี ระกอบจกั รยานเอง สมัย น้ัน bmx มาแรงมากเมื่อประมาณเกอื บ 30 ปีท่แี ลว้ ใครมไี วป้ นั่ จะหล่อมากกว่าจะประกอบเสร็จต้องเกบ็ เงินค่าขนม กันจรงิ จงั มากๆ กว่าจะได้อะไหลม่ าแตล่ ะชนิ้ ทัง้ ตัวถัง แฮนด์ บันได วงล้อ ยาง จานหน้า เบรก โรเตอร(์ อุปกรณ์ท่ที �ำให้ คอรถหมนุ ไดแ้ บบไมต่ ดิ สายเบรก) ฯลฯ ซอ้ื มาทีละอยา่ งเลือกเอาท่ีตัวเองชอบและไม่แพงมาก แหล่งรวมจกั รยาน สมัยนน้ั กย็ ่านวรจกั รเป็นอันดบั ต้นๆ พอตอนประกอบเสร็จนง่ั ภูมิใจอยู่เป็นวนั น่คี งเปน็ สิง่ ทีท่ ำ� ใหเ้ ราฝึกความอดทน ฝึก ใหเ้ ป็นคนมีสมาธจิ ดจ่อ ใฝ่รู้ ไม่ไปหมกมนุ่ อย่กู บั สิ่งไม่ดี อาจถอื ไดว้ ่าเป็นส่งิ ท่อี าจส่งผลมาถึงทกุ วันนี้ ท�ำให้เรารักการ ออกก�ำลังกาย รักและดแู ลตวั เอง ตอนนย้ี ังคงคิดถึงรถคันแรกและยงั จำ� ความรูส้ กึ และความภาคภูมใิ จตอนนน้ั ได้ จนมาถงึ สมยั เรยี นปรญิ ญาตรจี งึ มโี อกาสไดป้ ระกอบรถเสอื ภเู ขาอกี คนั ไดท้ อ่ งเทย่ี วไปไดไ้ กลขน้ึ ปน่ั กนั วนั ละ ไม่ต�ำ่ กวา่ 30 กิโลเมตร ไดป้ น่ั เล่นแถวพุทธมณฑล ศาลายา จนปัจจบุ ันยงั ใช้งานได้ดีลุยมาดว้ ยกนั หลายหมื่นกิโลเมตร ได้ออกทรปิ เปน็ กล่มุ ใหญ่ 20-30 คัน ไปกนั คร้งั ละไมต่ ำ่� กวา่ 80-100 กิโลเมตร เรยี กไดว้ ่าหมดวนั กนั เลยทีเดียวในวัน หยดุ เสารห์ รอื อาทิตย์สุดสัปดาหไ์ ปตามสถานที่ตา่ งๆ ซง่ึ ทางหัวหน้ากลุ่มกับทีมก็จะประชมุ กันวา่ สัปดาหน์ ี้ จะไป ที่ไหนกันดี ยกตวั อยา่ งเชน่ ไปตลาดน�้ำ รอบๆ กรุงเทพฯ และปรมิ ณฑล บางทีก็ไปถงึ ต่างจังหวดั ซ่งึ ท�ำใหไ้ ด้เรยี นรู้การ เป็นผนู้ �ำหรือการเปน็ ผู้ตามท่ดี ี การมีระเบียบเคารพ ซึ่งกันและกนั เรยี นรกู้ ารส่อื สาร รวมถงึ ได้ดูแลกนั ภายในกลุ่ม ตวั อย่างเชน่ เวลาเกิดอบุ ตั ิเหตกุ จ็ ะช่วย กนั ปฐมพยาบาล หรือคนใดคนหน่งึ ยางแตก กล่มุ เรา ก็ต้องหยุดเพ่ือรอจนกว่าจะซ่อมเสร็จแล้วค่อยเดิน ทางกันต่อ(ถือเป็นการพักไปด้วยในตัวเพราะปั่นกัน เร็วมาก ไมต่ ่�ำกว่า 25 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลยทีเดียว บางทถี งึ 30-35 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมงในทางโลง่ ๆ เรยี บๆ) ป่นั เพ่อื ชีวติ 57

Bike for Life ตอนนน้ั ปัน่ ลุยกันเข้าไป ทางท้องรอ่ งสวน ทางกรวด ทางลาดยาง ทางคอนกรีต เรยี กได้วา่ หัวหนา้ ทมี พาไป ไหนกไ็ ป ซง่ึ ตกลงต้ังแตก่ อ่ นมาแลว้ ว่า จะไปท่ีไหนต้องเจออะไรบ้างต้องประเมินตนเอง แต่ทุกคนต้องเตรยี มตวั เตรยี มอุปกรณ์ ยางอะไหล่ เตรียมน้�ำ ยาประจ�ำตวั ชุดท�ำแผล บรหิ ารจดั การตวั เองไม่ให้เป็นภาระของกลมุ่ จนไปถึง จุดหมายปลายทางท่ีได้กำ� หนดไว้ ได้พักถา่ ยรูปไดท้ านขนมหรอื ทานอาหารรว่ มกันถอื ว่าเป็นการสรา้ งมิตรภาพให้ เกิดข้นึ อย่างมาก เช่น คนทป่ี น่ั มานานกว่าก็จะแนะนำ� เทคนคิ ตา่ งๆ ในการปัน่ จกั รยานหรอื การดแู ลตวั เองใหก้ ับสมาชกิ ใหมท่ ำ� ใหม้ คี วามสนิทสนมกลมเกลยี วกัน บางทีตา่ งคนตา่ งมาคนละอาชีพก็ไดพ้ บปะพดู คยุ ซึ่งเปน็ ข้อดอี ย่างหนง่ึ ใน การออกกำ� ลงั กายเปน็ กลมุ่ ไม่ว่าจะเปน็ การออกกำ� ลงั กายอะไรกต็ าม จนกลบั มาถงึ และแยกย้ายกนั กลบั บ้านกย็ ังคง ภาคภมู ใิ จอยถู่ งึ แม้แรงจะหมดก็ตาม ปน่ั ตากแดดทัง้ วนั หลายๆ คนท่เี พิ่งได้ร่วมทรปิ หรือออกปัน่ คร้งั แรกบอกว่าก็ไม่ คิดว่าตัวเองจะปัน่ ได้เหมือนกนั วนั เดียวเป็นร้อยกโิ ลเมตร ซงึ่ ใหไ้ ปปั่นคนเดียวคงทำ� ไม่ไดแ้ นใ่ นใจคิดอย่างน้นั รวมถงึ ตวั ผมเอง เมื่อมีกลมุ่ ป่ันจกั รยานและมโี อกาสไดค้ ุยกันเร่ืองตวั รถ หลายคนรวมถึงตัวผมเขา้ ใจผิดในการออกก�ำลงั กาย ดว้ ยจักรยานมาตลอดวา่ รถจกั รยานย่งิ เบาเรายง่ิ ไดเ้ ปรียบ ท�ำใหท้ กุ คนเสาะแสวงหาอะไหล่และอุปกรณท์ ม่ี ีน�้ำหนกั เบา แตไ่ มไ่ ดม้ าสนใจในน้ำ� หนกั ของตวั เองเลย นำ�้ หนกั ของจกั รยานเสอื ภเู ขาหากตอ้ งการทจ่ี ะลดนำ้� หนกั มนั ตอ้ งพง่ึ วสั ดทุ ม่ี าจากคารบ์ อน หรอื ไมก่ ไ็ ทเทเนยี ม ซงึ่ ท่ถี กู ตอ้ งแล้วควรจะควบคุมนำ�้ หนกั ตวั เราเองมากกว่า รวมถึงการออกก�ำลงั กายสม่�ำเสมอให้ครบตามหลกั การออก ก�ำลงั กาย กค็ ือต้องฝกึ ความทนทานของระบบไหลเวยี นโลหติ และหายใจ ฝึกความแขง็ แรงและอดทนของกลา้ มเนื้อ และฝึกความยืดหยุ่นของเอน็ และข้อต่อ การรับประทานอาหาร การรับประทานน้�ำระหว่างออกกำ� ลังกาย รวมถึง การพักผ่อนให้เพยี งพอ การเลือกประเภทของจกั รยาน การเลอื กขนาดของจกั รยาน การปรบั จกั รยาน ซ่ึงเป็นการใช้ วิทยาศาสตร์การกฬี าและการออกก�ำลงั กายทง้ั สิ้น ซง่ึ เมอ่ื ก่อนพดู ถงึ กนั นอ้ ยมาก 58 ป่นั เพ่ือชีวิต

คนที่สนใจเร่ืองออกก�ำลังกายหรือก�ำลังคิดท่ีจะ การมองหาจักรยานสักคันหนึ่งไม่ว่าจะใช้ ออกก�ำลังกายจ�ำเป็นเร่ืองนี้ต้องศึกษาให้เข้าใจ เพอ่ื การเดนิ ทางหรอื เพ่ือการออกกำ� ลงั กาย สามารถ และจ�ำเป็นลองปฏิบัติด้วยตัวเองเพ่ือให้ได้ ท�ำได้ง่ายข้ึนร้านจักรยานมีเพ่ิมขึ้นมากมายอย่างเห็นได้ ประโยชน์สงู สดุ จากการออกก�ำลงั กาย และไม่เกิดการ ชดั ไม่วา่ จะเป็นร้านจักรยานธรรมดาหรือจักรยานราคา แพงน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศ ขน้ึ อยูก่ บั ความตอ้ งการของ บาดเจ็บตามมาภายหลงั มาถงึ แรงบนั ดาลใจที่ทำ� ให้อยาก ตนเอง รวมถึงลกั ษณะและความต้องการใช้งานเป็นหลัก แต่ถึงอย่างไรแล้วไม่ว่าจะน�ำไปใช้งานแบบไหนก็ส่งผล ปัน่ จักรยาน ทุกคนมฮี โี รข่ องตวั เองซ่งึ ผมเองก็มเี ชน่ ดีกับตัวเราเองและประเทศชาติ อย่างท่เี ราทราบไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นสขุ ภาพ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสังคม ดา้ นสง่ิ เดยี วกัน คนน้เี ลย แลนซ์ อาร์มสตรองค์ แชมป์เปี้ยน ตู แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ และเมือ่ เราได้จกั รยานคู่ใจแล้วอย่าลมื พามนั ออกไปสมั ผัสถนนบ่อยๆ อย่าใหม้ นั กลายเปน็ ราว เดอรฟ์ รองซ์ 7 สมัยซึ่งสามารถหายจากโรคมะเร็งสมอง ตากผา้ ราคาแพงเดด็ ขาดนะครบั มะเร็งปอด และมะเรง็ อณั ฑะทีท่ กุ ทรมานมาหลายปี ....ขอ้ ส�ำคญั อยา่ ลืมโบกมือ สวสั ดี ทกั ทายกัน เมื่อ เจอกันบนถนนและขอให้สนุกกับการปั่นจักรยานเพ่ือ ได้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการปน่ั จกั รยาน ยิง่ ไดล้ องอ่าน สุขภาพอยา่ งปลอดภยั นะครบั ;)) หนังสือ เร่ืองของกำ� ลงั ใจ..ไมใ่ ชจ่ กั รยาน ยง่ิ อยากป่ัน จักรยานมากขึ้นไปอีก แตน่ ่าเสียดายที่ตำ� นานแชมเป้ียน ต้องมาจบ เพราะถกู จบั ได้และยอมรับวา่ ใชส้ ารกระตุ้น ทำ� ให้ถกู รบิ รางวลั คืนท้งั หมด แตอ่ ย่างน้อยก็เป็นผกู้ ่อตัง้ มูลนธิ ิ แลนด์ อารม์ สตรอง: The Lance Armstrong Foundation (LAF) ซึ่งมูลนิธินี้มีหน้าท่ีเก่ียวกับงานวิจัยเกย่ี ว กบั การรักษาโรคมะเร็ง ไมว่ ่าจะเปน็ การรักษาโดยวิธีทาง กายภาพ ทางอารมณห์ รือแม้แต่วธิ กี ารรักษาเชงิ เทคนิค ทางปฏบิ ตั ติ า่ งๆก็ตาม วัตถปุ ระสงค์หลักของมูลนิธิน้ีคอื พยายามสรรหาทุกวิถีทางที่จะท�ำให้มีผู้ป่วยท่ีรอดตาย จากเจา้ โรคน้ใี นแต่ละปีใหม้ ากทีส่ ดุ ทุกคนทปี่ นั่ จักรยาน คงเคยได้มโี อกาสใสส่ ายรัดขอ้ มือ (wristband) สีเหลอื ง มาเปน็ จุดขายระดมทนุ เพ่ืองานวจิ ัย มีตวั อักษร เขียนวา่ “Live Strong” ท่ีมาจากแนวคดิ ทว่ี า่ “ในผรู้ อด ชีวติ จากโรคมะเร็งทกุ หนึ่งคนน้ัน เกิดจากการทผี่ ู้ป่วยมี ก�ำลังใจทจี่ ะมชี ีวิตอยา่ งเขม้ แข็ง” Bike for Life ป่ันเพ่ือชวี ติ 59

Bike for Life เอกสารอ้างองิ 1. http://s629.photobucket.com/user/OldSchoolJoe_photos/media/P5220564.jpg.html เข้าถงึ วันท่ี 26 สิงหาคม 2558 2. http://www.bikerumor.com/2011/10/12/closeup-look-at-a2j-frame-r-ultralight-carbon-road-bike/ เข้าถงึ วันที่ 26 สงิ หาคม 2558 3. http://blog.evanscycles.com/news/la-course-by-le-tour-de-france/ เขา้ ถึงวนั ท่ี 26 สิงหาคม 2558 60 ปนั่ เพื่อชีวิต



กรมอนามัย สง่ เสรมิ ใหค้ นไทยสขุ ภาพดี ป่ั น เ พ่ื อ ชี วิ ต Bike for Life


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook