Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 77_dntriibambad_sraangsmdulkaayaicch

77_dntriibambad_sraangsmdulkaayaicch

Description: 77_dntriibambad_sraangsmdulkaayaicch

Search

Read the Text Version

เมื่อได้ยนิ เสยี งดนตรีไมเ่ พยี งแตเ่ ต็มไปดว้ ยความเพลิดเพลนิ ใจ สบายอารมณ์ แตด่ นตรสี ามารถบำบัดฟืน้ ฟูรกั ษาร่างกายและจติ ใจ ให้กับคนทุกเพศทุกวยั มาตั้งแต่อดีต ไม่ว่าจะเปน็ การพัฒนาเด็ก ท่ีมคี วามบกพรอ่ ง โรคซึมเศรา้ ความเจบ็ ปวดต่างๆ ปญั หาการบาดเจบ็ ทางสมอง และอีกมากมาย เพราะฉะนัน้ การรวู้ ิธีใช้ดนตรบี ำบดั อย่างถกู ตอ้ ง สามารถดูแลตนเองและคนใกล้ชิดได้เป็นอย่างดี

รู้จักดนตรีบำบัด ดนตรีบำบัด (Music Therapy) เปนการใชกิจกรรมทางดนตรี ไมวาจะเปนการฟง เลนดนตรี การรองเพลง แตงเพลง เพื่อบำบัดความเจ็บปวย ฟนฟูสภาพรางกาย อารมณ และสติปญญา และถูกนำมาใชในการรักษาโรคตางๆ ในโรงพยาบาลเพื่อผอนคลายความเจ็บปวด ไปจนถึงการลดความเครียดจากการคอยเขารับ การรักษาอีกดวย ดนตรีพัฒนาเจ้าตัวน้อย ในชวงแรกของลูกนอยตั้งแตอยูในครรภมาจนถึง ขวบปแรกๆ พัฒนาการของลูกมีความสำคัญ อยางมาก ซึ่งดนตรีมีสวนชวยสรางเสริม การเจริญเติบโตไดเปนอยางดี ทารกในครรภ์ มรี ายงานวจิ ยั วา เมอ่ื คณุ แมต ง้ั ครรภ ทารกสามารถไดย นิ เสยี งทางหนา ทอ งแม แยกความแตกตา งของระดบั เสยี งได โดยเฉพาะเพลงคลาสสกิ ทารกจะชอบมาก โดยฟง จากการเตน ของหวั ใจทเ่ี ตน เพม่ิ ขน้ึ ในขณะทไ่ี ดฟ ง เพลง เพยี งเปด เพลงคลาสสกิ แลว ใชห ฟู ง แนบทท่ี อ ง ครง้ั ละประมาณ 10-15 นาที

เด็ก 0-3 ปี ในชว งแรกของชวี ติ ลกู การพฒั นาสมองใหเ ตบิ โตสำคญั มาก มงี านวจิ ยั พบวา ดนตรบี ำบดั ชว ยพฒั นา IQ และ EQ ได ดว ยกจิ กรรมดนตรบี ำบดั งา ยๆ ไดแ ก • รอ งเพลงใหล กู ฟง โดยเฉพาะเพลงกลอ มเดก็ ทำนองนมุ นวล อบอนุ ลกู ไดใ กลช ดิ แม • ไกวเปลขณะรอ งเพลงใหล กู ฟง สรา งความรกั ความอบอนุ เพราะเดก็ สมั ผสั ไดถ งึ จงั หวะการไกวเปล • หาเพลงใหล กู ฟง เพลงคลาสสกิ หรอื เพลงสมยั ใหมก ไ็ ด แตค วรเลอื กบทเพลง ทม่ี ที ว งทำนองฟง สบายผอ นคลายจติ ใจ • เลน ของเลน ทใ่ี หเ สยี ง ของเลน ชน้ิ เลก็ ทเ่ี ขยา แลว เกดิ เสยี งเพอ่ื ใหล กู โยกตวั ตามเสยี งทเ่ี คาะเปน จงั หวะ พฒั นากลา มเนอ้ื มอื ของลกู ไดด ว ย • ฝก ใหล กู ฟง ดนตรหี ลายชนดิ เพอ่ื จะไดร วู า ชอบเพลงแบบใด พาลกู นอ ย ไปฟง เพลง ชมคอนเสริ ต ประกวดรอ งเพลง ชว ยเสรมิ สรา งพฒั นาการของลกู เล่นดนตรีช่วยฝึกสมาธิลูก ชวงวัย 3 ขวบขึ้นไปเปนวัยที่เด็กเริ่มใชกลามเนื้อ มัดเล็กไดบาง อาจเริ่มใหเขาเรียนดนตรี เชน เปยโน กลอง ไวโอลิน โดยดูที่ความสนใจของเด็ก เพราะการเลนดนตรีชวยสงเสริมพัฒนาการ ดานตางๆ โดยเฉพาะดานฝกสมาธิและความจำ รวมถึงไดฝกประสาทสัมผัสมือ ตา และสมอง

เทคนิคเลือกดนตรีให้ลูก เด็กแตละคนมีความชอบและสภาวะอารมณที่แตกตางกัน การใชดนตรีบำบัด สำหรับเด็กตองคำนึงถึงความชอบและเลือกใหเหมาะสม ซึ่งสังเกตไดจาก พฤติกรรมของเด็ก ไดแก • เดก็ ฉนุ เฉยี ว หงดุ หงดิ งา ย เลอื กเพลงเยน็ ๆ นมุ ๆ ฟง สบาย เชน เพลงบรรเลง ชา ๆ เพลงคลาสสกิ เพลงไทยชา ๆ เปน ตน • เดก็ ซมึ เศรา ไมเ บกิ บาน รอ งไหบ อ ย นอนไมห ลบั หรอื หลบั มากผดิ ปกติ คดิ ชา เคลอ่ื นไหวชา ฯลฯ เลอื กเพลงครน้ื เครง เชน เพลงจงั หวะสน้ั หรอื เรว็ เพลงท่ี เตน แลว สนกุ เพลงแรป็ ชว ยใหส นกุ สนานขน้ึ เปน ตน ผลวิจัยการบำบัดด้วยดนตรีในเด็กพบว่า • ช่วยให้โลกของเด็กเปิดกว้างขึ้นโดยมีดนตรีเป็นสื่อกลางในการ ติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอก • ทำให้เด็กรู้สึกผ่อนคลาย ลดความหวาดระแวง และวางใจใน สัมพันธภาพกับผู้อื่น • ทำให้เด็กรู้จักตัวเองมากขึ้นผ่านการใช้เสียงดนตรีที่กระตุ้น



ดนตรีกับความเจ็บป่วย ดนตรีสามารถเบี่ยงเบนความสนใจจากผูปวยที่มีความเจ็บปวดใหรูสึก เจ็บปวดลดลง ทนตอความเจ็บปวดไดมาก วิตกกังวลและกลัวลดลง ใชยานอยลง และสรางแรงจูงใจในการเคลื่อนไหวได ในการบำบัดผูปวย ดวยดนตรีนั้นควรทำตามขั้นตอนรวมกับเทคนิคการผอนคลาย ดังนี้ 1 ดคู วามพรอมและความตองการใชด นตรีบำบัด 2 สำรวจประสบการณดนตรี ไดแก ความสามารถทางดนตรี แนวเพลงทช่ี อบ เคร่อื งดนตรที ่ีคนุ เคย ฯลฯ 3 เขา สูกระบวนการดนตรบี ำบดั แนะนำวา ควรฟง ในเวลาท่ียาลด ความเจ็บปวดกำลังออกฤทธิ์ และใชเทคนิคผอนคลายรวมดว ย • ผปู วยแตง กายดว ยเสื้อผาสบาย ไมอึดอัด • จดั ผปู ว ยในทา ทสี่ บายทีส่ ดุ เจ็บปวดนอ ยท่สี ุด ใชหมอน ผาหม ชว ยพยุงปรบั ทา • เลอื กหอ งท่ีอากาศถา ยเทสะดวก อุณหภมู ิเย็นสบาย ไมม เี สยี งรบกวน สะอาด แสงสเี ย็นตา • ใชเครือ่ งเสียงคณุ ภาพทใ่ี ชไ ดดว ยตนเองตามเวลาท่ีสะดวก



เทคนิคการผ่อนคลาย การใชดนตรีบำบัดรวมกับเทคนิคผอนคลายจะยิ่งเห็นผลการรักษาที่ดี เปนวิธีที่ลงทุนต่ำ ประโยชนสูงมาก ไมมีพิษภัย และใชไดอยางอิสระ ซึ่งเทคนิคผอนคลายทำไดงายๆ ดังนี้ • ผูปวยหลับตาสงบนิ่ง ปลอยรางกายทุกสวนใหผอนคลาย ไมเกร็ง เกิดความรูสึกคลายตัวของกลามเนื้อตั้งแตเทาจนถึงใบหนา • ควบคุมลมหายใจใหราบเรียบ ไมมีเสียงดังในขณะหายใจ • หายใจเขาและออกลึกๆ ยาวๆ อยางชาๆ นับ 1-2-3 ขณะหายใจเขา จากนั้นหยุดนิ่งและหายใจออกในจังหวะสม่ำเสมอ • นึกถึงภาพที่ทำใหมีความสุข คำพูดที่ดีๆ ชวยใหเกิดความสงบ • เจาหนาที่หรือคนใกลชิดอยูใกลๆ คอยชวยสอน แนะนำ และเตือนใหผอนคลาย มีรายงานว่าเทคนิคการผ่อนคลายช่วยลดความเครียดและ ลดความเจ็บปวดได้ ระหว่างที่ใช้เทคนิคนี้อาจมีการประคบความร้อน หรือความเย็นตามความเหมาะสม หรือช่วยบีบนวดเพื่อคลายปวด และที่สำคัญคือ อย่าลืมใช้ดนตรีร่วมด้วย จะเบี่ยงเบนความสนใจ ทำให้ผ่อนคลายมากขึ้น



ดนตรีบรรเลงที่ช่วยลดการเจ็บปวดและจำนวนครั้งของการใช้ยาระงับปวด ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดระบบทางเดินปัสสาวะ (บำเพ็ญจิต แสงชาติ งานวิจัยปี 2528 ) • ลาวดวงเดือน • ลาวกระทบไม • ลมหวน • เขมรไทรโยค • Music from Shakespeare • Romance in F ของ Beethoven • ฯลฯ ดนตรีบรรเลงที่ช่วยลดความเจ็บปวดและความวิตกกังวลในผู้ป่วยผ่าตัด หัวใจแบบเปิด (โฉมนภา กิตติศัพท์ งานวิจัยปี 1993) • ในฝน • จันทรเอย • Telemann: Trio Sonata • Always on my mind in A Minor • ฯลฯ ดนตรีบรรเลงที่ช่วยเรื่องความเจ็บปวดและความทรมานของผู้ป่วยมะเร็ง (วัลลภา สังฆโสภณ งานวิจัยปี 1993) • สวนอัมพร • สนามหลวง • เมื่อวานนี้ • ทยอยญวน • ฯลฯ การใชดนตรีบำบัดนั้นมีหลายวิธี ไมวาจะเปนการฟงดนตรี การรอง การเลนดนตรี การเคลื่อนไหวใหสอดคลองกับดนตรี สิ่งสำคัญคือ การเลือกใหเหมาะสมกับแตละบุคคลและสภาวะทางจิตใจ เพื่อใหเกิดผลดีจากดนตรีบำบัดอยางแทจริง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook