โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง คาํ นาํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาไดดําเนินการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน โดยการปลูกฝงใหผูเรียน เกิดคณุ ลกั ษณะ 5 ประการ ไดแก ทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ยั ซ่อื สตั ยสุจรติ อยอู ยางพอเพยี ง และจิตสาธารณะ ผานกิจกรรมการดําเนินโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) พรอมท้ัง ดําเนินการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยประเมินสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัดท่ีเขาโครงการโรงเรียนสุจริต ซึ่งผลจากการประเมินที่ไดจะเปนกระจกเงาสะทอนผลการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและโรงเรยี นสจุ รติ วา มกี ารดาํ เนนิ งานทโี่ ปรง ใสมากนอ ยเพยี งใด และเพอ่ื ใหเ กดิ ความ ตอเนื่องในการดําเนินการปลูกฝงคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริต สํานักพัฒนา นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาจงึ รว มกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สาํ นักงาน ป.ป.ช.) นาํ ระบบคิดฐานสองมาใชเปน แนวทางในการพัฒนานกั เรยี นและ บุคลากรในสังกดั ซ่งึ ระบบคิดฐานสองเปนระบบการคิดวิเคราะหข อ มลู ทส่ี ามารถเลอื กไดเพียง สองทางเทาน้ัน จึงเหมาะตอการนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ ที่ตอง สามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทก่ี บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา งเดด็ ขาด มกี ารทาํ งานทตี่ อ ง ยึดประโยชนสวนรวมเปนหลัก อันจะสงผลใหปญหาการทุจริตคอรรัปชันลดลง สงผลใหการ ปฏิบัติงานเกิดความโปรง ใสและเปนธรรมมากขึ้น สาํ นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา หวงั เปนอยา งยิง่ วาหนงั สอื “โรงเรียนสจุ รติ คดิ ฐานสอง” ทีจ่ ดั ทําข้ึนน้ี จะเปนประโยชนแ กน กั เรยี นและผูเกี่ยวขอ งทุกฝาย และขอขอบคณุ คณะผูจ ดั ทําทุกทานไว ณ โอกาสนด้ี วย สาํ นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
âç àÃÕ Â ¹ Êب ÃÔ μ ¤Ô ´ ° Ò ¹ ÊÍ § กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Ministry of Education Office of the Basic Education Commission
โรงเรยี นสจุ ริตคิดฐานสอง พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 จ�ำ นวนพิมพ ์ 3,000 เลม่ ผู้จัดพิมพ์ สำ�นักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พมิ พ์ที่ โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด 79 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสวุ รรณ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผพู้ ิมพ์ผโู้ ฆษณา
คาํ นาํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาไดดําเนินการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน โดยการปลูกฝงใหผูเรียน เกิดคณุ ลกั ษณะ 5 ประการ ไดแก ทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ยั ซ่อื สตั ยสุจรติ อยอู ยางพอเพยี ง และจิตสาธารณะ ผานกิจกรรมการดําเนินโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) พรอมท้ัง ดําเนินการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยประเมินสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัดท่ีเขาโครงการโรงเรียนสุจริต ซึ่งผลจากการประเมินที่ไดจะเปนกระจกเงาสะทอนผลการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและโรงเรยี นสจุ รติ วา มกี ารดาํ เนนิ งานทโี่ ปรง ใสมากนอ ยเพยี งใด และเพอ่ื ใหเ กดิ ความ ตอเนื่องในการดําเนินการปลูกฝงคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริต สํานักพัฒนา นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาจงึ รว มกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สาํ นักงาน ป.ป.ช.) นาํ ระบบคิดฐานสองมาใชเปน แนวทางในการพัฒนานกั เรยี นและ บุคลากรในสังกดั ซ่งึ ระบบคิดฐานสองเปนระบบการคิดวิเคราะหข อ มลู ทส่ี ามารถเลอื กไดเพียง สองทางเทาน้ัน จึงเหมาะตอการนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ ที่ตอง สามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทก่ี บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา งเดด็ ขาด มกี ารทาํ งานทตี่ อ ง ยึดประโยชนสวนรวมเปนหลัก อันจะสงผลใหปญหาการทุจริตคอรรัปชันลดลง สงผลใหการ ปฏิบัติงานเกิดความโปรง ใสและเปนธรรมมากขึ้น สาํ นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา หวงั เปนอยา งยิง่ วาหนงั สอื “โรงเรียนสจุ รติ คดิ ฐานสอง” ทีจ่ ดั ทําข้ึนน้ี จะเปนประโยชนแ กน กั เรยี นและผูเกี่ยวขอ งทุกฝาย และขอขอบคณุ คณะผูจ ดั ทําทุกทานไว ณ โอกาสนด้ี วย สาํ นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
สารบัญ หนา คํานํา สารบญั ความเปน มา.............................................................................................................................1 แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย.............................................................................................6 แบบทดสอบเบ้ืองตนเกีย่ วกับระบบความคิดของนกั เรียน ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1-3 ...............8 เฉลยแบบทดสอบเบอ้ื งตน เกย่ี วกบั ระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3.......10 แบบทดสอบเบอื้ งตนเก่ียวกับระบบความคิดของนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4-6 .............14 เฉลยแบบทดสอบเบอื้ งตน เกย่ี วกบั ระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6.........17 แบบทดสอบเบอ้ื งตน เกีย่ วกับระบบความคิดของนกั เรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1-3.................20 เฉลยแบบทดสอบเบ้อื งตน เกี่ยวกับระบบความคิดของนกั เรียน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 1-3........22 แบบทดสอบเบื้องตนเก่ยี วกับระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4-6.................25 เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งตน เกี่ยวกบั ระบบความคดิ ของนักเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 4-6........27 เรยี นรอู ยางเขา ใจมอี ะไรใน “ระบบคิดฐานสอง”………..………………………………………….....….31 ระบบคดิ ฐานสบิ (Analog)..........................................................................................32 ระบบฐานสอง (Digital) .........................................................................................33 ความแตกตางระหวางจรยิ ธรรมและการทจุ รติ .......................................................36 การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและผลประโยชนส ว นรวม...........................38 ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม.............................................................40 ผลประโยชนท บั ซอ น................................................................................................42 รปู แบบของผลประโยชนท บั ซอ น.............................................................................45 แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง”..........................................................48 การกาํ หนดนโยบาย................................................................................................................51 การสรางความเขาใจ..............................................................................................................52 การพฒั นาบคุ ลากร.................................................................................................................53
สารบัญ (ตอ่ ) การตดิ ตาม..............................................................................................................................54 การประเมนิ .............................................................................................................................55 การแลกเปลยี่ นเรยี นร.ู ............................................................................................................56 การรายงานผลการพฒั นา.......................................................................................................57 ตวั อยา งผลการพัฒนาโรงเรยี นสุจริต “ระบบคดิ ฐานสอง” (สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา)....58 ตวั อยางผลการพัฒนาโรงเรียนสจุ รติ “ระบบคิดฐานสอง” (ผูบรหิ ารโรงเรียน)......................68 ตัวอยา งผลการพฒั นาโรงเรียนสุจรติ “ระบบคิดฐานสอง” (ครู).............................................77 ตวั อยา งผลการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” (นกั เรยี น).....................................80 ตวั อยา งผลการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” (ผปู กครองและชมุ ชน)..................83 ตัวอยา งแนวทางการพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื ใหเกิดระบบการคดิ ฐานสอง (สาํ หรบั สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา)....................................................................................86 แนวทางการพฒั นาโรงเรียนสจุ ริต เพอ่ื สรางความตระหนกั ใหเ กิด “ระบบคิดฐานสอง” (สาํ หรบั ผบู รหิ ารโรงเรยี น)...............................................................................………………………87 แนวทางการพัฒนาโรงเรียนสุจริต เพอ่ื สรางความตระหนกั ใหเกิด “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั คร)ู ..............................................................................................................................88 แนวทางการพฒั นาโรงเรียนสจุ ริต เพอื่ สรา งความตระหนักใหเกดิ “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั นกั เรยี น)......................................................................................................................88 แนวทางการพัฒนาโรงเรยี นสุจริต เพอื่ สรา งความตระหนักใหเกดิ “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั ผปู กครองและชมุ ชน)..................................................................................................89 ภาพความสาํ เรจ็ ของโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง”.......………………………………………....…..90 ระดบั โรงเรยี น (เจา หนา ทขี่ องรฐั ).............................................................................93 ระดบั โรงเรยี น (ผรู บั บรกิ าร).....................................................................................95 ระดบั ชมุ ชน..............................................................................................................97 ระดบั ประเทศ..........................................................................................................98 คณะทาํ งาน..............................................................................................................................99
“ ความซ่ือสตั ยสจุ ริตน้ี คือไมโ กง คือไมค อรร ัปชนั คือไมขโมย ไมท จุ ริต น่กี ็พูดไดง า ย ๆ แตปฏบิ ตั ิไดหรอื เปลา เพราะบางอยางมนั ไมใ ชขโมย บางอยา ง ไมใ ชค อรร ัปชัน บางอยางไมใ ชทุจริต แตวา เปนการทําใหค นอ่ืนเขาทุจรติ ได” พระราชดํารสั พระราชทานแกคณะบุคคลทเี่ ขาเฝา ฯ ณ ศาลาดุสดิ าลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๒๑
ความเป็นมา อีกท้ังยังทําใหนักลงทุนขาดความเช่ือมั่น ในระบบราชการไทยท่ีมักจะมีการใชอํานาจ การคอรรัปชัน (Corruption) โดยมชิ อบ เปนปญหาที่เกิดขึ้นและถูกส่ังสมมาเปนระยะ เวลานานในสังคมไทย โดยผลกระทบจาก ป ญ ห า ก า ร ค อ ร รั ป ชั น ดั ง ก ล า ว การคอรรัปชันจะสงผลโดยตรงตอการพัฒนา ย่ิงแสดงใหเห็นชัดเจนมากข้ึน จากผลการ ประเทศ ท้ังในดานการบริหารจัดการ จัดอันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชัน งบประมาณ การจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยู ที่จัดโดยองคกรเพื่อความโปรงใสระหวาง ใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมไปถึงการพัฒนา ประเทศ (Transparency International) ทรัพยากรบุคคลใหกลายเปนกําลังสําคัญ ประจําป 2558 พบวา ประเทศไทยไดคะแนน ของประเทศชาติ ซ่ึงในปจจุบันประเทศไทย 38 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ไดพยายามแกไขปญหาดังกลาว โดยการ ถูกจัดอยูในอันดับท่ี 76 จาก 168 ประเทศ กําหนดใหป ญหาการคอรร ัปชัน เปนนโยบาย ท่ัวโลก และเปนอันดับท่ี 3 ในกลุมประเทศ สําคัญในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อาเซยี นรองจากประเทศสงิ คโปรแ ละประเทศ และมีการกําหนดแนวทางแกไขปญหา มาเลเซยี โดยผลการจดั อันดับพบวา ประเทศ คอรรัปชันในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เดนมารกเปนประเทศท่ีไดคะแนนสูงท่ีสุด แหงชาติฉบับตางๆ แตท้ังน้ีการแกไขปญหา เปนอนั ดับหนง่ึ ตดิ ตอกันเปนปทีส่ อง คอื 91 คอรร ปั ชนั กย็ งั ไมเ กดิ เปน รปู ธรรมอยา งแทจ รงิ คะแนน (ทีม่ า: http://www.transparency.org/ อกี ทง้ั ยงั ไดท วคี วามรนุ แรงและมคี วามซบั ซอ น สืบคนเมื่อ 26 ธันวาคม 2559) และจาก ยากตอการตรวจสอบมากขึ้นเร่ือยๆ โดยจาก การวิเคราะหผลการจัดอันดับดังกลาวอยาง ผลการวิจัยพบวา ในแตละปพอคาและ ตอเนื่องเปนประจําทุกป สามารถวิเคราะห นักธุรกิจกวา 80 เปอรเซ็นตตองสูญเสียเงิน ไดว ากลมุ ประเทศทไี่ ดคะแนนสูง คอื 70, 80 ใหกับการคอรรัปชันเปน จํานวนสูงถึงเกือบ 3 หรือ 90 คะแนน สวนใหญอยูในยุโรป แสนลา นบาท ซงึ่ เงินจํานวนนีส้ ามารถอาํ นวย ตอนเหนอื อาทิ เดนมารก ฟนแลนด นอรเ วย ประโยชนแกคนสวนใหญของประเทศได สวีเดน ฯลฯ ซึ่งประเทศเหลานี้มีประเด็น ทําใหรัฐตองจายเงินงบประมาณสูงกวาท่ีเปน ที่เปน จดุ รว มกนั คือ จริง สงผลใหประชาชนตองไดรับบริการ สาธารณะที่ไมม คี ุณภาพ 1) มีการบังคับใชกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม เพ่ือตอสูกับปญหา คอรรปั ชนั มายาวนานและจรงิ จัง สุจริต คดิ ฐานสอง 1
2) มีความสามารถในการลดความ ซงึ่ กาํ หนดใหเ ปนแผนงานและโครงการสําคญั เหลื่อมลํ้าดานรายไดของประชาชน ทําให ขอ ที่ 4.9 วา ดวยการสรา งกลไก “ยับยั้ง” และ ประชาชนมีฐานะใกลเคียงกัน (จํานวนคน “สรางความตระหนักรู” เพื่อปองกัน ช้ันกลางมีจํานวนประมาณรอยละ 80 การทุจริต ท่ีมุงเนนการเสริมสรางคุณธรรม ของประชากรทัง้ หมด) จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 3) สงเสริมการมีสวนรวมของ ภายใตกรอบแนวคิด “โรงเรียนสุจริต” ประชาชนและประชาสังคมในดานความ เพื่อสรางองคความรูและกระบวนการเรียนรู โปรงใสของการบริหารภาครัฐ การใชอํานาจ ที่เทาทันตอการเปลี่ยนแปลง ปลูกจิตสํานึก ของฝายการเมือง ฯลฯ ซึ่งเปนองคประกอบ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย สําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย อยูอยางพอเพยี ง จติ สาธารณะ โดยเฉพาะมงุ เนน เสรภี าพและมาตรฐานความ น อ ก จ า ก แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ รับผดิ ชอบของสื่อสารมวลชน และสังคมแหงชาติท่ีเปรียบเสมือนเข็มทิศ ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศกําลัง ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ว พัฒนาที่มีแนวโนมของการคอรรัปชันเพ่ิมข้ึน ประเทศไทยไดกําหนดใหมียุทธศาสตรชาติ อยางตอเน่ือง สงผลใหประเทศกําลังพัฒนา วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต แตล ะประเทศ พยายามหาแนวทางและวธิ กี าร ที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับการปองกันการคอรรัปชัน แกไ ขปญ หาดงั กลา วเพอ่ื สรา งภาพลกั ษณ และ ข้ึนโดยเฉพาะ เพ่ือเปนแนวทางในการ สรางความเช่ือมั่นในการลงทุนใหกับประเทศ ดําเนินงานของหนวยงาน และองคกรภายใน ของตนเอง (ชัยณรงค อินทรมีทรัพย, 2559) ประเทศมาอยา งตอเนื่อง ไดแก ประเทศไทยไดก าํ หนดใหม มี าตรการ 1) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ ปองกันและปราบปรามคอรรัปชันเปนวาระ ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 1 สําคัญของชาติโดยกําหนดไวอยางชัดเจน (พ.ศ.2551 - 2555) ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) (คณะรฐั มนตรี ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 มีมติเห็นชอบในการประชุมเมื่อวันท่ี 13 (พ.ศ.2556 – 2560) กันยายน พ.ศ.2559) ยุทธศาสตรท่ี 6 3) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกัน ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 การทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล (พ.ศ.2560 – 2564) ในสังคมไทย 2 สจุ รติ คดิ ฐานสอง
เน้ือหาของยุทธศาสตรชาติวาดวย 2) ประยกุ ตห ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ทกุ ฉบบั พอเพยี งเปน เครอ่ื งมือตานทุจรติ มุงเนนใหหนวยงาน องคกร และบุคคลจาก 3 ) ส ง เ ส ริ ม ใ ห มี ร ะ บ บ แ ล ะ ทุกภาคสวนประสานความรวมมือกัน กระบวนการกลอมเกลาทางสังคมเพื่อ ใ น ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ก า ร ค อ ร รั ป ชั น ตานทุจริต อยางเปนระบบและสอดคลองกัน และ 4) เสริมพลังการมีสวนรวมของ มีการประเมินผลความพึงพอใจสําหรับ พลเมอื ง (Civic Participation) และบรู ณาการ ผูมีสวนเกี่ยวของ เพ่ือกระตุนใหประชาชน ทุกภาคสว นเพ่อื ตอตานการทุจรติ รับรู เขาใจสาเหตุของปญหาและตระหนักถึง จากยุทธศาสตรสําคัญดังกลาว ผลเสียของการทุจริตคอรรัปชัน รวมถึง แสดงใหเห็นวาหนวยงาน หรือองคกรดาน การผลกั ดนั ใหอ งคก รอสิ ระ ภาคเี ครอื ขา ยและ การศึกษาถือไดวาเปนกําลังสําคัญที่จะชวย ภาครัฐจริงจังในการดําเนินการภายใตกรอบ สงเสริมและสนับสนุนใหการดําเนินงาน แนวทางดานจริยธรรม และกรอบแนวทาง ตามยุทธศาสตรประสบความสําเร็จ และเพื่อ ดา นกฎหมาย โดยมงุ ยกระดบั การดาํ เนนิ งาน ใหการดําเนินการตามยุทธศาสตรน้ันเปนไป ของหนวยงาน และองคกรตางๆ ภายใน อยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ประเทศ ไมวาจะเปนหนวยงานดาน สูงสุด จึงไดมีการรางพระราชบัญญัติวาดวย ทรัพยากรธรรมชาติ หนวยงานดานแรงงาน ความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหวางประโยชน และหนวยงานดานการศึกษา เปนตน สวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมข้ึน สําหรับ โดยเฉพาะยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกัน หนวยงานภาครัฐ ขาราชการ รวมไปถึง และปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอื่ นาํ ไปใช เปน แนวทาง (พ.ศ.2560 – 2564) (คณะรัฐมนตรมี ีมตเิ หน็ บริหารจัดการท่ีชัดเจน และเปนแนวปฏิบัติ ชอบในการประชมุ เมื่อวนั ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. ที่ตองยึดถืออยางเครงครัด แตจากขอมูลของ 2559) ในยุทธศาสตรที่ 1 สรางสังคมทีไ่ มท น สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบ ตอ การทจุ รติ อนั ประกอบดว ย 4 กลยทุ ธส าํ คญั ปรามการทุจริตแหงชาติ (ขอมูลเมื่อวันที่ 27 ไดแก ตุลาคม พ.ศ.2559) ทไ่ี ดส รปุ ขอมูล เรื่องกลาว 1) ปรับฐานความคิดทุกชวงวัย หารองเรียนที่เก่ียวของกับการทุจริตซึ่งอยู ต้ังแตปฐมวัยใหสามารถแยกระหวางผล ระหวา งการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ มจี าํ นวน 2,220 ประโยชนส ว นบคุ คลและผลประโยชนส ว นรวม เรอ่ื ง พบวา มเี รอื่ งกลา วหารอ งเรยี นจากบคุ คล สุจริต คดิ ฐานสอง 3
และหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวง ดา นการศกึ ษา ใหเ ปน ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ศกึ ษาธกิ าร จาํ นวนถึง 75 เรือ่ ง โดยเรอื่ งรอง โดยเริ่มตน จากการปรับกระบวนทัศน เรียนดังกลาวเกี่ยวกับการทุจริตในการ (Paradigm Shift) ของบุคลากรภายใน ดําเนินงานของผูบริหาร ครู และบุคลากร หนวยงานใหมองวาปญหาคอรรัปชัน ทางการศึกษา อาทิ การจดั ซื้อจัดจางทไ่ี มเปน เปนหนาที่ของทุกคนท่ีจะรวมกันแกไข ไปตามระเบียบ การทุจริตเงนิ โครงการอาหาร และเรียนรูท่ีจะปรับเปลี่ยนระบบการคิด กลางวัน การตอไฟฟาของโรงเรียนไปใช ของตนเองจากระบบคิดฐานสิบ (Analog) ท่ีบานพักของผูบริหารและครู การเรียกเก็บ ซึ่งเปนการคิดโดยใชความรูสึก และอารมณ เงินจากผูรับเหมา การยืมเงินทดรองราชการ อยูเหนือเหตุผล เชน การนําประโยชน และอนุมัติดวยตนเอง และการปลอมลายมือ สว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั ผบู รหิ าร เปน ตน ซึ่งจากขอ มลู ดงั กลา วแสดง พฤติกรรมการนําสิ่งของราชการมาใช ใหเห็นไดชัดเจนวาหนวยงานทางดานการ เพ่ือประโยชนสวนบุคคล และการแสวงหา ศึกษาในประเทศไทยจําเปนตองไดรับการ ประโยชนจากตําแหนงหนาที่เพื่อตนเอง พฒั นาใหม คี วามโปรง ใสในการดาํ เนนิ งานมาก เครือญาติ หรือพวกพอง เปนตน ซึ่งการ ท่ีสุด ไมวาจะเปนหนวยงานในระดับนโยบาย กระทําเหลาน้ีเปนสาเหตุสําคัญท่ีนําไปสู เชน กระทรวง ทบวง กรมไปจนกระทั่งถึง การคอรร ปั ชนั ไดใ นทสี่ ดุ ไปสรู ะบบคดิ ฐานสอง หนวยงานในระดบั ปฏบิ ัติการ เชน สาํ นกั งาน (Digital) คอื การคดิ แบบตรรกะโดยใชเหตผุ ล เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา และโรงเรยี น เพอื่ เปน แบบ อยูเหนืออารมณ และความรสู ึก เชน การแยก อยางท่ีดีใหกับเยาวชนท่ีจะตองเขาสู ออกอยางชัดเจนวาส่ิงใดถูกส่ิงใดผิด การเห็น กระบวนการพฒั นาในลาํ ดบั ตอ ไป แกประโยชนสวนรวม หรือประโยชนของ การแกไ ขปญ หาคอรร ปั ชนั ไดด าํ เนนิ หนว ยงานมากอ นประโยชนส ว นบคุ คล เปน ตน การมาอยางตอเนื่องดวยวิธีการที่หลากหลาย นอกจากน้ี การพัฒนาคนใหมีระบบคิดฐาน แตยังไมประสบความสําเร็จตามเปาหมาย สองไมไดมีความสําคัญเฉพาะตอการปฏิบัติ ท่ีกําหนดไว ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการ งานภายในหนว ยงาน หรอื องคกรเทานน้ั แต ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ยังกอใหเกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนใน (ป.ป.ช.) และสํานักงานคณะกรรมการ สังคมไปสูการมีวัฒนธรรมดิจิทัล อันเปนองค การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดรวมกันยกระดับ ประกอบสาํ คญั ในการพฒั นาประเทศชาตใิ หม ี ความโปรงใสในการดําเนินงานของภาครัฐ ความม่นั คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยืนตอไป 4 สุจริต คิดฐานสอง
สจุ รติ คิดฐานสอง 5
แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย คําชีเ้ เจง 1. ใหค รสู งั เกตพฤตกิ รรมเดก็ ปฐมวยั ตามรายการตอ ไปนจี้ าํ นวน 10 รายการ แลว ใสเ ครอื่ งหมาย ถูกตามระดับการปฏิบตั ิจรงิ ของเด็กปฐมวัย ดงั นี้ 0 = ทําเปนประจาํ 1 = นานๆ ครั้ง 2 = ไมเ คยทํา 2. ใหครูรวมคะแนนระดับการปฏบิ ัติ และแปลผลพฤติกรรมลงในตารางแบบสงั เกตพฤตกิ รรม เด็กปฐมวยั เปน รายบุคคล 3. เกณฑก ารตัดสินพฤตกิ รรม ชวงคะแนน พฤตกิ รรม 16 – 20 เด็กมีพฤตกิ รรมเห็นแกป ระโยชนสวนรวมมากกวาสวนบคุ คล 11 – 15 เดก็ มพี ฤติกรรมคอ นขา งเหน็ แกป ระโยชนสวนรวมมากกวาสวนบคุ คล 6 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมคอ นขา งเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สว นรวม 0–5 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสว นบุคคลมากกวา สวนรวม 4. ใหครูสังเกตพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยภาคเรียนละ 2 คร้ัง แลวเปรียบเทียบผลพัฒนาการ ดา นพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยในแตล ะครั้ง 5. ถาเด็กไดร ะดับคะแนนตา่ํ กวา 10 คะแนน ครตู อ งปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมเดก็ โดยฝกใหเ ด็ก คดิ เหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมมากกวา ประโยชนส ว นบคุ คล และประเมนิ อกี ครงั้ จนกวา ระดบั คะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 10 คะแนนขน้ึ ไป 6 สุจรติ คดิ ฐานสอง
แ บ บ สั ง เ ก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ด็ ก ครั้งที่..............ภาคเรียนท่.ี .............ปก ารศึกษา........................ ช่ือ – สกลุ ........................................................................ชนั้ .................................เลขท.่ี ........... ขอ ที่ รายการสังเกตพฤติกรรม ระดับการปฏิบัติ 0 12 1. หยิบของเลนในหองเรียนกลับไปเลนท่ีบานได โดยไมไ ดรบั อนญุ าตจากครู 2. นําสง่ิ ของเพ่ือนมาเปนของตนเอง 3. เลน ของเลน แลวไมต อ งเก็บเขาท่ี 4. ชอบทําของใชสวนรวมพงั เสียหาย 5. ชอบขีดเขียนตามฝาผนงั ในหอ งเรยี น 6. เขา หองน้ําหอ งสวมเสร็จแลวไมร าดนํ้าทุกครงั้ 7. แทรกแถวเพือ่ รบั อาหารหรือนม 8. ถอดรองเทาแลวไมเรียงรองเทาใหเปน ระเบียบ 9. ไมทงิ้ ขยะลงในถังขยะ 10. ไมป ดนา้ํ ทกุ คร้งั หลังจากเลกิ ใช รวมคะแนน รวมคะแนนระดบั การปฏบิ ัติ ระดบั พฤตกิ รรม ลงชอ่ื ...............................................ผปู ระเมนิ (.................................................) ............./...................../............. สจุ รติ คดิ ฐานสอง 7
แบบทดสอบเบอื้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคิดของนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คําชีเ้ เจง : แบบทดสอบมีทัง้ หมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคําตอบท่ีตรงกับ ความคิดของนกั เรียนมากท่สี ุด 1. เด็กหญิงออยเด็ดดอกไมใ นสวนหยอมของโรงเรียนนําไปใหครูประจําชั้นทุกวัน การกระทํา ของเด็กหญิงออยถูกหรอื ไม เพราะเหตุใด ก. ไมถ ูก เพราะดอกไมเ ปน ของสว นรวมไมค วรเด็ด ข. ถูก เพราะดอกไมอ ยใู นโรงเรียนของเราใครจะเด็ดกไ็ ด 2. เด็กชายนวิ ฒั น ตั้งใจไปซ้ือไอศกรีมในสหกรณร านคาโรงเรยี น เด็กชายนวิ ัฒนค วรทาํ อยางไร ก. แซงคิวไปเลย เพราะจะรีบไปเลน กบั เพ่ือนๆ ข. ตอแถว เพราะยง่ิ ตอแถวยง่ิ เปน ระเบยี บยงิ่ เร็วข้นึ 3. เด็กชายไกรสร นําฟุตบอลของโรงเรียนไปเลน ท่บี าน นักเรียนคิดวาเด็กชายไกรสรทําถกู ตอง หรอื ไม ก. ถกู ตอ ง เพราะฟุตบอลในโรงเรยี นมีเยอะ ใครจะนาํ กลบั บานก็ได ข. ไมถูกตอง เพราะฟุตบอลเปนของโรงเรียน การจะนําไปเลนท่ีบานไดตองไดรับ อนญุ าตจากครูกอ น 4. เด็กหญิงสุนิสา เรยี นเกงเปนหวั หนา หอง ช้นั ป.2 เพอ่ื นขอลอกการบา น แตส นุ สิ าไมยอม ใหล อกนักเรียนคิดวาสุนิสาควรทําอยางไรถึงจะเปน การกระทําที่ถกู ตอง ก. เด็กหญิงสนุ ิสาชวยสอนการบานใหเพ่ือนแทนการใหลอก ข. เดก็ หญิงสนุ สิ ารับจางทาํ การบา นใหเพอื่ น 8 สจุ รติ คิดฐานสอง
5. เด็กหญิงปราณีชอบวาดภาพ นักเรียนคิดวาการกระทําในขอใดของเด็กหญิงปราณี เปน การกระทาํ ที่ถกู ตอ ง ก. เดก็ หญงิ ปราณฝี ก ฝนวาดภาพลงในสมดุ วาดเขียน ข. เด็กหญิงปราณฝี กฝนวาดภาพบนโตะ หรือฝาผนงั หองอยูเปนประจํา 6. เด็กชายประจักษเก็บกระเปาเงินไดท่ีบริเวณหนาประตูโรงเรียน เด็กชายประจักษควรทํา อยา งไร ก. เด็กชายประจกั ษนํากระเปา เงินทเ่ี ก็บไดไปใหคุณครูเพอ่ื ประกาศหาเจา ของ ข. เดก็ ชายประจกั ษเ กบ็ กระเปา ไปใชเ ปน การสว นตวั เพราะของทเี่ กบ็ ไดเ ปน ของตนเอง 7. เดก็ ชายสมทรง ออกจากหองเรยี นเปน คนสดุ ทายเสมอ นักเรยี นคิดวาสมทรงควรทําอยางไร ก. รีบออกจากหองเรียนเพ่อื ไปเรยี นวิชาตอไปโดยไมป ด ไฟฟาและพดั ลม ข. ปดไฟฟา และปดพัดลมทุกครั้งกอนออกจากหอ งเรยี น 8. คุณครูปราณีนัดนักเรียนมาซอมดนตรีที่โรงเรียนและเล้ียงอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน หลงั จากรับประทานอาหารเสร็จ นักเรียนควรทําอยา งไร ก. รบั ประทานอาหารเสร็จแลว กร็ ีบไปซอมดนตรีตอ ข. รับประทานอาหารเสร็จแลว ชวยกันลางจาน และชอนใหเรียบรอยกอนไป ซอมดนตรี 9. เด็กชายชํานาญชวยครูถือของหรือกระเปาไปหองเรียนทุกวัน เด็กชายชํานาญทําเพ่ืออะไร ก. เดก็ ชายชํานาญมจี ติ อาสายนิ ดใี หบ ริการครู ข. เด็กชายชาํ นาญชว ยงานครเู พราะอยากไดค ะแนนจากครู 10. ในการเลอื กตัง้ หัวหนาชั้น ป.2 นกั เรยี นคิดวาวธิ กี ารหาเสยี งของใครถกู ตอ ง ก. เดก็ ชายอนันตส ญั ญาวาจะเปนตัวแทนทีด่ มี คี วามรับผิดชอบ ข. เด็กหญงิ วารแี จกขนมเพ่ือนและสัญญาวา จะเปน ตวั แทนที่ดี สจุ รติ คิดฐานสอง 9
เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกับระบบความคิดของนักเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คาํ ชีเ้ เจง : ให้ครูตรวจแบบทดสอบ ซ่ึงในแต่ละคําตอบมีคะแนนแตกต่างกัน ตงั้ แต่ 0 – 1 1. เดก็ หญิงออยเด็ดดอกไมในสว นหยอ มของโรงเรียนนาํ ไปใหค รูประจําชั้นทกุ วนั การกระทํา ของเด็กหญงิ ออยถกู หรอื ไม เพราะเหตุใด คําตอบ คะแนน ก. ไมถ กู เพราะดอกไมเ ปน ของสว นรวมไมค วรเด็ด 1 ข. ถกู เพราะดอกไมอยูในโรงเรยี นของเราใครจะเด็ดกไ็ ด 0 2. เดก็ ชายนวิ ฒั น ตง้ั ใจไปซอื้ ไอศกรมี ในสหกรณร า นคา โรงเรยี น เดก็ ชายนวิ ฒั นค วรทาํ อยา งไร คําตอบ คะแนน ก. แซงควิ ไปเลย เพราะจะรบี ไปเลน กับเพอ่ื นๆ 0 ข. ตอ แถว เพราะยง่ิ ตอ แถวย่ิงเปน ระเบียบยิ่งเรว็ ขนึ้ 1 3. เดก็ ชายไกรสร นาํ ฟตุ บอลของโรงเรยี นไปเลน ทบี่ า น นกั เรยี นคดิ วา เดก็ ชายไกรสรทาํ ถกู ตอ ง หรือไม คําตอบ คะแนน ก. ถูกตอ ง เพราะฟตุ บอลในโรงเรยี นมเี ยอะ ใครจะนาํ กลบั บา นกไ็ ด 1 ข. ไมถ กู ตอง เพราะฟุตบอลเปนของโรงเรียน การจะนาํ ไปเลนท่บี านไดตอ ง 0 ไดรบั อนญุ าตจากครูกอ น 10 สจุ รติ คดิ ฐานสอง
4. เด็กหญงิ สนุ สิ า เรียนเกง เปนหวั หนา หอง ชน้ั ป.2 เพอื่ นขอลอกการบาน แตสุนสิ าไมย อมให ลอกการบา น นกั เรยี นคิดวา สนุ สิ าควร ทาํ อยา งไรถงึ จะเปน การกระทําทถ่ี กู ตอง คําตอบ คะแนน ก. เดก็ หญิงสนุ สิ าชวยสอนการบา นใหเ พือ่ นแทนการใหลอก 1 ข. เดก็ หญิงสนุ ิสารับจางทาํ การบานใหเพอ่ื น 0 5. เด็กหญิงปราณีชอบวาดภาพ นักเรียนคิดวาการกระทําในขอใดของเด็กหญิงปราณี เปน การกระทาํ ที่ถูกตอ ง คาํ ตอบ คะแนน ก. เดก็ หญิงปราณีฝกฝนวาดภาพลงในสมดุ วาดเขียน 1 ข. เดก็ หญงิ ปราณีฝก ฝนวาดภาพบนโตะ หรือฝาผนังหองอยเู ปน ประจํา 0 6. เด็กชายประจักษเก็บกระเปาเงินไดท่ีบริเวณหนาประตูโรงเรียน เด็กชายประจักษควรทํา อยา งไร คําตอบ คะแนน ก. เดก็ ชายประจกั ษน ํากระเปา เงนิ ที่เกบ็ ไดไปใหค ณุ ครูเพ่ือประกาศหา 1 เจาของ ข. เดก็ ชายประจักษเ กบ็ กระเปา ไปใชเปนการสว นตัวเพราะของทเี่ ก็บได 0 เปนของตนเอง สจุ รติ คิดฐานสอง 11
7. เดก็ ชายสมทรง ออกจากหองเรียนเปนคนสดุ ทา ยเสมอ นักเรยี นคิดวา สมทรงควรทําอยางไร คําตอบ คะแนน ก. รบี ออกจากหอ งเรียนเพื่อไปเรยี นวชิ าตอไปโดยไมปด ไฟฟา และพดั ลม 0 ข. ปด ไฟฟา และปด พัดลมทุกครั้งกอนออกจากหองเรยี น 1 8. คุณครูปราณีนัดนักเรียนมาซอมดนตรีที่โรงเรียนและเลี้ยงอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน หลงั จากรบั ประทานอาหารเสร็จ นกั เรียนควรทําอยางไร คาํ ตอบ คะแนน ก. รบั ประทานอาหารเสร็จแลวกร็ บี ไปซอมดนตรีตอ 0 ข. รบั ประทานอาหารเสรจ็ แลว ชว ยกันลา งจาน และชอ นใหเรียบรอยกอน ไปซอมดนตรีตอ 1 9. เด็กชายชํานาญชว ยครูถือของหรอื กระเปาไปหอ งเรยี นทกุ วัน เด็กชายชาํ นาญทําเพอื่ อะไร คําตอบ คะแนน ก. เด็กชายชาํ นาญมีจิตอาสายินดใี หบรกิ ารครู 1 ข. เดก็ ชายชาํ นาญชว ยงานครูเพราะอยากไดค ะแนนจากครู 0 10. ในการเลือกตัง้ หวั หนา ช้ัน ป.2 นกั เรียนคิดวา วธิ กี ารหาเสยี งของใครถูกตอง คําตอบ คะแนน ก. เดก็ ชายอนนั ต สญั ญาวาจะเปน ตวั แทนท่ีดมี คี วามรับผิดชอบ 1 ข. เดก็ หญงิ วารี แจกขนมเพอื่ นและสญั ญาวาจะเปนตวั แทนท่ีดี 0 12 สุจรติ คิดฐานสอง
เกณฑก์ ารตดั สนิ พฤติกรรม ช่วงคะแนน พฤตกิ รรม 9 – 10 เด็กมีพฤติกรรมเหน็ แกประโยชนส วนรวมมากกวา สวนบคุ คล 6–8 เด็กมพี ฤตกิ รรมคอ นขางเห็นแกประโยชนสว นรวมมากกวาสว นบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤตกิ รรมคอนขางเห็นแกป ระโยชนสว นบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมพี ฤตกิ รรมเห็นแกประโยชนส วนบุคคลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนต่ํากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครัง้ จนกวา ระดบั คะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนข้ึนไป สุจรติ คดิ ฐานสอง 13
แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ขอ้ 2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาํ ตอบท่ตี รงกับความคดิ ของนกั เรยี นมากท่ีสุด 1. แมคาวางของขายบนทางเทา นักเรียนคิดวาถกู ตองหรอื ไม ก. ถูกตอ ง เพราะทําใหมขี องขายดี ข. ถกู ตอ ง เพราะทาํ ใหผ ซู อื้ ไมต อ งเดินไกล ค. ไมถ กู ตอ ง เพราะไมใชตลาด ง. ไมถกู ตอง เพราะกีดขวางทางเดนิ 2. เดก็ ชายสมชายนาํ โทรศพั ทม าโรงเรยี น แบตเตอรห่ี มด จงึ ใชไ ฟฟา ของโรงเรยี นชารจ แบตเตอร่ี นักเรยี นคดิ วา สมชายทําไดหรือไม ก. ทาํ ได เพราะจะไดใชโ ทรศัพทสะดวก ข. ทาํ ได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียน ทกุ คนมีสทิ ธใิ์ ช ค. ทําไมไ ด เพราะครูหามไมใหท ํา ง. ทาํ ไมได เพราะเปน ไฟฟา ของโรงเรียนถอื เปน ของราชการ 3. นักเรยี นยืมฟุตบอลไปเลน ชวงพักกลางวนั แลว ไมนํากลบั ไปคืน การกระทาํ ของนักเรยี นถกู ตองหรือไม ก. ทําถูกตอ ง เพราะไมร วู าใครยมื ข. ทําถูกตอ ง เพราะสนามบอลอยูในโรงเรียน ค. ทําไมถูกตอ ง เพราะฟตุ บอลเปน ของโรงเรียน ง. ทาํ ไมถ ูกตอ ง เพราะเห็นแกตัว 14 สจุ ริต คิดฐานสอง
4. เด็กหญิงสมศรีมาโรงเรียนแตเชาทุกวันเพื่อชวยพอตนเองทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน นกั เรียนคดิ วาสมศรที ําดว ยเหตุผลอะไรจงึ ถกู ตอ ง ก. เดก็ หญิงสมศรีทําเพอื่ พอ ท่ีตนรัก ข. เด็กหญิงสมศรีทาํ เพื่อตนเองจะไดม าโรงเรยี นเชา ค. เด็กหญิงสมศรีทาํ เพือ่ ชวยพอ ดแู ลความสะอาดใหโ รงเรียน ง. เด็กหญงิ สมศรีทําเพ่อื อวดเพอื่ นใหช ื่นชมตนเอง 5. เด็กชายยอดรักสอบเรียนตอโรงเรียนประจําจังหวัดไมได ผูปกครองจึงขอพบผูอํานวยการ โรงเรยี นและบรจิ าคเงนิ เพอื่ ใหเ ดก็ ชายยอดรกั ไดเ ขา เรยี นตอ การกระทาํ ของพอ เดก็ ชายยอกรกั ถกู ตองหรือไม ก. ถูกตอ ง เพราะพอบรจิ าคเงนิ เพื่อใหล กู ไดเ รียน ข. ถกู ตอง เพราะพอบริจาคเงนิ เพอ่ื ชวยเหลอื โรงเรยี น ค. ไมถูกตอ ง เพราะจะทาํ ใหล ูกไมรจู กั ชวยเหลอื ตนเอง ง. ไมถกู ตอ ง เพราะเปน การตดิ สนิ บนโรงเรยี น 6. เมอ่ื นักเรียนพบเห็นวามีนกั เรียนกระทาํ ผิดโดยหนีเรยี นไปเทยี่ ว นักเรียนจะทาํ อยางไร ก. เฉย ไมต อ งทาํ อะไรเพราะไมใ ชห นา ที่ของเรา ข. ชวยกนั ปกปดไมบอกใหใ ครทราบ ค. แจง ใหค รูเวรประจําวันทราบ ง. เขา ไปวา กลาวตักเตอื นมใิ หกระทําผดิ ตอไป 7. เม่อื นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนไดถ กู ตอ งตามกฎระเบียบของโรงเรยี นจะมคี วามรสู กึ อยางไร ก. รูส ึกภมู ใิ จในตนเองมาก เพราะจะไดม ีผูค นยกยอ ง ข. รูสกึ วาตนเองเปน คนมคี าทส่ี ามารถทาํ ไดดกี วาคนอื่น ค. รสู ึกเปน หนา ท่ที ่ตี องปฏบิ ตั ิตามกฏระเบยี บของโรงเรียน ง. เฉยๆ ไมม ีความรูสึกอยางไร สจุ ริต คิดฐานสอง 15
8. เมอ่ื ตอ งเลอื กระหวา งประโยชนส าธารณะกบั ประโยชนส ว นบคุ คล นกั เรยี นจะเลอื กทาํ อยา งไร ก. เลือกประโยชนส วนบคุ คลกอ น เพอื่ สรา งความสุขใหต นเองเปน ลําดับแรก ข. เลือกประโยชนส าธารณะกอ น เพราะจะไดช อ่ื วาเปน บคุ คลที่เสียสละ ค. เลอื กประโยชนสว นบคุ คลกอ น เพราะธรรมชาติของมนุษยทีต่ องทําใหตนเอง สมบูรณกอ นท่จี ะเผื่อแผไปยังผอู ื่น ง. เลือกประโยชนสาธารณะกอ น เพราะประโยชนส าธารณะตองมากอน ประโยชนส วนบุคคล 9. ครสู ดุ าสอนนกั เรยี นชน้ั ป.6 ดว ยความตง้ั ใจอยา งเตม็ ความสามารถทกุ วนั พรอ มทงั้ สอนพเิ ศษ เพมิ่ ใหน กั เรยี นหลงั เลกิ เรยี น โดยไมค ดิ คา ตอบแทน นกั เรยี นคดิ วา ครสู ดุ าทาํ อยา งนเี้ พราะเหตใุ ด จงึ จะถกู ตอง ก. ครสู ุดารักนักเรยี น ข. ครสู ุดาอยากใหผลการทดสอบทางการศกึ ษาของนักเรียนสงู ขน้ึ ค. ครสู ดุ าเสยี สละเพอื่ ชว ยเหลือนักเรยี น ง. ครสู ุดาตอ งการใหผูอ น่ื ชม 10. นกั เรยี นชน้ั ป.4 ชว ยกนั กาํ หนดระเบยี บของหอ งเรยี นเพอ่ื ใหท กุ คนถอื ปฏบิ ตั ิ เปน การกระทาํ ท่ดี หี รอื ไม เพราะเหตใุ ด ก. ดี เพราะไมเหมอื นชั้นอนื่ ข. ดี เพราะตรงกันตามท่ตี กลงกนั ไวจ ะไดปฏบิ ตั ิถูกตอง ค. ไมด ี เพราะมรี ะเบยี บของโรงเรยี นอยแู ลว ง. ไมดี เพราะมีความยงุ ยาก 16 สุจรติ คิดฐานสอง
เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกับระบบความคดิ ของนักเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คาํ ชีเ้ เจง : แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 1. แมคา วางของขายบนทางเทา นกั เรยี นคิดวาถกู ตอ งหรือไม ก. ถูกตอง เพราะทําใหม ขี องขายดี ข. ถูกตอง เพราะทาํ ใหผ ูซอื้ ไมตองเดินไกล ค. ไมถ ูกตอ ง เพราะไมใชต ลาด ง. ไมถูกตอง เพราะกีดขวางทางเดนิ 2. เดก็ ชายสมชายนาํ โทรศพั ทม าโรงเรยี น แบตเตอรหี่ มด จงึ ใชไ ฟฟา ของโรงเรยี นชารจ แบตเตอรี่ นกั เรียนคิดวา สมชายทาํ ไดหรือไม ก. ทําได เพราะจะไดใชโทรศพั ทสะดวก ข. ทําได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียน ทกุ คนมีสิทธ์ใิ ช ค. ทาํ ไมไ ด เพราะครหู า มไมใหท าํ ง. ทาํ ไมได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียนถือเปนของราชการ 3. นักเรียนยืมฟุตบอลไปเลนชวงพักกลางวันแลวไมนํากลับไปคืน การกระทําของนักเรียน ถกู ตองหรอื ไม ก. ทาํ ถกู ตอง เพราะไมรวู า ใครยืม ข. ทําถูกตอง เพราะสนามบอลอยใู นโรงเรยี น ค. ทาํ ไมถ กู ตอ ง เพราะฟตุ บอลเปน ของโรงเรียน ง. ทําไมถกู ตอ ง เพราะเหน็ แกต ัว 4. เด็กหญิงสมศรีมาโรงเรียนแตเชาทุกวันเพื่อชวยพอตนเองทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน นักเรยี นคิดวา สมศรีทําดวยเหตผุ ลอะไรจงึ ถูกตอง ก. เด็กหญิงสมศรที าํ เพอ่ื พอ ทีต่ นรัก ข. เด็กหญิงสมศรที ําเพอื่ ตนเองจะไดมาโรงเรยี นเชา ค. เดก็ หญงิ สมศรีทาํ เพ่อื ชวยพอดูแลความสะอาดใหโรงเรียน ง. เดก็ หญิงสมศรีทําเพอื่ อวดเพ่อื นใหชน่ื ชมตนเอง สุจริต คดิ ฐานสอง 17
5. เด็กชายยอดรักสอบเรียนตอโรงเรียนประจําจังหวัดไมได ผูปกครองจึงขอพบผูอํานวยการ โรงเรยี นและบรจิ าคเงนิ เพอื่ ใหเ ดก็ ชายยอดรกั ไดเ ขา เรยี นตอ การกระทาํ ของพอ เดก็ ชายยอกรกั ถูกตอ งหรือไม ก. ถกู ตอ ง เพราะพอบริจาคเงินเพื่อใหลกู ไดเรียน ข. ถกู ตอ ง เพราะพอบรจิ าคเงนิ เพือ่ ชว ยเหลือโรงเรยี น ค. ไมถ กู ตอ ง เพราะจะทาํ ใหล กู ไมรจู กั ชวยเหลือตนเอง ง. ไมถ ูกตอ ง เพราะเปนการตดิ สินบนโรงเรยี น 6. เม่อื นักเรยี นพบเหน็ วามีนักเรยี นกระทาํ ผดิ โดยหนเี รียนไปเทีย่ ว นักเรยี นจะทาํ อยางไร ก. เฉย ไมตองทาํ อะไรเพราะไมใชหนาทขี่ องเรา ข. ชวยกนั ปกปด ไมบ อกใหใ ครทราบ ค. แจงใหค รูเวรประจาํ วันทราบ ง. เขา ไปวา กลา วตกั เตือนมใิ หก ระทาํ ผดิ ตอ ไป 7. เมอื่ นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตติ นไดถูกตอ งตามกฎระเบียบของโรงเรียนจะมีความรูสึกอยา งไร ก. รสู กึ ภูมใิ จในตนเองมาก เพราะจะไดมีผูคนยกยอง ข. รสู ึกวา ตนเองเปนคนมคี า ทส่ี ามรถทาํ ไดดีกวาคนอน่ื ค. รูสกึ เปนหนาที่ทตี่ องปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บของโรงเรยี น ง. เฉยๆ ไมมคี วามรูสกึ อยา งไร 8. เมอ่ื ตอ งเลอื กระหวา งประโยชนส าธารณะกบั ประโยชนส ว นบคุ คล นกั เรยี นจะเลอื กทาํ อยา งไร ก. เลือกประโยชนสวนบุคคลกอน เพื่อสรางความสุขใหตนเองเปนลําดับแรก ข. เลือกประโยชนสาธารณะกอน เพราะจะไดชอื่ วาเปน บคุ คลทเ่ี สียสละ ค. เลอื กประโยชนสวนบคุ คลกอ น เพราะธรรมชาติของมนุษยทีต่ องทําให ตนเองสมบูรณก อนท่ีจะเผอ่ื แผไ ปยังผอู ืน่ ง. เลอื กประโยชนส าธารณะกอ น เพราะประโยชนส าธารณะตอ งมากอน ประโยชนสวนบคุ คล 18 สุจรติ คิดฐานสอง
9. ครสู ดุ าสอนนกั เรยี นชนั้ ป.6 ดว ยความตงั้ ใจอยา งเตม็ ความสามารถทกุ วนั พรอ มทง้ั สอนพเิ ศษ เพ่มิ ใหน ักเรยี นหลังเลิกเรยี น โดยไมค ิดคา ตอบแทน นกั เรยี นคดิ วาครสู ุดาทาํ อยางนเ้ี พราะเหตุ ใดจึงถูกตอง ก. ครูสดุ ารักนกั เรยี น ข. ครูสดุ าอยากใหผลการทดสอบทางการศึกษาของนักเรียนสงู ขึ้น ค. ครูสดุ าเสยี สละเพอื่ ชว ยเหลือนกั เรยี น ง. ครูสุดาตองการใหผ ูอน่ื ชม 10. นกั เรยี นชนั้ ป.4 ชว ยกนั กาํ หนดระเบยี บของหอ งเรยี นเพอ่ื ใหท กุ คนถอื ปฏบิ ตั ิ เปน การกระทาํ ทีด่ ีหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ก. ดี เพราะไมเ หมอื นชน้ั อนื่ ข. ดี เพราะจะไดป ฏบิ ัติถกู ตองตรงกันตามทีต่ กลงกนั ไว ค. ไมดี เพราะมรี ะเบียบของโรงเรยี นอยแู ลว ง. ไมดี เพราะมคี วามยุงยาก เกณฑก์ ารตดั สนิ พฤติกรรม ช่วงคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เดก็ มพี ฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมมากกวา สว นบุคคล 6–8 เด็กมีพฤตกิ รรมคอ นขา งเห็นแกประโยชนส ว นรวมมากกวา สวนบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤติกรรมคอนขา งเหน็ แกประโยชนสวนบคุ คลมากกวา สวนรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สว นรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนตํ่ากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครง้ั จนกวาระดับคะแนนพฤติกรรมมากกวา 5 คะแนนขึ้นไป สุจรติ คิดฐานสอง 19
แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ยี วกบั ระบบความคิดของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน 2. ให้นกั เรยี นเขียนคาํ ตอบท่ตี รงกับความคดิ ของนักเรยี นมากท่ีสดุ 1. นักเรียนเห็นเพื่อนๆ นําโทรศัพทสวนตัวมาชารจแบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน นักเรียนคิดวา เหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 2. “การรับจางทาํ รายงานเปนเรอ่ื งปกติ เพราะใครๆกท็ าํ กนั ทงั้ น้ัน” นักเรียนเหน็ ดว ย หรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 3. นกั เรยี นรสู กึ อยางไรเมื่อเห็นเพือ่ นๆ ลอกขอสอบหรอื ลอกการบานอยเู ปน ประจาํ ตอบ............................................................................................................................................ 4. จากคํากลาวที่วา “ฉันพรอมที่จะยอมรับผิดถาทําผิด” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 5. การใชน ้าํ ประปาของโรงเรยี นลางรถจกั รยานยนตข องตนเอง นักเรียนคดิ วาเปนการกระทํา ที่เหมาะสมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 6. นักเรียนเขาไปคนหาขอมูลในหองสมุดเพื่อทํารายงาน แตไมอยากยืมหนังสือจึงฉีกหนังสือ เฉพาะหนาท่ีจําเปน ตอ งใช การกระทําดังกลา วถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 20 สุจรติ คิดฐานสอง
7. มีคํากลาวท่ีวา “ทุจริตบางไมเปนไรถาเราไดประโยชน” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 8. การวางแผงขายของบนทางเทาของพอคา/แมคา เปนสิ่งที่สมควรกระทําหรือไม เพราะ เหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 9. นักเรยี นเหน็ ดวยกบั การรบั จางสอนพิเศษของครู หรอื ไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 10. จากคํากลาวที่วา “การปองกันการทุจริตคอรรัปชันเปนเร่ืองของผูใหญ ไมเก่ียวกับ เด็กและเยาวชน” นกั เรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ สจุ ริต คดิ ฐานสอง 21
เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกบั ระบบความคดิ ของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 2. แต่ละคาํ ตอบมีคะแนนแตกตา่ งกัน 1. นักเรยี นเหน็ เพ่ือนๆ นาํ โทรศพั ทสวนตวั มาชารจ แบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน นกั เรียนคิดวา เหมาะ สมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเหมาะสม เนือ่ งจากการกระทําดงั กลาวเปนการเห็นแกป ระโยชนส ว นตวั ทําให โรงเรียนตอ งมีภาระคา ใชจายเพิ่มมากขึ้นจากการนาํ โทรศพั ทสว นตัวมาชารจ แบตเตอร่ี 2. “การรับจา งทํารายงานรายงานเปน เรื่องปกติ เพราะใครๆก็ทํากันทงั้ นนั้ ” นกั เรียนเห็นดว ย หรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเหน็ ดวย เน่ืองจากคนทร่ี บั จางมุงแตป ระโยชนตนเองเปน หลกั เพราะการรับจา งทาํ รายงานมงุ แตห ารายไดแ ละเปน การสง เสรมิ ใหค นทจี่ า งขาดความรแู ละความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ และ ความรับผิดชอบในหนาที่และการทํารายงานเปนหนาที่ของนักเรียนทุกคนท่ีมีความรับผิดชอบ หนาทีข่ องตนเอง 3. นกั เรียนรูสกึ อยางไรเมอ่ื เหน็ เพือ่ นๆ ลอกขอสอบหรอื ลอกการบา นอยูเปน ประจํา ตอบ รสู กึ ไมเ หน็ ดว ย เพราะเปน การกระทาํ ทเ่ี อารดั เอาเปรยี บผอู น่ื ไมใ ชค วามรคู วามสามารถ ของตนเอง เห็นแกประโยชนสวนตัวเปน หลัก ทําใหข าดความรู ความวริ ิยะ อุตสาหะ และความ รบั ผิดชอบในหนา ที่ 4. จากคาํ กลา วท่ีวา “ฉนั พรอมทีจ่ ะยอมรบั ผดิ ถาทําผิด” นักเรยี นเห็นดว ยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ เห็นดวย เพราะแสดงใหเ หน็ ถงึ ความรับผิดชอบ เมื่อทาํ ผดิ ตอ งรูสาํ นึก ทกุ คนสามารถ ทาํ ผดิ ได แตท ี่สาํ คญั ตนเองตอ งรจู กั ปรบั ปรงุ แกไขขอ ผดิ พลาดน้ัน 22 สจุ ริต คดิ ฐานสอง
5. การใชนา้ํ ประปาของโรงเรยี นลา งรถจกั รยานยนตข องตนเอง นักเรียนคิดวา เปนการกระทํา ทเี่ หมาะสมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเหมาะสม เพราะเปนการนําทรัพยสินของโรงเรียนมาใชเพื่อประโยชนสวนตวั โดย ไมจ าํ เปน ทาํ ใหโ รงเรียนตองจายคาน้ําประปาเพม่ิ เตมิ 6. นักเรยี นเขา ไปคนหาขอ มลู ในหองสมุดเพอื่ ทํารายงาน แตไ มอยากยมื หนงั สอื จึงฉีกหนังสือ เฉพาะหนาท่จี าํ เปน ตองใช การกระทาํ ดงั กลา วถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมถกู ตอง เพราะเปน การกระทาํ ทีท่ ําใหทรัพยสินของโรงเรยี นเสียหายโดยทรพั ยส นิ ของโรงเรยี นตอ งใชเ พอื่ สว นรวม เหน็ แกป ระโยชนส ว นตนมากกวา ประโยชนสว นรวม ทาํ ใหผ อู น่ื ไมสามารถใชประโยชนจากหนงั สอื ดงั กลาว 7. มีคํากลาวที่วา “ทุจริตบางไมเปนไรถาเราไดประโยชน” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดว ย เพราะการทจุ ริตเปนการกระทําท่ผี ิดกฎหมาย ถงึ แมวาเราจะไดป ระโยชน แตส ว นรวมก็เสียหาย 8. การวางแผงขายของบนทางเทาของพอคา/แมคา เปนส่ิงท่ีสมควรกระทําหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมค วรกระทาํ เพราะทางเทา เปนทางสาธารณะเพ่ือประโยชนส ว นรวมใหป ระชาชน ใชส ญั จรใหเ กดิ ความปลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตบุ นทอ งถนน การวางแผงขายของบนทางเทา เปน การ ขวางทางสัญจรของประชาชนจะทําใหป ระชาชนตองไปเดนิ บนถนนอาจกอใหเ กดิ อุบตั เิ หตุได 9. นกั เรยี นเห็นดว ยกบั การรับจางสอนพิเศษของครูหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเห็นดวย เนอ่ื งจากครูตอ งไมเลอื กปฏบิ ัติตอนกั เรียนไมวา จะเรียนพิเศษหรือไม โดย ยดึ ประโยชนส ว นรวมของนกั เรยี นเปน หลกั มากกวา ประโยชนส ว นตนจากการไดร บั คา ตอบแทน 10. จากคํากลาวท่ีวา “การปอ งกันการทจุ รติ คอรรปั ชนั เปน เรอ่ื งของผูใหญ ไมเ กยี่ วกับเด็ก และเยาวชน” นักเรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเห็นดวย เนื่องจากการปองกันและแกไขการปญหาทุจริตเปนหนาที่ของทุกคน ทีจ่ ะตอ งชวยกันโดยเร่มิ ตนทตี่ นเอง สุจรติ คดิ ฐานสอง 23
เกณฑ์การตัดสนิ พฤติกรรม ชว่ งคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนรวมมากกวาสว นบคุ คล 6–8 เดก็ มพี ฤติกรรมคอนขา งเห็นแกป ระโยชนสวนรวมมากกวา สวนบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤติกรรมคอนขางเหน็ แกป ระโยชนสวนบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส ว นบคุ คลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนตํ่ากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อีกคร้งั จนกวา ระดับคะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนขึ้นไป 24 สุจริต คิดฐานสอง
แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคดิ ของนกั เรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน 2. ใหน้ กั เรยี นเขยี นคาํ ตอบทต่ี รงกบั ความคดิ ของนกั เรยี นมากทส่ี ดุ 1. นกั เรยี นจะไมช อบคบกบั เพอื่ นทเ่ี ปน คนซอื่ สตั ย เพราะจะทาํ ใหต นเองตอ งถกู จาํ กดั ดว ยกรอบ ของระเบียบตลอดเวลา ทําใหขาดความเปนอิสระในการใชชีวิต นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................. 2. นกั เรยี นมคี วามเชอื่ วา “การขบั รถแมจ ะผดิ กฎจราจรบา ง แตห ากทาํ ใหป ระหยดั เวลาและ ถงึ ทหี่ มายกอ นใครก็ถือวา ดที ่สี ดุ แลว ” นกั เรยี นเห็นดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. 3. คําวาคณุ ธรรมสาํ หรบั นักเรียน หมายความวา ผใู ดกระทําดตี อ งไดร บั ความดีตอบแทน แตถา หากกระทาํ ชว่ั ควรไดรบั ความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาํ ไปเพราะความจาํ เปนบางอยา ง เพอื่ ความอยรู อดของชวี ิต นักเรียนเห็นดว ยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. 4. นกั เรยี นจะยกยองบุคคลท่ที าํ บุญทําทานดวยจํานวนเงนิ มากๆ โดยไมต องสนใจวา เขาหาเงิน ไดม าดวยวธิ ีทถี่ ูกตองสุจริตหรอื ไม นกั เรยี นเหน็ ดว ยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................. 5. เด็กชายตองหนีออกจากบานโดยข่ีรถจักรยานยนตเพื่อเดินทางเขากรุงเทพฯ ระหวางทาง เจอดา นตรวจเดก็ ชายตอ งกลวั จะโดนตาํ รวจจบั จงึ โกหกวา เดนิ ทางมาตามหาพช่ี ายเนอื่ งจากพอ เสียชวี ติ นกั เรียนเห็นดว ยกบั การกระทาํ ของเดก็ ชายตอ งหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. สุจริต คดิ ฐานสอง 25
6. นกั เรียนไดแอบนาํ โทรศพั ทม าใชท ่ีโรงเรียน เน่อื งจากมีความจําเปนตองตดิ ตอกับผูปกครอง แตบ งั เอญิ โทรศพั ทแ บตเตอรหี่ มด ในชว งพกั กลางวนั จงึ ขน้ึ มาบนอาคารเรยี นเพอื่ ชารจ แบตเตอรี่ โทรศัพท เพราะกลัววาจะไมสามารถติดตอกับผูปกครองได นักเรียนคิดวาเปนการกระทําที่ ถกู ตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 7. ครูสมหมายมักจะใชเวลาวางจากชั่วโมงสอนทําธุรกิจขายตรงผานโปรแกรมไลนใน คอมพิวเตอรของโรงเรียน เพ่ือเปนการหารายไดเสริม เน่ืองจากลูกกําลังเขาเรียนตอใน มหาวิทยาลัยตองใชเงินจํานวนมาก นักเรียนคิดวาครูสมหมายทําถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 8. เด็กชายสมบัติมาโรงเรียนพรอมกับคุณพอโดยรถยนตที่มีตราของคณะแพทยศาสตรมา รับ-สงที่ประตูทางเขาโรงเรียนทุกวัน นักเรียนคิดวาการกระทําดังกลาวสมควรหรือไม เพราะ เหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 9. คนขับรถโรงเรียนเปนคนขยัน จะลางรถของผูอํานวยการโรงเรียนเปนประจํา โดยใชน้ําใน โรงเรยี น นักเรียนคดิ วา คนขบั รถโรงเรียนทาํ ถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 10. สมชายเปน บตุ รของคณุ ครสู ายสมร ตอนเยน็ หลงั เลกิ เรยี นสมชายตอ งไปนง่ั รอคณุ ครสู ายสมร ในหองพักครู โดยนั่งเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับอากาศ นักเรียนคิดวาสมชายทํา ถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 26 สุจรติ คดิ ฐานสอง
เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ยี วกบั ระบบความคดิ ของนักเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน 2. ใหน้ กั เรยี นเขยี นตอบคาํ ถามทต่ี รงกบั ความคดิ ของนกั เรยี นมากทส่ี ดุ 1. นกั เรยี นจะไมช อบคบกบั เพอ่ื นทเ่ี ปน คนซอื่ สตั ย เพราะจะทาํ ใหต นเองตอ งถกู จาํ กดั ดว ยกรอบ ของระเบียบตลอดเวลา ทําใหขาดความเปนอิสระในการใชชีวิต นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเหน็ ดว ย เพราะความซ่อื สตั ยเปนลักษณะนสิ ัยของบุคคลท่พี งึ มี อกี ทั้งการปฏบิ ัติ ตามกรอบของระเบยี บกฎหมาย ซง่ึ เปน กตกิ าในการปฏบิ ตั ติ อ กนั ในสงั คม เพอื่ ใหเ กดิ ความสงบ เรยี บรอยในบา นเมือง 2. นกั เรยี นมคี วามเชอื่ วา “การขบั รถแมจ ะผดิ กฎจราจรบาง แตห ากทาํ ใหป ระหยดั เวลาและ ถึงท่หี มายกอนใครก็ถือวาดที สี่ ุดแลว” นักเรยี นเหน็ ดว ยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดว ย เพราะกฎจราจรเปน กฎหมายเพอ่ื ปอ งกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละสรา งความปลอดภยั บนถนน การขับรถผิดกฎจราจรทําใหเกิดอุบัติเหตุกับบุคคลอื่นได เปนการกระทําท่ีเห็นแก ประโยชนส วนตัวมากกวา ประโยชนสว นรวม 3. คาํ วา คุณธรรมสาํ หรับนักเรียน หมายความวาผูใ ดกระทาํ ดีตองไดร บั ความดีตอบแทน แตถ า หากกระทาํ ชวั่ ควรไดร บั ความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาํ ไปเพราะความจาํ เปน บางอยา ง เพอ่ื ความอยรู อดของชวี ติ นกั เรยี นเหน็ ดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ 1. เห็นดวยกับ “คุณธรรมสําหรับนักเรียน” เพราะผูใดกระทําดีตองไดรับความดี ตอบแทน แมอ าจไมไดร บั ผลตอบแทนอยางฉบั พลนั หรือเปน รูปธรรม แตอ ยางนอยก็ภมู ใิ จใน ตนเองที่ไดกระทําความดแี มไ มม ีใครรเู หน็ หรอื ไดรบั การช่ืนชม 2. ไมเห็นดวย กับประโยคทวี่ า “การกระทําช่วั ควรไดรบั ความเห็นใจสงสาร เพราะความ จําเปนบางอยางเพอ่ื ความอยรู อดของชีวติ ” เนือ่ งจากการกระทําชั่วกบั การกระทําเพราะความ จาํ เปน ตอ งแยกออกจากกนั หากตอ งตดั สนิ ใจทาํ สง่ิ ใดในเรอ่ื งทจ่ี าํ เปน หรอื ความอยรู อดของชวี ติ หรือเร่ืองอืน่ ใดก็ตาม ตองยดึ หลกั ความถูกตอ งเปน ท่ีต้ัง ไมทําใหผ อู ื่นไดร บั ความเดือดรอน สุจริต คดิ ฐานสอง 27
4. นกั เรยี นจะยกยอ งบคุ คลทที่ าํ บญุ ทาํ ทานดว ยจาํ นวนเงนิ มากๆ โดยไมต อ งสนใจวาเขาหาเงนิ ไดม าดว ยวธิ ีท่ถี ูกตองสุจรติ หรอื ไม นักเรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดวย เพราะการทําบญุ ทําทานไมข ึน้ อยูกับจํานวนเงนิ ที่บริจาค หากนําเงิน หรือทรัพยสินที่ไดจากการทุจริต มาสรางประโยชนในสังคมก็ไมควรไดรับการยกยอง ในทาง กลบั กนั หากทาํ บญุ ทาํ ทานดว ยเงนิ เพยี งเลก็ นอ ยแตห ามาดว ยความถกู ตอ งซอื่ สตั ยส จุ รติ ควรได รบั การยกยอ ง 5. เด็กชายตองหนีออกจากบานโดยข่ีรถจักรยานยนตเพื่อเดินทางเขากรุงเทพฯ ระหวางทาง เจอดานตรวจเด็กชายตองกลัวจะโดนตํารวจจับจึงโกหกวา เดินทางมาตามหาพ่ีชายเนื่องจาก พอ เสียชีวิต นักเรยี นเห็นดว ย กับการกระทาํ ของเด็กชายตอ งหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ ห็นดว ย เพราะตามกฎหมายกําหนดใหผ ทู ี่ขับข่ีรถจักรยานยนตบนทองถนนได น้ัน ตองมีใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต โดยเด็กชายตองไดฝาฝนขอบังคับของกฎหมาย ซง่ึ อาจกอ ใหเ กดิ อบุ ตั เิ หตตุ อ ตนเองหรอื ผสู ญั จรไปมา เปน การเหน็ แกป ระโยชนส ว นตนเปน หลกั และการโกหกเพ่ือใหตนเองพนจากความรับผิด เปนการแสดงออกถึงการไมซื่อสัตยสุจริต ไมม ีความรบั ผิดชอบในสง่ิ ท่ตี นไดก ระทําลงไป 6. นักเรียนไดแอบนําโทรศัพทม าใชท่โี รงเรยี น เนื่องจากมคี วามจําเปน ตอ งติดตอ กบั ผปู กครอง แตบ งั เอญิ โทรศพั ทแ บตเตอรห่ี มด ในชว งพกั กลางวนั จงึ ขน้ึ มาบนอาคารเรยี นเพอื่ ชารจ แบตเตอร่ี โทรศัพท เพราะกลัววาจะไมสามารถติดตอกับผูปกครองได นักเรียนคิดวาเปนการกระทํา ที่ถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมถ กู ตอ ง เนอ่ื งจากการกระทาํ ดงั กลา วเปน การเหน็ แกป ระโยชนส ว นตวั ทาํ ใหโ รงเรยี น ตองมีภาระคาใชจายเพ่ิมมากขึ้นจากการนําโทรศัพทสวนตัวมาชารจแบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน หากมคี วามจาํ เปน ในการตดิ ตอสอื่ สารกบั ผปู กครองอยางยง่ิ อาจใชโทรศพั ทส าธารณะ หรอื ยมื โทรศพั ทเพือ่ น ครใู นการติดตอ เปน ตน 28 สุจรติ คดิ ฐานสอง
7. ครูสมหมายมักจะใชเวลาวางจากชั่วโมงสอนทําธุรกิจขายตรงผานโปรแกรมไลนใน คอมพิวเตอรของโรงเรียน เพ่ือเปนการหารายไดเสริม เน่ืองจากลูกกําลังเขาเรียนตอใน มหาวิทยาลัยตอ งใชเ งนิ จาํ นวนมาก นักเรียนคิดวา ครสู มหมายทําถกู ตองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ทําไมถูกตอง เพราะเปนการนําทรัพยสินของโรงเรียนมาใชในประโยชนสวนตน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร สัญญาณอินเตอรเน็ต ซ่ึงทํางานดวยกระแสไฟฟาของโรงเรียน ทาํ ใหโ รงเรยี นมีภาระคาใชจ ายสงู ข้นึ และเปน การเบยี ดบงั เวลาราชการ เน่ืองจากยังอยูในเวลา ปฏิบัติหนาท่ีราชการ จึงควรที่จะเอาเวลาวางจากช่ัวโมงสอนในการพัฒนาการศึกษาหลักสูตร การเรยี นการสอนหรือท่เี ปน ประโยชนตอสว นรวม 8. เด็กชายสมบัติมาโรงเรียนพรอมกับคุณพอโดยรถยนตที่มีตราของคณะแพทยศาสตรมา รับ-สงท่ีประตูทางเขาโรงเรียนทุกวัน นักเรียนคิดวาการกระทําดังกลาวสมควรหรือไม เพราะ เหตใุ ด ตอบ ไมส มควร เพราะเปนการนําทรัพยสินทางราชการมาใชในประโยชนส วนตัว ซึ่งการใช รถยนตข องทางราชการตองใชในกจิ การของหนวยงานและตองเปนงานทางราชการเทานนั้ และ เปนความผดิ ตามกฎหมาย 9. คนขับรถโรงเรียนเปนคนขยัน จะลางรถของผูอํานวยการโรงเรียนเปนประจํา โดยใชน้ําใน โรงเรียน นักเรียนคดิ วา คนขับรถโรงเรยี นทาํ ถกู ตองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมถูกตอง เพราะเปนการนํานํ้าประปาของโรงเรียนซ่ึงเปนทรัพยสินของโรงเรียน มาลา งรถยนตข องผอู าํ นวยการโรงเรยี นซง่ึ เปน ทรพั ยส นิ สว นตวั เปน การนาํ ทรพั ยส นิ ทางราชการ มาใชประโยชนส วนตน ทาํ ใหโรงเรียนตองจายคา น้ําประปาเพม่ิ ขน้ึ 10. สมชายเปน บตุ รของคณุ ครสู ายสมร ตอนเยน็ หลงั เลกิ เรยี นสมชายตอ งไปนง่ั รอคณุ ครสู ายสมร ในหองพักครู โดยน่ังเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับอากาศ นักเรียนคิดวาสมชายทํา ถูกตองหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมถูกตอ ง เพราะคอมพิวเตอรแ ละเคร่ืองปรบั อากาศเปน ทรัพยสนิ ของโรงเรียนตอ งใช ในงานราชการเทาน้ัน การที่คุณครูสายสมรใหสมชายนั่งเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับ อากาศในหอ งพกั ครู ระหวางรอคณุ ครสู ายสมร เปน การใชทรพั ยข องทางราชการเพอ่ื ประโยชน สวนตวั ทําใหโ รงเรยี นตองมภี าระคา ใชจ า ยเพมิ่ ข้นึ สุจรติ คิดฐานสอง 29
เกณฑ์การตัดสนิ พฤติกรรม ชว่ งคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส วนรวมมากกวาสวนบุคคล 6–8 เดก็ มพี ฤติกรรมคอ นขา งเหน็ แกประโยชนส ว นรวมมากกวา สว นบุคคล 3–5 เด็กมีพฤติกรรมคอ นขา งเห็นแกป ระโยชนส วนบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนต่ํากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครง้ั จนกวาระดับคะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนขน้ึ ไป 30 สุจริต คิดฐานสอง
เรยี นรู้อยา่ งเข้าใจมอี ะไรใน “ระบบคดิ ฐานสอง” ระบบการคดิ ทส่ี รา งปญ หาใหแ กส งั คม คอื ระบบการคดิ ทไี่ มส ามารถแยกเรอื่ งประโยชน สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมออกจากกันใหไดอยางชัดเจน โดยมักจะนําประโยชนสวน บคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั นาํ ประโยชนส ว นรวมมาเปน ประโยชนส ว นบคุ คล เหน็ แกประโยชนสวนบุคคลเปนหลัก เห็นแกประโยชนของเครือญาติและพวกพองสําคัญกวา ประโยชนของประเทศชาติ ระบบการคิดดงั กลาวจึงเปนตน เหตสุ ําคัญทีจ่ ะนาํ ไปสูก ารทุจรติ ระบบเลข “ฐานสบิ ” (decimal number system) เปน ระบบเลขที่มีตวั เลข 10 ตวั คือ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 เปน ระบบคิดเลขท่ีเราใชใ นชีวิตประจําวนั กันมาตัง้ แต จาํ ความกันได ไมวาจะเปนการใชบอกปริมาณหรือบอกขนาด ชว ยใหเ กิดความเขาใจทต่ี รงกัน ในการส่อื ความหมาย สอดคลอ งกบั ระบบ “Analog” ทใี่ ชค าตอเน่ืองหรือสัญญาณซึ่งเปน คา ตอ เน่ือง หรอื แทนความหมายของขอมลู โดยการใชฟ ง กชนั ทีต่ อ เน่ือง (Continuous) แผนภาพ แสดงระบบเลข “ฐานสบิ ” (decimal number system) เปนระบบเลขทม่ี ตี วั เลข 10 ตัว และระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) เปน ระบบเลขท่ีมสี ัญลักษณ เพียงสองตัว คือ 0 (ศนู ย) กับ 1 (หนง่ึ ) สอดคลองกับการทาํ งานระบบ Digital ทม่ี ีลกั ษณะ การทํางานภายในเพียง 2 จงั หวะ คอื 0 กับ 1 หรอื ON กับ OFF (Discrete) ตดั เด็ดขาด 01 แผนภาพแสดงระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) เปนระบบเลขท่ีมสี ัญลักษณเ พยี งสองตัว จากที่กลาวมาเม่ือนําระบบเลข “ฐานสิบ” และระบบเลข “ฐานสอง” มาปรับใช เปนแนวคิด คือระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” และระบบคิด “ฐานสอง (Digital)” จะเห็นไดวา สจุ ริต คดิ ฐานสอง 31
1. ระบบคิดฐานสิบ (Analog) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีมีตัวเลขหลายตัว และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกไดหลายทาง เกิดความคิดที่หลากหลาย ซับซอน หากนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ จะทําใหเจาหนาท่ี ของรฐั ตอ งคดิ เยอะ ตอ งใชด ลุ ยพนิ จิ เยอะ อาจจะนาํ ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม มาปะปนกนั ได แยกประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสว นรวมออกจากกันไมไ ด “การปฏิบัติงานแบบใชระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ การที่เจาหนาท่ีของรัฐ ยังมีระบบการคิดที่ยังแยกเรื่องตําแหนงหนาที่กับเรื่องสวนตนออกจากกันไมได นําประโยชน สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไมอ อกวาสิ่งไหนคือประโยชน สวนบุคคลสิ่งไหนคือประโยชนสวนรวม นําบุคลากรหรือทรัพยสินของราชการมาใชเพ่ือ ประโยชนสวนบุคคล เบียดบังราชการ เห็นแกประโยชนสวนบุคคล เครือญาติ หรือพวกพอง เหนอื กวา ประโยชนข องสว นรวมหรอื ของหนว ยงาน จะคอยแสวงหาประโยชนจ ากตาํ แหนง หนา ท่ี ราชการ กรณเี กดิ การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม จะยดึ ประโยชน สวนบคุ คลเปนหลัก 32 สจุ ริต คดิ ฐานสอง
2. ระบบคิดฐานสอง (Digital) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสอง(Digital)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีสามารถเลือกไดเพียง 2 ทางเทาน้ัน คือ 0 (ศูนย) กับ 1 (หนึ่ง) และอาจหมายถึงโอกาส ทจี่ ะเลอื กไดเพียง 2 ทาง เชน ใช กบั ไมใ ช, จรงิ กบั เท็จ, ทําได กับ ทาํ ไมไ ด, ประโยชน สว นบคุ คล กบั ประโยชนส ว นรวม เปน ตน จงึ เหมาะกบั การนาํ มาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั งิ าน ของเจา หนา ทข่ี องรฐั ทต่ี อ งสามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทกี่ บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา ง เดด็ ขาด และไมก ระทาํ การทเี่ ปน การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม “การปฏิบัติงานแบบใชระบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การท่ีเจาหนาท่ีของรัฐ มรี ะบบการคดิ ทส่ี ามารถแยกเรอื่ งตาํ แหนง หนา ทกี่ บั เรอื่ งสว นบคุ คลออกจากกนั ไดอ ยา งชดั เจน วาสิ่งไหนถูกส่ิงไหนผิด สิ่งไหนทําไดส่ิงไหนทําไมได สิ่งไหนคือประโยชนสวนบุคคลสิ่งไหน คือประโยชนสวนรวม ไมนํามาปะปนกัน ไมนําบุคลากรหรือทรัพยสินของราชการมาใชเพ่ือ ประโยชนส ว นบคุ คล ไมเ บยี ดบงั ราชการ เหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมหรอื ของหนว ยงานเหนอื กวา ประโยชนของสวนบุคคล เครือญาติ และพวกพอง ไมแสวงหาประโยชนจากตําแหนงหนาที่ ราชการ ไมร ับทรัพยสินหรือประโยชนอ ื่นใดจากการปฏิบัติหนา ที่ กรณีเกิดการขัดกันระหวา ง ประโยชนสวนบุคคลและประโยชนส ว นรวม กจ็ ะยดึ ประโยชนส วนรวมเปน หลกั สจุ ริต คิดฐานสอง 33
เครดิต: ศนู ยป ฏิบัตกิ ารตอ ตานการทจุ รติ กระทรวงสาธารณสขุ 34 สุจริต คดิ ฐานสอง
สจุ รติ คิดฐานสอง 35
3. ความแตกตา่ งของ “จรยิ ธรรม (Ethics)” และ “การทุจริต (Corruption)” จรยิ ธรรมเปน บรรทดั ฐานทถี่ กู สรา งขน้ึ แลว นาํ ไปใชก บั บคุ คลเปน แนวทางทค่ี นในสงั คม เหน็ พอ งตอ งกนั วา เปน ความดคี วามงาม เปน สงิ่ ทก่ี ระทาํ แลว คนอน่ื เกดิ ประโยชนม คี วามสขุ สงบ เกิดขน้ึ แกคนท่ีอยรู วมกนั เปน หมคู ณะ มีผใู หความหมายของจริยธรรม ไวดังนี้ พิภพ วชังเงิน (2545, หนา 7) กลาววา จริยธรรม หมายถึงการปฏิบัติสิ่งท่ีดีงาม เปนทยี่ อมรบั ของสังคม พระราชชัยกวี (อางใน ภิกขุพุทธทาส อินทปญโญ 2548, หนา 14) กลาววา จริยธรรมเปนสิ่งพึงประพฤติจะตองประพฤติสวนศีลธรรมน้ันคือ ส่ิงท่ีกําลังประพฤติอยูหรือ ประพฤตดิ แี ลว ราชบัณฑติ ยสถาน (2546) ไดใหค วามหมายคําวา จรยิ ธรรม วาหมายถงึ ธรรมทเ่ี ปน ขอ ประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม สรปุ ไดว า “จรยิ ธรรม” เปน สง่ิ ทดี่ งี ามทบี่ คุ คลพงึ ปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหเ ปน ทย่ี อมรบั ของสงั คม การทจุ ริตในวงราชการถือเปน ภัยรายแรงทีค่ ุกคามความมน่ั คงของประเทศ ซึง่ หลาย คนอาจจะมองวา ไมส าํ คญั เพราะอาจคดิ วา ไมใ ชป ญ หาของตวั เองและเปน เรอ่ื งทไ่ี กลตวั แตห าก พิจารณาแลว จะพบวาปญหาการทุจริตเปนสิ่งท่ีเกี่ยวพันกับชีวิตของประชาชนอยางมาก มผี ูใหความหมายของการทุจริต ไวด ังน้ี ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ไดใหค วามหมายของคําวา ทจุ รติ หมายถึง ประพฤติช่วั คดโกง ไมซ ื่อตรง ประมวลกฎหมายอาญาใหคํานิยามไวในมาตรา 1(1) ไดกลาวไววา โดยทุจริต หมายความวา “เพอ่ื แสวงหาประโยชนท มี่ คิ วรไดโ ดยชอบดว ยกฎหมายสาํ หรบั ตนเองหรอื ผอู นื่ ” พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ไดกลา วไวว า “ทจุ ริตตอ หนา ท”ี่ หมายความวา การปฏบิ ัติหรอื ละเวนการ ปฏบิ ตั อิ ยา งใดในพฤตกิ ารณท อ่ี าจทาํ ใหผ อู น่ื เชอื่ วา มตี าํ แหนง หนา ทท่ี งั้ ทต่ี นมไิ ดม ตี าํ แหนง เหนอื หนาที่นั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาท่ี ทั้งน้ีเพ่ือแสวงหาประโยชนท ่ีมิควรไดโ ดยชอบ สาํ หรับตนเองหรอื ผูอน่ื 36 สจุ ริต คดิ ฐานสอง
อุดม รัฐอมฤต (2546) อธิบายวา การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ เปน เรอื่ งของการใชอ าํ นาจหรอื อทิ ธพิ ลในตาํ แหนง หนา ทรี่ าชการเพอื่ ประโยชนส ว นตวั เนอ่ื งจาก เจา หนาทขี่ องรัฐเปนผูไ ดรบั มอบหมายใหมอี ํานาจกระทาํ การตา งๆ แทนรฐั โดยมวี ตั ถุประสงค เพื่อใหเปนผูรักษาประโยชนรวมกันของมหาชน อํานาจเหลาน้ีไมไดผูกติดกับตัวบุคคล แตมา จากสถานภาพ การเปนเจาหนาทข่ี องรัฐซง่ึ เปนกลไกของรฐั บาลในการดําเนนิ งานเพอ่ื สวนรวม ดังนั้นการท่ีเจาหนาที่ของรัฐมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปเพื่อประโยชนสวนตัว ญาติพี่นอง พรรคพวกหรือเห็นแกความม่ังค่ังและสถานภาพที่จะไดรับหรือทําใหเกิดความเสียหาย แกผ หู นง่ึ ผใู ด หรอื ราชการ ตอ งถือวา เปนการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบในวงราชการ สรปุ ไดว า “การทจุ ริต” เปนการประพฤติทีไ่ มซ ่ือตรงโดยใชต าํ แหนงหนาทรี่ าชการ แสวงหาประโยชนสวนบุคคล ญาติพ่ีนอง หรือพรรคพวก ซ่ึงทําใหเกิดความเสียหาย แกผ ูห นงึ่ ผูใด หรอื สวนรวม จากความหมายของจริยธรรมและการทุจริต จะเห็นไดวามีความแตกตางกัน อยางเห็นไดชัด ท้ังนี้เพราะจริยธรรมเปนส่ิงท่ีดีงามท่ีบุคคลพึงปฏิบัติเพ่ือใหเปนที่ยอมรับ ของสังคม ซ่ึงเจาหนาที่ของรัฐควรยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัดเพื่อเปนกรอบในการควบคุม พฤตกิ รรมการทาํ งาน สว นการทจุ รติ เปน สงิ่ ทเ่ี จา หนา ทข่ี องรฐั ไมพ งึ ปฏบิ ตั เิ พราะเปน พฤตกิ รรม ที่ขัดตอจริยธรรมและกฎหมาย ถือเปนความผิดข้ันรายแรงและสังคมสวนใหญไมยอมรับ เนอื่ งจากทําใหเ กดิ ความเสียหายแกร าชการและประเทศชาติ สจุ ริต คดิ ฐานสอง 37
การขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ่วนรวม มคี วามสมั พนั ธก์ ับ “จริยธรรม” และ “การทจุ ริต” อย่างไร ? “จรยิ ธรรม” เปน กรอบใหญท างสงั คมทเ่ี ปน พ้ืนฐานของแนวคิดเกี่ยวกับการขัดกันระหวาง ประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวมและ การทุจริต การกระทําใดที่ผิดตอกฎหมายวาดวย การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ ประโยชนส ว นรวมและการทจุ รติ ยอ มเปน ความผดิ จริยธรรมดวย แตตรงกันขาม การกระทําใดที่ฝาฝน จริยธรรม อาจไมเปนความผิดเกี่ยวกับการขัดกัน ระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชน สวนรวมและการทุจริต เชน มีพฤติกรรมสวนตัว ไมเหมาะสม มีพฤติกรรมชูสาว 38 สจุ ริต คิดฐานสอง
“การทุจริต” เปนพฤติกรรมที่ฝาฝนกฎหมาย โดยตรง ถอื เปน ความผดิ อยา งชดั เจน สงั คมสว นใหญ จะมกี ารบญั ญตั กิ ฎหมายออกมารองรบั มบี ทลงโทษ ชัดเจน ถือเปนความผิดขั้นรุนแรงที่สุดที่เจาหนาที่ ของรัฐตองไมปฏิบัติ “การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ ประโยชนสวนรวม” เปนพฤติกรรมที่อยูระหวาง จริยธรรมกับการทุจริต ท่ีจะกอใหเกิดผลประโยชน สวนบุคคลกระทบตอผลประโยชนสวนรวม ซ่ึง พฤตกิ รรมบางประเภทมกี ารบญั ญตั เิ ปน ความผดิ ทาง กฎหมายมีบทลงโทษชัดเจน แตพฤติกรรมบาง ประเภทยงั ไมม ีการบัญญัติขอหามไวในกฎหมาย “จริยธรรม” เปนหลักสําคัญในการควบคุม พฤติกรรมของเจาหนาท่ีของรัฐ เปรียบเสมือน โครงสรา งพนื้ ฐานทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั ตอ งยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ “เจา หนา ท่ีของรฐั ที่ขาดจริยธรรมในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ี โดยเขาไปกระทําการใดๆ ที่เปนการขัดกันระหวาง ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม ถอื วา เจา หนาท่ีของรัฐผูน้ันขาดความชอบธรรมในการปฏิบัติ หนาท่ี และจะเปนตน เหตุของการทจุ รติ ตอไป” สุจรติ คิดฐานสอง 39
4. ประโยชนส์ ่วนบุคคล และประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์ส่วนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลทั่วไปในสถานะเอกชนหรือเจาหนาที่ ของรฐั ไดท าํ กจิ กรรมหรอื ไดก ระทาํ การตา งๆ เพอ่ื ประโยชนส ว นตน ครอบครวั ญาติ เพอื่ น หรอื ของกลุมในสังคมที่มีความสัมพันธกันในรูปแบบตางๆ เชน การประกอบอาชีพ การทําธุรกิจ การคา การลงทนุ เพือ่ หาประโยชนใ นทางการเงนิ หรือในทางทรพั ยส ินตา งๆ เปนตน ประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การท่ีบุคคลใดๆ ในสถานะที่เปนเจาหนาที่ของรัฐ (ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจาหนาที่ของรัฐ ในหนวยงานของรัฐ) ไดกระทําการใดๆ ตามหนาที่หรือไดปฏิบัติหนาที่อื่นเปนการดําเนินการ ในอกี สว นหนงึ่ ทแี่ ยกออกมาจากการดาํ เนนิ การตามหนา ทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระทาํ การ ใดๆ ตามหนาท่ีหรือการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีวัตถุประสงคหรือมีเปาหมาย เพอ่ื ประโยชนข องสว นรวม หรอื การรกั ษาประโยชนส ว นรวมทเ่ี ปน ประโยชนข องรฐั การทาํ หนา ท่ี ของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีความเก่ียวเนื่องเชื่อมโยงกับอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายและจะมี รูปแบบของความสัมพันธหรือมีการกระทําในลักษณะตางๆ กันที่เหมือนหรือคลายกับ การกระทําของบคุ คลในสถานะเอกชน เพยี งแตก ารกระทาํ ในสถานะท่เี ปนเจา หนาท่ขี องรัฐกบั การกระทําในสถานะเอกชน จะมีความแตกตา งกันทว่ี ตั ถปุ ระสงค 40 สจุ รติ คิดฐานสอง
เครดติ : สาํ นักงานนวัตกรรมแหง ชาติ สุจรติ คดิ ฐานสอง 41
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111