Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดจำหน่าย

การจัดจำหน่าย

Description: การจัดจำหน่าย

Search

Read the Text Version

หลักการตลาด PRIRCIPLE OF MARKETING การจัดจาหนา่ ย รหสั วิชา 3200-1003

สาระการเรียนรู้ 1. ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย 2. หน้าที่ของช่องทางการจดั จาหน่าย 3. ระดบั ของชอ่ งทางการจดั จาหน่าย 4. ประเภทของช่องทางการจดั จาหน่าย 5. ปัจจยั ท่ีมอี ทิ ธิต่อการออกแบช่องทางการจดั จาหน่าย 6. การกาหนดจานวนของคนกลางในชอ่ งทางการจดั จาหน่าย 7. การค้าปลกี และประเภทของการค้าปลีก 8. การค้าสง่ และประเภทของการค้าสง่ 9. การกระจายตวั สนิ ค้า 10. การขนสง่

9.1 ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย การจัดจาหนา่ ย (Distribution) หมายถงึ โครงสรา้ งของช่องทางทใ่ี ช้เพื่อเคลื่อนยา้ ยสนิ คา้ จากธรุ กจิ ไปยงั ตลาด ตัวกลางทางการตลาดเป็นธรุ กจิ ท่ีชว่ ยเสรมิ ชว่ ยขายและจาหนา่ ยสินคา้ ไปยงั ผ้ซู อ้ื ข้นั สุดทา้ ย ประกอบดว้ ย 1. คนกลาง (Middleman) - พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) - ตวั แทนคนกลาง (Agent Middlemen) 2. ธรุ กิจทีท่ าหนา้ ทก่ี ระจายสินคา้ 3. ธรุ กิจท่ีให้บริการทางการตลาด 4. สถาบันการเงิน ความหมายของช่องทางการจดั จาหน่าย ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย (Channel of Distribution) หมายถงึ “กระบวนการในการจดั การเก่ียวกบั การ เคลือ่ นยา้ ย สทิ ธิในตวั ผลิตภณั ฑ์ (และอาจรวมถึงตัวผลติ ภณั ฑ์) จากผผู้ ลิตไปจนถงึ ผู้บรโิ ภค จานวนระดับของช่องทางการจัดจาหน่าย จานวนระดบั ช่องทางการจัดจาหนา่ ย หมายถึง จานวนระดับคนกลางภายในเสน้ ทางทผี่ ลิตภณั ฑแ์ ละ/หรือ กรรมสิทธ์ิในผลติ ภณั ฑ์เคลอ่ื นย้ายจากผูผ้ ลิตไปยังตลาด มีด้วยกนั 2 ประเภทคอื 1. ชอ่ งทางการจดั จาหน่ายทางตรง ช่องทางการจดั จาหน่ายทางตรง หมายถึง การขายผลิตภัณฑ์จากผผู้ ลติ ไปยงั ผู้บรโิ ภค หรือผ้ใู ช้ทางอุตสาหกรรม โดยไม่มคี นกลาง หรือช่องทางศูนยร์ ะดบั ผ้ผู ลิต > ผบู้ รโิ ภค ผผู้ ลติ > ผู้ใช้ทางอตุ สาหกรรม 2. ช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อม ช่องทางการจัดจาหน่ายทางอ้อม หมายถงึ เส้นทางที่สินค้าเคลือ่ นยา้ ยจากผูผ้ ลติ โดยตอ้ งผา่ นคนกลางไปยัง ผู้บรโิ ภค ช่องทางการจดั จาหน่ายหน่ึงระดับ ผผู้ ลิต > ผ้คู า้ ปลกี > ผบู้ ริโภค ชอ่ งทางการจดั จาหน่ายสองระดับ ผู้ผลิต > ผู้คา้ ส่ง > ผคู้ ้าปลีก > ผบู้ ริโภค ช่องทางการจัดจาหนา่ ยสามระดบั ผ้ผู ลิต > ตวั แทน > ผ้คู า้ ส่ง > ผู้คา้ ปลกี > ผู้บริโภค ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยทางตรง ช่องทางการจดั จาหนา่ ยทางอ้อม ช่องทางการจัดจาหน่ายทางตรง ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยทางอ้อม ข้อดี ข้อดี 1.ทราบความต้องการลกู ค้าได้ดี 1.สนิ ค้ากระจายได้อยา่ งกว้างขวาง 2. สนิ ค้าถึงมือผ้บู ริโภคอยา่ งรวดเร็ว 2. มีผ้มู าชว่ ยรับความเส่ียงในการถือ 3.ขายสินค้าได้ในราคาถกู ครองสนิ ค้า 3.ประหยดั เวลาและคา่ ใช้จา่ ย ข้อเสีย ข้อเสีย 1.กระจายสนิ ค้าไมท่ ว่ั ถึง 1.ทราบข้อมลู ทางการตลาดเก่ียวกบั ผ้บู ริโภคน้อย 2.เสียคา่ ใช้จา่ ยในการขนสง่ 3. ผ้ผู ลติ จะต้องรับภาระเก่ียวกบั สินค้า 2. ราคาสินค้าจะสงู คงเหลือ

ประเภทของตวั กลางทางการตลาด ตวั กลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) หมายถงึ บคุ คล กลุม่ บคุ คลหรือองคก์ ร ทาหนา้ ที่ ชว่ ยเหลอื และสนับสนนุ ในกระบวนการยา้ ยสนิ คา้ และสทิ ธใิ นตัวสินค้า จากผ้ผู ลิตมายงั ผู้บริโภค โดยตัวกลาง ประกอบดว้ ย

9.2 หนา้ ท่ีของชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย หน้าท่ีของช่องทางการจดั จาหน่าย คนกลางท่ีถกู กล่าวถงึ ในช่องทางการจัดจาหนา่ ย เขา้ มาทาหนา้ ทตี่ า่ ง ๆ ในกระบวนการที่จะ นาสนิ ค้า และบรกิ ารไปสู่การบรโิ ภค เพอ่ื แก้ปญั หาความหลากหลายทางดา้ นสถานท่ี เวลา การเคลื่อนย้าย สนิ ค้า ในระหว่างผู้ผลติ กบั ผูบ้ รโิ ภค หน้าทห่ี ลกั ของคนกลางในช่องทางการจดั จาหนา่ ย ประกอบด้วย 1. รวบรวมขา่ วสารขอ้ มูลการตลาด ที่เก่ยี วข้องกับผบู้ รโิ ภคปจั จบุ ัน และผู้บรโิ ภคในอนาคต คแู่ ข่งขนั และข้อมูลอื่น ๆ ทางการตลาด 2. สือ่ สารการตลาดกบั ผบู้ รโิ ภคเพื่อกระตนุ้ การซอ้ื 3. เจรจาตอ่ รองเพ่ือบรรลขุ ้อตกลงในดา้ นเง่อื นไขการซอื้ ขาย เช่น ดา้ นราคา เง่อื นไขอ่นื ๆ สงั่ ซอื้ สินค้า จากผ้ผู ลติ จดั หา 4. แหล่งเงินทุนเพ่อื สนบั สนนุ สินคา้ คงคลงั ในระดบั ตา่ ง ๆ 5. รับภาระความเสยี่ งจากการเกบ็ รกั ษาสินคา้ 6. การเคลอ่ื นยา้ ยสินคา้ และคลังสนิ คา้ 7. การชาระเงนิ โดยผ่านระบบธนาคารและสถาบันการเงิน 8. การโอนยา้ ยสิทธคิ วามเปน็ เจา้ ของสินคา้ ในแตล่ ะช่องของการจัดจาหน่าย หนา้ ท่ีทงั้ หมดของชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย ทาให้เกดิ การไหล (Flow) 5 ประเภท ซ่งึ รวมกนั เป็นกลไก สาคัญในการจัดการช่องทางการจดั จาหนา่ ย ไดแ้ ก่ 1. การไหลของสนิ คา้ 2. การไหลของสทิ ธคิ วามเปน็ เจ้าของ 3. การไหลของการชาระเงิน 4. การไหลของขอ้ มูล 5. การไหลของการส่งเสริมการตลาด

9.3 ระดับของชอ่ งทางการจดั จาหน่าย ระดับของชอ่ งทางการจดั จาหน่าย การตัดสินใจระดับของชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย คอื การพจิ ารณาความยาว (Length) ของการจดั หน่าย จากผผู้ ลติ ไปยงั ผู้บรโิ ภคว่าจะตอ้ งผา่ นคนกลางมากนอ้ ยเพยี งใด เพื่อให้เขา้ ใจงา่ ยข้ึนจะแยกเปน็ สนิ ค้าอปุ โภค บริโภคและสินค้าอตุ สาหกรรม ระดบั ของชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสินคา้ อุปโภคบริโภค 1. การจัดจาหนา่ ยระดับศนู ย์ (Zero-level Channel) หรือเรียกว่า Direct-marketing Channel เปน็ การจัดจาหนา่ ยโดยตรงจากผ้ผู ลิตไปยังผู้บริโภค ไม่ผา่ นคนกลางใด ๆ รปู แบบท่ีคุน้ เคยกนั กค็ ือการใช้ พนักงานขายถึงประตบู า้ น(Door-to-Door Sales) หรือการขายตรง (Direct Sales) ซ่งึ บริษัทชัน้ นา เชน่ แอม เวย์ เอวอน มสี ทีน ฯลฯ นามาใช้อยา่ งไดผ้ ล การใช้วิธีส่งจดหมายตรง (Mail Order) การขายทางโทรศัพท์ (Telemarketing) การขายผา่ นสื่อ (Media Selling) รวมไปถึงรปู แบบร้านคา้ อเิ ล็กทรอนิกส์ ผา่ นเครือขา่ ย อนิ เตอรเ์ นต็ (Internet Selling) 2. การจัดจาหนา่ ยระดับหน่งึ (One-Level Channel) การจดั จาหน่ายผา่ นคนกลางเพยี งชัน้ เดียว คือ รา้ นคา้ ปลีก (Retailer) โดยผูผ้ ลิตทาหน้าท่ีกระจายสินคา้ ผา่ นร้านค้าปลีกเพ่ือจาหนา่ ยต่อไปยงั ผบู้ รโิ ภค 3. การจดั จาหน่ายระดับสอง (Two-Level Channel) ผ้ผู ลิตมอบภาระการจดั จาหน่ายให้กบั รา้ นคา้ ส่ง (Wholesaler) จาหนา่ ยสนิ คา้ ตอ่ ไปยังรา้ นคา้ ปลีกอีกทอดหน่ึง เพอื่ ใหส้ ินค้ากระจายอยา่ งทั่วถงึ ในอดีต รา้ นค้า ส่งแบบเดิม (ยป่ี ๊ัว) ทาหน้าทด่ี ้านการตลาดแทนผผู้ ลติ ในพื้นที่รับผิดชอบ รับผิดชอบเปา้ หมายการตลาดและ การแข่งขันกบั ค่แู ขง่ ทุกรูปแบบ 4. การจดั จาหนา่ ยระดบั สาม (Three-Level Channel) คนกลางที่เรยี กว่า Jobber \" ซาปัว๊ \" เข้า มารับ ช่วงต่อจากรา้ นค้าส่งอีกทอด เพม่ิ ความเขม้ แข็งในการกระจายสินค้า สรู่ า้ นคา้ ปลีกใหค้ รอบคลมุ พ้นื ท่มี ากข้นึ ระดบั ของชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยสินคา้ อตุ สาหกรรม ระดับของการจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าอตุ สาหกรรมแตกต่างจากสนิ ค้าอุปโภคบริโภคอยบู่ ้าง เน่ืองจากองค์ ประกอบของคนกลางแตกต่างกัน วิธกี ารจดั จาหนา่ ยอาจจะดาเนินการโดยตรงโดยผ่านพนกั งานขายของ บริษทั สลู่ กู ค้า หรือผ่านผ้จู ดั จาหนา่ ยสินค้าอตุ สาหกรรม (Industrial Distributors) หรือผา่ นตวั แทน ผู้ผลติ (Manufacturer's Representative) หรือสานกั งานสาขาของผ้ผู ลติ (Manufactur's Sales Branch) กไ็ ด้

9.4 ประเภทของช่องทางการจดั จาหนา่ ย 1. ชอ่ งทางตรง (direct channel) หรอื ช่องทางศนู ยร์ ะดบั (zero level channel) มลี กั ษณะและเง่ือนไขดังนี้ ... 2. ช่องทางหน่ึงระดบั (one level channel) มีลกั ษณะและเงือ่ นไขดังนี้ ... 3. ช่องทางสองระดับ (two level channel) มลี ักษณะและเงอื่ นไขดังนี้ ... 4. ช่องทางสองระดับ (two level channel) ... 5. ช่องทางสามระดบั (three level channel) 9.5 ปจั จยั ที่มีอทิ ธติ ่อการออกแบชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ย ปัจจัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การเลอื กชอ่ งทางการจาหน่าย ประเดน็ พจิ ารณา ลกั ษณะทเ่ี หมาะกบั ลกั ษณะทเี่ หมาะกบั ลกั ษณะตลาด ช่องทางการจาหน่ายส้ัน ช่องทางจาหน่ายยาว ลกั ษณะผลิตภณั ฑ์ ตลาดธุรกิจ ผบู้ ริโภคกระจดั กระจายมี ลกั ษณะผผู้ ลิต เกาะกลุ่มกนั ตามสภาพ อยทู่ วั่ ไปทุกแห่ง ไม่ ลกั ษณะการแข่งขนั ภูมิศาสตร์ ตอ้ งการการแนะนาดา้ น ตอ้ งการความรู้ดา้ นเทคนิค เทคนิคการใหบ้ ริการไม่ ตอ้ งมีการบริการโดย แน่นอน สม่าเสมอ ปริมาณซ้ือนอ้ ยต่อคร้งั ปริมาณซ้ือมากตอ่ คร้ัง ของสด เน่าเสียง่าย ความ คงทน เกบ็ ไวไ้ ดน้ าน ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นในการใช้ ใชไ้ ดง้ ่าย เป็นมาตรฐาน งาน มีลกั ษณะส่ังทางาน พเิ ศษ ราคาสูง/หน่วย ราคาต่า/หน่วย มีความพร้อมดา้ น ไม่พร้อมในเร่ืองทรัพยากร ทรัพยากรตา่ ง ๆ ที่จะ ที่จะปฏิบตั ิกิจกรรมจดั ปฏิบตั ิกิจกรรมจดั จาหน่าย จาหน่ายเอง จาหน่ายผลิตภณั ฑน์ อ้ ย มีผลิตภณั ฑจ์ าหน่าย ชนิด นอ้ ยรายการไม่มี หลากหลาย ความจาเป็นตอ้ งควบคุม มีความจาเป็นตอ้ งควบคุม ช่องทาง จาหน่ายโดย ช่องทางจา ใกลช้ ิด หน่ายโดยใกลช้ ิด สมาชิกในช่องทางใหก้ าร สมาชิกในช่องทาง สนบั สนุน จาหน่ายใหก้ ารสนบั สนุน การส่งเสริมการตลาดไม่ การส่งเสริมการตลาด เพยี งพอ เพียงพอแลว้

9.6 การกาหนดจานวนของคนกลางในช่องทางการจดั จาหนา่ ย เมื่อตัดสนิ ใจเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายไดแ้ ล้วผบู้ รหิ ารการตลาดยังควรทราบถึงเกณฑ์การกาหนดจานวนของ คนกลางที่ใชใ้ นแต่ละระดบั ของช่องทางการจัดจาหนา่ ย ซึง่ ขึน้ อยกู่ บั วัตถุประสงค์ขององค์กรและแผนการจดั จาหนา่ ย การกาหนดจานวนของคนกลางในช่องทางการจัดจาหนา่ ย มกั ใช้กบั ระดบั การคา้ สง่ และระดบั การคา้ ปลกี ซ่ึงมีอยู่ 3 แบบ ดงั นี้ 9.6.1 การจัดจาหน่ายอย่างหนาแนน่ (Intensive Distribution) ในการจัดจาหน่ายสินค้าประเภททีซ่ ือ้ ตามความ สะดวก ลกู คา้ มกั ตอ้ งการความสะดวกในการซ้อื ดา้ นสถานที่ ท่ีมเี ป็นจานวนมากและอยู่กระจดั กระจายทวั่ ไปทุก พ้ืนท่ี องคก์ รท่ตี อ้ งการครอบคลมุ ตลาดอย่างกว้างขวาง มกั ใช้ช่องทางการจดั จาหน่ายผา่ นคนกลางเปน็ จานวน มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนกลางค้าปลีกและคา้ ส่ง 9.6.2 การจดั จาหน่ายแบบเลือกสรร (Selective Disrtibution) เป็นการคดั เลือกคนกลางท่มี ีความเหมาะสมกับ การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์จานวนหนงึ่ ในเขตพื้นทใ่ี ดพืน้ ทีห่ นึ่ง โดยมวี ตั ถุประสงค์ คอื การครอบคลมุ พืน้ ท่ที าง การตลาดได้อย่างทวั่ ถึง แตม่ ีตน้ ทุนการกระจายสินคา้ ตา่ กว่าวธิ กี ารจัดจาหนา่ ยอยา่ งหนาแนน่ น่ันคือ คนกลางที่ อยู่ในชอ่ งทางการจดั จาหน่ายแบบเลือกสรร จะมีจานวนน้อยกว่าคนกลางทีอ่ ยู่ในช่องทางการจดั จาหนา่ ยอย่าง หนาแนน่ เหมาะสาหรับองคก์ รท่เี ป็นผผู้ ลติ ผลติ ภัณฑท์ ีพ่ ึ่งจัดตัง้ ใหม่ เปน็ สนิ คา้ ประเภทท่มี ีความคงทนและมี ราคาทีส่ ูงกวา่ สนิ คา้ ทซี่ ้อื ตามความสะดวก หรอื เปน็ สินค้าประเภททซ่ี อ้ื โดยการเปรยี บเทียบ 9.6.3 การจัดจาหนา่ ยแบบผูกขาด (Exclusive Distribution) ในการจดั จาหน่ายผลิตภณั ฑบ์ างประเภท ผ้ผู ลิตอาจตอ้ งการควบคมุ คนกลางในดา้ นการกาหนดราคา การส่งเสริม การตลาด การให้บริการการจัดจาหน่ายอนื่ ๆได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และหวงั จะใหค้ นกลางที่ได้รับการคัดเลอื ก จานวนหนงึ่ จาหน่ายผลติ ภณั ฑ์ของผผู้ ลติ แต่เพียงผูเ้ ดยี วโดยตรงไมจ่ าหน่ายผลิตภณั ฑ์ของค่แู ข่งขนั และพร้อมจะ ใชค้ วามพยายามทางการตลาดในการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ของผผู้ ลิตอยา่ งเต็มความสามารถ ผบู้ รหิ ารการตลาดจะ ใช้การคดั เลือกคนกลางจานวนหนงึ่ ซ่ึงอาจเป็นคนเดียวหรือกลุ่มเดียวให้ทาการจัดจาหน่ายผลิตภณั ฑข์ องตน เฉพาะในเขตพนื้ ทที่ าง การตลาดน้นั ๆ การใช้ช่องทางการจัดจาหน่ายแบบผูกขาด จงึ เหมาะสาหรับสนิ ค้าที่ซ้อื เฉพาะเจาะจงสินคา้ พเิ ศษ ที่มีชอื่ เสยี งดี เปน็ สินคา้ ราคาแพง เชน่ เสอื้ ผา้ ตราย่หี อ้ ท่ีมีชือ่ เสียง เครอ่ื งสาอางชน้ั สูง และธรุ กิจอตุ สาหกรรมยาย ยนต์ กน็ ิยมใช้การจดั จาหนา่ ยแบบน้ี

9.7 การคา้ ปลกี และประเภทของการค้าปลกี การคา้ ปลกี (Retailing) หมายถึงกจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์โดยตรงใหก้ บั ผ้บู รโิ ภคคน สุดท้ายทน่ี าสินคา้ ไปใช้สว่ นตวั หรอื หากนาไปใหบ้ คุ คลอื่นใชก้ ไ็ มไ่ ด้หวงั ผลกาไร บคุ คลท่ที าการค้าปลีกเรยี กวา่ พ่อค้าปลกี (Retailer) ผู้ผลิตหรือคนกลางใดก็ตามท่ดี าเนินการจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ใหผ้ ้บู รโิ ภคคนสุดทา้ ย ไม่วา่ จะขายโดยใชพ้ นกั งานหรือขายโดยผา่ นสือ่ ใดๆ จะขายในรา้ นหรือนอกรา้ น กถ็ ือวา่ เปน็ กิจกรรมคา้ ปลกี ทั้งส้ิน แต่ส่วนใหญแ่ ล้วการค้าปลีกมักจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ภายในรา้ นคา้ ปลีกมากกว่า 9.7.1 ประเภทของรา้ นค้าปลกี ค้าส่ง ประเภทของร้านคา้ ปลีก แบ่งออกเปน็ 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มท่ี 1 ร้านคา้ ปลกี แบ่งตามลกั ษณะกรรมสิทธ์ิ กลุ่มที่ 2 รา้ นค้าปลีกแบง่ ตามกลยุทธ์การดาเนนิ งานของร้านค้า กลุม่ ที่ 3 ร้านค้าปลกี แบ่งตามรปู แบบของรา้ นค้า กลมุ่ ท่ี 1 ร้านคา้ ปลีกแบ่งตามลักษณะกรรมสทิ ธ์ิ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 5 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1. รา้ นคา้ ปลกี อิสระ ( Indendent Store ) การจดั การตา่ ง ๆ อาจข้ึนอยุ่กบั บคุ คลคนเดียว หรือบุคคลภายใน ครอบครัวหรือเพ่อื นมากกว่า 80% ร้านคา้ ปลกี ในลกั ษณะนม้ี ใี หเ้ หน็ กนั ทั่วไป เชน่ ร้านเสริมสวย ร้านขายยา รา้ นขายของชาท่ัวไป 2. ร้านคา่ ปลีกแบบลกู โซ่ (Cooperate Chain Store ) เปน็ ร้านค้าทม่ี ีการเปดิ สาขามากกวา่ หนึ่งสาขาขึน้ ไป ตอ้ งมรี ะบบแบบแผนการดาเนนิ การเดียวกนั จะต้องมีมาตนฐานทงั้ ภาพลักษณข์ องร้านค้าหรือการบรกิ ารแบบ เดยี วกัน ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ห้างสรรพสนิ คา้ เซ็นทรัล เดอะมอลล์ร้านเซเว่นอีเลฟเวน่ ร้านรองเทา้ บาจา รา้ น สกุ ห้ี รือร้านอาหารตา่ ง ๆเปน็ ตน้ 3. รา้ นค้าปลกี แบบแฟรนไชส์ ( Franchise Store ) เป็นร้านทีม่ กี ารทาสญั ญา ในเรื่องรายละเอยี ดของร้านค้า และวิธกี ารจดั การให้เหมือนกับรา้ นค้าปลีก เจ้าของกิจการตน้ ตารับ เปน็ การใช้ระบสทิ ธิทางการค้า 4.รา้ นค้าปลีกแบบเช่าเฉพาะพ้ืนที่หรือฝากขาย (Leased Department หรCื onsigment ) เจ้าของสินค้าเข้า มาขอเช่าสถานท่ีในบริเวณหา้ งสรรพสนิ คา้ เพือ่ เปิดดาเนนิ การจาหนา่ ย โดยผูใ้ หเ้ ชา่ จะไดร้ ับคา่ เช่าตอบแทน ตามแตจ่ ะตกลงกนั รา้ นคา้ ปลกี ประเภทนใี้ นวงการการคา้ ปลกี นยิ มเรียกกนั วา่ การ ฝา กขาย (Consignment ) เช่น บู้ทขายเครอ่ื สาอาง สินคา้ ประเภทเคร่ือง แต่งกาย รา้ นทากุญแจ ช้ันสวนสนุกหรอื ศนุ ยอ์ าหาร เปน็ ตน้ 5. รา้ นคา้ ปลกี แบบสหกรณร์ ้านค้า (Retail Consumer Cooperative) จะมีกา ขายหนุ้ ให้แกป่ ระชาชน โดยทวั่ ไป ผ้ซู ้ือหุ้นของสหกรณ์ถือวา่ เปน็ สมาชกิ และเปน็ เจา้ ของรา้ นค้าดว้ ย สมาชกิ จะไดร้ ับส่วนแบ่งผลกาไร โดยการจดั สรร มาจากเงินปนั ผล ซึ่งผลกาไรท่สี มาชกิ ไดร้ บั มากนอ้ ยเพยี งใดขนึ้ อยู่กับอัตร การซือ้ ของแตล่ ะคน เชน่ สหกรณพ์ ระนคร สหกรณ์กรุงเทพฯ

กล่มุ ท่ี 2 รา้ นคา้ ปลกี แบ่งตามกลยุทธก์ ารดาเนินงานของรา้ นค้า แบ่งได้เปน็ 8 ลักษณะดังนี้ 1. หา้ งสรรพสินค้า (Department Store ) เปน็ รา้ นค้าปลกี ขนาดใหญ่ทม่ี สี ินค้าไว้บริการแกล่ ูกคา้ จานวนมาก การจดั วางสนิ ค้าจะแบ่งออกเป็นแผนกอย่างชดั เจนสินคา้ ที่อยู่ในสายผลติ ภณั ฑเ์ ดยี วกันกจ็ ะถกู จดั ไว้รวมกนั หรือใกลก้ นั มีพนักงานประจาแต่ละแผนกเพื่อคอยบริการแกล่ กู ค้าอย่างเต็มท่ี เชน่ เซน็ ทรัลโรบนิ สัน เดอะ มอลล์ เป็นตน้ 2 ร้านสรรพาหารหรือซเู ปอรม์ ารเ์ กต็ ( Supermarket ) เปน็ รา้ นคา้ ปลีกทเี่ นน้ จาหน่ายสนิ คา้ อุปโภคบริโภคท่ี จาเปน็ ต่อชวี ติ ประจาวนั โดยใหค้ วามสาคัญทคี่ วามสด ใหม่ และความหลากหลายของอาหาร สินค้าทขี่ ายส่วน ใหญไ่ ด้แก่ อาหารสด เครื่องกระปอ๋ ง ของชาและสง่ิ จาเปน็ ท่ใี ช้ในบ้าน เป็นการขายแบบบริการตนเอง ( Self service ) สาหรับประเทศไทยจะเห็นรา้ นคา้ แบบซูเปอร์มารเ์ ก็ตอยูภ่ ายในหา้ งสรรพสนิ คา้ หรืออยู่บรเิ วณชัน้ ล่างหรือช้ันใต้ดนิ ร้านทไี่ ม่ได้รวมกบั หา้ งสรรพสินคา้ เชน่ ฟ้ดู แลนด์( Food Land ) 3. ซูเปอรส์ โตร์ ( Superstore ) เปน็ ร้านทมี่ ีการพัฒนามาจากซเู ปอรม์ ารเ์ กต็ ประกอบดว้ ยซเู ปอรม์ าร์เกต็ ส่วน หนง่ึ และอีกร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 25 ของการขาย จะเป็นสินค้าเครอื่ งใชใ้ นครวั เรอื น เคร่อื งไฟฟา้ เสอ้ื ผ้า เคร่ืองนงุ่ ห่มมาวางขายเพม่ิ เติม 4. ไฮเปอรม์ าร์ท ( Hyper mart ) หรอื Warehouse Store เปน็ ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ท่เี ป็นการรวมเอา หลกั การของร้านค้าแบบซูเปอรส์ โตร์และร้านค้าแบบ (Discount Store ) มาเข้าดว้ ยกนั ไฮเปอรม์ าร์ทแตกตา่ ง จากซูเปอรส์ โตร์คือ ขนาดใหญก่ วา่ มาและสินคา้ หลากหลายท้งั ชนิด ขนาดและราคาถูกกวา่ การจดั เรยี งสินค้า จดั วางแบบคลงั สินค้า (Warehouse ) การจัดการขายเป็นแบบบริการตนเอง เช่น แมค็ โคร (Makro)

5. รา้ นคา้ สะดวกซอื้ ( Convenience Store ) เป็นร้านค้าทจี่ าหน่ายสินคา้ อปุ โภคบรโิ ภคท่จี าเปน็ ต่อชีวิตประจาวัน รวมท้งั จาหนา่ ยอาหารเครอ่ื งด่ืมประเภทฟาสต์ฟู้ด (Fast Food ) คืออาหารและขนมทสี งั่ ไดเ้ ร็ว ใหบ้ ริการตลอด 24 ช่ัวโมง เชน่ รา้ น เซเวน่ อเี ลฟเวน่ แฟมิล่ีมาร์ท เปน็ ตน้ 6. ร้านคา้ ปลีกแบบเน้นสินค้าราคาถูก ( Discount Store ) โดยทว่ั ไปจาหนา่ ยสินคา้ ประเภทเสือ้ ผา้ เครอื่ งนุ่งหม่ อปุ กรณ์ ไฟฟ้าต่าง ๆ ในราคาถูก มุ่งไปยังกลุ่มลูกคา้ เปา้ หมายระดับกลางไปถงึ ระดับตา่ การจดั วางสินค้าให้เหมาะสม เพอื่ ใหส้ นิ ค้า โฆษณาขายตัวมนั เอง (Product sell itself ) ซึง่ อาจใช้วัสดโุ ฆษณา ณ จดุ ขาย (Point of sales material ) 7. มินิมารท์ หรือรา้ นสรรพาหารขนาดยอ่ ม ( Mini-mart หรอื Superette) เป็นร้านทยี่ อ่ สว่ นของร้านซูเปอรม์ ารเ์ กต็ ท้ังด้าน พืน้ ที่ ชนดิ และปริมาณของสนิ ค้าท่ีจาหนา่ ย โดยยงั คงวิธกี ารดาเนินงานและประเภทสินคา้ ที่จาหน่ายไว้เช่นเดยี วกับร้าน ซเู ปอรม์ าร์เก็ต จากการสภาพการคมนาคาทแี่ ออดั มาก พ้ืนท่ใี นเมืองหายากและมรี าคาสงู แนวโน้มประชากรเรมิ่ กระจายออกสู่ ชานเมืองมากขน้ึ มนิ ิมารท์ จึงเหมาะที่จะแทรกตามตัวเมืองหรือชานเมอื งท่ชี ุมขนยงั ไมห่ นาแนน่ 8. รา้ นขายของชาหรือโชห่วย ( Grocery Store ) เปน็ รา้ นคา้ แบบด้ังเดมิ จาหน่ายสินค้าอปุ โภคบรโิ ภคท่ัวไป ดาเนินงาน ภายในครอบครัวหรือเพ่ือน จดั ไดว้ า่ มีจานวนมากท่สี ดุ ในบรรดารา้ นคา้ ปลกี แบบตา่ ง ๆ กลุ่มท่ี 3 รา้ นคา้ ปลีกแบง่ ตามรูปแบบของร้านคา้ สามารถแบ่งได้เปน็ 2 ลกั ษณะคือ 1. การคา้ ปลีกแบบมีร้านคา้ ( Store operation ) 2. การคา้ ปลกี แบบไม่มีรา้ นคา้ ( Nonstore operatio) 1. การคา้ ปลกี แบบมรี า้ นคา้ ได้แก่รา้ นค้าปลกี แบบต่าง ๆ ดังทไี่ ดก้ ลา่ ว ไวแ้ ล้วในเรื่องรา้ นคา้ ปลีกแบง่ ตามลกั ษณะกรรมสิทธ์ิ และร้านคา้ ปลีกแบง่ ตามกลยทุ ธก์ ารดาเนนิ งานของร้านค้า 2. การค้าปลกี แบบไม่มีรา้ น ไดแ้ กก่ ารขายแบบใชต้ ้อู ตั โนมตั ิ การขายโดยผ่านเคร่ืองมือส่ือสารตา่ ง ๆ เชน่ ทางโทรศัพท์ ทาง ไปรษณยี ์ ทาง โทรทศั น์ โดยผา่ นพนกั งานขาย

9.8 การค้าส่งและประเภทของการคา้ สง่ การค้าสง่ หมายถึง กจิ กรรมทีเ่ กีย่ ว่ขอ้ งกับการขายผลติ ภณั ฑใ์ หก้ ับผู้ซือ้ หรอื องคก์ รต่าง ๆ ท่ซี อ้ื ไปเพื่อขายตอ่ หรือเพอ่ื ใช้ในการดาเนินธรุ กจิ กลมุ่ ลกู ค้าเปา้ หมายของสถาบนั การค้าสง่ ไดแ้ ก่ ผูค้ ้าปลกี ผู้คา้ ส่ง ผูใ้ ช้ทาง อุตสาหกรรม และสถาบันตา่ ง ๆ ประเภทของการค้าส่ง สามารถแบง่ ได้ตามลกั ษณะดังนี้ ผูค้ ้าส่งสามารถแบง่ ได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1. พอ่ ค้าขายสง่ ( Merchant Wholesalers ) 2. ตวั แทนและนายหน้า ( Agent and Broker ) 3. สาขาและสานกั งานขายของผู้ผลิต ( Manufacturers sales Branches and Offices ) 1. พอ่ คา้ สง่ แบ่งได้ 2 ลกั ษณะ ดงั นี้ 1.1 ผคู้ า้ สง่ ทบ่ี รกิ ารอย่างเต็มที่ (Full-service Wholesalers ) เป็นผู้ ค้าส่งทใี่ หบ้ รกิ ารทกุ อย่างท่ีสามารถ จดั หาใหไ้ ด้ เชน่ การให้เครดติ การช่วยเหลอื ในการจดั การหรอื ส่งเสริมการขายสนิ คา้ 1.2 ผู้คา้ ส่งทบ่ี ริการอยา่ งจากดั ( Self-service Wholesalers ) เปน็ ผคู้ า้ สง่ ขาย สนิ ค้าเปน็ เงนิ สด และ ขนส่งสินค้าเอง 2. ตัวแทนและนายหนา้ ตวั แทน จะไดร้ บั มอบหมายใหป้ ฏิบัตงิ านในเวลาทย่ี าวนาน มสี ทิ ธิ์ทากรรมสิทธใ์ิ นสญั ญาซ้ือขาย มี สิทธร์ิ ับเงนิ จากลกู คา้ ได้ นายหนา้ ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั งิ านเพียงครงั้ คราว ไม่มสี ิทธิท์ าสัญญาซอ้ื ขาย หรอื รบั เงนิ มีเยงการ ชกั จงู ใหล้ ูกค้าซือ้ ขายสนิ ค้า 3. สาขาและสานกั งานขายของผูผ้ ลติ เปน็ หนว่ ยงานทผี่ ูผ้ ลติ ลงทุนสร้าง เพือ่ มุ่งทาการคา้ ค้าส่งดว้ ย ตนเอง โดยแยกหน่วยงานออกมาต่างหากจาก โรงงานผลติ

9.9 การกระจายตวั สนิ คา้ การกระจายสินคา้ (Physical Distribution) หมายถึง “กิจกรรมที่เกีย่ วข้องกบั การเคล่ือนยา้ ยตัว สนิ คา้ จากผ้ผู ลิตไปยังผู้บริโภคหรอื ผ้ใู ชท้ างอุตสาหกรรม” หรอื อาจหมายถึง “การขนสง่ และการเก็บรักษาตวั สินค้าภายในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งและระบบช่องทางการจัดจาหน่ายของธุรกจิ น้ัน” จากความหมายนีจ้ ะเห็นว่า งานที่เกย่ี วข้องกบั การกระจายตัวสินคา้ การบริหารการกระจายตวั สินคา้ (Physical Distribution Management) เป็นการพฒั นาและ ดาเนนิ งานระบบการเคล่ือนย้ายผลิตภณั ฑ์ให้มีประสทิ ธภิ าพดังนั้นการเคล่อื นยา้ ยสินค้าจงึ ประกอบด้วย 1) การเคลอ่ื นยา้ ยสินค้าสาเร็จรปู จากแหลง่ ผลติ ไปยังลกู คา้ ขน้ั สดุ ทา้ ย 2) การเคลอ่ื นยา้ ยวัตถดุ บิ และปัจจยั การผลิตจากแหลง่ เสนอขายมายงั แหล่งการผลติ

9.10 การขนส่ง การขนส่ง คอื การเคลื่อนยา้ ยคนและสงิ่ ของจากที่หนึ่งไปยังอกี ที่หนง่ึ การขนส่งแบ่งออกเปน็ หมวดใหญด่ ังน้ี ทางบก ทางน้า ทางอากาศ และ อน่ื ๆ เราสามารถพจิ ารณาการขนส่งได้จากหลายมมุ มอง โดยครา่ ว ๆ แลว้ เราจะพิจารณาในสามมุมคือ มมุ ของโครงสรา้ งพ้ืนฐาน, ยานพาหนะ, และการดาเนินการ โครงสร้างพ้ืนฐาน พจิ ารณาโครงขา่ ยการขนสง่ ทีใ่ ช้ เช่น ถนน ทางรถไฟ เสน้ ทางการบนิ คลอง หรอื ทอ่ ส่ง รวมไปถึงสถานีการ ขนสง่ เชน่ ท่าอากาศยาน สถานีรถไฟ ทา่ รถ และ ทา่ เรอื ในขณะท่ี ยานพาหนะ คอื ส่ิงท่ีเคลอื่ นที่ไปบน โครงขา่ ยน้ัน เช่น รถยนต์ รถไฟ เคร่อื งบิน เรือ ส่วน การดาเนินการ นนั้ จะสนใจเก่ียวกับการควบคมุ ระบบ เชน่ ระบบจราจร ระบบควบคุมการบิน และนโยบาย เช่นวิธกี ารจดั การเงนิ ของระบบ เชน่ การเกบ็ ค่าผา่ นทาง หรือการเก็บภาษนี า้ มัน เป็นตน้ การขนสง่ นนั้ สามารถแยกได้เป็น 5 ประเภท การขนส่งทางบก (Road or Motor Transportation) การขนส่งทางน้า (Water Transportation) การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) การขนสง่ ระบบคอนเทนเนอร์ (Container System) การขนส่งทางท่อ (Pipeline Transportation) เราจะมาลงรายละเอยี ดกนั โดยเริม่ จาก 1. การขนสง่ ทางบก (Road or Motor Transportation)จาแนกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ – การขนส่งทางรถไฟ (Railroads) เป็นเสน้ ทางการลาเลียงทสี่ าคญั ทส่ี ดุ ของประเทศ เหมาะสาหรบั การขนสง่ สินคา้ หนัก ๆ ปริมาณมากและในระยะทางไกล รวดเร็ว อัตราคา่ บรกิ ารไมแ่ พง และขนสง่ สินคา้ ไดจ้ านวนมากหลายชนดิ ทันตามกาหนดเวลาทตี่ อ้ งการ แต่ความยืดหยุ่นมนี อ้ ย เพราะมี เส้นทางตายตวั – การขนส่งทางรถยนต์ (Motor Transportation) หรอื รถบรรทกุ (Truck Transportation) เป็นท่ีนิยมในปจั จุบนั เหมาะสาหรบั ของขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ่ ซง่ึ สะดวก รวดเร็ว ขนสง่ สินค้าไดต้ ลอดเวลาตามความตอ้ งการของลกู คา้ เหมาะกบั การขนสง่ ระยะสน้ั และระยะกลาง แต่ ค่าขนส่งสงู เม่อื เทยี บกบั การขนสง่ ทางรถไฟ มีความปลอดภยั ต่า เกิดอบุ ตั ิเหตบุ อ่ ย กาหนดเวลาแนน่ อน ไมไ่ ด้ ข้ึนอยกู่ บั สภาพการจราจรและดนิ ฟา้ อากาศ – การขนส่งทางจกั รยานยนต์ เหมาะสาหรับของขนาดเลก็ และขนาดกลาง ระยะการขนสง่ ส้ัน ไมส่ ามารถส่งในระยะไกลได้ ราคาไม่แพงมาก การขนสง่ ทางจกั รยานยนตเ์ หมาะกบั ของทตี่ อ้ งการ ความรวดเร็วในระยะการขนส่งระยะส้ัน

2. การขนส่งทางน้า (Water Transportation) คือ การขนส่งโดยการใชแ้ มน่ า้ ลาคลอง เส้นทางทางทะเลเป็น เสน้ ทางลาเลยี งสนิ ค้า สว่ นใหญ่ใชส้ าหรบั การขนสง่ สินค้าระหว่างประเทศ ซึง่ เหมาะสมกับสนิ คา้ ทม่ี ขี นาดใหญ่ ขนสง่ ไดป้ รมิ าณมากเป็นสินค้าท่ยี ากแกก่ ารเสยี หาย เช่น ทราย แร่ ขา้ วเปลอื ก เคร่อื งจักร ยางพารา เปน็ ต้น ซึ่งการขนส่งทางน้าอตั ราคา่ ขนสง่ ถกู กว่าเม่ือเทียบกบั การขนส่งทางอื่น ทั้งยังขนส่งไดป้ ริมาณมาก สามารถสง่ ไดร้ ะยะไกล ๆ ได้ แต่ไมส่ ามารถกาหนดเวลาที่แน่นอนในการขนส่งไดข้ ้ึนอยกู่ บั ภมู ิอากาศ และ ภูมิประเทศ 3. การขนส่งทางอากาศ (Air Transportation) เหมาะกับการขนส่งระหวา่ งประเทศ หรือการขนสง่ ที่ ต้องการความรวดเรว็ สะดวกและปลอดภยั เหมาะกบั การขนสง่ สนิ คา้ ประเภทท่ีเปราะบาง เช่น ผัก ผลไม้ เป็น ตน้ ไม่เหมาะกบั สินคา้ ท่ีมีขนาดใหญ่ นา้ หนกั มากและสินคา้ ราคาถูกๆ ไมร่ บี ร้อนในการขนสง่ แตค่ ่าใช้จ่ายแพง กวา่ การขนสง่ ประเภทอ่ืน 4. การขนส่งระบบคอนเทนเนอร์ (Container System) เปน็ การขนสง่ โดยบรรจุสนิ คา้ ทจี่ ะขนสง่ ลงในตู้ หรอื กลอ่ งเหลก็ ขนาดใหญ่ แลว้ ทาการขนสง่ โดยรถบรรทกุ รถไฟ หรือเครื่องบิน ไปยังจดุ หมายปลายทางโดย ไมม่ ีการขนถา่ ยสินค้าออกจากตรู้ ะหวา่ งทาการขนส่งเทยี่ วนนั้ ซ่งึ ต้คู อนเทนเนอร์ทนทานต่อสภาพลมฟา้ อากาศ สามารถวางไว้กลางแจง้ ตคู้ อนเทนเนอร์ จงึ สามารถปอ้ งกันสินคา้ ชารดุ เสียหายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 5. การขนส่งทางทอ่ (Pipeline Transportation)เปน็ การขนส่งสงิ่ ของประเภทของเหลวและกา๊ ซผา่ นสาย ท่อ เชน่ นา้ ประปา นา้ มนั ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น ซ่ึงการขนส่งทางท่อจะแตกต่างกับการขนสง่ ประเภทอ่ืน คือ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการขนสง่ ไม่ต้องเคล่ือนท่ี โดยเสน้ ทางขนส่งทางทอ่ อาจจะอยู่บนดนิ ใตด้ นิ หรอื ใต้นา้ ข้นึ อยู่กบั สภาพภูมอิ ากาศ ทาให้กาหนดเวลาการขนสง่ ไดแ้ น่นอนชัดเจน ประหยัดต้นทนุ เวลาในการขนยา้ ยสนิ คา้ และ มคี วามปลอดภัยสงู จากการสูญหายหรือลักขโมย ใชก้ าลงั คนนอ้ ย ซึง่ ขอ้ เสยี คอื ขนส่งได้เฉพาะสินค้าทีเ่ ป็น ของเหลวหรือก๊าซเท่านัน้ คา่ ใช้จ่ายในการลงทนุ คร้งั แรกสูง ไมเ่ หมาะกับการขนสง่ ในภมู ปิ ระเทศทมี่ แี ผน่ ดนิ ไหว บอ่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook