Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้เรื่องการเขียนขยายความ ม.1

ใบความรู้เรื่องการเขียนขยายความ ม.1

Published by วัชรีย์ รัตโนทัย, 2019-12-10 03:34:36

Description: ใบความรู้เรื่องการเขียนขยายความ ม.1

Search

Read the Text Version

ใบความร้เู รือ่ งการเขียนขยายความ การเขียนขยายความ ความหมายการขยายความ คือ การนำรายละเอียดมาพูดหรอื อธิบายเสริมความคิดหลกั หรือประเดน็ สำคญั ของเรื่องให้ ชัดเจนแจม่ แจง้ ขนึ้ อาจเป็นการใหข้ ้อมลู เพม่ิ เติม ให้เหตุผลยกตวั อย่างประกอบ หรือมกี ารอ้างอิงเปรยี บเทยี บให้ได้ เน้ือความกว้างขวางออกไป จนเปน็ ท่เี ข้าใจชัดเจนย่งิ ขึ้น ตวั อยา่ ง ความโศกเกิดจากความรัก ความกลวั ก็เกิดจากความรัก ผู้ทลี่ ะความรักเสียได้ กไ็ มโ่ ศกไมก่ ลัว (พุทธสภุ าษติ ) ขยายความไดว้ ่า เมือ่ บคุ คลมีความรกั ต่อส่ิงใด หรือคนใด เขากต็ ้องการใหส้ ่งิ น้นั คนนั้นคงอยู่กับเขาตลอดไป มนษุ ยโ์ ดยท่ัวไปย่อมจะกลัวว่าสงิ่ นนั้ ๆหรอื คนท่ตี นรกั จะสญู หายหรือจากเขาไป ดว้ ยธรรมดาแล้วทกุ สิ่งทุกอยา่ ง ยอ่ มเปล่ียนแปลงสูญสลายไปตามสภาพการณ์ ถ้าบุคคลรูค้ วามจริงขอ้ นี้ เขากจ็ ะไม่โศกไมก่ ลัวตอ่ ไป วิธีการขยายความ การขยายความ อาจกระทำไดห้ ลายลกั ษณะ ดงั ไดก้ ล่าวมาเป็นเบ้ืองต้นแล้ว แตส่ ำหรบั วิธีการขยาย น้ัน อาจตอ้ งพจิ ารณาประกอบเพิ่มเติมอีกดว้ ยวา่ ในแตล่ ะประโยคจะใช้กลวธิ ีในการขยายความอยา่ งไร จงึ จะมี สดั ส่วนพอเหมาะ เป็นเหตเุ ป็นผล และชว่ ยเพม่ิ ความกระจา่ ง แจ้งชัด ดังน้ี ขยายโดยการอธิบาย เปน็ วิธีอธบิ ายให้ละเอยี ด หรอื ใหค้ ำจำกดั ความเกยี่ วกับใจความสำคญั เพ่ือให้ผอู้ ่านสามารถ เขา้ ใจ หรอื รเู้ ร่ืองราวนน้ั ๆ ได้อย่างสมบรู ณ์ ขยายโดยการยกตวั อยา่ ง เป็นวิธกี ารยกตัวอย่างมาประกอบใจความสำคญั ทำใหผ้ ้อู ่านเข้าใจหรือเหน็ ด้วยกบั เรอ่ื งราวนัน้ ๆงา่ ย ข้ึน ตัวอย่างทยี่ กมาแสดงควรให้ตรงตามเน้ือเรอ่ื งไมย่ าก หรอื ซับซ้อนเกินไป ควรเป็นตัวอย่างท่ีสนบั สนุน ขอ้ ความนัน้ ๆ ใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจหรอื เหน็ จริง ควรบอกด้วยว่าตวั อยา่ งน้นั ๆ เปน็ เรื่องจรงิ เรื่องสมมติ หรอื เคยพบ เห็นดว้ ยตนเอง สิง่ หนึ่งท่ผี ฝู้ กึ ฝนควรคำนึกถงึ เสมอ คือ จะยกตัวอย่างประกอบเฉพาะเร่ืองทเี่ ขา้ ใจยาก หรือยงั ไม่เขา้ ใจชัดแจง้ เท่านั้น เรื่องที่ง่ายอยู่แล้วไม่จำเป็นต้องยกตัวอย่าง

-๒- ขยายโดยการเปรียบเทยี บ เป็นการขยายเปรยี บเทียบกบั สง่ิ ท่ีตรงกันข้าม เพอื่ ให้เหน็ ชดั เจนขน้ึ เชน่ ขาวกบั ดำ หรือเปรียบเทียบ ทำนองอุปมาอุปมัยทำให้ผู้อา่ นเข้าใจเร่ืองราวนัน้ ๆ ได้ง่ายข้ึน เปรยี บสง่ิ ทีไ่ มร่ กู้ บั สง่ิ ทรี่ ู้ เปรียบนามธรรมกับ รูปธรรม เปน็ ต้น ขยายโดยการกลา่ วถึงเหตแุ ละผล ขยายโดยแสดงเหตผุ ล ทท่ี ำให้เกิดส่งิ น้ันๆ หรอื ทที่ ำให้เร่ืองราวเปน็ ไปอย่างนั้น เหตผุ ลที่นำมาแสดง ควรเปน็ เหตุผลทม่ี ีทางเป็นไปได้ หรือพิสจู น์ได้ว่าเป็นจริงแล้ว หรอื เปน็ เหตผุ ลที่คนทว่ั ไปยอมรับ ไม่ใช่ถือเอาตัว ผเู้ ขียนเป็นหลัก ขยายโดยการอา้ งหลักฐาน เป็นการขยายโดยอ้างบคุ คล สถานที่ หรือเหตุการณ์ทม่ี ีจริง หรือเกิดขนึ้ จรงิ ๆ เพอื่ ใหใ้ จความนน้ั หนกั แนน่ น่าเช่ือถือ เชน่ บอกว่า ใครพูดอะไรไว้ ข้อมลู น้ันไดจ้ ากทใ่ี ด เหตุการณน์ ั้นเกดิ กับใคร ที่ไหน เม่ือไรเป็นตน้ ขยายโดยการตงั้ คำถามและใหค้ ำตอบ เป็นการขยายทที่ ำใหผ้ ูอ้ ่านฉุกใจคดิ โดยการต้ังคำถาม แล้วจึงใหค้ วามกระจ่างแก่ผู้อ่านโดยการตอบ คำถามเป็นขั้นตอนไป ทำให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจข้อความน้นั ได้เป็นลำดบั ลักษณะการขยายความในรูปแบบต่างๆ ท่ไี ด้กลา่ วมาเปน็ ลำดบั นน้ั จะเหน็ ได้ว่าการเขยี นขยายความ เป็นการชว่ ยอธบิ าย และให้รายละเอียดเพมิ่ เตมิ ทำให้ข้อความนนั้ ๆ แจม่ กระจา่ งชดั ข้ึน นากจากน้ีอาจชว่ ยปรบั ระดบั ภาษา ให้กลมกลนื สละสลวยอีกด้วย เพราะการขยายส่วนใหญ่นั้นมักปรากฏคำเชื่อมเข้ามามบี ทบาทอย่ใู น บรบิ ทต่างๆ เสมอ ขยายในย่อหน้าถัดไป เช่น ชวี ติ สมมติ คอื ชวี ติ ในสงั คมและวัฒนธรรม ซึง่ มนษุ ยแ์ ต่ละกลุม่ กำหนดแบบอย่างของกลุ่มตน ให้ แตกต่างจากกลุ่มอื่นแต่สังคมและวฒั นธรรม กำหนดวตั ถสุ มมติด้วยการทำสงิ่ ของ เครอื่ งมือ เครื่องใช้ ทีเ่ กิดได้ จากความสามารถคิดประดิษฐ์ และความรู้ความเขา้ ใจวทิ ยาการเก่ยี วกับธรรมชาติ เทา่ ทบ่ี คุ คลในกลุ่มนน้ั จะคดิ และเขา้ ใจได้สงิ่ ของเครอื่ งใชเ้ หล่านี้ เมอ่ื มขี ้ึนแล้วก็ทำเลียนแบบต่อๆไป ใช้กันจนเป็นลักษณะอย่างหนง่ึ ประกอบการดำรงชีวติ ของกลุ่ม พอเหน็ สิง่ ของเครือ่ งใช้ก็บอกไดว้ า่ กล่มุ ใดเปน็ เจา้ ของ เพราะฉะน้ัน เห็นอุปกรณ์ เครอ่ื งครัวท่ใี ชท้ ำน้ำพรกิ ก็พอเห็นไดว้ า่ กล่มุ ไทยเป็นเจ้าของ เห็นหมวกทรงงอบ ก็ทายไดว้ ่ามาจากกลุ่ม วัฒนธรรมไหน

ขยายเพ่ือสรา้ งภาพ ภาษาไทยมีถ้อยคำเป็นจำนวนมาก ทีท่ า้ ทายให้ผู้ใฝ่ศึกษาไดล้ ิ้มลองและสมั ผสั ดว้ ยถ้อยคำเหล่านนั้ ดู เหมือนจะมชี วี ิตโลกเล่นได้หลายลักษณะ ไมว่ ่าจะเป็นการเร้าอารมณ์ ปลกุ สำนึก สรา้ งจินตนาการ สามารถได้ กลิ่น มรี สเฉกสมั ผัสด้วยลิน้ วาบหววิ นมุ่ ละมนุ เสียวสะท้าน หรือออกดดุ ัน แข็งกร้าว... ถอ้ ยคำดังกลา่ วจะมีชวี ิต กต็ อ่ เมือ่ ไดผ้ ูร้ จนาทมี่ ีศิลปะ สามารถหยิบยกถอ้ ยคำมาบรรจงร้อยเรยี งไวใ้ น บรบิ ททีเ่ หมาะควร กอปรไปดว้ ยความสัมพันธท์ ่สี อดคล้องกลมกลืน ทจี่ ะสง่ ผลให้ผู้อ่าน แลเห็นภาพได้อย่าง ปะติดปะต่อกนั ในบางคราวอาจใชค้ ำกริ ิยาโดดๆ แต่ในบางครั้งก็มงุ่ เนน้ โดยเพ่มิ สว่ นขยายข้ึนมา ในรปู แบบท่ีแตกตา่ ง กัน ตามจดุ ประสงคข์ องผูเ้ ขียนว่า ต้องการภาพอย่างไรให้เกดิ ขึ้นกับผอู้ ่าน คำหลกั “เสียง” อาจใชค้ ำขยายประกอบได้มาก เช่น ครดื คราด เจือ้ ยแจว้ เงียบกริบ ห้าว กู่รอ้ ง หนกั อ้ึง คนุ้ หู ดแุ ตแ่ ผ่วเบา สั่นเครอื ระรวยริน กระเส่า บ่น พึมพำ ส่นั พรา่ องึ อล หวดี หวิว เอะอะ โวยวาย แผว่ ดงั ถี่ เบาหวิว เควง้ คว้าง ออดแอด อู้อี้ กรู เกรียว เย้ายวน หลอกลอ่ ถก่ี ระชั้น รอ้ งบาดหู หวนละห้อย ถากถาง เอ็ดอึง กึกก้อง โกลาหล เฉียบขาด เครียด โครมคราม พังครืน จอแจ กระซิบ คำรามห่ึมๆ แตรรถห้าวๆ ขึงขัง ลึกในลำคอ หนกั หนว่ ง กึง่ กระแอม หนกั แน่น แหบๆ แอดๆ เกรีย้ วกราด อึงคะนึง ครนื ครนั โฉ่งฉ่าง เป็นต้น คำหลัก “น่งั ” อาจมีลักษณะอาการประกอบคำท่ขี ยาย เชน่ ชันเข่า กอดเขา่ จุมปกุ ยองๆ ยอบกาย ตรงแนว หมกตวั ซุกกตวั หมอบราบ คดุ คู้ ทรุด หมอบ ย่อกาย เชิดหนา้ ยืดอก คอตก เป็นต้น คำหลัก “เดนิ ” คำประกอบกริ ยิ าอาการ เปน็ ตน้ วา่ งกเง่ิน ดมุ่ ดุม่ ท่อมๆ โผเผ เก้ๆ กงั ๆ กา้ วด่มุ ๆ เร่ือยเปือ่ ย คลานโย้เย้ โขยกเขยก เดนิ ค้อม หลงั งกๆ เงิ่นๆ ทอดน่องเอ่ือยๆ แกว่งแขน ยดื ไหลผ่ ่งึ ผาย ตวั เอียงไปข้างหนา้ เดนิ คอ้ มหวั ไปขา้ งหนา้ ... คำหลกั “พดู ” มีประกอบลักษณะขยาย เชน่ พดู ยิม้ แยม้ เซ้าซี้ ตดั พอ้ ออ้ นวอน อทุ านเสียงเครือ อ้อมแอ้ม ตัดบท รบเร้า ตะคอก ค้าน ข้ึน เปรียบเปรย ละลำ่ ละลัก กระแทกกระท้ัน สะบดั เสียง ถากถาง แผว่ เบา แคะได้ เล่น ลนิ้ ฉอเลาะ ทักทาย เป็นตัน คำหลกั “ร่าง” มีคำขยายประกอบ เช่น กำยำล่ำสัน กำยำสูงใหญ่ สูงชะลดู สันทัด ชายร่างอ้วนกลม รา่ งผอม เกร็ง อ้วนทึบ อ้วน พลุย้ อ้วนลำ่ บึกบนึ เปน็ ตน้

คำหลัก “หน้า” หรืออากัปกริ ิยา ที่แสดงออกทางหน้าตา มีคำประกอบขยายใหเ้ หน็ ภาพ มาก เชน่ ฉงนฉงาย เคร่งขรึม ซีดพิกล ใบหนา้ เยน็ ชา เผอื ดสลด ชมดชมอ้ ย ขาวเหลอื ง ตกกระ เหี่ยว ย่น เปลง่ ปลง่ั สวยผ่องผุดผาด ซีดขาว ขาวเผอื ด เปน็ ต้น คำหลกั “รปู หนา้ ” มีคำขยายประกอบ เช่น รูปไข่, กลม, สเี่ หลี่ยม, ยาว, แหลม, หนา้ กระดกู , หน้า อูม, หนา้ เหยี่ วยน่ , มสี ิวฝา้ เป็นตน้ คำหลกั “ตา” มคี ำขยายประกอบ เช่น กลมแตล่ กึ เหีย่ วแหง้ ตาที่พรา่ เลือน ถลึงตา ละห้อย เล็กหร่ี จบั จ้อง จอ้ งหนา้ เขม็ง แววตาหม่น โรย ดวงตาเบกิ กว้าง ตาตืน่ ๆ เบกิ โพลง เป็นตน้ คำหลกั “มือ” มีคำขยายประกอบ เชน่ หยาบกรา้ น กำเกร็ง หยาบย่น บวมฉุ ท่ีกร้านเกรง็ มอื ที่เหยยี บเยน็ อวบอูม ขาวเนียน เห่ียว ย่น งองมุ้ เป็นต้น คำหลกั “ศรี ษะ” มคี ำขยายประกอบ เชน่ โต เล็ก กลม ทุย โหนก เบ้ยี ว แหลม หลมิ หวั ลา้ น (บอกรายละเอียดว่าลา้ นตรงไหน) เป็นต้น คำหลัก “ผม” มคี ำขยายประกอบ เชน่ หงอกประกาย หนา บาง ดดั หยิกสลวย หรอื ธรรมชาติ ใช้ผมปลอม ผมยอ้ ม หวีผมทรง อะไร ลักษณะใด เป็นต้น ตวั อย่างขา้ งตน้ เป็นเพยี งคำหลักบางคำเทา่ นั้น ยงั มคี ำหลกั ซึง่ เปน็ กริ ยิ าอาการของ มนษุ ย์ สัตว์ ตลอดจนลกั ษณะอวัยวะ รูปรา่ ง ในส่วนตา่ งๆ อีกมาก ผู้ใคร่รู้อาจศึกษาและเกบ็ รายละเอียด ได้ จากอากปั กิรยิ าตวั ละครในเรือ่ งสนั้ นวนิยาย หรอื สารคดี ที่มีอยู่ดาษด่นื ในปัจจบุ นั แม้ในการพรรณนา ธรรมชาติ การสร้างบคุ ลาธษิ ฐานก็จะพบได้ไม่ยาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook