Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ New Normal final

คู่มือ New Normal final

Published by mee, 2021-02-25 07:04:16

Description: คู่มือ New Normal final

Search

Read the Text Version

คำนำ ตั้งแต่ปลายปี 2562 ถึงปี 2564 ปัจจุบัน มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด - 19 (COVID-19) เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางรวดเร็ว สามารถแพร่กระจาย จากคนสู่คน ผ่านการไอ จาม สัมผัสโดยตรงกับสารคัดหล่ัง เช่น น้ามูก น้าลายของคนผู้ติดเช้ือจะมี อาการหลายแบบตั้งแต่ติดเช้ือไม่มีอาการ อาการเล็กน้อยคล้ายไข้หวัดธรรมดา อาการปานกลาง ปอดอักเสบและอาการรุนแรงมากจนอาจเสียชีวิต การระบาดกระจายไปในประเทศต่าง ๆ กว่า 200 ประเทศทั่วโลก การมาของโรคโควิด - 19 ท้าให้พฤติกรรมหลายอย่างไดเ้ ปลี่ยนแปลงไป แม้ว่าสถานการณ์จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ เกิดพฤติกรรมรูปแบบใหม่ของผู้บริโภค ซ่ึงเรามักเร่ิม ได้ยินบ่อย ๆ แล้วว่า “New Normal” หรือความปกติแบบใหม่ในสงั คมไทย นับจากน้ี การด้ารงชีวิต ของผูค้ นกบั สังคมโลกท่เี ปลยี่ นไป การวางวถิ ชี วี ติ แบบใหม่ และเรอ่ื งเกดิ ใหมห่ ลังโควดิ - 19 องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีเล็งเห็นความส้าคัญของการด้ารงชีวิตของ ประชาชนในรปู แบบใหม่ จึงจดั ท้าค่มู ือ “New Normal วิถชี ีวติ ใหมก่ ับโรคโควิด - 19” ขึน้ เพื่อให้ ประชาชนไดเ้ ข้าใจการปฏบิ ตั ิตัวในวิถชี วี ิตแบบใหม่ หรอื New Normal นางสาวกมลชนก พิชญรัศมมี าน นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ นายธฤต ตง้ั วลิ ัย ผูช้ ่วยนักพัฒนาชมุ ชน กองส่งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ฝา่ ยพฒั นาสังคม กมุ ภาพันธ์ 2564

สำรบญั หน้ำ ส่วนท่ี 1 ทำควำมรู้จักโควดิ - 19 2 - สถานการณ์เกีย่ วกับโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) 3 - สถานการณ์โรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประเทศไทย 4 - ทาความรจู้ กั โควดิ – 19 5 - ติดโควิดหรอื เปลา่ ? 6 - ใครบ้างที่เสีย่ งสงู ตดิ โควิด – 19 8 สว่ นท่ี 2 แนวทำงปฏบิ ัติ เมอ่ื ตอ้ งกกั ตัว 14 วนั 10 - เมอ่ื ตอ้ งกักตวั 14 วัน - เมอื่ ไหร่ควรไปหาหมอ? 12 14 ส่วนท่ี 3 ทำควำมเขำ้ ใจเส้นทำงกำรรักษำโควิด - 19 - ทาความเขา้ ใจเส้นทางการรักษาโควิด – 19 - แนะนาวธิ ีดแู ลเด็กอยา่ งไรในชว่ งโควิด – 19

สำรบญั (ตอ่ ) หนำ้ สว่ นที่ 4 เทคนคิ ดูแลตนเอง สู้! โควดิ - 19 ไปด้วยกัน 16 - “เลกิ ลด” 10 พฤติกรรมเคยชนิ เส่ยี งโควิด – 19 17 - คาแนะนาในการดูแลสขุ ภาพแกว่งแขน ลดพงุ ลดโรค ท่ากายบรหิ ารป้องกันโควิด - 19 18 - คาแนะนาในการดแู ลสุขภาพ ผกั ผลไม้ สมุนไพร 3 กลมุ่ เสริมภูมิคมุ้ กนั และตา้ นไวรสั 19 - คาแนะนาในการดแู ลสภาพจติ ใจ ให้เขม้ แข็งทา่ มกลางวิกฤติ COVID – 19 21 - การดูแลสขุ อนามยั ส่วนบุคคล ด้วยหลักการ 3 ล. “ลด เลีย่ ง ดูแล” 22 - การใชห้ น้ากากอนามัยหรอื หน้ากากอนามัยปอ้ งกนั เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 23 - วิธกี ารทาความสะอาดเพ่ือป้องกันและฆ่าเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) 25 - สร้างสิ่งแวดล้อมใหป้ ลอดเช้ือ



สถำนกำรณ์เกีย่ วกบั โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID - 19) สถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) หรือโรคโควิด - 19 ท้ังในประเทศไทยและทั่วโลกทาให้จานวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง เน่ืองจาก โรคดังกล่าวสามารถติดต่อได้ง่าย ผ่านทางการไอ จาม และการสัมผัสโดยตรงกับสารคัดหล่ัง ของผู้ติดเชื้อ โดยองค์การอนามัยโลกไดป้ ระกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสขุ ระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) และ แนะนาทกุ ประเทศให้เรง่ รดั การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคุมโรค อยา่ งเขม้ ข้น อยา่ งไรก็ตาม สถานการณ์การระบาดของโรคในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก รวมทง้ั ประเทศไทย มีแนวโน้มจานวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การแก้ไขปัญหาต้องเกิดจากความร่วมมือของ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังความร่วมมือจากประชาชน ชุมชน และท้องถิ่น เพื่อลดความเสี่ยง ต่อสุขภาพประชาชน ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศและช่วยให้ประชาชนสามารถประกอบ อาชีพที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ ประจาวันได้ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) นับเป็นสถานการณ์ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นประสบการณ์ใหม่ของประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ท่ีต้องประยุกต์ความรู้ท่ีผ่านมาและเร่งพัฒนามาตรการ เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างต่อเน่ือง ทั้งมาตรการทางกฎหมายและมาตรการทางสังคม และมาตรการด้านสาธารณสุขจาเป็นต้องขยาย เช่ือมไปถึงมาตรการทางสังคมและการสร้างความร่วมมือของทุกองคาพยพในสังคมจึงจะมีโอกาส ลดผลกระทบตา่ ง ๆ 2

สถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของประเทศไทย วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้ติดเช้ือยืนยันสะสมท้ังสิ้น 24,786 ราย เป็นการติดเชื้อระลอกใหม่ 20,549 ราย โดยผู้ติดเชื้อรายใหม่ในวันน้ีมีจ้านวน 72 ราย เป็นการติดเชื้อในประเทศ 69 ราย ถึงแม้จ้านวนผู้ติดเชื้อจะลดลงจากวันก่อนหน้า แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงพบผู้ติดเช้ือจากการค้นหา เชิงรุกในชุมชนและผู้ป่วยที่เข้ามาตรวจในสถานพยาบาลอย่างต่อเน่ือง จึงขอความร่วมมือ ประชาชนและผู้ดูแลสถานประกอบการ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ยังคงพบผูต้ ิดเช้อื อย่างต่อเนื่องในการ ปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด โดยการสวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ ลดการเดินทางท่ีไม่จ้าเป็น โดยเฉพาะสถานที่ เส่ียงที่มีคนรวมกันอยู่อย่างแออัด สแกนไทยชนะ หรือใช้หมอชนะเม่ือเดินทางไปยังท่ีต่าง ๆ เฝ้าระวังสังเกตอาการเป็น เวลา 14 วัน หลังไปตลาดท่ี มีรายงานผู้ติดเช้ือ และหากมีอาการไข้ไอเจ็บคอ มีน้ามูก หรือจมูกไม่รับกลิ่น ลิ้นไม่รับรส ให้ รีบ พบแพทยแ์ ละเปิดเผยประวตั ิการเดนิ ทางให้มากทีส่ ุดเท่าทจ่ี ะท้าได้ 3

ทำควำมร้จู ักโควดิ - 19 ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID - 19) เป็นเช้ือไวรัสที่สามารถก่อให้เกิด โรคทางเดินหายใจ หลังติดเช้ืออาจไม่มีอาการ หรืออาจมีอาการ ต้ังแต่ไม่รุนแรงคือ คล้ายกับ ไขห้ วัดธรรมดา หรอื อาจกอ่ ให้เกดิ อาการรุนแรง เปน็ ปอดอักเสบและเสียชีวติ ได้ โควดิ - 19 ติดได้จำก 3 รู เข้าสู่คนผ่านทางการไอ จาม สัมผัสโดยตรงกับสารคัดหล่ัง เช่น น้ามูก น้าลายของคน จงึ มี 3 รู ทตี่ อ้ งระวัง ดงั นี้ 1. รูน้ำตำ – ไม่ขยี้ตา ดวงตา 2. รจู มูก – ไมแ่ คะจมูก เชื้อโรค มีช่องท่อระบายน้าตาที่เชื้อโรค สามารถเข้าทาง โพรงจมูก สามารถผา่ นเข้าไปได้ สทู่ างเดนิ หายใจได้ 3. รูปำก – ไม่จับปาก ปากเป็นช่องรว่ มที่เชื้อโรค ส า ม า ร ถ เ ข้ า สู่ ท า ง เ ดิ น หายใจต่อไป 4

ตดิ โควิดหรือเปลา่ ? เช็กสัญญาณและอาการได้ที่น่ี 87.9% มไี ข้ตวั ร้อน 67.7% ไอแห้ง ๆ 38.8% ออ่ นเพลีย 33.4% 18.6% มีเสมหะ 14.8% หำยใจติดขดั 13.9% ครั่นเนอ้ื ครนั่ ตวั /ปวดขอ้ 13.6% 11.4% เจ็บคอ 5.0% ปวดหัว 4.8% หนำวสั่น 3.7% วิงเวียน/อำเจียน คดั จมูก วันทต่ี ดิ เช้ือ ท้องเสีย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ผูป้ ่วยในกลมุ่ นี้แสดงอาการภำยใน 14 วนั โดยเฉลีย่ แล้วเริ่มมอี าการในวันที่ 5 และ 6 5

ใครบำ้ งที่เส่ยี งสงู ตดิ โควิด - 19 กลมุ่ เสย่ี งโดยตรงที่อาจสมั ผสั เชอื้ เพ่ิงกลับจาก สัมผัสใกลช้ ิด พื้นทีเ่ สยี่ ง ผูป้ ่วยสงสัยติดเช้ือ แยกตวั เพ่ือสงั เกตอาการ ณ ทพ่ี กั 14 วนั กลุม่ เสย่ี งทีต่ อ้ งระวัง หากติดเชือ้ อาจมอี าการทร่ี นุ แรง - ผสู้ ูงอายุ 70 ปขี ึน้ ไป - ผปู้ ่วยโรคเรือ้ รัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหติ สงู หลอดเลือดหวั ใจ หรอื ภมู ิแพ้ - เดก็ เล็กต่ากวา่ 5 ปี อยบู่ ้าน หลีกเลยี่ งสถานท่แี ออัด ลา้ งมือบอ่ ยๆ รักษา 3 รู “ตา จมูก ปาก” เว้นระยะการใกล้ชิด 2 เมตร และสวมหนา้ กากผ้า 6



8

9

10



12

13

14



16

ยืนตรง แยกเท้า 2 ข้าง หดท้องเล็กนอ้ ย เอวตั้งตรง ใหร้ ะยะหา่ งเท่ากบั หวั ไหล่ น้วิ มอื ชิดกันโดยไม่เกร็ง ผอ่ นคลาย จิกปลายเท้า หนั ฝ่ามอื ไปข้างหลงั ลงกับพน้ื กดส้นให้โคนเท้า ขณะกายบริหาร หดกน้ โคนขา และท้องตงึ ให้แน่น งอบ้นั ท้าย ตามอง ทาสมาธิจดจ่ออยทู่ ่ีเท้า แกวง่ แขนไปขา้ งหนา้ เบา ๆ ทามุม 30 ° หายใจเขา้ แกวง่ ไปดา้ นหลงั แรงหน่อย ทามมุ 60 ° หายใจออกนบั 1 คร้ัง ทง้ิ น้าหนกั ลงมือใหเ้ หมือนลูก ต้มและต้องสะบดั มือทุกครั้ง ใหเ้ ลือดไหลเวยี น 17

กลมุ่ เสรมิ ภมู ิค้มุ กนั เช่น พลูคาวหรือผักคาวตอง เห็ดต่าง ๆ ตรีผลา (สมอไทย สมอพิเภก มะขามปอ้ ม) กล่มุ ทีม่ วี ติ ำมินซี และสำรต้ำนอนุมลู อิสระ เช่น ดอกข้ีเหล็ก ยอดมะยม ใบเหลียงยอดสะเดา มะระข้ีนก ฟักข้าว ผักเชียงดา คะน้า มะรุม ผักแพว มะขามป้อม ลูกหม่อน และผัก ผลไมห้ ลากสี กล่มุ ท่มี ีสำระสำคญั ในกำรป้องกันกำรตดิ เช้ือไวรสั กอ่ โรคโควดิ - 19 เช่น พลูคาวหรือผักคาวตอง กะเพรา หอมแดง หอมหัวใหญ่ มะรุม ใบหม่อน แอปเปลิ เปลือกผลของพืชตระกลู ส้ม (สม้ มะนาว มะกรูด ส้มซา่ ) ตวั อยำ่ งเมนูต้ำนโควิด – 19 ผัดกะเพรา – ใบกะเพรามีสารโอเรียนทิน (Orientin) สาระสาคัญที่มีศักยภาพป้องกันไม่ให้ไวรัส เขา้ สู่เซลล์ ลดโอกาสการติดเช้ือของเซลล์ ช่วยป้องกนั ไม่ใหป้ ว่ ยไข้จากไวรสั ต้มยา – หอมใหญ่ หอมแดง มีสาระสาคัญอย่างสารเคอรซ์ ที ิน (quercetin) ทมี่ ศี ักยภาพปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ ไวรัสเข้าเซลล์ ช่วยลดโอกาสติดเชื้อ อีกท้ังยังมีเห็ดท่ีมีสารเบต้ากลูแคนช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ทาให้ ไม่ป่วยง่าย และมะนาว มีวิตามินซีท่ีมีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมการทางานของระบบ ภมู คิ ้มุ กัน 18

19

20

กำรดูแลสุขอนำมยั ส่วนบคุ คล ด้วยหลกั กำร 3 ล. “ลด เลยี่ ง ดูแล” • ลดสัมผสั - ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่และน้า หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกคร้ัง ก่อนรับประทาน อาหาร หลังใช้ส้วม หรือหลังจากไอ จาม หรือหลังสัมผัสจุดเสี่ยงที่มีผู้ใช้งานร่วมกันในที่สาธารณะ เชน่ กลอนหรอื ลกู บดิ ประตู ราวจับหรือราวบนั ได เป็นตน้ - ลดการปนเป้ือนและแพร่กระจายเชื้อโรค โดยเฉพาะเม่ือไอหรือจาม ควรใช้ ผ้าข้างใดข้างหนึ่งมาจับไหล่ตัวเอง ฝั่งตรงข้าม และยกมุมข้อศอกปิดปากและจมูกตนเอง ก่อนไอ จามทุกคร้ัง เม่ือเจ็บป่วยให้ใช้หน้ากากอนามัย • เลี่ยงจุดเส่ยี ง - หลีกเล่ียงการเข้าไปในพื้นที่ท่ีมีคนหนาแน่น แออัด หรือพื้นที่ปิด โดยเฉพาะ ผู้สูงอายุ เด็ก และสตรีต้ังครรภ์ หากจาเป็นให้ใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ตามความ เหมาะสม - หลีกเลี่ยง หรืออยู่ห่างจากผู้ท่ีมีอาการไอ จาม และมีความเส่ียงว่าจะติดเชื้อ ระบบทางเดนิ หายใจ อย่างน้อย 1 เมตร - หลกี เลยี่ งการใช้มือสมั ผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไม่จาเปน็ - ผู้ที่เป็นกลุ่มเส่ียง ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 70 ปี ผู้มีโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคปอด และเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ให้เลี่ยงการออกนอกบ้าน เวน้ แต่จาเปน็ ใหอ้ อกนอกบ้านน้อยท่ีสุดในระยะเวลาส้นั ทส่ี ุด • ดูแลสขุ ภำพตนเองและสงั คม - ดูแลตัวเองด้วยการเลือกทานอาหารท่ีร้อนหรือปรุงสุกใหม่ ๆ ออกกาลังกาย สม่าเสมอและพักผอ่ นให้เพียงพอ - หากเดินทางกลับจากประเทศหรือพื้นที่ท่ีมีการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด - 19 ควรกักตวั เองทบ่ี า้ น 14 วัน และปฏิบัติตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุข - รักษาระยะห่างทางสงั คมด้วยการอยู่ที่บ้านหรือเลอื กทางานที่บ้าน หากออกนอกบ้าน ให้รกั ษาระยะห่างระหวา่ งบคุ คลไม่น้อยกวา่ 1 - 2 เมตร ในทุกท่ที กุ เวลา 21

ก ำ ร ใ ช้ ห น้ ำ ก ำ ก อ น ำ มั ย ห รื อ ห น้ ำ ก ำ ก อ น ำ มั ย ผ้ ำ ป้ อ ง กั น เ ชื้ อ ไ ว รั ส โ ค โ ร น ำ (COVID - 19) จากสถานการณ์ประชาชนมีความตื่นตัวในการป้องกันตนเองจากเช้ือไวรัสโควิด - 19 ที่กาลังระบาด นอกจากการ “กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ” แล้ว หน้ากาก เป็นแนวทางหนึ่ง ในการป้องกันละอองที่อาจปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ หน้ากากเป็นอุปกรณ์ ป้องกันอย่างหนึ่ง ที่ใช้ป้องกันระบบทางเดินหายใจจากมลพิษ สารคัดหลั่ง และเชื้อโรคต่าง ๆ ทั้งน้ี หน้ากากมีหลายประเภท ตง้ั แต่หน้ากากกรองอากาศชนิด N95 หน้ากากอนามัย และหนา้ กากผา้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์วิธีการใช้งาน ท่แี ตกต่างกนั ดงั น้ี • กลุ่มท่ีต้องใช้หน้ำกำก N95 คือ บุคลากรทางการแพทย์ท่ีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ตดิ เช้ือ ได้แก่ แพทย์ พยาบาลในรถส่งต่อ เจ้าหน้าที่เก็บตัวอย่าง พยาบาลที่ดแู ล ผู้ป่วย พนักงานเปล พนักงานทาความสะอาดในห้องผูป้ ว่ ย เจา้ หนา้ ทีห่ ้องปฏบิ ัติการ เป็นต้น • กลุ่มท่ีต้องใช้หน้ำกำกอนำมัย คือ บุคลากรทางการแพทย์ในสถานบริการ การสาธารณสุขที่ไม่ได้สัมผัสเช้ือโดยตรง ผู้ที่ถูกแยกสังเกตอาการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน (อสม.) ที่ไปเยี่ยมผู้ท่ีถูกกักกันที่บ้าน (Home Quarantine) ผู้ที่เป็นไข้หวัดธรรมดา หรือผ้ทู ี่ต้องดแู ล ผู้ทีม่ ีอาการดังกล่าว • กลุ่มที่ต้องใช้หน้ำกำกผ้ำ คือ ประชาชนท่ีไม่ป่วย สุขภาพแข็งแรง กรณีต้องเข้า ไปในพื้นที่เส่ียง/อาคารปิดที่มีคนแออัด/อยู่ในรถสาธารณะท่ีมีคนจานวนมาก ท้ังน้ี หากไม่อยู่ใน พนื้ ท่เี ส่ียงไมจ่ าเปน็ ตอ้ งสวมหนา้ กาก รวมถงึ อสม. เคาะประตเู ย่ยี มบา้ น 22

วิธีกำรทำควำมสะอำดเพอื่ ปอ้ งกนั และฆำ่ เช้อื ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID - 19) เนื่องจากไวรัสโคโรนาสามารถอยู่ในส่ิงแวดล้อมได้เป็นระยะเวลานาน 2 ชั่วโมง - 9 วัน เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเชอ้ื โรคทีป่ นเป้ือนอยู่ในสภาพแวดล้อม จึงควรใช้สารทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ ในการกาจัดเช้ือได้ในระยะเวลาส้ัน ชนิดที่ทาลายเชื้อไวรัสได้ภายในระยะเวลา 1 นาที ได้แก่ สารประกอบโซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% (เช่น น้ายาฟอกขาวความเข้มข้น 1000 ppm) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% (5000 ppm) และแอลกอฮอล์ 70% โดยมีวิธีการทาความสะอาด และข้อควรระวงั ดงั น้ี 1. กำรเตรยี มอปุ กรณ์ 1.1 อุปกรณ์ทาความสะอาด ได้แก่ น้ายาทาความสะอาดหรือน้ายาฟอกขาว ถุงขยะ ถังน้า ไมถ้ ูพื้น ผ้าสาหรบั เช็ดทาความสะอาด 1.2 อปุ กรณ์ป้องกันร่างกาย ได้แก่ ถุงมือ หน้ากากผ้า เส้ือผา้ ที่จะนามาเปล่ียน หลงั ทาความสะอาด 1.3 การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดพ้ืนผิว กรณี เป็นสิ่งของอุปกรณ์ เครื่องใช้ แนะนาให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% ในการเช็ดทาความสะอาด กรณีเป็นพ้ืนที่ขนาดใหญ่ เช่น พ้ืนห้อง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ายาซักผ้าขาว) 0.1% หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% โดยตรวจสอบองค์ประกอบของน้ายาทาความสะอาดบนฉลาก ข้างขวดผลิตภัณฑ์ควรตรวจสอบวันหมดอายุ ทั้งน้ี การเลือกใช้ข้ึนกับชนิดพ้ืนผิววัสดุ เช่น โลหะ หนัง พลาสติก 2. กำรทำควำมสะอำดและฆ่ำเชือ้ 2.1 ผทู้ ่ที าความสะอาด แนะนาใหส้ วมใส่ชดุ ป้องกนั รา่ งกาย ได้แก่ หนา้ กาก อนามัย หมวกคลมุ ผม แวน่ ตากนั ลม ถุงมอื ยาง รองเทา้ บทู และผา้ กันเปือ้ นพลาสตกิ 2.2 ในขณะทาความสะอาดควรเปิดประตู/หน้าต่าง เพ่ือให้มีการระบาย อากาศ 2.3 หากพื้นผิวมีความสกปรก ควรทาความสะอาดเบอื้ งต้นก่อน เช่น นาผ้า ชบุ น้า เช็ดบริเวณท่ีมีฝุ่นหรือคราบสกปรกก่อนท่ีจะทาการใช้น้ายาทาความสะอาด เพื่อฆ่าเชอ้ื และ นาผา้ ชุบนา้ สะอาดเชด็ ซ้าอีกครั้ง 2.4 ทาความสะอาดพนื้ บรเิ วณทพ่ี กั อาศยั และอุปกรณ์เคร่อื งใช้ เช่น บรเิ วณ ทมี่ กี ารสัมผัสร่วมกันบอ่ ย ๆ และจดุ เสีย่ งอื่น ๆ 23

2.5 การทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม ด้วยน้ายาทาความสะอาดทั่วไป พื้นห้องส้วมให้ฆ่าเช้ือโดยราดน้ายาทาความสะอาดท้ิงไว้อย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณ ท่ีรองน่ังโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ท่ีกดชักโครก ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ อ่างลา้ งมอื กอ๊ กนา้ ท่วี างสบู่ ผนัง ซอกประตู หมำยเหตุ : หากเป็นการทาความสะอาดโรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก อาคาร สานักงาน ร้านอาหาร ซึ่งไม่มีคนพักค้างคืน แนะนาให้ปิดพื้นท่ีที่มีผู้ป่วยเข้าไปสัมผัสหรือใช้งาน ไว้ 24 ช่ัวโมงก่อนเริ่มทาความสะอาดและฆ่าเชื้อ เพื่อลดโอกาสในการสัมผัสละอองเช้ือโรคที่ ติดตามบริเวณต่าง ๆ 3. กำรจดั กำรหลงั ทำควำมสะอำดและฆ่ำเช้อื โรค 3.1 หลังทาความสะอาดควรซักผ้าสาหรับเช็ดทาความสะอาดและไม้ถูพ้ืน ดว้ ยน้าผสมผงซกั ฟอกหรอื นา้ ยาฆ่าเชือ้ แลว้ ซักด้วยนา้ สะอาดอีกคร้งั และนาไปผึ่งแดดให้แหง้ 3.2 บรรจุภัณฑ์ใส่น้ายาทาความสะอาด ควรคัดแยกออกจากขยะท่ัวไป ในครัวเรือน และท้ิงในถังขยะอันตราย เศษขยะท่ีเหลือรวบรวมและท้ิงขยะลงในถุงพลาสติก ซ้อนสองชั้นหรือถุงขยะ มดั ปากถุงให้แนน่ และนาไปทิ้งทันที โดยทง้ิ ร่วมกับขยะท่ัวไป 3.3 ถอดถุงมือแล้วล้างมือด้วยสบู่และน้า หากเป็นไปได้ควรชาระล้าง ร่างกายและเปล่ียนเส้อื ผ้าโดยเร็ว 4. ข้อควรระวัง 4.1 สารที่ใช้ฆ่าเช้ือส่วนใหญ่เป็นชนิดสารฟอกขาว ซ่ึงอาจก่อให้เกิด การระคายเคอื งผิวหนัง เน้อื เยอ่ื ออ่ น ควรระวังไม่ให้เข้าตาหรือสมั ผัสโดยตรง 4.2 ไม่ควรผสมน้ายาฟอกขาวกับสารทาความสะอาดอ่ืน ๆ ที่มีส่วนผสม ของแอมโมเนีย 4.3 หลีกเลี่ยงการใช้สเปรย์ฉีดพ่นเพื่อฆ่าเชื้อ เนื่องจากอาจทาให้เกิด การแพรก่ ระจาย ของเชือ้ โรค 4.4 เพื่อให้สารทาความสะอาดมีประสิทธิภาพสูงสุดในการทาความสะอาด ควรเตรยี มกอ่ นการใช้งาน 4.5 ไม่ควรนาถุงมือไปใช้ในการทากิจกรรมประเภทอ่ืน ๆ นอกจาก การทาความสะอาดเทา่ นน้ั เพ่อื ปอ้ งกันการแพร่กระจายของเช้ือโรค 24

ไวรัสโคโรนำสำมำรถอยูใ่ นส่งิ แวดลอ้ มได้นำน 2 ช่วั โมง – 9 วัน เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรคที่ปนเป้ือนอยู่ในสภาพแวดล้อม องค์กรอนามัยโลก ใหค้ าแนะนาสาร 3 ชนิด ทีส่ ามารถทาลายเช้อื ไวรสั ไดภ้ ายในระยะเวลา 1 นาที ไดแ้ ก่ สารประกอบ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 0.1% (เช่น น้ายาฟอกขาวความเข้มข้น 1000 ppm) ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ 0.5% (5000 ppm) g เชน่ น้ายาซกั ผ้าสี และแอลกอฮอล์ 62% - 70% ** TIP ทำควำมสะอำดในรำคำประหยดั ** ห้องนำ้ หอ้ งส้วม ใช้น้ายาล้างห้องน้าอย่างสม่าเสมอ หรือทาลายเชื้อด้วยน้ายาฟอกขาว (2 ฝา ต่อน้า 2 ลติ ร) ขณะทาความสะอาดควรเปิดประตูเพ่อื ระบาย อากาศ พน้ื ทบ่ี ริเวณทพ่ี ัก อปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ และจดุ เสย่ี งทีส่ มั ผสั บ่อย ๆ เช่น ลูกบดิ มือจับราว บนั ได ใช้น้ายาฟอกขาว (2 ฝา ตอ่ น้า 2 ลิตร) ขณะทาความสะอาด ควรเปดิ ประต/ู หนา้ ต่าง เพอ่ื ใหม้ ีการระบายอากาศ 25

ทาความสะอาดเส้ือผา้ ผ้าปเู ตยี งปลอกหมอน ผา้ ขนหนู ฯลฯ ด้วยสบู่ หรือผงซักฟอกธรรมดาและน้า หรือซักผ้าด้วยน้าร้อนที่อุณหภูมิน้า 60 – 90 องศาเซลเซียส หลังทาความสะอาดควรซักผ้าสาหรับเช็ดทาความสะอาดและ ไม้ถูพื้นด้วยน้าผสมผงซักฟอก หรือน้ายาฆ่าเช้ือ แล้วซักด้วยน้า สะอาดอีกคร้งั และนาไปผง่ึ ตากแดดใหแ้ ห้ง 26

เอกสำรอำ้ งอิง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2563. คู่มือ การดาเนินงานระบบปฏิบัติการอนามัย ส่ิงแวดล้อมสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในสถานการณ์การระบาดของ โรคโควิด-19 ฉบับที่ 1. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คาแนะนาสาหรับประชาชนในการทาความสะอาด ทาลาย และฆ่าเชื้อโรคในสถานการณ์การระบาดของโร คติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). กระทรวงสาธารณสุข. คาแนะนาการแยกสังเกตอาการท่ีบ้าน (Home Quarantine) ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. 2564. รายงานสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019. ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2563. สู้! โควิด-19 ไปด้วยกัน คู่มือดูแลตนเอง สาหรับประชาชน. สา้ นักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส) และเครอื ขา่ ยคนไทยไรพ้ ุง. 27




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook