Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

บทที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

Published by วันทนีย์ ศรีทองมาศ, 2020-10-19 07:45:54

Description: บทที่ 4 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย

Search

Read the Text Version

วชิ าวิทยาการคานวณ ว22103 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 ผู้สอน นางสาววันทนีย์ ศรีทองมาศ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ตวั ชี้วัด • ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธิในการเผยแพร่ผลงาน

***คำแนะนำ ให้นักเรียนนำสื่อกำรสอนนีด้ ปู ระกอบกับหนงั สอื เรยี น ข้อมลู บำงอย่ำงไมม่ ใี นหนงั สือเรียนนกั เรยี นควรจดเพิ่มลงไปนะคะ*** วิชำวิทยำกำรคำนวณจะแบ่งเนื้อหำหลกั ออกเป็น 3 ดำ้ น 1.วิทยำกำร 2.เทคโนโลยแี ละ 3.กำรรู้ดิจทิ ลั คอมพวิ เตอร์ กำรสอื่ สำร Computer Science Information and Digital Literacy Communication Technology

ซึ่งเนื้อหำทย่ี กมำในหน่วยกำรเรียนรนู้ ี้จะเป็นหัวขอ้ ท่ี 3 1.กำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งปลอดภยั 3.กำรรู้ดิจิทัล 2.กำรปฏิบตั ิตนเมือ่ พบเนือ้ หำไม่เหมำะสม 3.ควำมรับผิดชอบต่อกำรใชง้ ำนเทคโนโลยสี ำรสนเทศ Digital Literacy 4.ทรัพยส์ ินทำงปัญญำ

เทคโนโลยสี ำรสนเทศ หมำยถึง คำว่ำ “เทคโนโลยีสารสนเทศ” หรือ”Information Technology” คือ กำรนำเอำเทคโนโลยีมำใช้สร้ำงมูลค่ำเพิ่มให้กับสำรสนเทศ ทำให้ สำรสนเทศมีประโยชน์ และใช้งำนได้กว้ำงขวำงมำกขึ้น เทคโนโลยี สำรสนเทศรวมไปถงึ กำรใช้เทคโนโลยีด้ำนต่ำงๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บ ใชง้ ำน สง่ ตอ่ หรือสอื่ สำรระหวำ่ งกนั

ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1.เทคโนโลยีสำรสนเทศ ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพกำรทำงำน ช่วยใหเ้ กดิ ควำมสะดวกรวดเรว็ และถูกต้องแม่นยำมำก ยิง่ ข้นึ 2.เทคโนโลยีสำรสนเทศ ช่วยอำนวยควำมสะดวกในชีวติ ประจำวัน เชน่ กำรติดตอ่ สอ่ื สำร กำรคน้ คว้ำหำข้อมลู กำรเดินทำง หรอื กำรบันทกึ ข้อมูลรูปภำพต่ำงๆ 3.เทคโนโลยีสำรสนเทศ เอื้อประโยชนท์ ำใหเ้ กดิ สภำพทำงกำรทำงำน ทสี่ ำมำรถทำได้ทุกสถำนที่และทุกเวลำ 4.เทคโนโลยีสำรสนเทศ ทำให้สงั คมเปลยี่ นจำกสงั คมอุตสำหกรรมมำเปน็ สงั คมสำรสนเทศ 5.เทคโนโลยีสำรสนเทศ มบี ทบำททส่ี ำคัญในทุกวงกำร มผี ลต่อกำรเปลย่ี นแปลงโลกด้ำนควำมเปน็ อยู่ สังคม เศรษฐกจิ กำรศึกษำ กำรแพทย์ เกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรเมือง ตลอดจนกำรวจิ ยั และ กำรพัฒนำตำ่ งๆ

สรุปได้ว่ำ กำรใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเปน็ สงิ่ จำเปน็ ท้ังในดำ้ นกำรใชช้ วี ติ ส่วนตวั กำรทำงำน และกำรพัฒนำสงั คมในทกุ ๆด้ำน กำรศึกษำเรยี นร้เู พอ่ื ปรับเปลยี่ นหรอื เปลยี่ นแปลงตนเองให้ก้ำวตำมทันเทคโนโลยี จงึ กลำยเปน็ ส่งิ จำเปน็ และมีควำมสำคัญสำหรับกำรดำเนนิ ชีวติ ของคนเรำดว้ ยเช่นกัน

1.การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย คณุ ประโยชน์จากการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อานวยความสะดวก เปน็ แหลง่ ความบนั เทิง ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย จัดการทรพั ยากรตา่ ง ๆ ได้ดขี ้นึ เกดิ คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีขนึ้

โทษจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ปญั หาการละเมดิ สิทธิส่วนบคุ คล ปญั หาอาชญากรรมทีม่ ผี ลต่อชวี ติ ปัญหาการตดิ เกม ปญั หาการละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ ปญั หาสังคมเสอ่ื มโทรม ปญั หาอาชญากรรมข้อมูล

ตวั อยำ่ งที่เกดิ ข้ึนในชีวติ ประจำวัน Cyber bullying เปน็ เร่ืองปกตหิ รอ ? https://youtu.be/GKF4e8s581M เมื่อนกั เรยี นดูวดิ โี อนีจ้ บนักเรียนมีความคดิ เหน็ อย่างไรบา้ ง....... >>จากคลิปจะแสดงให้เหน็ วา่ ตัวอย่างน้เี ป็นตัวอยา่ งของภัยคกุ คาม ท่ีเกดิ ขึ้นจากการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ทม่ี า :channel กสทช./NBTC Thailand

ภยั คุกคำมจำกกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศ 1.กำรคุกคำมโดยใชห้ ลักจิตวทิ ยำ 2.กำรคุกคำมด้วยเน้ือหำท่ีไม่เหมำะสม 3.กำรคกุ คำมโดยใช้โปรแกรม

1.การคุกคามโดยใช้หลักจิตวทิ ยา จำกหัวข้อข่ำวท่ีนักเรียนเหน็ วเิ ครำะหไ์ ด้วำ่ อยำ่ งไรบำ้ ง ?? >>>ซึ่งจำกขำ่ วนีเ้ ปน็ ไปไม่ได้เลยที่จำ่ ย 1 พนั จะได้ 1 ล้ำนเป็นกำรคกุ คำมโดยใช้หลกั จติ วทิ ยำ ซึง่ เป็นกำรหลอกลวงใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ี เรำต้องกำรโดยทคี่ นหลอกลวงไม่ต้องใชค้ วำมรูห้ รือควำมชำนำญทำงดำ้ นเทคโนโลยอี ะไรเลย มักมีกลวธิ ใี นกำรหลอกลวงเพ่ือให้ ไดม้ ำซึง่ รหัสผ่ำนหรอื ขอ้ มูลสำคัญของผู้เสียหำย อยำ่ งในข่ำวเงอ่ื นไขคอื จำ่ ย 1 พนั ได้ 1 ลำ้ นไมม่ ที ำงเป็นไปไดอ้ ยำ่ งแนน่ อน

2.กำรคุกคำมด้วยเน้อื หำทีไ่ มเ่ หมำะสม 1.กำรพนนั ออนไลน์ ตัวอย่ำง 2.ส่อื ลำมกอนำจำร เนอื้ หำท่ีไม่เหมำะสม 3.เนื้อหำท่ีมกี ำรหม่ินประมำท 4.กำรกระทำท่ผี ดิ ตอ่ กฎหมำยและจรยิ ธรรม 5.กำรกลั่นแกล้งกันผำ่ นสือ่ สังคมออนไลน์

3.กำรคกุ คำมโดยใช้โปรแกรม Cyber security ระวงั ภยั รำ้ ยบนโลกไซเบอร์ https://www.youtube.com/watch?v=sQLKz0FdjTQ&t=9s เมอ่ื นกั เรียนดูวิดโี อนี้จบมคี วำมคิดเห็นอย่ำงไรบ้ำง...... จะเหน็ ได้วำ่ กำรคุมคำมโดยใชโ้ ปรแกรมมหี ลำยประเภท เชน่ กำรปลอม หน้ำเวบ็ ไซต์ กำรหลอกให้เรำตดิ ตง้ั โปรแกรมตำ่ งๆ ที่มำ :channel กสทช./NBTC Thailand

แนวทำงกำรใช้งำนเทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งไรใหป้ ลอดภัย 1.สำรองขอ้ มลู อย่ำงสม่ำเสมอ และสำรองไวห้ ลำยแห่ง 2.ปรบั ปรงุ ระบบปฏิบตั ิกำรและโปรแกรมตำ่ งๆใหท้ นั สมยั อยู่เสมอรวมถงึ โปรแกรมแอนต้ีไวรัส 3.ติดตงั้ ซอฟแวรเ์ ท่ำท่ีจำเป็น และไมต่ ดิ ตั้งโปรแกรมทดี่ ำวน์โหลดจำกแหล่งที่ไม่น่ำเช่อื ถือ 4.หมน่ั สงั เกตสงิ่ ผดิ ปกตทิ ีเ่ กิดข้นึ จำกกำรใชง้ ำน หำกพบสิ่งผิดปกติใหร้ บี ดำเนนิ กำรแกไ้ ข

สรปุ : หลักกำรใชง้ ำนเทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั • ตระหนักถึงปญั หำ • ใครได้รบั ผลกระทบ • วิธีในกำรปอ้ งกนั ปัญหำ • จดั กำรกบั ปัญหำทเี่ กิดข้ึน

2.การปฏิบตั ติ นเม่อื พบเนื้อหาทไ่ี มเ่ หมาะสม ข้อมูลสว่ นตัวและรหัสผ่ำน “ข้อมลู ส่วนตัว”หมำยถึง ข้อมลู ใดๆ ที่เก่ยี วข้องกับบุคคลโดยธรรมชำติ ทงั้ โดยตรงและโดยออ้ ม รวมกับ ขอ้ มลู อ่ืนๆ ท่ีมีอยหู่ รอื ท่ีจดั เก็บโดยองคก์ ร ขอ้ มูลทส่ี ำมำรถระบตุ วั ตนของบุคคลได้ เชน่ ชื่อสกลุ เลข ประจำตัวประชำชน รปู ภำพ วันเดือนปีเกดิ อำยุ หรือทอ่ี ยู่ ประวตั ิกำรศกึ ษำ เบอร์โทรศพั ท์ บท สนทนำในไลนห์ รือ Facebook กำรปอ้ งกันกำรเขำ้ ถงึ ขอ้ มูลสว่ นตัวจำกผอู้ ่นื โดยกำรตง้ั คำ่ ควำมเปน็ สว่ นตัวหรือรหสั ผำ่ นตอ้ งเป็นกำรตัง้ คำ่ ท่ผี ู้อื่นไมส่ ำมำรถคำดเดำไดแ้ ตต่ ัวเรำเองต้องจำได้

10 อันดับรหัสผ่ำนทีร่ ว่ั ไหล • จะเหน็ ไดว้ ำ่ รหัสผำ่ นทีร่ ว่ั ไหลส่วนใหญจ่ ะเปน็ ส่งิ ทค่ี ำดเดำไดง้ ่ำยมหี ลักกำรจำไมย่ ำก

ขอ้ แนะนาในการตัง้ รหัสผา่ น

ขอ้ แนะนาในการตัง้ รหัสผา่ น

ข้อแนะนำในกำรตั้งและใช้งำนรหัสผำ่ น • ไม่บันทึกรหัสผำ่ นแบบอัตโนมตั บิ นโปรแกรมบรำวเซอร์ • ตง้ั ให้จดจำได้งำ่ ยแตย่ ำกตอ่ กำรคำดเดำ • ออกจำกระบบทุกคร้งั เมอ่ื เลิกใช้บรกิ ำรตำ่ งๆบนอนิ เตอรเ์ นต็ • หลีกเล่ยี งกำรบันทกึ รหัสผ่ำนลงในกระดำษ สมุดโนต้ อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ • หลีกเล่ยี งคำทมี่ อี ยใู่ นพจนำนกุ รม เชน่ ชอื่ จงั หวดั ชือ่ ตัวละคร ช่ือส่งิ ของตำ่ งที่เก่ียวข้อง • หลกี เลยี่ งกำรต้ังรหสั ผ่ำนโดยใช้ขอ้ มูลส่วนตวั เช่น วนั เดอื น ปเี กดิ ช่อื ผใู้ ช้ • รหัสผ่ำนท่ดี ีควรประกอบดว้ ยตัวอกั ษร ตวั ใหญ่ ตัวเล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์ • บญั ชรี ำยช่อื ผใู้ ช้แตล่ ะระบบควรใชร้ หัสผำ่ นทแ่ี ตกต่ำงกัน • ไม่บอกรหัสผำ่ นของตนเองแก่ผอู้ ื่นไม่วำ่ กรณีใดๆ • รหสั ผ่ำนควรตง้ั ให้เป็นไปตำมเงอื่ นไขของระบบทใี่ ชง้ ำน

วธิ กี ำรป้องกันข้อมูลส่วนตัวของตนเอง 1. หมัน่ เปล่ียนรหสั ผ่ำนทกุ 3 เดือน 2. ตง้ั ค่ำเปดิ ยืนยันตัวตนแบบ 2 ขั้นตอน 3. ไม่ใชอ้ ีเมลข์ ณะใช้ Wi-Fi สำธำรณะ 4. เปิดอเี มลใ์ หมแ่ ยกตำ่ งหำก อเี มล์น้ีเฉพำะเรื่องงำนและ ธรุ กจิ สว่ นอีกอเี มล์ไวใ้ ช้ส่วนตวั



หลังจำกเรียนรู้เรื่องข้อมูลส่วนตัวและรหัสผ่ำนเรำมำดูกันว่ำมีข้อมูลของเรำ อะไรบ้ำงที่ถูกเก็บไว้บนโลกอินเตอร์เน็ต ข้อมูลต่ำงๆของเรำทิ้งไว้ในอินเตอร์เน็ตนั้น สำมำรถถูกติดตำมและนำไปใช้งำนผ่ำน แพลตฟอร์มต่ำงๆได้ แพลตฟอร์มท่ีว่ำเช่น Facebook twitter Instagram หรือกำรใช้บริกำรเว็บไซต์ต่ำงๆ ข้อมูลมูลของเรำทม่ี ี ในอินเตอร์เน็ตเช่น Status บน Facebook รูปทีอ่ ัพในInstagram หรือข้อควำมใน Twitter หรอื ขอ้ มูลเชิงลึกเช่น จำนวนเวลำในกำรเข้ำไปดูสงิ่ ทีเ่ รำสนใจหรือกำรค้นหำ ตำ่ งๆ



2.ขอ้ มูลทีผ่ ู้ใช้ไม่มีเจตนาบันทึกไว้ในอนิ เตอรเ์ น็ต (ข้อมูลเชิงลึก) 2.ข้อมูลท่ีผู้ใช้งานไม่มีเจตนาบันทึกไว้ในอินเตอร์เน็ต (ข้อมูลเชิงลึก) สิ่งท่ีเราเคยคลิกเข้าไปดู ประวัติการ ค้นหาในอินเตอร์เน็ต ประวัติการซื้อของออนไลน์ หมายเลขไอพีแอดเดรส

ใหน้ กั เรยี นดูคลิปวดี ิโอเรือ่ ง โรคระบำด https://www.youtube.com/watch?v=TIfyxzchrRM เมอื่ นกั เรียนดคู ลปิ วิดีโอน้ีจบนกั เรยี นร้สู กึ อย่ำงไรบ้ำง….. >>>จะเหน็ ไดว้ ำ่ โรคระบำดท่ดี ไู มไ่ ดเ้ ป็นโรคระบำดท่ีเกดิ ทำงกำยแต่เปน็ โรคระบำดที่ เกดิ ขึน้ ทำงใจ เช่นกำรท่ีเรำเหน็ หวั ข้อขำ่ วตำ่ งๆเรำก็รบี แชรใ์ หเ้ พอ่ื น กำรคอมเมนต์ คลิปวีดโี อตำ่ งๆทีก่ ำลังเป็นที่นิยมในปจั จุบัน เว็บลำมก กำรพนันออนไลน์ เมื่อเห็นในคลิปแล้วเรำมีวิธกี ำรป้องกนั ไมใ่ ห้โรคระบำดเกดิ ขึ้นกบั เรำอยำ่ งไรไดบ้ ้ำง ที่มำ :channel กสทช./NBTC Thailand

2.การปฏิบัติตนเมอ่ื พบเนือ้ หาทไี่ ม่เหมาะสม เทคโนโลยีทำใหก้ ำรดำเนินชีวติ สะดวกและรวดเร็ว แตถ่ ำ้ หำกใชง้ ำนไมร่ ะมัดระวงั อำจก่อนให้เกดิ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ื่นได้

2.การปฏิบตั ติ นเมอ่ื พบเน้อื หาที่ไม่เหมาะสม 1.ปฏเิ สธกำรรับขอ้ มูล 2.ไม่สง่ ต่อ ไมแ่ ชร์ ไม่เผยแพร่ ไมเ่ ปิดดู ไมด่ ำวนโ์ หลด และไม่กดไลก์ อำจผิด พรบ.คอมพวิ เตอรไ์ ด้

2.การปฏิบตั ติ นเมื่อพบเนื้อหาทไี่ ม่เหมาะสม 3.แจ้งครหู รือผู้ปกครอง 4.แจง้ ผ้เู ก่ยี วขอ้ งทดี่ แู ลเวบ็ ไซต์น้ัน หำกไม่สำมำรถจดั กำรหรือแกไ้ ขได้ เช่น YouTube Facebook จะมีกำรรำยงำนปญั หำทีเ่ รำพบ หรอื ที่เรยี กวำ่ แจง้ แสปม เน้อื หำทเี่ รำสำมำรถแจ้งได้ เชน่ ควำมรนุ แรง เพศ ปัญหำกำรละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ

2.การปฏบิ ัติตนเมื่อพบเนื้อหาท่ไี มเ่ หมาะสม 5.แจ้งเจ้ำหนำ้ ที่รฐั หรอื ตำรวจ หรอื แจ้งกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมทเ่ี วบ็ ไซต์ www.mdes.go.th หำกผ้ดู ูแลระบบไม่จัดกำรกบั ปญั หำที่เกดิ ข้นึ ได้

2.การปฏิบัติตนเมื่อพบเน้ือหาที่ไมเ่ หมาะสม 6.ไมโ่ อนเงนิ ใหผ้ ู้อ่ืน โดยเฉพำะเม่ือมีกำรนำผลตอบแทนมำจงู ใจ 7.ตดิ ตัง้ โปรแกรมบลอ็ กเวบ็ ไซตแ์ ปลกปลอมและตง้ั คำ่ ควำมปลอดภัย

2. แนวทางการปฏิบัติตนเมื่อพบเนื้อหาทไี่ มเ่ หมาะสม 8.ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มูลส่วนตัว ครอบครวั หรอื คนรู้จกั แกผ่ ้อู ืน่ 9.ไม่เปดิ อ่ำนอีเมลหรอื ขอ้ ควำมจำกคนไม่ร้จู กั 10.เมอ่ื พบข้อควำมขม่ ขู่ คุกคำม หรือกำรให้โอนเงิน ใหร้ บี แจ้งผู้ใหญท่ นั ที

ตวั อย่ำงผู้ทไ่ี ด้รับผลกระทบจำกกำรเผยแพรข่ อ้ มลู ที่ไมเ่ หมำะสม ใหน้ ักเรียนดคู ลปิ วดี ิโอเร่ือง Message from a dead man https://www.youtube.com/watch?v=4YPyJHG8sqs&t=9s เมอื่ นกั เรยี นดคู ลปิ วดิ โี อนจ้ี บนกั เรยี นมคี วำมรสู้ กึ อย่ำงไรบ้ำง……… >>>ผลกระทบกำรเผยแพรข่ ้อมูลท่ไี มเ่ หมำะสม มำดกู ันว่ำผลกระทบสง่ ถงึ ใครบ้ำงจะมีกำรแบ่งออกเป็น 2 ฝ่ำย ได้แก่ ท่มี า :channel BETTER SOCIAL SPACE

6ผ.ล1แกนระวททบากงการาเรผปยฏแิบพตั ริต่ขนอ้ เมลู่อื ทพไ่ี บมเ่ นหอ้ืมหาาะทสมไี่ มเ่ หมาะสม ผลกระทบตอ่ ผเู้ ผยแพรข่ อ้ มูล ผลกระทบที่ผู้อนื่ ไดร้ ับจำกกำร เผยแพร่ข้อมลู ท่ีไมเ่ หมำะสม รสู้ กึ ผดิ กบั กำรกระทำของตนเอง จิตใจ เสียใจ อบั อำย ไม่ปลอดภยั กลัว มี สังคม บำดแผลทำงจิตใจ สญู เสียกำรยอมรับ ถูกสังคมลงโทษ ไดร้ ับกำรประณำม จำกผู้อ่นื ถกู เกลียดชงั จำกสงั คมรอบข้ำง กำรใช้ชวี ติ ประจำวนั ครอบครัวเดือดรอ้ น ถูกประจำนจำกสงั คมรอบขำ้ ง ไดร้ บั โทษทำงกฎหมำย อำจทำให้ กฎหมำย กำรงำนธรุ กิจ อำจถูกใหอ้ อกจำกงำนเนื่องจำกบรษิ ัทเกดิ เสยี เวลำเสยี ค่ำใช้จ่ำยในกำรดำเนนิ คดี ควำมเขำ้ ใจผดิ จำกขอ้ มูลทไี่ ด้รบั มำทำใหเ้ สีย ทำงกฎหมำย ประโยชนท์ ำงธุรกิจ

ตัวอยำ่ งกำรเผยแพรข่ ้อมลู ใหน้ ักเรียนดูคลิปวดี โิ อเรือ่ ง หวงั ดี https://www.youtube.com/watch?v=_Pg-9307lQ0 เมอ่ื นักเรยี นดูคลปิ วิดโี อนจี้ บนักเรยี นมคี วำมรสู้ กึ อย่ำงไรบำ้ ง……. >>>“ควำมหวังดขี องเรำอำจจะมำจำกส่ิงทีไ่ ม่เป็นจริงกไ็ ด้” ท่มี า :channel กสทช./NBTC Thailand

3.ความรับผิดชอบต่อการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ความรบั ผดิ ชอบตอ่ บุคคลอ่นื ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม • ไม่ตดิ ต้งั ซอฟต์แวรผ์ ดิ กฎหมาย • ไมพ่ ยายามใช้งานบัญชผี ูอ้ นื่ • ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบขององคก์ ร • ไม่แจกจา่ ยขอ้ มลู ส่วนตวั • ไม่คัดลอกผลงานผู้อน่ื • ไม่เข้าถงึ เครือข่ายทไ่ี มไ่ ด้รับอนุญาต • ไม่เขา้ เวบ็ ไซต์ทไี่ ม่เหมาะสม • ไม่หลอกลวงข่มขู่ด้วยขอ้ มูลใด ๆ • ไม่เปดิ อีเมลหรอื ไฟลจ์ ากแหล่งทไี่ ม่รู้จกั • หมนั่ ตรวจสอบดูแลระบบคอมพวิ เตอร์ • ไม่สง่ ต่ออีเมลหรอื ข้อมลู ท่ีไม่เหมาะสม • ไมน่ าขอ้ มลู ขององค์กรไปเผยแพร่ ของตนเอง

แนวทางการพจิ ารณาเนอ้ื หาก่อนการเผยแพร่ข้อมูล จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรจู้ ักกันในลักษณะตวั ย่อว่า PAPA 1.ความเป็นสว่ นตัว (Information Privacy) ให้เราเข้าใจว่าขอ้ มูลหรือส่ิงนั้นเปน็ ของใครแล้วเราสามารถเปิดเผยขอ้ มูลน้นั ไดห้ รือไม่ 2.ความถูกต้อง (Information Accuracy) ข้อมูลที่เราใชห้ รอื นาเสนอให้ผู้อืน่ มีความถูกตอ้ งน่าเชือ่ ถือหรือไม่ และเราควรตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ก่อนการเผยแพรใ่ ห้ผู้อืน่ เหมือนคลิปวดิ ีโอเร่อื งหวังดี 3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property) ต้องดูวา่ ใครเปน็ เจ้าของของขอ้ มูลนั้น หากเรานาข้อมูลมาเผยแพร่ต่อถอื ว่าเป็นการละเมดิ สิทธิ์ของ เจ้าของผลงานหรอื ไม่ 4. การเข้าถงึ ข้อมูล (Data Accessibility) เปน็ การกาหนดหรอื ระบุว่าใครบ้างทีส่ ามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลนัน้ ได้

4. การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเปน็ เจา้ ของผลงาน ทรัพย์สินทางปัญญา หมำยถึง ผลงำนอันเกิดจำกควำมคิดสร้ำงสรรค์ของมนุษย์ ทรัพย์สินทำงปัญญำ เป็นทรัพย์สินอีกชนดิ หน่ึง นอกเหนือจำกสงั หำริมทรัพย์ คือ ทรัพย์สนิ ท่ีสำมำรถเคลื่อนย้ำย ได้ เช่น นำฬิกำ รถยนต์ โต๊ะ เป็นต้น และอสังหำริมทรัพย์ คอื ทรัพย์สินที่ไม่สำมำรถ เคลือ่ นยำ้ ยได้ เช่น บ้ำน ท่ีดิน เปน็ ตน้ ทรัพย์สินทำงปญั ญำแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ลิขสิทธิ์ สิทธบิ ตั ร

ลิขสิทธ์ิ หมำยถึง สิทธิแต่เพียงผู้เดียวท่ีกฎหมำยรับรองให้ผู้สร้ำงสรรค์กระทำกำรใดๆ เกี่ยวกับงำนที่ได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิท่ีจะทำซ้ำ ดัดแปลง อนุญำตให้ผู้อื่นใช้สิทธิ์ หรือนำออกโฆษณำ กฎหมำยลิขสิทธ์ิได้ให้ควำมคุ้มครองถึงสิทธิของ ผู้สร้ำงสรรค์ ผลงำนด้ำนเทคโนโลยี มีอำยุกำรคุ้มครองตลอดอำยุผู้สร้ำงสรรค์และนับต่อไปอีก 50 ปี หลงั ผู้สรำ้ งสรรค์เสยี ชีวติ โดยเปน็ กำรใหค้ วำมคุ้มครองอตั โนมัติแก่ทำยำทด้วย

ลขิ สิทธ์ิ



1.) ประเภทของงำนท่ีมีลขิ สทิ ธ์ิ กฎหมำยลขิ สทิ ธ์ิใหค้ วำมค้มุ ครองแกง่ ำนสรำ้ งสรรค์ 9 ประเภทตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด ได้แก่

1.งำนวรรณกรรม เชน่ หนงั สอื จุลสำร ส่งิ เขยี น สง่ิ พิมพ์ คำปรำศรยั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2.งำนนำฏกรรม เชน่ งำนท่ีเกยี่ วกบั กำรรำ กำรเตน้ กำรทำทำ่ หรอื กำรแสดงประกอบข้นึ เป็น เร่ืองรำว รวมถงึ กำรแสดงโดยวิธีใบด้ ว้ ย 3.งำนศลิ ปกรรม เชน่ งำนจิตรกรรม งำนประติมำกรรม ภำพพมิ พ์ งำนสถำปตั ยกรรม ภำพถ่ำย ภำพประกอบ หรอื งำนสรำ้ งสรรคร์ ปู ทรงสำมมติ ิเกย่ี วกบั ภูมิประเทศ หรอื วทิ ยำศำสตร์ งำนศิลปะประยกุ ต์ ซึง่ รวมถึงภำพถำ่ ยและแผนผังของงำนดงั กลำ่ วด้วย 4.งำนดนตรีกรรม เชน่ คำรอ้ ง ทำนอง กำรเรียบเรียงเสียงประสำนรวมถงึ โนต้ เพลงท่แี ยกและ เรยี บเรียงเสียงประสำนแล้ว

5.งำนสงิ่ บันทึกเสียง เช่น เทปเพลง แผ่นคอมแพค็ ดิสก์ (ซดี ี) ทีบ่ ันทึกข้อมลู เสียง ทั้งน้ไี ม่ รวมถึงเสยี งประกอบภาพยนตร์ หรอื เสียงประกอบโสตทศั นวสั ดอุ ยา่ งอืน่ 6.งำนโสตทศั นวัสดุ เชน่ วดี โี อเทป วีซีดี ดีวีดี แผน่ เลเซอร์ดิสกท์ ่บี นั ทกึ ขอ้ มูลประกอบดว้ ย ล้าดับของภาพหรือภาพและเสียงอนั สามารถทีจ่ ะนา้ มาเล่นซา้ ได้อกี 7.งำนภำพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ รวมท้ังเสียงประกอบของภาพยนตรน์ นั้ ดว้ ย (ถ้ามี) 8.งำนแพร่เสียงแพร่ภำพ เชน่ การกระจายเสยี งวทิ ยุ การแพร่เสยี ง หรือภาพทางโทรทศั น์ 9.งำนอืน่ ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยำศำสตร์ หรอื แผนกศลิ ปะ

2.) ผลงานทถี่ อื วา่ ไมเ่ ปน็ ลขิ สทิ ธ์ิ ได้แก่ 1. ขา่ วประจาวนั และข้อเท็จจริงตา่ งๆ ทีม่ ีลักษณะเปน็ เพียงขา่ วสาร เช่น วัน เวลา สถานท่ี ชือ่ บุคคล จานวนคน ปริมาณ เปน็ ต้นทัง้ นี้ หากมีการนาข้อมูลดังกลา่ วมาเรียบเรียงจนมีลกั ษณะเปน็ งานวรรณกรรม อาทิ การ วเิ คราะหข์ ่าว บทความ ผลงานนั้นอาจจะไดร้ ับความคุ้มครองในลักษณะของงานวรรณกรรม 2. รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย 3. ระเบียบ ขอ้ บังคับ ประกาศ คาสง่ั คาชีแ้ จง และหนังสือโตต้ อบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่น ใดของรฐั หรือของท้องถิน่ 4. คาพิพากษา คาสั่ง คาวนิ ิจฉยั และรายงานของทางราชการ 5. คาแปลและการรวบรวมสง่ิ ตา่ งๆ ตามขอ้ 1 - 4 ซง่ึ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของ ทอ้ งถิ่นจัดทาขน้ึ 6. ความคดิ ขัน้ ตอน กรรมวธิ ี ระบบ วธิ ีใช้หรือทางาน แนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎีทาง วิทยาศาสตร์ หรือคณติ ศาสตร์

ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ลขิ สิทธิ์ การได้มาซึง่ สิทธิ์ สิทธใิ นลขิ สิทธิ์จะเกิดขึ้นโดยทันทีนับตั้งแต่ผู้สร้ำงได้สร้ำงสรรค์ผลงำนเสร็จ โดยไม่ต้องจดทะเบียน ดังน้ัน เจ้ำของลิขสิทธิ์จึงควรปกป้องคุ้มครองสิทธิของ ตนเองโดยกำรเก็บรวบรวมหลักฐำนต่ำงๆ ที่แสดงว่ำได้ทำกำรสร้ำงสรรค์ผลงำน น้ันขน้ึ เพ่อื ประโยชนใ์ นกำรพสิ จู นส์ ิทธิหรือควำมเป็นเจำ้ ของในโอกำสต่อไป

ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ลิขสิทธิ์ ใครคือเจา้ ของลขิ สทิ ธ์ิ (ผมู้ ีสทิ ธใิ นการจดั การกบั งานลิขสทิ ธข์ิ องตนเอง) ไดแ้ ก่ บุคคลต่อไปน้ี ผสู้ ร้างสรรคง์ าน ผดู้ ัดแปลง ผสู้ รา้ งสรรคใ์ นฐานะพนกั งานหรอื ลูกจ้าง หนว่ ยงานของรัฐหรือท้องถนิ่ ผวู้ า่ จา้ ง ในกรณีว่าจา้ งผ้อู นื่ สร้างสรรค์งาน ผรู้ ับโอนลิขสทิ ธิ์

ทรพั ยส์ ินทางปัญญา ลขิ สทิ ธ์ิ เอกสารท่ใี ชป้ ระกอบการแจ้งขอ้ มลู ลขิ สิทธิ์ 1.สำเนำบัตรประชำชน พร้อมรบั รองสำเนำถูกตอ้ ง (กรณีเปน็ บคุ คลธรรมดำ) 2.สำเนำหนงั สอื รบั รองนิตบิ ุคคล ท่ีนำยทะเบยี นออกใหไ้ ม่เกิน 6 เดือน ของเจ้ำของลขิ สทิ ธ์ิ (กรณเี ป็น นิติบคุ คล) 3.หนังสือมอบอำนำจตดิ อำกรแสตมป์ 30 บำท พรอ้ มสำเนำบตั รประชำชนของผู้รับมอบอำนำจ (รบั รองสำเนำถูกตอ้ ง) 4. ผลงำนหรอื ภำพถ่ำยงำนลขิ สิทธ์ิ จำนวน 1 ชดุ ของเจ้ำของสทิ ธิ (กรณีเปน็ นติ ิบคุ คล) 5.หนว่ ยงำนหรือองคก์ รของรัฐบำลใชส้ ำเนำหนังสอื แต่งตง้ั ผู้บรหิ ำรหน่วยงำนหรือองค์กรฯ รวมท้ังสำเนำ บัตรประชำชนของผยู้ นื่ คำขอ (รบั รองสำเนำถูกต้อง)

ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา ลขิ สทิ ธิ์ ประโยชน์ของลขิ สทิ ธิ์ เจา้ ของสทิ ธิ์ยอ่ มได้รับความคมุ้ ครองตามกฎหมายลิขสทิ ธิ์ และมีสิทธิ แต่เพียงผู้เดยี วทจ่ี ะกระทาการใดๆ เกย่ี วกับงานทีผ่ สู้ รา้ งสรรค์ได้ทาขนึ้ หรือผลงานตามขอ้ ใดข้อหน่ึง • ทาซา้ หรอื ดัดแปลงใหม่ • เผยแพรต่ ่อสาธารณชน • ให้เช่าตน้ ฉบับหรอื สาเนางาน • ใหป้ ระโยชนอ์ นั เกดิ จากลขิ สทิ ธแ์ิ กผ่ อู้ ่ืน • อนุญาตให้ผู้อืน่ ใช้สทิ ธิ