Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Plan M.4

Plan M.4

Published by Raweewan Thipsie, 2022-07-03 03:20:48

Description: Plan M.4

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง รหสั วิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ การประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณเพื่อพัฒนาโครงงาน เรอื่ งที่ ๑ โครงงานพฒั นาsmart แนะนำการใช้ถังขยะอัจฉรยิ ะ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ๑.๑ ตวั ชีว้ ัด ว ๘.๒ ม.๔/๑ ประยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงานทม่ี ีการบูรณาการกับวิชาอ่ืน อยา่ งสร้างสรรค์ และเชือ่ มโยงกบั ชีวติ จรงิ ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. อธิบายการประยุกต์แนวคดิ เชิงคำนวณเพ่ือใช้ในการแกป้ ัญหาได้ (K) ๒. อธิบายขนั้ ตอนการพัฒนาโครงงานในกรณศี ึกษาท่ี ๑ ได้ (K) ๓. ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการพัฒนาโครงงานได้ (K) ๔. อภิปรายการใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ญั หาเพื่อนำไปสู่การพฒั นาโครงงานได้ (P) ๕. เห็นประโยชนข์ องการประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการพฒั นาโครงงาน (A) ๓. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่ิน - การพัฒนาโครงงาน พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา - การนำแนวคิดเชิงคำนวณไปพัฒนาโครงงานท่ี เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน เช่น การจัดการพลังงาน อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำ ธรุ กรรม สุขภาพและสิ่งแวดลอ้ ม - ตัวอย่างโครงงาน เช่น ระบบดูแลสุขภาพ ระบบ อัตโนมัติควบคุมการปลูกพืช ระบบจัดเส้นทาง การขนส่งผลผลิต ระบบแนะนำการใช้งาน หอ้ งสมุดอฉั รยิ ะท่มี ีการโต้ตอบกบั ผู้ใช้และเชื่อมต่อ กับฐานขอ้ มูล ๔. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด

แนวคิดเชิงคำนวณเป็นแนวคิดท่ีสามารถนำมาปรับใช้กับการพัฒนาโครงงานในชีวิตประจำวัน เช่น โครงงานพัฒนาsmart libraryแนะนำการใช้ห้องสมุดอฉั รยิ ะ ๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๑. มีวินยั ๒. ความสามารถในการคิด ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๑) ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓. ม่งุ มั่นในการทำงาน ๒) ทักษะการสังเกต ๓) ทกั ษะการส่ือสาร ๔) ทักษะการทำงานรว่ มกัน ๕) ทักษะการแก้ปญั หา ๖) ทักษะการคดิ เชิงคำนวณ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : แบบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) ชว่ั โมงท่ี ๑ ข้ันนำ ๑. ครูการเปดิ คลปิ วิดีโอทเ่ี กย่ี วกับหอ้ งสมุดอัฉริยะให้นักเรยี นดูเพ่ือกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เชน่ คลปิ วิดโี อข่าวห้องสมุดอฉั ริยะวศิ วะ จฬุ าฯ ลดหนังสือ เพิ่มพน้ื ทเ่ี รยี นรู้ (https://www.youtube.com/watch?v=AZBgTLVZQcQ) ๒. ครูชักชวนนักเรียนสนทนาโดยถามนักเรียนว่า ห้องสมุดอัฉริยะที่นักเรียนอยากใช้บริการมีลักษณะ อย่างไร โดยครูขอให้นักเรียน ๑๐ คน ออกมาเขียนคำตอบของตนเองบนกระดานตามความสมัครใจ ๓. ครูและนักเรียนร่วมกันพิจารณาคำตอบบนกระดานว่าเห็นด้วยหรือไม่ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหา คำตอบเพ่มิ เติม ๔. ครูแจ้งชื่อเรื่องที่จะเรียนรู้และผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ แล้วให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อน เรยี น เพ่ือวัดความรู้เดิมของนกั เรียนก่อนเข้าสู่กิจกรรม

ข้นั สอน ขั้นที่ ๑ การกำหนดปัญหา ๑. ครูถามคำถามเพื่อเป็นการกระตุ้นความคิดนักเรียนว่า ห้องสมุดอัฉริยะที่ดีควรมีองค์ประกอบ อะไรบ้าง โดยครูชักชวนให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพือ่ หาคำตอบ (แนวตอบ ห้องสมุดอัฉริยะที่ดีควรมี ๓ องค์ประกอบ ดังนี้ ๑) หนังสือ หรือสื่อการเรียนรู้ที่ อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ จะที่ต้องมีเนื้อหาดี มีคุณภาพ ไม่เป็นภัยต่อสังคม ๒) บรรยากาศดีเอื้อต่อการ อ่านหนังสือ การให้บริการในห้องสมุดอัฉริยะเป็นกันเอง สะดวก สบาย ประหยัดพลังงาน และ สะท้อนเอกลกั ษณ์ของชุมชน ๓) บรรณารกั ษม์ คี วามรู้ และมีความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน) ๒. ครูให้เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ตามความสมัครใจ แล้วครูกำหนดสถานการณ์ขึ้นมาว่า ทาง โรงเรียนต้องการจัดทำsmart libraryแนะนำการใช้งานห้องสมุดอัฉริยะของโรงเรียน เพื่อให้ หอ้ งสมุดอัฉริยะของโรงเรียนเป็นห้องสมุดอัฉริยะท่ีดี มคี วามทันสมยั และสะดวกต่อการใช้งาน โดย ครสู มมตใิ หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มต้องเปน็ ผทู้ ม่ี าจดั ทำsmart libraryน้ี ๓. ครูพานักเรียนไปห้องสมุดอัฉริยะของโรงเรียน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสำรวจห้องสมุดอัฉริยะ อย่างอสิ ระ โดยแตล่ ะกลุ่มบนั ทกึ ผลการสำรวจลงในใบงานที่ ๒.๑ แบบบันทึกผลการสำรวจห้องสมุด อัฉริยะโรงเรียน (หากครูประเมินว่าเวลาในการจัดการเรียนการสอนไม่เพียงพอ ครูอาจให้นักเรียน แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อระบุปัญหาที่เคยพบจากการใช้งานห้องสมุดอัฉริยะ โดยไม่ต้องพา นักเรยี นไปสำรวจหอ้ งสมุดอัฉรยิ ะ) (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล) ๔. ครูสุ่มนักเรียนบางกลุ่มให้ออกมานำเสมอผลการสำรวจของกลุ่มตนเองหน้าชั้นเรียน เมื่อนักเรียน นำเสนอเสร็จครูชักชวนให้นักเรียนร่วมกันพูดคุยแล้วช่วยกันสรุปถึงปัญหาที่ทุกกลุ่มที่พบร่วมกัน และปญั หาทน่ี า่ สนใจ ขั้นท่ี ๒ ทำความเขา้ ใจกบั ปัญหา ๑. ครถู ามคำถามนักเรียน เพอ่ื เป็นการกระต้นุ ความคิดว่า นักเรียนมีวธิ ใี นการพัฒนาsmart libraryห้อง สมดุ อฉั ริยะอย่างไรบ้าง โดยครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ อภิปรายร่วมกนั หาคำตอบ แลว้ ให้ออกมาเขียน คำตอบของกลุ่มตนเองบนกระดาน (แนวตอบ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครู แต่แนวทางการแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเป็นลำดับ ขั้นตอนและเปน็ ระบบ) ๒. ครพู ิจารณาคำตอบแลว้ คดั เลือกคำตอบทน่ี า่ สนใจ แล้วครสู อบถามกลุม่ เจ้าของคำตอบถงึ แนวคิด ของคำตอบ โดยครเู ปดิ โอกาสใหเ้ พ่อื นร่วมช้นั เรยี นรว่ มกันสอบถามเพื่อใหเ้ ข้าใจแนวคดิ ของกลุม่ นนั้ ๓. ครูอธบิ ายใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ วิธีการแกป้ ัญหามีหลายวิธี ดังเชน่ คำตอบทีน่ ักเรยี นแต่ละกล่มุ ตอบมี หลายคำตอบ แตว่ ธิ ีการแกป้ ัญหาที่ดีควรเปน็ ลำดบั ข้นั ตอน และเปน็ ระบบ ซึ่งวธิ ีการแกป้ ญั หาแบบ น้ีจะเปน็ การนำแนวคดิ เชงิ คำนวณมาใชใ้ นการแก้ปัญหา

๔. ครูถามคำถามเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนว่า แนวคิดเชิงคำนวณคืออะไรและ แบง่ เปน็ ทกั ษะยอ่ ยไดก้ ท่ี กั ษะ โดยครูชกั ชวนให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั หาคำตอบ (แนวตอบ แนวคิดเชิงคำนวณเป็นทักษะที่มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ และเป็นการแก้ไขปัญหา อย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยโดยการเข้าใจปัญหาและวิธีการในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้ ซึ่งแบ่งเป็น ทักษะย่อยได้ ๔ ทักษะ คือ แนวคิดการแยกย่อย แนวคิดการจดจำรูปแบบ แนวคิดเชิงนามธรรม และแนวคิดการออกแบบขั้นตอน) ๕. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษาความตอ้ งการของระบบเบ้ืองต้นจากเร่ือง การประยุกต์แนวคิด เชงิ คำนวณเพื่อแกป้ ัญหา โดยสมมุติว่าเปน็ ความต้องการของระบบsmart libraryห้องสมุดอัฉริยะที่ ทางโรงเรยี นกำหนดมา ๖. ครูสุ่มถามนักเรยี นและพูดคุยกบั นักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองที่ได้ศึกษา เพื่อเป็นการตรวจสอบความเข้าใจ โดยใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ ความต้องการของระบบsmart libraryห้องสมุดอัฉรยิ ะของโรงเรยี น มีดังนี้ ๑) smart libraryตอ้ งเป็นลักษณะแอปพลิเคชนั และรองรับการทำงานบนอุปกรณ์เคล่อื นท่ี ๒) smart libraryตอ้ งแนะนำการใชง้ านหอ้ งสมุดอฉั ริยะโดยครอบคลุมทุกหวั ข้อ ๓) smart libraryตอ้ งจดั เก็บขอ้ มูลในลักษณะฐานขอ้ มูล ๗. เมื่อนักเรียนทราบความต้องการของระบบแล้ว ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและทำความ เข้าใจ การนำแนวคิดเชิงคำนวณมาใช้ในการหาวิธีการแก้ปัญหาความต้องการของระบบsmart libraryห้องสมุดอัฉริยะของโรงเรียน โดยที่ระหว่างนักเรียนศึกษาครูควรคอยสังเกตการณ์ และให้ คำแนะนำเมื่อนกั เรียนประสบปญั หา ๘. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั สรุป เร่ือง การนำแนวคิดเชิงคำนวณมาใช้ในการหาวิธีการแก้ปัญหา ความต้องการของระบบsmart libraryห้องสมุดอัฉริยะของโรงเรียน เป็นแผนที่ความคิดลงใน กระดาษฟลปิ ชารต์ โดยทำเป็นการบา้ นมาส่งครู (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม) ๙. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทำแบบฝกึ หัด เร่ือง แนวคิดเชงิ คำนวณ จาก Com Sci Project โดยทำเป็น การบ้านมาส่งครู ชั่วโมงท่ี ๒ ขนั้ ที่ ๓ ดำเนนิ การศึกษาคน้ คว้า ๑. ครูให้แต่ละกลุ่มนำแผนที่ความคิดที่ได้ทำเป็นการบ้านมาแปะที่ฝาผนังห้องเรียน โดยครูตรวจสอบ ความถกู ตอ้ ง แล้วให้นกั เรียนเดนิ ชมแผนทีค่ วามคิดของกลุม่ ตา่ ง ๆ รอบหอ้ งเรียน (หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมินผลงาน/ชน้ิ งาน)

๒. ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับโครงงานทางด้านเทคโนโลยี เช่น โครงงานคอมพิวเตอร์ แล้วครู ถามคำถามเพือ่ เป็นการกระตุ้นความคิด ดงั นี้ ๑) โครงงาน คือ อะไร (แนวตอบ กิจกรรมที่ศึกษาและค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของ ผู้เรยี น โดยใชว้ ิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์) ๒) ขน้ั ตอนเบอ้ื งต้นของการพฒั นาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีมกี ีข่ ั้นตอน อะไรบ้าง (แนวตอบ ขั้นตอนเบื้องต้นของการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีมี ๖ ขั้นตอน ได้แก่ กำหนดปัญหา วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ พัฒนาระบบและทดสอบระบบ ติดตั้งระบบ และ บำรงุ รกั ษาระบบ) ๓. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นโครงงานทางด้านเทคโนโลยีโครงงานหนึ่ง จึง สามารถพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนการพัฒนาโครงงานทางด้านเทคโนโลยเี บื้องต้น ๖ ขน้ั ตอนได้ แลว้ อธบิ ายเช่ือมโยงไปกับแผนท่คี วามคิดท่ีแปะไว้ทฝี่ าผนังห้องเรียนว่า วิธีการแก้ปัญหา ทีไ่ ดจ้ ากการนำแนวคิดเชิงคำนวณท่ีแสดงในแผนที่ความคิดเป็นข้ันตอนการวิเคราะห์ปัญหาเบ้ืองต้น ท่ีนำไปส่กู ารทำโครงงาน ๔. ครูให้นักเรียนกลับเข้าสู่กลุ่มเดิมที่เคยแบ่งไว้ในชั่วโมงแรก แล้วให้นักเรียนศึกษา กรณีศึกษาที่ ๑ โครงงานงานพฒั นาsmart libraryแนะนำการใช้งานห้องสมุดอัฉริยะ โดยให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา ขั้นที่ ๑ การกำหนดปัญหา และขั้นที่ ๒ วิเคราะห์ระบบ สืบค้นเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อเสริมความเข้าใจ แล้วให้นักเรียนแต่ละคนบันทึกลงในใบงานที่ ๒.๒ ใบบันทึกผลการศึกษา คน้ ควา้ กรณีศึกษาท่ี ๑ ข้ันที่ ๔ สงั เคราะหค์ วามรู้ ๑. ครูให้นักเรียนแต่ละคนนำข้อมูลที่ตนเองได้บันทึกไว้ มาพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเพื่อนภายในกลุ่ม แล้วสมาชิกทุกคนภายในกลุม่ ร่วมกันสรุปเป็นข้อมูลผลการศึกษาของกลุ่ม โดยที่ครูตรวจสอบความ ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู แต่ละกลุ่ม ๒. ครสู ่มุ นักเรยี นบางกลุม่ ใหน้ กั เรยี นออกมานำเสนอข้อมลู ทก่ี ลุ่มตนเองไดศ้ ึกษามา โดยครูคอยเพ่ิมเติม ใหส้ มบรู ณ์ ๓. ครใู หน้ กั เรยี นพิจารณาข้อมูลทเ่ี พือ่ นนำเสนอกบั ข้อมูลของกลุ่มตนเองว่ามีข้อมลู ใดทีแ่ ตกต่างกนั โดย ครูชักชวนให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปร่วมกันว่า ข้อมูลใดที่สมบูรณ์กว่า เพื่อให้ นกั เรียนได้มคี วามเขา้ ใจในขอ้ มลู ได้ตรงกนั ชั่วโมงที่ ๓ ข้ันที่ ๓ ดำเนนิ การศกึ ษาค้นควา้ ๑. ครูชกั ชวนนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับขั้นท่ี ๑ และขั้นท่ี ๒ ของกรณีศกึ ษาท่ี ๑ ทไ่ี ด้ศกึ ษาในชั่วโมงที่ผ่าน มาเพื่อเป็นการทบทวน

๒. ครูให้นักเรียนกลับเข้าสู่กลุ่มเดิมที่เคยแบ่งไว้ในชั่วโมงแรก แล้วให้แต่ละกลุ่มศึกษากรณีศึกษาที่ ๑ โดยให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาขั้นที่ ๓ ออกแบบระบบ ถึงขั้นที่ ๖ บำรุงรักษาระบบ สืบค้นเพิ่มเติม จากแหล่งการเรยี นรู้ต่าง ๆ เพื่อเสริมความเขา้ ใจ แล้วใหน้ ักเรยี นแต่ละคนบันทึกลงในใบงานที่ ๑.๒ ใบบันทึกผลการศกึ ษาค้นคว้ากรณีศกึ ษาท่ี ๑ ขน้ั ที่ ๔ สงั เคราะห์ความรู้ ๑. ครูให้นักเรียนแต่ละคนนำข้อมูลที่ตนเองได้บันทึกไว้ มาพูดคุยแลกเปลี่ยนร่วมกันเพื่อนภายในกลุ่ม แล้วสมาชิกทุกคนภายในกลุม่ ร่วมกันสรุปเป็นข้อมูลผลการศึกษาของกลุ่ม โดยที่ครูตรวจสอบความ ถกู ต้องของข้อมลู แต่ละกลุ่ม ๒. ครสู มุ่ นกั เรียนบางกล่มุ ใหน้ ักเรียนออกมานำเสนอข้อมูลท่กี ลุ่มตนเองไดศ้ ึกษามา โดยครูคอยเพิ่มเติม ให้สมบูรณ์ ๓. ครใู หน้ ักเรียนพิจารณาขอ้ มูลท่ีเพอื่ นนำเสนอกบั ข้อมลู ของกลุ่มตนเองวา่ มีขอ้ มลู ใดท่ีแตกต่างกัน โดย ครูชักชวนให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปร่วมกันว่า ข้อมูลใดที่สมบูรณ์กว่า เพื่อให้ นกั เรยี นได้มคี วามเข้าใจในขอ้ มูลไดต้ รงกัน ข้ันสรุป ขั้นที่ ๕ สรุปและประเมนิ ค่าหาคำตอบ ๑. ครูให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นำข้อมูลของผลการศกึ ษากลุ่มและข้อมลู จากใบงานท่ี ๑.๒ มาสรุปเป็นแผน ทีค่ วามคิดแสดงขนั้ ตอนการทำโครงงานของกรณีศึกษาท่ี ๑ ลงในกระดาษฟลิปชารต์ (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ) ๒. ครูแจ้งนักเรียนจะให้แต่ละกลุ่มนำเสนอแผนที่ความคิดของกลุ่มตนเองในชั่วโมงถัดไป เพื่อให้ นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ เตรียมการนำเสนอขอ้ มลู ด้วยวธิ กี ารสอื่ สารทท่ี ำใหผ้ ูอ้ ่ืนเข้าใจง่ายและน่าสนใจ ชว่ั โมงที่ ๔ ข้นั ท่ี ๖ นำเสนอและประเมินผลงาน ๑. ครูให้แต่ละกลุ่มนำแผนที่ความคิดที่ได้ทำในชั่วโมงที่ ๓ มาแปะที่ฝาผนังห้องเรียน แล้วให้นักเรียน เดนิ ชมแผนที่ความคิดของกลุ่มต่าง ๆ รอบห้องเรียน (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรยี น โดยใช้แบบประเมนิ ผลงาน/ชิ้นงาน) ๒. ครูจับสลากเลือกลำดับของแต่ละกลุ่มให้ออกมานำเสนอแผนที่ความคิด โดยให้นักเรียนกลุ่มที่ถูก เลอื กเปน็ อันดบั แรกส่งตวั แทนออกมานำเสนอผลการศึกษาทลี ะกลมุ่ จนครบ (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)

๓. นักเรียนกลมุ่ อ่นื ๆ และครูร่วมกนั วิพากษเ์ กย่ี วกับข้อมูลที่ตวั แทนนักเรียนออกมานำเสนอ จนทุกคน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจท่ีถกู ต้อง และตรงกนั ๔. ครูอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมหลังการอภิปรายของนักเรียนในส่วนที่ขาดตกบกพร่อง หรือส่วนที่เป็น ประเดน็ สำคญั ๕. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจก่อนเรียนของนักเรียน ๖. ครูตรวจสอบผลการสำรวจห้องสมุดอัฉริยะโรงเรยี นที่นกั เรียนไดบ้ ันทึกลงในใบงานที่ ๒.๑ ๗. ครตู รวจสอบผลการทำแบบฝกึ หดั เรอื่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ จาก Com Sci Project ๘. ครตู รวจสอบผลการศึกษาคน้ ควา้ กรณีศกึ ษาท่ี ๑ ท่ีนกั เรยี นได้บนั ทึกลงในใบงานท่ี ๒.๒ ๙. ครูประเมินผลโดยการสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และจาก การนำเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ๑๐. ครูประเมินผลช้ินงาน/ผลงานท่ีเกิดจากการทำแผนทีค่ วามคิดแสดงการนำแนวคิดเชิงคำนวณ มาใช้ในการแก้ปัญหาในขั้นทำความเข้าใจกับปัญหาและแผนที่ความคิดแสดงขั้นตอนการทำ โครงงานของกรณีศึกษาท่ี ๑ ในขั้นสรุปและประเมินคา่ หาคำตอบ

๗. การวัดและประเมนิ ผล รายการวัด วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง ๗.๑ การประเมินก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน กอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ ๗.๒ การประเมินระหวา่ งการ จดั กจิ กรรม ๑) ผลการสำรวจหอ้ งสมดุ - ตรวจใบงานท่ี ๒.๑ - ใบงานที่ ๒.๑ ประเมินตามสภาพจริง อัฉรยิ ะโรงเรียน ๒) การนำแนวคิดเชงิ - ตรวจฟลิปชาร์ตท่ี - แบบประเมนิ ช้ินงาน/ ระดบั คุณภาพ ๒ ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ คำนวณมาใช้ในการหา แสดงการนำแนวคิด วธิ ีการแก้ปัญหา เชงิ คำนวณมาใชใ้ น การแกป้ ญั หา ๓) แบบฝึกหัด เรือ่ ง แนวคิด - ตรวจแบบฝกึ หัด - สมุดประจำตัว ร้อยละ ๖๐ ผา่ น เกณฑ์ เชงิ คำนวณ เรอ่ื ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ จาก Com Sci Project ๔) ผลการศกึ ษาคน้ คว้า - ตรวจใบงานที่ ๒.๒ - ใบงานที่ ๒.๒ ประเมินตามสภาพจรงิ กรณีศึกษาที่ ๑ ๕) ขน้ั ตอนการทำโครงงาน - ตรวจฟลปิ ชารต์ ท่ี - แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ ระดับคุณภาพ ๒ ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ ของกรณีศึกษาท่ี ๑ แสดงขัน้ ตอนการทำ โครงงานของ กรณีศกึ ษาท่ี ๑ ๖) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานทน่ี ำเสนอ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ ๒ ๗) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล การทำงาน รายบุคคล ๘) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกต ระดบั คุณภาพ ๒ กล่มุ การทำงานกลุ่ม พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ การทำงานกลุ่ม

๙) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๒ อนั พงึ ประสงค์ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ่ รยี นรู้ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ และมงุ่ ม่ันในการ อนั พงึ ประสงค์ ทำงาน ๘. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ ๘.๑ สือ่ การเรยี นรู้ ๑) หนงั สอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ม.๔ หน่วยการเรียนรู้ ท่ี ๒ การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดเชิงคำนวณเพื่อพฒั นาโครงงาน ๒) ใบงานท่ี ๒.๑ แบบบนั ทึกผลการสำรวจห้องสมดุ อัฉริยะโรงเรยี น ๓) ใบงานที่ ๒.๒ แบบบนั ทกึ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ กรณศี ึกษาท่ี ๑ ๘.๒ แหลง่ การเรียนรู้ ๑) ห้องเรยี น ๒) หอ้ งสมุดอัฉรยิ ะ ๓) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ ใบงานท่ี ๒.๑

แบบบนั ทึกผลการสำรวจห้องสมดุ อัฉริยะโรงเรยี น ชื่อ-สกุล สมาชิกในกลุ่ม ๑)……………………………………………………………………………………………………... ๒) ……………………………………………………………… ๓)…….……………………………………………………………… ๔) ……………………………………………………………… ๕)…….……………………………………………………………… สิ่งท่ีสำรวจ ผลการสำรวจ ๑. ปัญหาท่พี บ ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ๒. สงิ่ ทคี่ วรปรับปรงุ ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ใบงานที่ ๒.๑

แบบบนั ทกึ ผลการสำรวจหอ้ งสมุดอฉั รยิ ะโรงเรียน (ตัวอย่างคำตอบ) ชื่อ-สกุล สมาชกิ ในกลมุ่ ๑)……………………………………………………………………………………………………….. ๒) ……………………………………………………………… ๓)…….……………………………………………………………… ๔) ……………………………………………………………… ๕)…….……………………………………………………………… สิ่งทสี่ ำรวจ ผลการสำรวจ ๑. ปญั หาทีพ่ บ - หนงั สอื เก่า มจี ำนวนมาก - คน้ หาหนงั สือทต่ี ้องการได้ยาก - สถานทนี่ ่ังอา่ นหนังสือไมเ่ พียงพอ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ๒. สง่ิ ทค่ี วรปรับปรงุ - การจัดหมวดหมขู่ องหนังสอื … - ระบบการใชง้ านห้องสมดุ อัฉรยิ ะ เชน่ มรี ะบบออนไลน์ หรือsmart library - ผดู้ ูแลห้องสมดุ อัฉริยะ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… (ขึน้ อยู่กบั ดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน) ใบงานท่ี ๒.๒

แบบบนั ทกึ ผลการศึกษากรณศี กึ ษาท่ี ๑ คำชแี้ จง : บันทกึ ผลทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาและสืบค้นข้อมลู เกี่ยวกับกรณศี ึกษาท่ี ๑ โครงงานพัฒนาsmart libraryแนะนำการใช้หอ้ งสมุดอฉั ริยะ กรณีศึกษาที่ ๑ โครงงานพัฒนาsmart libraryแนะนำการใช้หอ้ งสมุดอฉั รยิ ะ ข้ันท่ี ๑ กำหนดปัญหา ขอ้ มูลทเี่ ก่ียวข้อง ประเดน็ หลัก ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ขน้ั ท่ี ๒ วเิ คราะหร์ ะบบ ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้อง ประเดน็ หลัก ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ขัน้ ที่ ๓ ออกแบบระบบ ขอ้ มูลที่เก่ยี วข้อง ประเดน็ หลัก ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ชอื่ …………………………………………………………………ชนั้ ………………….เลขท…ี่ …………………… ใบงานท่ี ๒.๒

แบบบนั ทกึ ผลการศึกษากรณศี ึกษาท่ี ๑ ข้ันที่ ๔ พฒั นาระบบและทดสอบระบบ ขอ้ มูลท่ีเกี่ยวข้อง ประเด็นหลกั ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ขน้ั ที่ ๕ ติดตัง้ ระบบ ข้อมูลทเ่ี ก่ยี วข้อง ประเดน็ หลกั ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ขน้ั ที่ ๖ บำรงุ รกั ษาระบบ ข้อมูลทเี่ กย่ี วข้อง ประเดน็ หลกั ………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………... ……………………………………………………………….………… …………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………... …………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………. ชอื่ …………………………………………………………………ชั้น………………….เลขท…่ี …………………… ใบงานท่ี ๒.๒

แบบบันทกึ ผลการศกึ ษากรณีศกึ ษาท่ี ๑ (ตัวอยา่ งคำตอบ) คำชีแ้ จง : บนั ทกึ ผลที่ได้จากการศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มลู เกี่ยวกับกรณีศกึ ษาที่ ๑ โครงงานพัฒนาsmart libraryแนะนำการใช้หอ้ งสมุดอัฉริยะ กรณีศึกษาท่ี ๑ โครงงานพัฒนาsmart libraryแนะนำการใช้หอ้ งสมดุ อฉั รยิ ะ ขน้ั ที่ ๑ กำหนดปัญหา ขอ้ มูลทเี่ กีย่ วข้อง ประเด็นหลัก - ประชุมทีมงานเพื่อกำหนดหน้าที่ ข้อตกลง และ - ความสามารถของทีมงานแต่ละคนในทีม เพ่ือจะ ลกั ษณะของการทำงาน . ไดร้ ะบหุ นา้ ทไ่ี ดต้ รงตามความถนดั . - กำหนดแผนการดำเนินการ โดยมกี ารกำหนดเวลาใน - แผนภูมิแกนต์ (Gantt chart) เป็นแผนผงั คมุ แตล่ ะขั้นอยา่ งชัดเจน . กำหนดงาน มักใชใ้ นดา้ นการจดั การโครงการ ผังใน ………………………………………………………………………….. ลักษณะน้จี ะแสดงถงึ ปริมาณงานและกำหนดเวลาท่ี ………………………………………………………………………….. จะตอ้ งใช้ เพอ่ื ทำงานนน้ั ใหล้ ลุ ว่ ง . ขน้ั ที่ ๒ วิเคราะหร์ ะบบ ขอ้ มูลที่เก่ยี วข้อง ประเดน็ หลัก - สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน โดยใช้คำถามที่ร่วมกันกำหนดเพ่ือ - แผนภาพบริบท (context diagram) เป็นแผนภาพ นำไปเก็บขอ้ มูล . กระแสข้อมูลระดับบนสุดที่แสดงภาพรวมการทำงานของ - นำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ความ ระบบที่มีความสมั พันธก์ ับสภาพแวดลอ้ มภายนอกระบบ เกี่ยวข้องเพื่อนำมาระบุเป็นความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง - แผนภาพกระแสข้อมูล (dataflow diagram) เป็น .- กำหนดขอบเขตของระบบ โดยแสดงออกมาเป็น แผนภาพการไหลของข้อมูลซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงการ ไหลของข้อมูลและการประมวลผลต่างๆ ในระบบ ที่ แผนภาพ . สมั พนั ธ์กบั แหล่งเก็บขอ้ มลู ทีใ่ ช้ ข้นั ที่ ๓ ออกแบบระบบ ข้อมูลทเ่ี กยี่ วข้อง ประเด็นหลัก - กำหนดขนั้ ตอนการทำงานของระบบโดยใช้แผนภาพ - แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน แผนภาพ แดง (flowchart) เป็นแผนภาพที่แสดงขั้นตอนการ ความสัมพนั ธ์ของข้อมลู และพจนานุกรมขอ้ มูล . กำหนดวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ จากขั้นรอนการ - ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (user interface) ซ่ึง วิเคราะห์ระบบ . ห ม า ย ถึ ง กา ร ออกแ บ บ ห น ้ า s m a r t l i br a ry ……………………………………………………………………… . ใบงานที่ ๒.๒

แบบบนั ทึกผลการศกึ ษากรณศี กึ ษาที่ ๑ ขน้ั ที่ ๔ พฒั นาระบบและทดสอบระบบ ขอ้ มูลทเี่ ก่ียวข้อง ประเด็นหลัก - ดำเนินการพัฒนาระบบตามการออกแบบจาก - ภาษาทใี่ ชใ้ นการพัฒนาsmart library เช่น HTML ขน้ั ตอนการออกแบบระบบ . PHP Java Scrip - มีการทดสอบระบบการทำงานของsmart library . เพอ่ื ยืนยนั ความถกู ตอ้ งในการทำงาน . - เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการพฒั นาsmart library เช่น Adobe ………………………………………………………………………….. Dreamweaver . ………………………………………………………………………….. - ซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ เชน่ Apache MySQL . .………………………………………………………………………….. ขน้ั ที่ ๕ ติดตัง้ ระบบ ขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวข้อง ประเด็นหลัก - ตดิ ตง้ั ระบบหลังจากหลักจากทดสอบระบบเรียบร้อย - เว็บโฮสติ้ง (Web Hosting) คือ พน้ื ท่กี ารใชง้ าน แล้ว โดยsmart libraryจะติดตั้งที่เว็บโฮสติงจริง อนิ เตอรเ์ น็ต พ. . ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ขน้ั ที่ ๖ บำรงุ รักษาระบบ ขอ้ มูลที่เกย่ี วข้อง ประเด็นหลกั - ทีมพัฒนาทำการแก้ไข ปรับปรุง และเพิ่ม - ข้อเห็นของผ้ใู ช้งานระบบ . ประสิทธิภาพของsmart library ตามข้อคิดเห็นของ ………………………………………………………………………….. ผใู้ ชง้ าน ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….. (พิจารณาตามความเหมาะสมของขอ้ มูล โดยให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผู้สอน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook