Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้า

Published by Nuttanun Preechakanchanadit, 2018-10-30 00:50:10

Description: การต่อวงจรไฟฟ้าแบบต่างๆ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า . ระบบส่งจ่ายไฟฟ้าระดับแรงดันสาหรับสายส่งแรงสูง ส่งจากโรงไฟฟ้า ระหวา่ งสถานีไฟฟ้า 69kv 115kv 230kv 500kv อยใู่ นความรับผดิ ชอบของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตระดับแรงดนั สาหรับระบบจาหน่ายแรงสูง สถานีไฟฟ้ายอ่ ยระบบจาหน่าย ไปยงั หมอ้ แปลงระบบจาหน่าย11kv 22kv 33kv 22kv 24kvระดับแรงดนั สาหรับระบบจาหน่ายแรงต่า-ระบบ1 เฟส 2 สาย 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์-ระบบแรงต่า 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต์ 50 เฮิรตซ์

กระแสไฟฟ้าแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ• ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current : DC) คือการเคลื่อนทีข่ องอเิ ลคตรอนมีทิศทางการไหลในทิศทางเดียวจากข้วั ลบไปยงั ข้วั บวก เช่นแบตเตอร่ีรถยนต์ 24 volt ถ่านไฟฉาย 1.5 volt• ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current: AC) เป็นการเคล่ือนทข่ี องอเิ ลคตรอนมีทิศทางไหลกลบั ไปกลบั มาตลอดเวลา โดยการเคล่ือนทีป่ ระจุไฟฟ้าบวกและลบสลบั กนั ในตวั นาสาย เช่น ไฟฟ้าตามบา้ น220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์

หน่วยวดั ทางไฟฟ้า• ความต้านทานไฟฟ้า (resistance) เป็นคุณสมบตั ิของสสารท่ีตอ่ ตา้ นการไหลของกระแสไฟฟ้า สสารท่ีมีความตา้ นทานไฟฟ้านอ้ ยกวา่ เรียกว่า ตวั นาไฟฟ้า ส่วนสสารที่มีความตา้ นทานไฟฟ้ามากกวา่ เรียกวา่ ฉนวนไฟฟ้า ความตา้ นทานมีหน่วยเป็นโอห์ม• แรงดันไฟฟ้า (voltage) เป็นแรงท่ีทาให้อิเลคตรอนเกิดการเคล่ือนที่ หรือแรงที่ทาให้เกิดการไหลของ ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลท์ V กระแสไฟฟ้า (current) เกิดจากการเคล่ือนที่ของอิเลคตรอนจากจุดหน่ึงไปยงั อีกจุดหน่ึง ภายในตวั นา ไฟฟ้า หน่วยเป็น แอมแปร์ A• กาลังงานไฟฟ้า (power) อตั ราการเปล่ียนแปลงพลงั งาน หรืออดั ตราการทางาน มีหน่วยเป็น วตั ต์ watt W• พลงั งานไฟฟ้า (energy) คือ กาลงั ไฟฟ้าท่ีใชไ้ ประยะหน่ึง มีหน่วยเป็น วตั ต-์ ชว่ั โมง (watt-hour) หรือ ยนู ิต(unit)• ความถี่ (frequency) คือจานวนรอบของกระแสไฟฟ้าสลบั มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ Hz• รอบ (cycle) คือการเปล่ียนแปลงทางไฟฟ้าครบ 360 องศาซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลงไฟฟ้าคา่ บวกและคา่ ลบไดส้ มบรู ณ์• แรงม้า (horse power) หรือกาลงั มา้ เป็นหน่วยวดั กาลงั หรืออตั ราการทางาน 1 แรงมา้ = 550 ฟุต-ปอนด์ หรือ 745.7 วตั ต์ ประมาณ 746 วตั ต์

สมการไฟฟ้า• กฎของโอห์ม (ohm’s low) ค.ศ. 1862 นกั ฟิสิกส์ชาวเยอรมนั George Simon Ohm กล่าววา่ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรจะแปรผนั ตรงกบั แรงดนั ไฟฟ้าและ แปรผกผนั กบั คา่ ความตา้ นทาน E = IR• สมการค่ากาลงั ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวตั ต์ P=EI• สมการค่าพลงั งานไฟฟ้า W = Pt กิโลวตั ตต์ ่อชวั่ โมง หรือยนู ิต (unit)

วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้• - วงจรอนุกรม กระแสไฟฟ้าตลอดวงจรมีค่าเดียวกนั ตลอด แรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากบั แรงดนั ที่ตกคร่อม อปุ กรณ์แตล่ ะตวั

• วงจรขนาน(parallel circuit) กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นอุปกรณ์แตล่ ะตวั รวมกนั จะเทา่ กบั กระแสไฟฟ้า ที่ไหลออกจากแหล่งจ่าย แรงดนั ตกคร่อมอปุ กรณ์แต่ละตวั มีคา่ เทา่ กบั แรงเคล่ือนไฟฟ้าของแหล่งจ่าย

ส่ วนประกอบของสายไฟฟ้า• ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ ตวั นา และฉนวน• . ประเภทของสายไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ สายไฟฟ้าแรงดนั สูง และสายไฟฟ้าแรงดนั ต่า• - สายไฟฟ้าแรงดนั สูง มีสายเปลือย และสายหุม้ ฉนวน• - สายไฟฟ้าแรงดนั ต่า ใชก้ บั แรงดนั ไม่เกิน 750 โวลท์

การเลือกสายไฟฟ้าท่ีเหมาะสม• พกิ ดั แรงดัน พกิ ดั กระแส สายควบ แรงดนั ตก (voltage drop)

อปุ กรณ์ป้องกนั ระบบไฟฟ้า• - ฟิ วส์ (fuse) อุปกรณ์ป้องกนั กระแสเกิน ทามาจากโลหะผสมสามารถนาไฟฟ้าไดด้ ี มีจุดหลอมละลายต่า ฟิวส์ ท่ดี ี เม่ือกระแสไหลเกิน 2.5 ของขนาดทนกระแสของฟิ วส์ ฟิ วส์ตอ้ งขาด• - เซอร์กติ เบรกเกอน์ (circuit breaker :CB)• อุปกรณ์ทาหนา้ ทีต่ ดั กระแสไฟฟ้า เมื่อกระแสเกินหรือลดั วงจร สามารถกลบั มาใชใ้ หม่ไดไ้ ม่เปลี่ยนใหม่เหมือนฟิ วส์ การทางานมี 2 แบบคือ เชิงความร้อน และเชิงแม่เหลก็

วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง• ประเภทของหลอดไฟฟ้า มีหลอดไส้ หลอดทวั สเตนฮาโลเจน หลอดเรือง แสง เช่น หลอดฟลอู อเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์

ประเภทของมอเตอร์• - มอเตอร์เหนี่ยวนา (induction motor) นิยมใชม้ า มี 1 เฟส และ 3 เฟส แบบ กรงกระรอก และ แบบวาวดโ์ รเตอร์• - มอเตอร์ซิงโครนัส (synchronous motor) เป็นมอเตอร์ 3 เฟส มีขดลวดอาร์เมเจอร์ และขดลวด สนาม ความเร็วคงท่ี• - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC motor) มีขดลวดสนามอยบุ่ นสเตเตอร์และขดลวดอาร์เมเจอร์ อยบู่ นสเตเตอร์ สามารถควบคุมความเร็วไดด้ ี แรงบดิ เริ่มเดินเคร่ืองสูง

อปุ กรณ์ที่สาคญั ในการควบคุมมอเตอร์

การต่อลงดนิ• หมายถึงการตอ่ สายไฟฟ้าจากอปุ กรณ์ไฟฟ้าไปยงั สายดิน โดยสายดินคือแท่งตวั นาทองแดงท่ีตอด ลงไปในดิน เพื่อป้องกนั ไฟร่ัวซ๊อตบุคคลผใู้ ชง้ าน• 1. ประเภทของการต่อลงดนิ แบ่งเป็น 2 ประเภท• การต่อลงดนิ ทร่ี ะบบไฟฟ้า หมายถึง การต่อส่วนใดส่วนหน่ึงของระบบไฟฟ้าท่ีมีกระแสไหลผา่ นลง ดิน เช่น การต่อจดุ นิวทรัล (neutral point) ลงดิน• การต่อลงดนิ ท่ีอุปกรณ์ไฟฟ้า หมายถึงการต่อส่วนที่เป็นโลหะ ท่ีไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นของ อปุ กรณ์ตา่ งๆ ลงดิน• 2. ส่วนประกอบการต่อลงดนิ• - หลกั ดิน หรือระบบหลกั ดิน (grounding electrode) เป็นหลกั ดิน นิยมใชท้ องแดง• - สายต่อหลกั ดิน

ลอ่ ฟ้า

หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวศิ วกรรม



• องคป์ ระกอบของเคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใชใ้ นการผลิต ประกอบดว้ ย• 6 องคป์ ระกอบ คือ• 1) เคร่ืองจกั รอุปกรณ์ในการผลิต• 2) เคร่ืองมือวดั• 3) เครื่องส่งสญั ญาณ• 4) สายสัญญาณ• 5) เครื่องควบคุม• 6) เคร่ืองบนั ทึกสัญญาณ

เครื่องมือ อปุ กรณ์ควบคุมทางนิวแมติก ส่วนประกอบของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใชใ้ นการทางานและควบคุมการทางานของ ระบบนิวแมติกมีดงั ต่อไปน้ี - เคร่ืองอดั ลม - เครื่องระบายความร้อนของลมอดั - เครื่องทาลมแหง้ เคร่ืองแลกเปล่ียน - ชุดทาความสะอาดลม ความร้อน - ลิน้ หรือวาลว์ ลดความดนั เคร่ืองทาลมแห้ง - วาลว์ ควบคุม - ระบบหล่อลื่นในระบบนิวแมติกหมอ้ เกบ็ ลมอดั - กระบอกสูบ - วงจรไฟฟ้าควบคุม เคร่ืองอดั ลม

การควบคุมอตั โนมตั ิโดยประยุกต์ใช้งานระบบโปรแกรมมาเบิล้ ลอจคิ อลคอนโทรลเลอร์• โครงสร้างของตวั เคร่ืองโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) น้นั ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบหลกั• 1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) เป็นหน่วยการทางานที่เกี่ยวขอ้ งกบั การประมวลผลกลาง และควบคุมการสงั่ งานของระบบการทางาน• 2. หน่วยความจา (program หรือ memory unit) เป็นหน่วยของเคร่ืองท่ีทาหนา้ ท่ีในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลและโปรแกรมควบคุมการทางาน ขอ้ มูลหรือโปรแกรมท่ีเกบ็ ไวส้ ามารถถูกนาออกมาใชไ้ ดต้ ามตอ้ งการ• 3. หน่วยรับสัญญาณอนิ พุต (input unit) จะเป็นหน่วยงานท่ีทาหนา้ ท่ีเชื่อมต่อสญั ญาณจากอุปกรณ์ ภายนอกท่ีจะนามาเชื่อมต่อใชง้ านกบั ตวั โปรแกรมมาเบิล้ ลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ มี และแรมตอ้ งจ่ายไฟเล้ียง และแบบรอมอยใู่ นรูปโมดูล• 4. หน่วยส่งสัญญาณเอาต์พุต (output unit) จะเป็นหน่วยงานทีท่ าหนา้ ทเี่ ช่ือมต่อสัญญาณจากอุปกรณ์ท่ี จะนามาเชื่อมต่อใชง้ านกบั ตวั โปรแกรมมาเบลิ้ ลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ สญั ญาณแบบอนาลอ็ ก หรือ ดิจิตอล• 5. หน่วยจ่ายกาลงั ไฟฟ้า (power supply unit) ทาหนา้ ทีใ่ นการจ่ายกาลงั ไฟฟ้าใหก้ บั ตวั โปรแกรมมา เบิล้ ลอจิคอลคอนโทรลเลอร์

การควบคุมอตั โนมตั ิโดยประยุกต์ใช้งานระบบควบคมุ กลางกระจายการ ควบคุม ดีซีเอส (distributed control system: DCS)• วตั ถุประสงค์ของการออกแบบระบบดีซีแอส เป็นความต้องการออกแบบมาใช้ในการควบคุมระบบใน ลกั ษณะการกระจายการควบคมุ หน่วยการผลติ ควบคุมการทางานของระบบการผลติ แบบต่อเนื่อง (continuous process)• การทางานของระบบดซี ีแดส ระบบควบคุมแบบ พแี อลซี ในระบบ ดีซีเอส การควบคุมดว้ ยอปุ กรณ์ ประเภท พีแอลซี จะสง่ั การผา่ นอุปกรณ์ควบคุม เช่น การใชค้ อมพิวเตอร์บุคคล (personal computer) ผคู้ วบคุมระบบ จะสามารถทาการตรวจสอบติดตามผล และสงั่ การโปรแกรมได้

หน่วยท่ี 12 หน่วยการผลติ และกระบวนการผลติ ทางวิศวกรรมเคมี• การผลิต หรือกระบวนการผลิต (Manufacturing Process) หมายถงึ การนาเอาวตั ถุดบิ ทเ่ี ป็น สสารหรือสารเคมชี นดิ ใดชนิดหนึ่งทอี่ ยู่ในรูปของแขง็ ของเหลว หรือ ก๊าซ ทเ่ี รียกว่าสารต้ังต้น(reactant) มาทาการเปลยี่ นแปลง รูปร่าง เปลย่ี นแปลงคณุ สมบตั ทิ างด้านกายภาพ ทางด้านเคมี ให้เป็ นผลติ ภณั ฑ์หรือสินค้าการ(Product หรือ Goods) ทท่ี าให้ คณุ สมบัตขิ องสารเปลยี่ นไปจาเป็ นต้องมปี ัจจยั หรือกระบวนการทางด้านกายภาพ หรือกระบวนการทางด้านเคมเี สริมได้แก่ อณุ หภูมิ ความดนั โดยมถี งั ปฎกิ ริ ิยาเคมี หรือเครื่องปฏกิ ริ ิยาเคมี (Chemical Reactor• งานวศิ วกรรมเคมี (Chemical Engineering) หรือวิศวกรรมระบบ (Process Engineering) เป็นการศึกษา การออกแบบ การควบคุมการทางานของกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรมท่ีเนน้ การเลือกกระบวนการปฏิกิริยาเคมี เลือก เง่ือนไขการผลิต การควบคุมการปฏิบตั ิการทีเ่ หมาะสม

จลนพลศาสตร์ของปฏิกริ ิยาแบบกวนผสม• เคร่ืองปฏิกริ ิยาเคมแี บบกะ (Batch Reactor) หลกั การทางานเบื้องต้นของถงั ปฏกิ ริ ิยาเคมคี ือการนาสาร ต้งั ต้น หรือสารนาเข้า (reactants หรือ feed) ใส่เข้าไปในถงั ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นปริมาณทค่ี านวณไว้ แล้วให้มกี ารกวนผสม (Mixing) ให้เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมขี นึ้ อย่างสมบูรณ์

เคร่ืองปฏิกริ ิยาหลายถังแบบต่อเนื่อง (Multiple Continuous Reactor )• เป็นเคร่ืองปฏิกิริยาเคมีทม่ี ีการเอาถงั กวนผสมแบบสมบรู ณ์หลายถงั (Continuous Stirred Tank Reactor : CSTR) ต่ออนุกรมกนั ซ่ึง สามารถกาหนดใหค้ วามเขม้ ขน้ ของสารต้งั ตน้ ในแต่ละถงั มีค่าสมา่ เสมอ (Uniform) และเท่ากบั ค่าความเขม้ ขน้ ในของไหลที่ไหล ออกของแต่ละถงั

เครื่องปฏิกริ ิยาเคมีแบบท่อไหล (Tubular Reactor หรือ Plug Flow Reactor)• เป็นเคร่ืองปฏิกิริยาเคมีท่ีมีโครงสร้างคลา้ ยกบั เคร่ืองแลกเปลี่ยนความร้อนระบบท่อ (Heat Exchanger) ทมี่ ีการไหลในทอ่ ไหล ขนานกนั หลายทอ่

กระบวนการผลติ และระบบการผลติ ในงานอุตสาหกรรม• ปฏกิ ริ ิยาดูดซับระหว่างก๊าซกบั ของแขง็• ปฏิกริ ิยาดูดซึมระหว่างก๊าซกบั ของเหลว• ปฏิกริ ิยาดูดซึมระหว่างก๊าซกบั ของเหลว

หน่วยที่ 13 พืน้ ฐานวิศวกรรมอุตสาหกรรม วศิ วกรรมอตุ สาหการ คือการวเิ คราะห์อย่างละเอยี ดถงึ การทางาน และค่าใช้จ่ายทเี่ กยี่ วข้องกบั แรงงาน วตั ถุดบิ เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์ เพอ่ื ให้องค์กรสามารถเพมิ่ ผลติ ภาพ มกี าไรและ ประสิทธิภาพการทางานสูงขนึ้• การเลือกทาเลทตี่ ้งั โรงงาน• แหล่งวตั ถุดบิ• ตลาด• แรงงานและค่าจ้าง• สาธารณูปโภค• การจราจรขนส่ง• สิ่งแวดล้อม• กรรมสิทธ์ิที่ดนิ• กฎหมายที่เกีย่ วข้อง

การวางผงั โรงงานและแผนภูมิการไหลของวัสดุ• การวางผงั โรงงานแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ใหญ่ๆ ดว้ ยกนั คือ• 1 การวางผงั โรงงานตามชนิดของผลติ ภณั ฑ์ (product layout)

2 การวางผงั โรงงานตามกระบวนการผลติ (process layout)

3 การวางผงั โรงงานแบบตาแหน่งงานคงท่ี (fixed position layout)

4 การวางผงั โรงงานแบบผสม

รูปแบบในการไหลของวัสดุ• 1) การไหลแบบเส้นตรง เป็นการไหลของวสั ดุง่ายๆ ตามข้นั ตอนการผลิต พ้ืนทอ่ี าคารโรงงานจะตอ้ งมีความยาวเพยี งพอ ดา้ นขา้ งของอาคารท้งั 2 ดา้ นอาจจะออกแบบเป็นสานกั งานหรือหน่วยงานสนบั สนุน เช่น แผนกซ่อมบารุง แผนกออกแบบ เป็นตน้• 2) การไหลแบบตัวเอส หรือซิกแซก เหมาะสาหรับกระบวนการผลิตท่ยี าวมากและมีพ้ืนที่โรงงานท่สี ้นั กว่า มีการ ป้อนเขา้ ของวตั ถุดิบและการไหลออกของผลิตภณั ฑค์ นละดา้ นของอาคารโรงงาน

• 3) การไหลแบบตัว ยู เหมาะสาหรับกระบวนการผลติ ทย่ี าวมาก แต่มพี นื้ ทโ่ี รงงานทส่ี ้ันกว่า มกี ารป้อนวตั ถุดบิ และ การไหลออกของผลติ ภณั ฑ์ด้านเดยี วกนัผลิตภณั ฑ์ 87 6 5วตั ถุดิบ 1 2 3 4 1• 4) การไหลแบบวงกลม เหมาะสาหรับกระบวนการผลิตที่มีความยาวมาก อาคารโรงงานท่มี ีลกั ษณะทรงจตั ุรัส วสั ดุและสินคา้ เขา้ – ออก จุดเดียวกนั เช่น แผนกรับ-ส่งสินคา้ และวตั ถุดิบอยู่ ณ จุดเดียวกนั 3 24 วตั ถุดิบ 1 5 17 6ผลิตภณัฑ์

• 5) การไหลแบบไม่เป็ นรูปแบบ ดงั แสดงในภาพที่ 13.9 เหมาะสาหรับอาคารโรงงานทม่ี ีขอ้ จากดั เร่ืองพ้นื ที่และ จุดติดต้งั เครื่องจกั รขนาดใหญ่ ส่ิงอานวยความสะดวกท่ตี ิดต้งั ถาวรอยกู่ ่อนแลว้ จาเป็นตอ้ งจดั สายการผลิตใหเ้ ขา้ กบั สิ่งที่มีอยู่ 24 5 6 ผลิตภณั ฑ์วตั ถุดิบ 1 3



• 1. พสั ดุคงคลงั ประกอบด้วย• 1) วตั ถดุ ิบ• 2) วสั ดุในงานระหวา่ งทา• 3) วสั ดุซ่อมบารุง• 4) สินคา้ สาเร็จรูป• 2. ต้นทุนท่เี กย่ี วข้องกบั พสั ดุคงคลงั• 1) ค่าใชจ้ ่ายในการสง่ั ซ้ือ• 2) ค่าใชจ้ ่ายในการเกบ็ รักษา• 3) คา่ ใชจ้ ่ายเนื่องจากสินคา้ ขาดแคลน• 4) คา่ ใชจ้ ่ายในการติดต้งั เคร่ืองจกั รใหม่• ลาดบั ความสาคญั ในการวเิ คราะห์งาน คือ• - มีความเร่งด่วน - มีตน้ ทุนการผลิตสูง - มีความตอ้ งการความชานาญสูง - มีความเส่ียงสูง



หน่วยที่ 14 อนั ตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม• ระบบการผลิตน้นั ประกอบไปดว้ ย 4ข้นั ตอน• 1. วตั ถุดิบนาเขา้ 2. กระบวนการ• 3. ผลผลิต/ผลิตภณั ฑ์• 4. ขอ้ มูลป้อนกลบั

ประเภทการผลิต4 ประเภท• 1. กระบวนการผลิตแบบต่อเน่ือง• 2. กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง• 3. กระบวนการผลิตแบบผลิตซ้า• 4. กระบวนการผลิตแบบงานโครงการ

ปัจจยั สาคญั ท่ีตอ้ งพิจารณาในการออกแบบกระบวนการผลิต• ปัจจยั สาคญั ฯ เหล่าน้นั ไดแ้ ก่• 1. ปัจจยั ผลิตภณั ฑ์• 2. ปัจจยั ทางวสั ดุ• 3. ปัจจยั เคร่ืองจกั ร• 4. ปัจจยั การผลิต• 5. ปัจจยั ตน้ ทุน

ส่ิงแวดลอ้ มในการทางานที่ก่อใหเ้ กิดอนั ตราย แก่ผปู้ ฏิบตั ิงานทางดา้ นสุขศาสตร์อุตสาหกรรม• แบ่งออกได้ 5 ประเภทคือ• 1. ส่ิงแวดลอ้ มทางดา้ นกายภาพ• 2. สิ่งแวดลอ้ มทางดา้ นเคมี• 3. ส่ิงแวดลอ้ มทางดา้ นชีวภาพ• 4. ส่ิงแวดลอ้ มทางดา้ นเออร์โกโนมิคส์• 5. ส่ิงแวดลอ้ มทางดา้ นจิตสงั คม

การเตรียมเย่ือกระดาษมี 2 วธิ ีการ- การเตรียมเยอ่ื กระดาษโดยกระบวนการทางเคมีและ- การเตรียมเยอื่ กระดาษโดยใชเ้ ครื่องจกั ร• อนั ตรายจากอตุ สาหกรรมหลอมเหลก็ เกิดจาก ฝ่ นุ ความร้อน ก๊าซ CO 2 โลหะหนกั หลายชนิด• อนั ตรายจากกระบวนการผลิตเซมิคอนดกั เตอร์• 1. กระบวนการตดั เวเฟอร์ ไดแ้ ก่ ฝ่ นุ ท่ีอยใู่ นรูปของตะกอนเปี ยกของสารหนู• (arsenic)• 2. กระบวนการเช่ือมชิพลงบนแผน่ เฟรม ไดแ้ ก่ ไอระเหยของอะซิโตน• 3. กระบวนการหุม้ ชิพและเส้นลวดดว้ ยเรซิน ไดแ้ ก่ สารพลวงและ• สารประกอบโบรมีน

เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม หมายถึง การใชท้ รัพยากรท่ีมีอยใู่ นทางวศิ วกรรมอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยวดั จากคุณค่าของผลงานดา้ นวศิ วกรรม ซ่ึงประกอบดว้ ย- ประสิทธิภาพเชิงกายภาพ- ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐศาสตร์• การคานวณรายไดป้ ระชาชาติ มี 3 วิธี คือ• - การคานวณรายไดป้ ระชาชาติดา้ นผลิตภณั ฑ์• - การคานวณรายไดป้ ระชาชาติดา้ นรายได้• - การคานวณรายไดป้ ระชาชาติดา้ นรายจ่าย

• อปุ สงค์ หมายถึง ปริมาณความตอ้ งการสินคา้ หรือบริการท่ีผบู้ ริโภคมีความสามารถท่ีจะซ้ือ ไดแ้ ละมีความเตม็ ใจท่ีจะซ้ือ• อุปทาน หมายถึง ปริมาณการเสนอขายสินคา้ หรือบริการที่ผเู้ สนอขายยนิ ดีขายสินคา้ หรือ บริการน้นั ๆ ดว้ ยความเตม็ ใจ• จุดดุลยภาพ หมายถึง จุดที่เส้นอปุ สงคแ์ ละเส้นอปุ ทานตดั กนั ซ่ึงมีปริมาณอุปสงคเ์ ท่ากบั ปริมาณอปุ ทาน

• ค่าเสื่อมราคา หมายถึง การลดคุณค่าของทรัพยส์ ินตามกาลเวลา หรือตาม ปริมาณการผลิต แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ• 1. การเส่ือมราคาทางกายภาพ• 2. การเส่ือมราคาทางการใชง้ าน• 3. การเส่ือมราคาจากอบุ ตั ิเหตุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook