Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป-5-บทโครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุชุ63-1

สรุป-5-บทโครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุชุ63-1

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-18 13:41:07

Description: สรุป-5-บทโครงการเศรษฐกิจพอเพียง-สวนนงนุชุ63-1

Search

Read the Text Version

โครงการเรียนรูก ารทําเกษตรออนิ ทรียตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในวันท่ี 5 มนี าคม 2563 ณ นงนุชเทรดดิชั่นเซน็ เตอร ตําบลนาจอมเทยี น อาํ เภอสตั หีบ จงั หวัดชลบุรี กศน.ตาํ บลหนาพระธาตุ สระสเ่ี หลยี่ ม หมอนนาง และหนองปรือ ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอพนสั นิคม

คาํ นาํ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอพนัสนิคม ไดจดั ทาํ แผนการปฏบิ ตั ิงานประจาํ ป งบประมาณ 2563 โดยไดจัดโครงการเรยี นรกู ารทาํ เกษตรอินทรียต ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใหก ับ ประชาชนท่วั ไปในตาํ บลหนาพระธาตุ สระสเ่ี หลย่ี ม หมอนนาง และหนองปรอื ในวนั ที่ 5 มนี าคม 2563 ตั้งแตเวลา 09.00 - 12.00 น. ณ นงนชุ เทรดดชิ น่ั เซ็นเตอร ตําบลนาจอมเทียน อาํ เภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี ผูเขา รว มโครงการ โครงการเรียนรูก ารทาํ เกษตรอินทรียต ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จาํ นวน 22 คน โครงการดังกลาวไดด าํ เนินเสร็จส้ินไปดวยดี ซ่ึงรายละเอียดผลการดําเนินงานตางๆ ตลอดจนปญหาอปุ สรรค ไดสรุปไวแ ลว เพือ่ รวบรวมกระบวนการดาํ เนนิ งาน ผลทีไ่ ดรับและการนําไปใช ตลอดจนการพฒั นาเพ่ือใหส อดคลอ ง กบั ผูเ ขารว มอบรม และการตอบสนองความตองการของผเู ขา รว มอบรม การนําไปใชใหเ กดิ ประโยชนอยา งแทจริง และตองขอขอบคุณศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั ชลบุรี ทีใ่ หก ารสนบั สนนุ งบประมาณ ตลอดจนคาํ ปรึกษาแนะนําในการจัดกจิ กรรมดงั กลา ว กศน.อาํ เภอพนสั นิคม มนี าคม 2563

สารบัญ หนา บทท่ี 1 1 1 บทนาํ 1 ความเปน มา 2 วัตถุประสงค 2 เปาหมาย ผลลพั ธ 2 ดชั นชี ี้วัดผลสําเรจ็ 8 15 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี ก่ียวของ 17 นโยบายและจุดเนน การดาํ เนินงานสาํ นักงาน กศน.ประจาํ ปงบประมาณ 19 พ.ศ. 2563 19 แนวทาง/กลยทุ ธก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 19 กศน.อําเภอพนัสนคิ ม 2563 19 หลักการ”เศรษฐกิจพอเพียง” แนวคิดการใชช ีวติ ทีพ่ อสอน 19 เอกสาร/งานทเี่ ก่ยี วของ 21 21 3 วธิ กี ารดําเนนิ งาน 24 ประชุมบุคลากรกรรมการสถานศกึ ษาและตัวแทนนักศึกษา 24 จดั ตั้งคณะทํางาน 24 ประสานงานหนว ยงานและบุคลที่เกย่ี งขอ ง 24 ดําเนนิ ตามแผนงาน วดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน 4 ผลการดาํ เนนิ งานและการวเิ คราะหขอ มูล ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตวั ของผตู อบแบบสอบถามของผเู ขา รบั การอบรมโครงการ ตอนท่ี 2 ขอมูลเก่ียวกับความคดิ เหน็ ทีม่ ีของผเู ขา รวมโครงการ 5 สรุปผลการดําเนินการ อภิปราย และขอเสนอแนะ ผลท่ปี รากฎ สรปุ ผลการดาํ เนินงาน อภิปรายผล ขอ เสนอแนะ

สารบัญตาราง หนา 20 ตารางที่ 20 21 1 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ 23 2 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี 3 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ 4 ผลการประเมินโครงการ

บทท่ี 1 บทนาํ โครงการเรยี นรูก ารทําเกษตรอนิ ทรียตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่มี าและความสาํ คัญ เกษตรอนิ ทรยี  คือการทําการเกษตรดว ยหลักธรรมชาติ บนพน้ื ทก่ี ารเกษตรทไี่ มม ีสารพิษตกคางและ หลีกเลี่ยงจากการปนเปอนของสารเคมที างดนิ ทางนา้ํ และทางอากาศเพ่ือสง เสริมความอุดสมสมบูรณของดิน ความ หลากหลายทางชวี ภาพ ในระบบนเิ วศนและฟน ฟสู ิ่งแวดลอมใหกลบั คืนสสู มดลุ ธรรมชาติโดยไมใชสารเคมีสังเคราะห หรือสิง่ ทีไ่ ดมาจากการตดั ตอพันธุกรรม ใชปจจยั การผลิตที่มีแผนการจัดการอยางเปน ระบบในการผลติ ภายใต มาตรฐานการผลติ เกษตรอนิ ทรยี ใ หไ ดผ ผลิตสูงอดุ มดวยคณุ คาทางอาหารและปลอดสารพิษโดยมตี น ทนุ การผลติ ตํา่ เพือ่ คณุ ภาพชวี ติ และเศรษฐกจิ พอเพียง แกม วลมนุษยชาติ และสรรพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรัชญาท่ชี ีถ้ ึง แนวทางปฏบิ ัติตน โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการสรางภมู คิ ุมกนั ที่ดี เพอื่ พรอ มรบั ตอความ เสี่ยง บนพน้ื ฐานของความรอบรู ความรอบคอบ ระมดั ระวัง และคุณธรรม การใชค วามรูอยางถูกหลกั วิชาการ ควบคู ไปกบั การกระทาํ ท่ีไมเ บยี ดเบียนกันการแบงปน ชว ยเหลือซึ่งกนั และกัน ความรวมมือปรองดองกันในสังคม จะสราง สายใย เชอื่ มโยงคนในภาคสวนตางๆของสงั คมเขา ดวยกัน สรางสรรคพ ลังในทางบวก นําไปสูค วามสามัคคี การพฒั นา ท่ีสมดุลและยง่ั ยืน และการพรอ มรับตอการเปลยี่ นแปลงตา งๆ ภายใตกระแสโลกาภิวัฒน การนาํ ภมู ปิ ญญาชาวบาน แหลง เรียนรู มาใชใ นการจัดการเรียนการสอนเปนกจิ กรรมท่ีตง้ั อยบู นพื้นฐานความเชื่อท่ีวา ภูมปิ ญ ญาชาวบาน ภูมิ ปญ ญาทองถิ่นและแหลง เรียนรู เปนชดุ ความรใู นชุมชนที่มีการใช เพ่อื การดาํ เนินวิถชี ีวติ ท่ีไดผ ลมาในอดตี สามารถ ดํารงความสนั ติสุขแกบ ุคคล ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนความมดี ลุ ยภาพอยรู ว มกับธรรมชาติและสิง่ แวดลอ มได อยา งผสมกลมกลนื เปน กระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนทไ่ี ดเ นนการมสี ว นรวมของชุมชน โดยเฉพาะปราชญ ชาวบา นที่เปน ผเู ชอ่ื มโยงชุดความรูที่เปนภมู ปิ ญญาทองถน่ิ รว มกบั สถานศึกษาเขา สูกระบวนการเรียนการสอนของ สถานศึกษา ในแตล ะทองถ่ินนั้นๆ ดงั น้นั กศน.ตําบลหนาพระธาตุ กศน.ตาํ บลสระส่ีเหล่ียม กศน.ตําบลหมอนนาง และกศน.ตําบลหนอง ปรอื ไดเล็งเหน็ ความสําคญั จึงไดจดั ทําโครงการเรยี นรูการทาํ เกษตรอนิ ทรยี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ข้ึนเพ่ือใหป ระชาชนมีความรเู กยี่ วกับการทาํ เกษตรอนิ ทรยี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถ ถายทอดสชู มุ ชนได วัตถปุ ระสงค 4.1 เพอ่ื ใหผเู ขา รับการอบรมมคี วามรเู กย่ี วกับการทําเกษตรอนิ ทรียตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.2 เพ่อื ใหผูเ ขา รบั การอบรมมีอุดมการณ การทําเกษตรอินทรียและนําไปใชใ นชวี ติ ประจําวันได

2 เปา หมาย เชิงปรมิ าณ ประชาชนในตําบลหนาพระธาตุ จํานวน 5 คน ประชาชนในตาํ บลสระส่เี หลย่ี ม จํานวน 5 คน ประชาชนในตาํ บลหนองปรือ จํานวน 6 คน ประชาชนในตําบลหมอนนาง จาํ นวน 6 คน รวม จํานวน 22 คน เชิงคุณภาพ เขาอบรมมีความรู ความเขาใจและสามารถนอมนําปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใชในชีวิตประจาํ วนั และสรางรายได ลดรายจา ยใหก ับตนเองและครอบครวั ได ตัวชีว้ ัดผลสาํ เร็จ 1 ตัวช้วี ัดผลผลิต (Output) - มีผูเ ขารว มโครงการ ไมนอ ยกวา รอ ยละ 80 ของกลมุ เปา หมาย - ผเู ขารว มโครงการมีความพงึ พอใจอยูในระดับมากข้ึนไปไมน อ ยกวา รอ ยละ 60 2 ตัวชีว้ ดั ผลลพั ธ (Outcome) ผเู ขา รวมโครงการรอยละ 80 ไดร ับความรู มีความเขา ใจของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ตใชในชีวิตประจาํ วันและสรา งรายได ลดรายจายใหก บั ตนเองและครอบครัว ได

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานที่เกี่ยวขอ ง ในการจดั ทํารายงานคร้ังนี้ไดศึกษาคน ควาเน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและรายงานท่ีเก่ียวขอ ง ดังตอไปนี้ 1. นโยบายและจดุ เนนการดําเนินงานสํานกั งาน กศน.ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563 2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของกศน.อําเภอพนสั นิคม 3. หลักการ”เศรษฐกจิ พอเพียง” แนวคิดการใชชวี ติ ท่ีพอสอน 4. เอกสารท่ีเกีย่ วขอ ง (รา ง) นโยบายและจุดเนน การดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563 วิสัยทัศน คนไทยไดร บั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยา งมคี ณุ ภาพ สามารถดํารงชวี ติ ท่ีเหมาะสม กับชว งวยั สอดคลอ งกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่จี าํ เปน ในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จัดและสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี คี ุณภาพ เพือ่ ยกระดบั การศึกษา พัฒนา ทกั ษะการเรยี นรูของประชาชนทุกกลมุ เปา หมายใหเ หมาะสมทุกชว งวัย พรอมรบั การเปล่ียนแปลงบรบิ ททางสังคม และสรา งสังคมแหงการเรยี นรตู ลอดชีวิต 2 สง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครอื ขาย ในการมีสว นรวมจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และการเรยี นรตู ลอดชีวติ รวมท้งั การดําเนินกิจกรรมของศนู ยการเรียนและแหลง การเรยี นรอู น่ื ใน รูปแบบตาง ๆ 3. สง เสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชใ หเกดิ ประสิทธภิ าพในการ จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหกับประชาชนอยา งท่ัวถึง 4. พัฒนาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู สือ่ และนวตั กรรม การวดั และประเมินผลในทกุ รูปแบบ ใหสอดคลองกับบรบิ ทในปจ จุบนั 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจดั การใหมีประสทิ ธภิ าพ เพอื่ มุงจดั การศกึ ษาและการเรยี นรทู ี่มี คณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปาประสงค 1. ประชาชนผูด อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทง้ั ประชาชนทวั่ ไปไดร บั โอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่มี ีคุณภาพ อยา งเทา เทียมและท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตอ งการของแตละ กลุม เปา หมาย 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรา งเสริมและปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมือง อนั นาํ ไปสูการยกระดับคุณภาพชวี ิตและเสริมสรางความเขมแขง็ ใหชุมชน เพือ่ พฒั นาไปสคู วามม่นั คงและยั่งยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสิง่ แวดลอม

4 3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรู และมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที เี่ หมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจําวนั รวมท้งั แกป ญ หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ ยา งสรางสรรค 4. ประชาชนไดร บั การสรา งและสงเสรมิ ใหม นี ิสยั รกั การอานเพ่ือการแสวงหาความรดู วยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รว มจัด สง เสริม และสนบั สนนุ การดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทง้ั การขับเคลอ่ื นกจิ กรรมการเรยี นรูของชุมชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดจิ ิทัล มาใชในการยกระดบั คุณภาพ ในการจดั การเรียนรูและเพิม่ โอกาสการเรียนรูใหก บั ประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสอื่ และการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อแกป ญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่ตอบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรและส่ิงแวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบท่หี ลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการทเ่ี ปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรับการพฒั นาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยางมีประสิทธภิ าพ ตัวชี้วัด ตัวชี้วดั เชิงปริมาณ 1. จํานวนผูเรียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาช้นั พนื้ ฐานท่ไี ดรับการสนับสนนุ คา ใชจ ายตามสทิ ธทิ ี่ กําหนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปาหมายตา ง ๆ ท่ีเขารว มกจิ กรรมการเรียนร/ู เขารบั บริการกิจกรรมการศึกษา ตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทีส่ อดคลองกับสภาพ ปญ หา และความตองการ 3. รอยละของกาํ ลงั แรงงานท่ีสาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตนขนึ้ ไป 4. จาํ นวนภาคีเครือขา ยท่เี ขา มามสี วนรว มในการจัด/พฒั นา/สง เสริมการศึกษา (ภาคเี ครือขาย : สถานประกอบการ องคก ร หนวยงานทมี่ ารวมจดั /พฒั นา/สง เสริมการศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้ืนท่ีสงู และชาวไทยมอแกน ในพนื้ ท่ี 5 จงั หวดั 11 อาํ เภอ ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวติ จากศนู ยก ารเรยี นชุมชนสงั กดั สาํ นกั งาน กศน. 6. จาํ นวนผรู บั บริการในพ้นื ทเ่ี ปา หมายไดรับการสง เสรมิ ดา นการรูหนังสือและการพัฒนาทักษะชวี ิต 7. จาํ นวนนกั เรยี นนกั ศกึ ษาที่ไดร บั บริการตวิ เขมเต็มความรู 8. จาํ นวนประชาชนที่ไดรับการฝกอาชีพระยะสั้น สามารถสรา งอาชพี เพือ่ สรา งรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพื้นท่ี กศน.ภาค ไดร ับการพัฒนาศักยภาพดานการจดั การเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 10. จํานวนประชาชนท่ีไดร ับการฝก อบรมภาษาตา งประเทศเพ่ือการส่ือสารดา นอาชีพ 11. จํานวนผสู ูงอายุภาวะพงึ่ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผูดแู ลทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จาํ นวนประชาชนที่ผานการอบรมจากศนู ยด ิจทิ ัลชมุ ชน 13. จาํ นวนศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน กศน. บนพื้นท่สี ูง ในพื้นท่ี 5 จงั หวดั ท่สี ง เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการฟง พดู ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร รว มกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จํานวนบุคลากร กศน. ตําบลท่ีสามารถจดั ทาํ คลังความรไู ด 15. จํานวนบทความเพื่อการเรียนรตู ลอดชวี ิตในระดบั ตําบลในหัวขอตาง ๆ 16. จาํ นวนหลักสูตรและสอื่ ออนไลนท ี่ใหบ รกิ ารกบั ประชาชน ท้ังการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย

5 ตัวชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทกุ ระดับ 2. รอ ยละของผเู รยี นท่ีไดรับการสนับสนุนการจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเทยี บกบั คา เปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายทล่ี งทะเบยี นเรียนในทุกหลักสูตร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เน่ืองเทยี บกบั เปาหมาย 4. รอยละของผผู านการฝก อบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะสัน้ สามารถนําความรไู ปใชในการประกอบอาชพี หรือพัฒนางานได 5. รอ ยละของผูเรยี นในเขตพ้ืนท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใตท ่ีไดรบั การพฒั นาศกั ยภาพ หรือทักษะดา นอาชพี สามารถมีงานทําหรอื นําไปประกอบอาชีพได 6. รอ ยละของผจู บหลกั สูตร/กจิ กรรมที่สามารถนําความรูความเขา ใจไปใชไ ดต ามจดุ มุง หมายของหลักสตู ร กิจกรรม การศึกษาตอเนือ่ ง 7. รอ ยละของประชาชนท่ีไดร ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจตอ การบรกิ าร/เขารวมกจิ กรรมการเรยี นรกู ารศึกษา ตามอธั ยาศยั 8. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีไดรับบริการ/ขารว มกจิ กรรมทีม่ ีความรคู วามเขา ใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจดุ มุงหมายของกิจกรรมทีก่ ําหนด ของการศึกษาตามอัธยาศยั 9. รอยละของนกั เรียน/นักศึกษาที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาท่ีไดร ับบรกิ ารติวเขมเต็มความรู เพิม่ สูงข้ึน 10. รอยละของผสู งู อายทุ ่ีเปนกลมุ เปา หมาย มโี อกาสมาเขารว มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชวี ิต นโยบายเรง ดว นเพื่อรวมขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ 1.ยทุ ธศาสตรด า นความมันคง 1.1 พัฒนาและเสรมิ สรา งความจงรกั ภกั ดตี อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝง และสรา งความตระหนักรถู ึง ความสําคญั ของสถาบันหลกั ของชาติ รณรงคเ สริมสรางความรกั และความภาคภมู ใิ จในความเปนคนไทยและชาติไทย นอมนําและเผยแพรศ าสตรพ ระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดําริตา ง ๆ 1.2 เสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตอ ง และการมีสว นรวมอยา งถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ในบรบิ ทของไทย มคี วามเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ 1.3 สง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาเพื่อปองกนั และแกไขปญ หาภยั คุกคามในรูปแบบใหม ท้ังยาเสพ ติด การคา มนุษย ภัยจากไซเบอร ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบัตใิ หม ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและสรางเสรมิ โอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษา การพฒั นาทักษะ การสรางอาชีพ และการใชชีวติ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต และพืน้ ที่ ชายแดนอนื่ ๆ 1.5 สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรับและ เคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลุม ชาตพิ ันธุ และชาวตา งชาติทมี่ ีความหลากหลาย ในลักษณะพหสุ ังคมที่อยู รวมกัน 2 ยุทธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขง ขัน 2.1 เรง ปรับหลักสตู รการจัดการศกึ ษาอาชพี กศน. เพื่อยกระดับทักษะดา นอาชพี ของประชาชน ใหเ ปน อาชพี ทร่ี องรบั อุตสาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา

การความรว มมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมงุ เนน สรา งโอกาส 6 ในการสรางงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตอ งการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเขตระเบยี งเศรษฐกจิ และเขคพฒั นาพิเศษตามภูมภิ าคตาง ๆ ของประเทศสาํ หรบั พ้นื ที่ปกติให พฒั นาอาชีพท่เี นนการตอ ยอดศกั ยภาพและตามบรบิ ทของพ้ืนที่ 2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาพ้ืนทภ่ี าคตะวันออก ยกระดบั การศึกษาใหกบั ประชาชนใหจ บการศึกษาอยาง นอ ยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวฒุ ทิ ี่ไดร ับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมทง้ั พัฒนาทกั ษะในการ ประกอบอาชีพตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรา งรายได ตอบสนองตอ บริบทของสังคมและชุมชน รวมท้ังรองรับการพัฒนาเขตพืน้ ทร่ี ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพื่อตอยอดการผลิตและจําหนายสนิ คแ ละผลติ ภัณฑออนไลน 1) เรง จัดต้งั ศนู ยใหค าํ ปรึกษาและพัฒนาผลติ ภัณฑ Brand กศน. เพ่ือยกระดบั คุณภาพของสนิ คแ ละ ผลิตภณั ฑ การบรหิ ารจดั การที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรา งชองทางจําหนา ย) รวมทัง้ สงเสริม การใชป ระโยชนจากเทคโนโลยดี ิจิทัลในการเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑ 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสนิ คา และลติ ภณั ฑ กศน. ในแตละจังหวัด พรอมท้งั ประสานความรว มมือกับ สถานบี ริการน้ํามนั ในการเปน ซอ งทางการจําหนา ยสดุ ยอดสินคาและผลติ ภัณฑ กศน.ใหก วา งขวางยง่ิ ขน้ึ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 พัฒนาครูและบคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วของกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผูเช่อื มโยงความรกู บั ผเู รียนและผูรบั บริการ มคี วามเปน \"ครมู อื อาชีพ\" มจี ติ บรกิ าร มคี วามรอบรูและทนั ตอการเปลยี่ นแปลงของสังคมและ เปน \"ผอู ํานวยการการเรยี นรู\" ทสี่ ามารถบริหารจดั การความรู กิจกรรม และการเรยี นรูท ่ีดี 1) เพ่มิ อัตราขาราชการครูใหกบั กศน. อําเภอทุกแหง โดยเรง ดําเนินการเรื่องการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ต้งั ขา ราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่เี ชอ่ื มโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตาํ บลใหส ามารถปฏบิ ัติงานไดอยางมีประสิทธภิ าพ โดยเนน เร่ืองการพัฒนาทกั ษะการ จัดการเรยี นการสอนออนไลน ทักษะภาษาตา งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏบิ ัติการนเิ ทศไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 5) พฒั นาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทใหมีทักษะความรูเร่อื งการใชป ระโยชนจ ากดิจทิ ลั และ ภาษาตางประเทศท่ีจาํ เปน 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูใ หม ีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอ การเรียนรู มคี วามพรอ มในการใหบรกิ าร กจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู เปน แหลงสารสนเทศสาธารณะทง่ี ยตอการเขา ถงึ มีบรรยากาศท่ีเอื้อตอ การเรียนรู เปน คาเพพื้นที่การเรยี นรูสาํ หรับคนทุกชวงวยั มสี ิ่งอํานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชวี ิต ทีด่ ึงดูดความ สนใจ และมคี วามปลอดภัยสาํ หรับผูใ ชบริการ 1) เรงยกระดบั กศน.ตาํ บลนาํ รอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง) ใหเ ปน กศน.ตําบล 5 ดี พรเี ม่ยี ม ทป่ี ระกอบดวย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี) กจิ กรรมดี เครอื ขา ยดี และมีนวัตกรรมการเรยี นรูที่ดมี ีประโยชน 2) จัดใหม ศี ูนยการเรยี นรตู น แบบ กศน. เพือ่ ยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภูมิภาค เปนพ้ืนที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ทท่ี ันสมยั สาํ หรับทกุ คน มีความพรอมในการใหบ รกิ ารตา ง ๆ อาทิ พ้นื ทส่ี ําหรับการทํางาน/ การเรยี นรู พื้นที่สาํ หรบั กิจกรรมตา ง ๆ มีหองประชมุ ขนาดเล็ก รวมทง้ั ทาํ งานรว มกบั หองสมุดประชาชนในการ ใหบ รกิ ารในรูปแบบหองสมดุ ดจิ ิทัล บรกิ ารอินเทอรเ นต็ สื่อมัลตมิ ีเดยี เพ่อื รองรบั การเรียนรแู บบ Active Learning 3) พฒั นาหองสมุดประชชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" ใหเ ปน Digital Library โดยใหม บี ริการหนังสือ ในรปู แบบ e - Book บริการคอมพวิ เตอร และอินเทอรเ น็ตความเรว็ สงู รวมทั้ง Free Wifi เพือ่ การสบื คนขอมูล 3.3 สง เสรมิ การจดั การเรียนรูท่ีทันสมยั และมีประสิทธภิ าพ เอื้อตอการเรยี นรูสาํ หรบั ทุกคน สามารถ เรยี นไดทุกท่ีทุกเวลา มกี ิจกรรมทีห่ ลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพ่ือพฒั นาศักยภาพ

7 การเรยี นรูข องประชาชน รวมทง้ั ใชประโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรวมจดั กิจกรรมการเรยี นรเู พื่อเชื่อมโยง ความสมั พนั ธของคนในชมุ ชนไปสูการจัดการความรขู องชุมชนอยางย่งั ยืน 1) สง เสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท ป่ี ลูกฝง คณุ ธรรม สรางวินยั จติ สาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอ สวนรวม และการมีจติ อาสา ผา นกจิ กรรมรปู แบบตาง ๆ อาทิ กจิ กรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนบั สนุนใหม กี ารจัดกิจกรรมเพอื่ ปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหกบั บุคลากรในองคกร 2) จัดใหมีหลกั สตู รลกู เสือมัคคเุ ทศก โดยใหส าํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหปกทม. จัดตัง้ กองลกู เสือ ทีล่ ูกเสือมีความพรอมดานทักษะภาษาตางประเทศ เปน ลกู เสอื มคั คุเทศกจังหวดั ละ 1 กอง เพื่อสงเสริมลูกเสือจติ อาสาพัฒนาการทองเท่ยี วในแตละจงั หวดั 3.4 เสรมิ สรา งความรว มมือกับภาคเี ครือขาย ประสาน สงเสริมความรวมมือภาคีเครือขา ย ทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสว นทองถนิ่ รวมทง้ั สง เสริมและสนบั สนนุ การมสี วนรว มของชุมชนเพือ่ สรา งความ เขาใจ และใหเกดิ ความรว มมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใหก บั ประชาชนอยางมี คุณภาพ 1) เรง จดั ทาํ ทําเนียบภูมิปญญาทอ งถิ่นในแตละตาํ บล เพื่อใชประโยชนจากภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ในการสรางการ เรียนรจู ากองคความรูใ นตัวบุคคลใหเ กดิ การถายทอดภมู ปิ ญญา สรางคณุ คาทางวฒั นธรรมอยางย่ังยนื 2) สงเสรมิ ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ินสูการจัดการเรยี นรชู มุ ชน 3) ประสานความรว มมอื กบั ภาคีเครือขา ยเพือ่ การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยใหเ ขาถึงกลมุ เปาหมายทกุ กลุมอยา งกวางขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลมุ ผสู งู อายุ กลุม อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชนต อการจัดการศึกษาและกลมุ เปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน กศน. ทัง้ ในรปู แบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะ ชีวิตและทักษะอาชพี การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั การพัฒนาชองทางการคา ออนไลน 2) สง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยีในการปฏิบตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู 3) สงเสรมิ ใหมีการใชการวจิ ัยอยางงา ยเพ่ือสรางนวัตกรรมใหม 3.6 พฒั นาศกั ยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทลั ของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อพัฒนา รปู แบบการจัดการเรียนการสอน 2) สงเสรมิ การจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพอ่ื ใหป ระชาชนมีทกั ษะความเขา ใจและ ใชเทคโนโลยีดิจทิ ัลท่ีสามารถนาํ ไปใชประโยชนในชีวติ ประจาํ วัน รวมทัง้ สรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตา งประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตา ง ๆ อยา งเปนรูปธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ทัง้ ในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการทองเทีย่ ว รวมทัง้ พัฒนาส่อื การเรยี นการสอนเพอ่ื สงเสรมิ การใชภ าษาเพ่ือการสอื่ สารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรยี มความพรอ มการเขาสสู ังคมผสู ูงอายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสรมิ การจดั กิจกรรมใหกับประชาชนเพื่อสรางความตระหนักถึงการเตรียมพรอมเขาสู สังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพัฒนาการของชว งวยั รวมทง้ั เรียนรแู ละมีสว นรวมในการดแู ล รบั ผิดชอบผูส ูงอายุในครอบครัวและชุมชน 2) พฒั นาการจัดบริการการศึกษาและการเรยี นรูส าํ หรับประชาชนในการเตรยี มความพรอ ม เขา สูวัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ติ สาํ หรบั ผสู งู อายุภายใตแนวคิด \"Active Aging\" การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ และพฒั นาทักษะชวี ิต ใหส ามารถดแู ลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรูจ กั ใชป ระโยชนจากเทคโนโลยี 4) สรา งความตระหนักถงึ คุณคาและศกั ดิ์ศรีของผสู งู อายุ เปด โอกาสใหมีการเผยแพรภ มู ิปญ ญา

8 ของผูสูงอายุ และใหม ีสวนรว มในกิจกรรมดา นตาง ๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือรองรบั สงั คมผูสูงอายุ โดยบรู ณาการความรว มมือกบั หนวยงานท่เี ก่ียวของ ในทุก ระดับ 3.9 การสงเสริมวทิ ยาศาสตรเ พือ่ การศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวิทยาศาสตรเชิงรกุ และเนนใหความรูว ทิ ยาศาสตรอ ยางงา ยกบั ประชาชนในชุมชน ทงั้ วิทยาศาสตรในวถิ ชี วี ิต และวิทยาศาสตรในชีวิตประจาํ วนั 2) พัฒนาสือ่ นิทรรศการเละรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใหม ีความทนั สมยั 3.10 สงเสริมการรภู าษาไทยใหก ับประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ท่ีสูง ใหสามารถฟง พูด อา น และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชช วี ติ ประจาํ วนั ได 4 ยทุ ธศาสตรต นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตงั้ ศนู ยก ารเรยี นรูส าํ หรับทกุ ชวงวยั ทเ่ี ปนศูนยก ารเรยี นรตู ลอดชวี ติ ท่ีสามารถใหบริการ ประชาชนไดทุกคน ทุกชวงวยั ทีม่ กี จิ กรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตล ะวัย และเปนศูนยบริการความรู ศูนยการจัดกจิ กรรมท่คี รอบคลุมทกุ ชวงวยั เพอื่ ใหม ีพฒั นาการเรียนรทู ี่เหมาะสม และมคี วามสขุ กบั การเรยี นรูต ามความสนใจ 1) เรง ประสานกับสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เพื่อจดั ทาํ ฐานขอ มูลโรงเรียนทถี่ กู ยบุ รวม หรือคาดวา นา จะถูกยุบรวม 2) ใหสาํ นักงาน กศน.จังหวดั ทกุ แหงท่อี ยูในจังหวัดท่ีมีโรงเรียนท่ถี ูกยบุ รวม ประสานขอใชพ้ืนทีเ่ พื่อจดั ตง้ั ศูนย การเรยี นรสู าํ หรับทกุ ชว งวัย กศน. 4.2 สง เสรมิ และสนับสนุนการจดั การศกึ ษาและการเรียนรสู ําหรับกลุมเปาหมายผูพิการ 1) จดั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ และทักษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดย เนน รูปแบบการศึกษาออนไลน 2) ใหส ํานักงาน กศน.จังหวดั ทุกแหง /กทม. ทําความรวมมือกับศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ในการใช สถานท่ี วสั ดุอปุ กรณ และครุภัณฑด านการศึกษา เพื่อสนบั สนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรูสาํ หรับกลุมเปา หมาย ผพู กิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลุมเปา หมายทหารกองประจาํ การ รวมทัง้ กลุมเปา หมายพเิ ศษอ่นื ๆ อาทิ ผตู อ งขงั คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวยั เรยี นที่อยูนอกระบบการศกึ ษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน สามารถนําความรทู ี่ไดรบั ไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอเนื่อง 4.4 พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาอาชีพระะส้ัน ใหมคี วามหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสมกับบริบทของ พื้นท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบริการ 5. ยุทธศาสตรด านการสรางการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทีเ่ ปนมติ รตอ สิง่ แวดลอม 5.1 สง เสรมิ ใหม ีการใหความรูกับประชาชนในการรบั มือและปรับตวั เพ่ือลดความเสียหายจากภยั ธรรมชาติ และผลกระทบที่เกย่ี วของกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถงึ ความสาํ คัญของการสรางสังคมสีเขยี ว สง เสริมความรใู หกับประชาชนเกี่ยวกับการ คดั แยกต้ังแตต น ทาง การกาํ จัดขยะ และการนาํ กลับมาใชช ํ้า เพอ่ื ลดปริมาณและตน ทนุ ในการจัดการขยะของเมอื ง และสามารถนําขยะกลับมาใชประโยชนไดโ ดยงา ย รวมท้ังการจดั การมลพิษในชุมชน 5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพ ลงั งานท่ีเปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม รวมทง้ั ลดการใชทรพั ยากรท่ี สง ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอ ม เชน รณรงคเรือ่ งการลดการใชถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบหารบรหิ ารจดั การภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏบิ ัตริ าชการใหท นั สมยั มีความโปรงใส ปลอดการทุจรติ บรหิ ารจัดการบน ขอ มูลและหลกั ฐานเชิงประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธ์มิ ีความโปรงใส

9 6.2 นํานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทาํ งานทเี่ ปน ดิจิทลั มาใชใ นการบริหารและพัฒนางานสามารถ เชอ่ื มโยงกับระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศึกษาธิการ พรอ มทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนที่สามารถเชื่อมโยง ขอมลู ตาง ๆ ท่ีทาํ ใหการบรหิ ารจัดการเปน ไปอยา งตอเน่ืองกันตง้ั แตต น จนจบกระบวนการและใหป ระชาชน กลุม เปา หมายสามารถเขา ถึงบรกิ ารไดอยางทันที ทกุ ทีแ่ ละทกุ เวลา 6.3 สง เสรมิ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยา งตอเน่ือง ใหมคี วามรแู ละทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รง กบั สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากร 2. แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.อาํ เภอพนสั นิคม วิสัยทัศน “กศน.อําเภอพนสั นคิ ม จัดและสงเสริม สนบั สนุนการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก ับ ประชาชนกลมุ เปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยางมีคุณภาพดวยแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง” พนั ธกจิ 1. ออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรูใหส อดคลองกับหลักสตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรแู ละการบริหารการศึกษา 3. พฒั นาบุคลากรดานการออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู/ส่ือ/การประเมินผล 4. สง เสรมิ และสนับสนนุ การมีสวนรวมของภาคเี ครือขา ยและชุมชนในการจดั กจิ กรรมการศกึ ษา เปาประสงค ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพ อยางเทาเทียมและทัว่ ถึง เปน ไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะ กลมุ เปา หมาย 1. ประชาชนไดร ับการยกระดับการศึกษา สรา งเสริมและปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมือง อนั นาํ ไปสูการยกระดับคุณภาพชีวติ และเสริมสรา งความเขมแข็งใหชมุ ชน เพ่ือพฒั นาไปสคู วามม่นั คงและยง่ั ยนื ทางดานเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และส่งิ แวดลอม 2. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรู และมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจําวัน รวมทัง้ แกปญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดอ ยางสรา งสรรค 3. ประชาชนไดรับการสรา งและสง เสริมใหม ีนสิ ยั รกั การอานเพอื่ การแสวงหาความรูด ว ยตนเอง 4. ชุมชนและภาคีเครอื ขา ยทุกภาคสว น รวมจัด สง เสรมิ และสนบั สนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การขับเคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรขู องชุมชน 5. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใชใ นการยกระดับคุณภาพ ในการจดั การเรียนรูและเพ่ิมโอกาสการเรยี นรใู หก ับประชาชน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพฒั นาส่อื และการจัดกระบวนการเรยี นรู เพื่อแกปญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่ตอบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบริบทดา นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตรแ ละสงิ่ แวดลอม รวมท้งั ตามความตองการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทหี่ ลากหลาย 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการท่ีเปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล

10 8. บคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรบั การพัฒนาเพ่อื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ัด ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนผูเรยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาชนั้ พื้นฐานท่ีไดร บั การสนบั สนุนคาใชจ า ยตามสทิ ธทิ ่ี กาํ หนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปา หมายตา ง ๆ ท่ีเขารว มกิจกรรมการเรียนร/ู เขารบั บรกิ ารกิจกรรมการศึกษา ตอเนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอ ยละของกาํ ลังแรงงานท่ีสําเรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ขนึ้ ไป 4. จํานวนภาคีเครือขา ยทเี่ ขามามสี วนรวมในการจดั /พัฒนา/สง เสริมการศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคกร หนว ยงานทีม่ ารว มจดั /พัฒนา/สงเสรมิ การศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพืน้ ท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพ้นื ที่ 5 จงั หวดั 11 อําเภอ ไดร ับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวติ จากศนู ยก ารเรียนชุมชนสงั กดั สํานักงาน กศน. 6. จาํ นวนผรู บั บริการในพื้นทีเ่ ปาหมายไดร ับการสง เสริมดานการรหู นังสอื และการพฒั นาทักษะชีวิต 7. จํานวนนกั เรยี นนักศกึ ษาที่ไดร ับบรกิ ารติวเขมเตม็ ความรู 8. จาํ นวนประชาชนท่ไี ดรบั การฝกอาชพี ระยะส้นั สามารถสรางอาชพี เพอ่ื สรา งรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพน้ื ท่ี กศน.ภาค ไดร ับการพฒั นาศักยภาพดานการจัดการเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 10. จาํ นวนประชาชนทไี่ ดร บั การฝกอบรมภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารดานอาชพี 11. จาํ นวนผูสูงอายภุ าวะพง่ึ พิงในระบบ Long Term Care มีผูดูแลทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จาํ นวนประชาชนทผ่ี า นการอบรมจากศนู ยดจิ ทิ ลั ชุมชน 13. จาํ นวนศูนยก ารเรียนชมุ ชน กศน. บนพ้นื ทส่ี งู ในพน้ื ที่ 5 จังหวดั ทีส่ งเสริมการพัฒนาทกั ษะการฟง พูด ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร รว มกันในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จํานวนบุคลากร กศน. ตําบลท่ีสามารถจดั ทาํ คลังความรูได 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรยี นรูตลอดชีวิตในระดบั ตําบลในหัวขอ ตา ง ๆ 16. จาํ นวนหลกั สตู รและสอ่ื ออนไลนท่ีใหบ ริการกบั ประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้น พ้นื ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั ช้ีวดั เชิงคุณภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทกุ ระดับ 2. รอยละของผูเรียนที่ไดร บั การสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเทยี บกับคาเปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ลี งทะเบยี นเรียนในทกุ หลกั สตู ร/กจิ กรรมการศึกษาตอเน่ืองเทยี บกบั เปา หมาย 4. รอ ยละของผผู า นการฝกอบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะสน้ั สามารถนาํ ความรูไปใชในการประกอบอาชีพ หรือพฒั นางานได 5. รอ ยละของผูเ รียนในเขตพื้นที่จังหวดั ชายแดนภาคใตท ี่ไดรบั การพัฒนาศกั ยภาพ หรือทักษะดานอาชีพ สามารถมงี านทําหรือนําไปประกอบอาชีพได

11 6. รอยละของผูจบหลักสูตร/กิจกรรมทีส่ ามารถนําความรคู วามเขาใจไปใชไดต ามจุดมงุ หมายของหลกั สตู ร กิจกรรม การศึกษาตอเนอ่ื ง 7. รอยละของประชาชนที่ไดรับบริการมีความพงึ พอใจตอ การบริการ/เขารวมกจิ กรรมการเรยี นรูการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั 8. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายทไ่ี ดร ับบรกิ าร/ขา รวมกิจกรรมทีม่ ีความรูความเขาใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจดุ มงุ หมายของกิจกรรมทีก่ ําหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. รอ ยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวชิ าทไ่ี ดร ับบรกิ ารติวเขมเต็มความรเู พิ่มสงู ข้ึน 10. รอ ยละของผสู งู อายทุ ่เี ปน กลมุ เปาหมาย มีโอกาสมาเขา รว มกจิ กรรมการศกึ ษาตลอดชีวติ นโยบายเรง ดว นเพื่อรวมขับเคล่ือนยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด านความมนั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรา งความจงรักภกั ดีตอสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรา งความตระหนักรูถ ึง ความสาํ คญั ของสถาบันหลกั ของชาติ รณรงคเสริมสรา งความรักและความภาคภูมใิ จในความเปน คนไทยและชาติไทย นอ มนาํ และเผยแพรศ าสตรพ ระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถงึ แนวทางพระราชดํารติ า ง ๆ 1.2 เสรมิ สรางความรคู วามเขาใจท่ถี ูกตอง และการมสี วนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ในบรบิ ทของไทย มีความเปน พลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ 1.3 สง เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ปองกันและแกไ ขปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม ทงั้ ยา เสพติด การคามนุษย ภัยจากไซเบอร ภยั พิบตั ิจากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ิใหม ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและสรางเสริมโอกาสในการเขาถงึ บริการการศกึ ษา การพัฒนาทกั ษะ การสรา งอาชีพ และการใชช ีวิตในสงั คมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และพน้ื ที่ ชายแดนอน่ื ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานยอมรับและ เคารพในประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ ชาติพันธุ และชาวตางชาติทม่ี ีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคมท่ีอยู รวมกัน 2 ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งความสามารถในการแขงขัน 2.1 เรง ปรบั หลกั สตู รการจดั การศึกษาอาชพี กศน. เพ่ือยกระดบั ทักษะดา นอาชีพของประชาชน ใหเ ปน อาชพี ทีร่ องรับอตุ สาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณา การความรวมมือในการพฒั นาและเสริมทักษะใหมด านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมงุ เนนสรางโอกาส ในการสรา งงาน สรา งรายได และตอบสนองตอความตอ งการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพนื้ ท่เี ขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพฒั นาพเิ ศษตามภมู ภิ าคตาง ๆ ของประเทศ สําหรบั พืน้ ทปี่ กตใิ หพ ฒั นาอาชพี ท่เี นน การตอยอดศักยภาพและตามบริบทของพืน้ ที่ 2.2 จัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาพื้นท่ภี าคตะวันออก ยกระดับการศึกษาใหก ับประชาชนใหจบการศึกษาอยาง นอ ยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวุฒิทไี่ ดรบั ไปตอยอดในการประกอบอาชพี รวมท้ังพัฒนาทกั ษะในการ ประกอบอาชีพตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบริบทของสงั คมและชุมชน รวมท้งั รองรับการพฒั นาเขตพนื้ ที่ระเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพ่อื ตอยอดการผลติ และจาํ หนา ยสนิ คแ ละผลิตภัณฑออนไลน 1) เรง จดั ต้งั ศูนยใหค าํ ปรึกษาและพฒั นาผลติ ภณั ฑ Brand กศน. เพ่ือยกระดับคุณภาพของสินคแ ละ ผลติ ภณั ฑ การบริหารจัดการทีค่ รบวงจร (การผลิต การตลาด การสง ออก และสรา งชองทางจาํ หนา ย) รวมทงั้ สงเสรมิ การใชป ระโยชนจากเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการเผยแพรแ ละจําหนายผลิตภณั ฑ

12 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสินคา และลติ ภัณฑ กศน. ในแตล ะจงั หวดั พรอ มทัง้ ประสานความรว มมอื กับ สถานบี รกิ ารนํ้ามนั ในการเปนซอ งทางการจาํ หนา ยสดุ ยอดสินคา และผลิตภัณฑ กศน.ใหก วางขวางย่งิ ขน้ึ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย 3.1 พฒั นาครูและบุคลากรท่ีเก่ียวขอ งกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู เปนผเู ชอื่ มโยงความรกู บั ผูเ รียนและผรู บั บริการ มคี วามเปน \"ครมู ืออาชีพ\" มจี ติ บรกิ าร มีความรอบรูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและ เปน \"ผอู าํ นวยการการเรยี นรู\" ทส่ี ามารถบรหิ ารจดั การความรู กิจกรรม และการเรียนรูท ่ีดี 1) เพมิ่ อัตราขาราชการครูใหกับ กศน. อําเภอทุกแหง โดยเรงดําเนนิ การเร่ืองการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ตั้ง ขาราชการครู 2) พัฒนาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรที่เชื่อมโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตาํ บลใหส ามารถปฏิบตั ิงานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเนน เร่ืองการพัฒนาทักษะการ จดั การเรยี นการสอนออนไลน ทักษะภาษาตา งประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก ใหส ามารถปฏิบัติการนเิ ทศไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดบั ทุกประเภทใหม ีทักษะความรเู รือ่ งการใชป ระโยชนจ ากดิจทิ ลั และ ภาษาตางประเทศท่ีจาํ เปน 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรใู หมบี รรยากาศและสภาพแวดลอมท่เี อ้ือตอ การเรียนรู มคี วามพรอ มในการใหบ รกิ าร กิจกรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปน แหลงสารสนเทศสาธารณะทงี่ ยตอการเขาถึง มบี รรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรยี นรู เปนคาเพพนื้ ที่การเรียนรูส าํ หรบั คนทุกชวงวยั มีสง่ิ อาํ นวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมีชวี ิต ทดี่ ึงดูดความ สนใจ และมีความปลอดภัยสาํ หรบั ผูใชบริการ 1) เรงยกระดับ กศน.ตาํ บลนาํ รอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง) ใหเปน กศน.ตําบล 5 ดี พรีเมี่ยม ทปี่ ระกอบดวย ครดู ี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพ้ืนที่) กิจกรรมดี เครอื ขา ยดี และมนี วตั กรรมการเรียนรทู ่ีดมี ปี ระโยชน 2) จดั ใหมศี นู ยการเรียนรตู น แบบ กศน. เพือ่ ยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภมู ภิ าค เปนพื้นที่การเรยี นรู (Co - Learning Space) ที่ทันสมยั สําหรบั ทกุ คน มีความพรอ มในการใหบ ริการตา ง ๆ อาทิ พืน้ ท่ีสําหรับการทาํ งาน/ การเรยี นรู พนื้ ทีส่ ําหรบั กจิ กรรมตา ง ๆ มีหองประชมุ ขนาดเล็ก รวมทั้งทํางานรว มกบั หอ งสมุดประชาชนในการ ใหบ ริการในรปู แบบหองสมุดดจิ ทิ ัล บรกิ ารอินเทอรเ น็ต สื่อมัลตมิ ีเดยี เพ่อื รองรบั การเรียนรูแบบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมุดประชชน \"เฉลมิ ราชกุมารี\" ใหเ ปน Digital Library โดยใหม บี ริการหนังสอื ในรปู แบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอนิ เทอรเ น็ตความเร็วสูง รวมท้ัง Free Wifi เพ่อื การสืบคน ขอมลู 3.3 สง เสริมการจัดการเรยี นรูทที่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพ เออ้ื ตอการเรยี นรูสําหรบั ทุกคน สามารถ เรียนไดท กุ ทีท่ ุกเวลา มกี ิจกรรมทีห่ ลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพอื่ พฒั นาศักยภาพ การเรยี นรขู องประชาชน รวมท้งั ใชป ระโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรว มจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเพ่ือเชอ่ื มโยง ความสัมพนั ธของคนในชมุ ชนไปสูการจดั การความรขู องชุมชนอยา งย่งั ยืน 1) สงเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรูท ่ปี ลกู ฝงคุณธรรม สรางวินยั จติ สาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอ สวนรวม และการมีจิตอาสา ผานกจิ กรรมรปู แบบตาง ๆ อาทิ กจิ กรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ใหม กี ารจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก บั บุคลากรในองคกร 2) จัดใหม ีหลกั สูตรลูกเสือมัคคุเทศก โดยใหส าํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหปกทม. จดั ตง้ั กองลูกเสือ ที่ลกู เสอื มีความพรอ มดานทักษะภาษาตางประเทศ เปนลูกเสอื มัคคุเทศกจ งั หวดั ละ 1 กอง เพ่ือสง เสรมิ ลูกเสือจติ อาสาพัฒนาการทองเท่ียวในแตละจังหวดั 3.4 เสรมิ สรางความรว มมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สงเสริมความรว มมือภาคเี ครือขา ย ทัง้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน รวมท้งั สงเสริมและสนบั สนุนการมีสว นรวมของชมุ ชนเพอ่ื สรา งความ เขา ใจ และใหเกดิ ความรว มมือในการสงเสริม สนับสนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ หก ับประชาชนอยางมี คณุ ภาพ

13 1) เรงจดั ทาํ ทําเนียบภูมิปญ ญาทอ งถิ่นในแตล ะตําบล เพ่ือใชประโยชนจ ากภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ ในการสรา งการ เรยี นรูจากองคความรูใ นตวั บคุ คลใหเกิดการถายทอดภมู ปิ ญญา สรางคุณคา ทางวฒั นธรรมอยา งยง่ั ยืน 2) สง เสริมภูมปิ ญ ญาทอ งถิน่ สูการจดั การเรียนรูชุมชน 3) ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขา ยเพ่ือการขยายและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั ใหเขาถงึ กลุมเปาหมายทกุ กลุมอยา งกวา งขวางและมคี ุณภาพ อาทิ กลมุ ผสู ูงอายุ กลุม อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชนต อ การจดั การศกึ ษาและกลมุ เปาหมาย 1) พฒั นาการจดั การศึกษาออนไลน กศน. ทัง้ ในรปู แบบของการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน การพัฒนาทกั ษะ ชีวิตและทักษะอาชพี การศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การพัฒนาชอ งทางการคาออนไลน 2) สง เสริมการใชเทคโนโลยใี นการปฏิบัตงิ าน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนรู 3) สงเสริมใหมีการใชก ารวิจยั อยา งงายเพ่ือสรา งนวตั กรรมใหม 3.6 พฒั นาศกั ยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู ละทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) สงเสริมการจดั การเรยี นรูดานเทคโนโลยีดิจิทลั เพอ่ื ใหประชาชนมีทักษะความเขา ใจและ ใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทสี่ ามารถนําไปใชป ระโยชนในชวี ติ ประจาํ วนั รวมทั้งสรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตา งประเทศเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตา ง ๆ อยางเปน รปู ธรรม โดยเนน ทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ทง้ั ในภาคธุรกจิ การบริการ และการทองเทยี่ ว รวมท้งั พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอนเพอ่ื สงเสริมการใชภ าษาเพือ่ การสื่อสารและการพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรยี มความพรอ มการเขาสูส ังคมผูส งู อายุทเี่ หมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง เสริมการจัดกิจกรรมใหกบั ประชาชนเพื่อสรา งความตระหนกั ถึงการเตรียมพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพัฒนาการของชว งวยั รวมทั้งเรียนรแู ละมสี วนรว มในการดแู ล รบั ผดิ ชอบผูสงู อายใุ นครอบครัวและชมุ ชน 2) พัฒนาการจดั บริการการศึกษาและการเรยี นรูสาํ หรับประชาชนในการเตรยี มความพรอ ม เขาสวู ยั สงู อายทุ ่เี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตสําหรบั ผูสงู อายุภายใตแนวคิด \"Active Aging\"การศึกษาเพื่อพัฒนา คณุ ภาพชีวิต และพฒั นาทักษะชีวติ ใหส ามารถดแู ลตนเองทงั้ สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ และรจู กั ใชป ระโยชนจ าก เทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักดิ์ศรขี องผูสูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภูมิปญญาของผสู งู อายุ และใหม ีสว นรวมในกจิ กรรมดานตาง ๆ ในชุมชน เชน ดา นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือรองรบั สงั คมผูส ูงอายุ โดยบรู ณาการความรว มมอื กบั หนว ยงานท่เี กย่ี วของ ในทุก ระดบั 3.9 การสงเสรมิ วทิ ยาศาสตรเพือ่ การศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเชิงรุก และเนนใหความรูวิทยาศาสตรอ ยางงา ยกบั ประชาชนในชุมชน ทั้งวิทยาศาสตรในวิถชี ีวิต และวิทยาศาสตรในชีวิตประจาํ วนั 2) พัฒนาส่ือนิทรรศการเละรูปแบบการจัดกจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใ หม ีความทันสมยั 3.10 สง เสริมการรภู าษาไทยใหก ับประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ท่ีสงู ใหส ามารถฟง พดู อา น และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชในการใชช ีวิตประจําวันได 4 ยทุ ธศาสตรต นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จัดต้งั ศนู ยการเรยี นรูสาํ หรบั ทกุ ชวงวัย ท่ีเปน ศนู ยการเรียนรตู ลอดชวี ิตทีส่ ามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดท ุกคน ทุกชวงวัย ทีม่ ีกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรใู นแตล ะวยั

14 และเปนศูนยบริการความรู ศูนยก ารจัดกจิ กรรมที่ครอบคลุมทุกชวงวยั เพอื่ ใหม ีพฒั นาการเรยี นรูท่ีเหมาะสม และมีความสขุ กับการเรยี นรตู ามความสนใจ 1) เรงประสานกับสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพ่อื จดั ทาํ ฐานขอมลู โรงเรยี นทถ่ี ูกยบุ รวม หรือคาดวา นาจะถูกยบุ รวม 2) ใหสํานกั งาน กศน.จังหวดั ทกุ แหงท่อี ยใู นจังหวดั ทมี่ โี รงเรียนที่ถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ ้นื ทีเ่ พ่ือจัดต้ังศนู ย การเรยี นรสู าํ หรบั ทุกชว งวัย กศน. 4.2 สงเสริมและสนับสนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นรูสําหรับกลมุ เปา หมายผูพกิ าร 1) จดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ และทกั ษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศยั โดย เนนรูปแบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสาํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง/กทม. ทาํ ความรว มมือกบั ศนู ยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ในการใช สถานท่ี วสั ดุอปุ กรณ และครุภณั ฑด า นการศึกษา เพื่อสนับสนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นรสู าํ หรบั กลุมเปาหมาย ผูพ กิ าร 4.3 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุม เปา หมายทหารกองประจําการ รวมท้งั กลุมเปาหมายพิเศษอ่ืน ๆ อาทิ ผูตองขงั คนพิการ เดก็ ออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศกึ ษาใหจบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน สามารถนาํ ความรูทีไ่ ดร ับไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอเน่ือง 4.4 พฒั นาหลกั สูตรการจดั การศึกษาอาชีพระะสนั้ ใหมีความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสมกบั บรบิ ทของ พืน้ ที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผูรบั บริการ 5. ยทุ ธศาสตรดานการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปนมติ รตอ สง่ิ แวดลอม 5.1 สง เสรมิ ใหมกี ารใหความรูกับประชาชนในการรบั มือและปรับตวั เพ่ือลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และผลกระทบทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรา งความตระหนักถงึ ความสําคัญของการสรางสงั คมสีเขยี ว สง เสรมิ ความรใู หกบั ประชาชนเกยี่ วกับการ คดั แยกต้ังแตต น ทาง การกําจัดขยะ และการนาํ กลบั มาใชช้ํา เพอ่ื ลดปริมาณและตน ทนุ ในการจัดการขยะของเมือง และสามารถนําขยะกลับมาใชประโยชนไดโ ดยงา ย รวมท้ังการจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสรมิ ใหหนว ยงานและสถานศึกษาใชพ ลังงานทีเ่ ปนมิตรกบั สิ่งแวดลอม รวมทัง้ ลดการใชทรพั ยากรที่ สงผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม เชน รณรงคเรอ่ื งการลดการใชถงุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรด า นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบหารบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรับระบบวธิ กี ารปฏบิ ตั ริ าชการใหทันสมยั มีความโปรง ใส ปลอดการทุจรติ บรหิ ารจัดการบน ขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรง ใส 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานทเี่ ปนดิจิทลั มาใชในการบริหารและพัฒนางานสามารถ เชอื่ มโยงกับระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร พรอมทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนทสี่ ามารถเช่ือมโยง ขอ มลู ตา ง ๆ ทท่ี าํ ใหการบริหารจดั การเปนไปอยางตอ เนื่องกนั ต้งั แตต น จนจบกระบวนการและใหป ระชาชน กลุมเปาหมายสามารถเขา ถึงบริการไดอยา งทันที ทุกที่และทกุ เวลา 6.3 สง เสรมิ การพัฒนาบุคลากรทกุ ระดบั อยางตอเนอ่ื ง ใหมคี วามรแู ละทกั ษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รง กบั สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากร

15 หลักการ”เศรษฐกิจพอเพียง” แนวคดิ การใชชวี ติ ที่พอสอน แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งเปนสิง่ ทีท่ กุ คนคุนหูเพราะเคยไดเ รยี นรแู ละเคยไดย ินกันบอย ๆ แตกลับมนี อ ยคนนกั ท่ีจะ เขา ใจหลกั ปรัชญาและการใชชีวิตแบบพอเพียงตามแบบอยางท่ใี นหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงมพี ระราชดําริไว ฉะนนั้ วันน้ี จงึ เปนโอกาสดที ่เี ราจะมาราํ ลกึ ถึงแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง ตามคําที่พอเคยสอนเราไวเ มื่อหลายสบิ ปก อ น เศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) เปน แนวพระราชดาํ ริของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลย เดช โดยเปน แนวทางการพัฒนาท่ตี ัง้ อยูบนพ้ืนฐานทางสายกลาง ความไมประมาท ไมฟุมเฟอย คํานึงถงึ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา งภมู ิคุมกันใหต ัวเอง ตลอดจนการใชความรแู ละคุณธรรมเปน พ้ืนฐานในการ ดํารงชีวิต โดยมีใจความสาํ คัญคือสติ ปญญา และความเพียร ซ่ึงเปนบนั ไดสูความสุขในการดาํ เนนิ ชีวิตอยา งแทจริง +++หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง+++ โดยพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ 9 ไดม ีพระราชดํารัสเกี่ยวกับแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงไว ตง้ั แตป พ.ศ. 2517 ดังน้ี “…การพัฒนาประเทศจําเปนตองทาํ ตามลําดบั ขน้ั ตอ งสรางพนื้ ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใชข องประชาชนสวน ใหญเ บือ้ งตน กอน โดยใชวิธกี ารและอปุ กรณทีป่ ระหยัดแตถูกตองตามหลักวชิ าการ เมอ่ื ไดพ ้ืนฐานความม่ันคงพรอม พอสมควร และปฏบิ ัติไดแลว จึงคอยสรา งคอ ยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ข้ันทีส่ งู ขึ้นโดยลําดบั ตอไป…” (18 กรกฎาคม 2517) “…คนอน่ื จะวาอยา งไรกช็ างเขา จะวาเมืองไทยลาสมยั วาเมอื งไทยเชย วา เมอื งไทยไมมีส่ิงทสี่ มัยใหม แตเ ราอยู พอมีพอกนิ และขอใหทุกคนมีความปรารถนาทจ่ี ะใหเมอื งไทยพออยูพอกนิ มีความสงบ และทาํ งานตัง้ จิตอธิษฐานตง้ั ปณิธาน ในทางท่จี ะใหเมอื งไทยอยแู บบพออยูพอกิน ไมใชวา จะรุงเรืองอยางยอด แตวามคี วามพออยูพอกิน มีความ สงบ เปรยี บเทยี บกบั ประเทศอ่นื ๆ ถา เรารักษาความพออยูพอกินนไ้ี ด เรากจ็ ะยอดยงิ่ ยวดได… ” (4 ธันวาคม 2517)

16 จากพระบรมราโชวาทนีจ้ ะเห็นไดวา พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงเหน็ วา การพัฒนา ที่เนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเปนหลกั แตเ พียงอยางเดียวอาจจะเกดิ ปญ หาได จึงทรงเนนใหสรางความ พอมีพอกินในประชาชนสว นใหญเปนเบอื้ งตน กอ น และเม่ือมพี นื้ ฐานความมน่ั คงพรอมพอสมควรแลว จึงคอยสรา ง ความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจใหส งู ขนึ้ เปนลําดบั ถดั ไป +++ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดาํ รทิ แ่ี ทจ ริงเปน อยางไร++++ จริง ๆ แลว ปรชั ญาพอเพียงเปนปรชั ญาท่ชี ถ้ี ึงแนวทางการดํารงอยแู ละปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ตงั้ แต ระดับครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถึงระดับของรฐั ที่ซึง่ จะนํามาใชในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด ําเนนิ ไปในทาง สายกลาง และในขณะเดยี วกันก็ตองเสริมสรางพนื้ ฐานจิตใจคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนาท่ขี องรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทุกระดบั ใหม สี าํ นึกในคุณธรรม ท้ังนี้หากจะกลาวถงึ ปรชั ญาเศรษฐกิจใหเ ขา ใจงายขนึ้ มาอีกนิดก็อาจจะอธิบายไดว า เศรษฐกิจพอเพียง มหี วั ใจหลักคือ การพอในความตองการ ดังพระราชดํารสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธนั วาคม 2541 ความวา พระราชดํารสั พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช เมื่อวนั ท่ี 4 ธันวาคม 2541 เน่ืองในวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2541 “…คนเราถาพอในความตองการ กม็ ีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอ ย ก็เบียดเบยี นคนอื่นนอย ถา ทุกประเทศมี ความคิด อันน้ีไมใชเศรษฐกิจ มีความคดิ วาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ไมส ุดโตง ไมโลภอยา ง มาก คนเราก็อยูเปนสขุ …” “…ใหพ อเพยี งน้ีก็หมายความวา มีกนิ มีอยู ไมฟุมเฟอย ไมห รูหราก็ได แตว า พอ แมบ างอยางอาจจะดฟู ุมเฟอย แตถา ทาํ ใหม คี วามสุข ถาทําไดก็สมควรท่ีจะทํา สมควรท่ีจะปฏิบัติ อันน้กี ็หมายความอกี อยา งของเศรษฐกิจ หรือระบบ พอเพยี ง…พอเพยี งน้ีอาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหรากไ็ ด แตวาตองไมเ บียดเบยี นคนอ่ืน ตองใหพอประมาณตาม อัตภาพ พดู จาก็พอเพียง ทําอะไรก็พอเพยี ง ปฏบิ ตั ิตนก็พอเพยี ง…” พระองคทรงเปนตน แบบของปรัชญาแหงความพอเพยี งอยางแทจรงิ ทรงมพี ระราชจรยิ วตั รทเ่ี กยี่ วของกบั ความ ประหยัดและพอเพยี งมากมาย อาทิ – เผยพระกระยาหารโปรด ในหลวง ร.9 สดุ แสนธรรมดา พอแหงความพอเพยี ง – ขา วผัดไข 1 จาน ของในหลวง ตน แบบปรชั ญาพอเพียง เรื่องเลาจาก ดร.สุเมธ – เปดเรอ่ื งเลา สุดประทบั ใจ ฉลองพระบาทของ ในหลวง ร.9…ท่ซี อ มไมไดอีกตอไป

17 เอกสาร/งานที่เกีย่ วขอ ง เศรษฐกจิ พอเพียง “ เศรษฐกจิ พอเพียง ” Sufficiency economy เปน เสมอื นรากฐานของชีวติ รากฐานความม่ันคงของ แผนดิน เปรียบเสมอื นเสาเข็มทีถ่ ูกตอกรองรบั บานเรอื นตัวอาคารไวนน้ั เอง สิง่ กอสรา งจะม่ันคงไดกอ็ ยูที่เสาเข็มแต คนสว นมากมองไมเห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มดว ยเสียซํา้ ไป พระราชดํารสั พระบาทสมเด็จพระเจา อยู จากวารสารชัย พฒั นา“ โลกาภิวัตน หรือ โลกานวุ ัตน ” globalization คอื ผลจากการพัฒนาการตดิ ตอส่ือสาร การคมนาคมขนสง และเทคโนโลยสี ารสนเทศ อันแสดงใหเ ห็นถงึ การเจรญิ เติบโตของสมั พนั ธทางเศรษฐกจิ การเมอื ง เทคโนโลยี และ วัฒนธรรมท่เี ชื่อมโยงระหวางปจเจกบคุ คล ชุมชน หนวยธรุ กิจ และรฐั บาล ทวั่ ท้งั โลก “ การประยุกตห ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการใชอ นิ เตอรเ น็ตในกระแสโลกาภวิ ตั น ” อนิ เตอรเ นต็ เปน เทคโนโลยใี หมใ นการสื่อสารสารสนเทศเปรยี บเสมือนชมุ ชนแหงใหมของโลกซ่ึงรวมคน ท่ัวทุกมมุ โลกเขาดวยกันยคุ น้ี ไมวาใครๆ กต็ องพดู ถงึ อินเตอรเ น็ต ICQ เพราะมันกลายเปน สว นหนึ่งของคนรนุ ใหม กลายเปน สิ่งจําเปน ใน ปจ จบุ ัน ทสี่ ามารถติดตอหาขอมูลแลกเปลีย่ นขา วสารใหมๆ เรยี นรูสิง่ ใหมๆ สรางจนิ ตนาการไดตลอดเวลาอยาง กวา งไกลไรขดี จํากัด โดยไมตองเสยี คา เดนิ ทาง แตการผจญภยั ไปในโลกกวางไรพรมแดน หรือการทองไปในโลก อินเตอรเน็ตนัน้ ก็มีทัง้ คุณและโทษ การเรียนรูเปน สิ่งทีด่ แี นน อน แตเ ราตองทําความเขาใจวา ประโยชนแ ละโทษของ มนั คอื อะไรควบคกู ันไปดว ย (ชวลิต วนิ จิ จะกูล : 2544) ปจจุบนั นมี้ กี ารใชอินเตอรเน็ตกันอยางกวา งขวางไปในทางทีผ่ ดิ วัตถปุ ระสงคท างเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งที่ ควรจะเปนรวมถึงพฤติกรรมในการใชอนิ เตอรเ น็ตทีเ่ ปน อุปสรรคในดา นตา งๆ อันตรายตอสขุ ภาพจิต และเปน ปญ หา สงั คม ยกตัวอยางรายงานเชน 1. โรคตดิ อินเตอรเ น็ต (Webaholic) พฤตกิ รรมตาง ๆ การเลน อินเตอรเน็ตทาํ ใหคุณเสียงาน หรอื แมแ ตทาํ ลาย นักจิตวิทยาช่อื Kimberly S. Young ไดศ ึกษาพฤติกรรม ของผูใ ชอ นิ เตอรเนต็ อยา งมากเปน จํานวน 496 คน โดยเปรียบเทยี บ กับบรรทัดฐาน ซงึ่ ใชใ นการจดั วา ผูใ ดเปนผูทตี่ ดิ การพนันการติดการพนนั ประเภทท่ีถอน ตวั ไมข้ึน มีลกั ษณะคลายคลึงกบั การตดิ อินเตอรเน็ต เพราะท้งั สองอยา ง เกยี่ วของกบั การลมเหลว ในการควบคมุ ความตอ งการของตนเอง โดยไมม สี วนเกี่ยว ของกับสารเคมีใดๆ (อยา งสุรา หรอื ยาเสพติด) อนิ เตอรเน็ต ในการศกึ ษา วิจัยเรอื่ งนี้ หมายรวมถงึ ตวั อนิ เตอรเน็ตเองระบบออนไลน (อยา งเชน AmericaOn-line, Compuserve, Prodigy) หรือระบบ BBS (Bulletin Board Systems) และการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นี้ ไดระบวุ า ผูท ม่ี ีคุณสมบตั ิดังตอไปนี้ อยางนอย 4 อยา งเปน เวลา นานอยา งนอย 1 ปถ อื ไดว า มีอาการตดิ อนิ เตอรเน็ต รูสกึ หมกมุนกับอนิ เตอรเน็ตแมใน เวลาทีไ่ มไดตอกับอนิ เตอรเนต็ ความตองการใชอ ินเตอรเ น็ตเปนเวลานานขึน้ ไมสามารถควบคมุ การใชอ ินเตอรเน็ตได รสู กึ หงดุ หงิดเม่ือตองใชอินเตอรเนต็ นอ ยลงหรือหยดุ ใช ใชอนิ เตอรเ น็ตเปน วิธใี นการหลีก เล่ียงปญ หาหรอื คิดวา การใช อนิ เตอรเน็ตทําใหต นเองรสู กึ ดีขึ้น คนในครอบครัวหรือเพ่ือน เรอื่ งการใชอินเตอรเ น็ตของตวั เอง การใชอินเตอรเ น็ตทํา ใหเ กิดการเสีย่ งตอ การสูญเสยี งานการเรยี น และความสัมพันธ ยังใชอ นิ เตอรเ นต็ ถึงแมว าตองเสยี คา ใช จา ยมากมี อาการผิดปกติ อยา งเชน หดหู กระวนกระวายเม่อื เลิกใชอ ินเตอรเ นต็ เวลาในการใชอ ินเตอรเนต็ นานกวาท่ีตวั เองได ตัง้ ใจไว สําหรบั ผใู ชอินเตอรเนต็ ทไ่ี มเขา ขายขา งตนเกิน 3 ขอในชวงเวลา 1 ป ถือวายงั เปน ปกติ จากการศึกษาวจิ ยั ผูทใี่ ชอ ินเตอรเน็ตอยางหนกั 496 คน มี 396 คนซ่ึงประกอบไปดวย เพศชาย 157 คน และเพศหญิง 239 คน เปนผูที่ เรียกไดวา \"ติดอินเตอรเนต็ \" ในขณะทีอ่ ีก 100 คน ยังนับ เปนปกติ ประกอบดวยเพศชาย และเพศหญงิ 46 และ 54 คนตามลําดับ สําหรบั ผูที่จดั วา \"ติดอนิ เตอรเ น็ต\"นน้ั ไดแสดงลกั ษณะอาการ ของการตดิ (คลายกบั การติดการพนัน) และการใชอินเตอรเ น็ต อยางหนักเหมอื นกับ การเลน การพนัน ความผดิ ปกติในการกินอาหาร หรอื สรุ าเรอ้ื รัง มผี ล กระทบตอ การเรียน อาชีพ สภาพทางสงั คมและเศรษฐกจิ ของคนคนนน้ั ถึงแมวา การวิจยั ทผ่ี า นมาไดแสดงใหเ ห็นวา

18 การตดิ เทคโนโลยอี ยางเชน การตดิ เลนเกมส สว นใหญจะเกิดขน้ึ กับเพศชายแตผ ลลัพธข างตน แสดงใหเห็นวา ผทู ตี่ ิด อินเตอรเ น็ต สวนใหญเ ปนเพศหญงิ วยั กลางคนและไมม ีงานทาํ 2. เรื่องอนาจารผิดศีลธรรม ( Pornography/Indecent Content ) เรือ่ งของขอมูลตา งๆ ที่มเี นื้อหาไป ในทางขัดตอ ศีลธรรม ลามกอนาจาร หรือรวมถงึ ภาพโปเ ปลือยตาง ๆ นั้นเปน เรื่องทม่ี ีมานานพอสมควรแลว บนโลก อินเตอรเน็ต แตไมโจงแจง เน่ืองจากสมยั กอนเปนยคุ ท่ี WWW หรือ IT ยงั ไมพ ัฒนา มากนกั ทําใหไ มมีภาพออกมาแต ในปจ จบุ ันภายเหลา น้ีเปน ทีโ่ จง แจง บนอนิ เตอรเน็ต และส่ิงเหลาน้สี ามารถเขาสเู ด็กและเยาวชนไดง า ยโดยผูป กครอง ไมส ามารถท่ีจะใหความดูแลไดเ ตม็ ที่เพราะวาอนิ เตอรเ น็ตน้ันเปนโลกทไี่ รพรมแดนและเปดกวางทาํ ใหสื่อเหลานสี้ าม รถเผยแพรไปไดรวดเรว็ จนเราไมส ามารถจบั กมุ หรือเอาผิดผทู ที่ าํ สง่ิ เหลา น้ขี ้นึ มาได แสดงใหเ หน็ ถึงการใชอินเตอรเน็ตที่ขาดความพอเพียง ความพอประมาณ ไรซ่งึ ความสมเหตุสมผล และไมมี ภูมิคุมกนั ทดี่ ี การที่จะกระทําอะไรทีข่ าดสติ ขาดความรู ขาดคณุ ธรรมและจริยธรรม กอ ใหเกดิ ปญ หาขน้ึ มากมายทั่งใน ดานเศรษฐกจิ และปญหาสังคมโดยรวม การใชอินเตอรเนต็ หรอื เทคโนโลยตี า งๆ นนั้ ก็สามารถนาํ หลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี งนาํ มาประยุกตใชไดใ หเปน ไปอยา งเหมาะสม เพือ่ ลดกระแสโลกาภิวตั น และใหเปน ไปอยาง สมดุล สมเหตุสมผลในดานทุนมนษุ ย ทนุ เศรษฐกจิ (การเงนิ ) ทุนทรพั ยากร (พลังงาน) เราควรที่จะศึกษาและทาํ ความเขาใจเก่ยี วกบั การใชอนิ เตอรเนต็ เพื่อใหเกดิ ประโยชนอ ยางแทจรงิ โดยประยกุ ตห ลักปรชั ญา “เศรษฐกิจ พอเพยี ง” คอื ความพอประมาณ ดา นเทคโนโลยี ความเลอื กใชเ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม พอเพยี งกับการแกปญหา ไมสรา งระบบการผลติ มากเกินไป (Over Production) หรือ ใชเทคโนโลยมี ากเกินไป (Over Engineering) อะไรท่ี มากเกินไป หรอื ขาดแคลน ยอมเปนความสญู เปลา ไมกอประโยชนอนั ใด หรอื สรา งประโยชนไ มได และอาจจะสราง โทษภายหลัง เปนสาเหตุกระทบในหัวขอ อืน่ เชน ทรัพยากรทถี่ ูกใชอยางรวดเรว็ การเสยี เงนิ ตราตา งประเทศในการ นาํ เขา เทคโนโลยี เปน ตน มีเหตผุ ล การลดตนทุน หรอื รายจาย ยอ มทาํ ใหเราเพิ่มกาํ ไร หรือ รายเหลอื ของประชาชน ทําใหเกดิ การออม ไมใ ชจ า ยเกนิ ตัวเกนิ ความจําเปน หรือ ใชจ า ยดว ยความ “พอดี” อีกทั้งยงั ลดการใชวตั ถุดบิ และ อีกนัยหนึง่ ดา นสังคมประชาชน คนไทยจะมีรายเหลือมากขึ้น เม่ือเรารูจ กั ประหยดั และลดคาใชจายที่ไมจ าํ เปน ใน ครวั เรือนลงภมู คิ มุ กัน ภูมคิ มุ กนั ในความหมาย นค้ี ือ การบรหิ ารความเส่ียง ( Risk Management) จะตอ งมีแนวทาง ปองกนั ไม ใหทําอะไรทเ่ี สีย่ งเกนิ ไป พอตัว และปองกนั ปญหาไวก อนทีป่ ญ หาจะเกดิ โดยคาํ นึงถงึ ผลที่จะตามมา หากเกิดปญ หาจากความเสี่ยงในดานลบ หรอื ไมประสบความสําเร็จตามท่ีคาดการณไ วว ายังสามารถรบั มือไดหรอื ไม มีคุณธรรม ความชอบธรรม เปนส่งิ ทีข่ าดในสงั คมปจ จุบัน เปน คณุ สมบตั ิที่ขาดไป ของผูบ ริหารองคการบางคน นักการเมืองบางทาน บางกลุมขา ราชการ บางกลมุ ของผูประกอบการ และขาดการกลไกการตรวจสอบจากภาค ประชาชนคนท่วั ไป คุณธรรม (Ethics) จะเปน หลกั พืน้ ฐานในการบรหิ ารทงั้ หมด จะตองมองผมู สี ว นไดส วนเสยี (Stake Holder) ไมใชเจาของเทา นั้น (Stock Holder) มคี วามรู การรเู ทา ทนั ตามความเปน จริง ซ่ึงเปนหลกั ของศาสนาพทุ ธอีกขอหน่ึง สง่ิ ทีจ่ ะทําใหร ูเทา ทนั นน้ั คือ “ปญ ญา” เราจะตอ งทราบถึงขอ ดี ขอเสยี ผลทจ่ี ะเกิดตามมาในอนาคต ในการตามกระแสโลกาภิวตั น เชน เราได ประโยชน เสียประโยชนอ ยางไร ส่งิ ท่เี ปน จุดออนจะตองเสริมสรางเปน จดุ แขง็ สิ่งที่เปน ภาวะคกุ คามจะตองเสรมิ เปน โอกาส สิ่งเหลา จะทําใหป ระเทศของเราไมเ สยี เปรยี บ และไมตกเปน ทาสทางเศรษฐกิจของกระแสโลกาภวิ ัตน ทงั้ หมดน้ีตองอาศยั ความมี ศีล เปน ตน เหตุของปญ หาสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สมาธิ มีความนง่ิ สุขุม รอบคอบ ใจเยน็ มคี วามมุงม่ันในการทาํ ความดี ปญ ญา มีความรู ความชาํ นาญ รเู ทาทันตามความเปนจริง และ สามารถแกปญหาท่ตี นเหตุ และปองกนั ปญ หาไมใ หเ กดิ หรือ เกดิ ซาํ้ ได ท้งั หมดนเ้ี ปน สง่ิ ทีช่ าวพทุ ธรแู ลว ท้งั ส้ิน แตยงั ไมได “ปฏิบตั ิ” ถึงเวลาหรอื ยัง ทเ่ี ราชาวไทยตองมา ปฏบิ ัตอิ ยา งจรงิ จัง และรูรกั สามคั คี รวมใจไทยเปน หนึ่ง เพ่ืออนาคต และความยัง่ ยนื ในการพัฒนาประเทศตอไป

บทท่ี 3 วิธีการดําเนนิ งาน ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนสั นคิ ม จดั ทําโครงการเรียนรูการทาํ เกษตร อนิ ทรียตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มขี นั้ ตอนดังน้ี 1. ประชุมบคุ ลากรกรรมการสถานศกึ ษา 2. จัดตงั้ คณะทาํ งาน 3. ประสานงานกับหนว ยงาน และบคุ คลท่ีเกยี่ วของ 4. ดําเนนิ งานตามแผน 5. วดั ผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน ประชมุ บุคลากรกรรมการสถานศกึ ษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอพนัสนิคม ไดว างแผนประชุมกับบุคลากร กรรมการสถานศกึ ษา เพื่อหาแนวทางในการดาํ เนินงานและกาํ หนดวัตถุประสงครว มกัน จัดตัง้ คณะทํางาน จัดทาํ คําสัง่ แตงตัง้ คณะทํางานโครงการ เพ่ือมอบหมอบหมายหนา ทใ่ี นการทาํ งานใหช ัดเจน เชน 1) คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา/อาํ นวยการ มีหนาทอ่ี ํานวยความสะดวก และใหค ําปรึกษาแกไ ขปญหาทเี่ กดิ ข้ึน 2) คณะกรรมการฝายประชาสมั พันธ มีหนา ทป่ี ระชาสมั พนั ธรับสมคั รนกั ศึกษาเขา รวมโครงการ 3) คณะกรรมการฝา ยรับลงทะเบียนและประเมนิ ผลหนา ที่จัดทําหลักฐานการลงทะเบยี นผูเขารว มกจิ กรรม และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการ ประสานงานกับหนวยงาน และบุคคลทเี่ ก่ียวของ ประสานเครือขายท้ังหมดทเ่ี ก่ียวของ เชน ประสานเรอ่ื งสถานที่ใชอบรม ประสานงานกบั คณะกรรมการ สถานศึกษา ประสานงานกับทีมวทิ ยากร และแขกผูม เี กียรติเขา รวม ดาํ เนินการตามแผนงานโครงการ โครงการเรยี นรกู ารทําเกษตรออนิ ทรยี ต ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในวนั ท่ี 5 มีนาคม 2563 ณ นงนชุ เทรดดชิ ัน่ เซน็ เตอร ตําบลนาจอมเทียน อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี วัดผล/ประเมนิ /สรุปผลและรายงาน จากการดาํ เนินงานโครงการเรยี นรกู ารทาํ เกษตรออนิ ทรยี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในวนั ที่ 5 มนี าคม 2563 ณ นงนชุ เทรดดชิ นั่ เซ็นเตอร ตาํ บลนาจอมเทียน อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี เปน ประชาชนท่ัวไปของตําบลหนาพระธาตุ สระสีเ่ หลยี่ ม หนองปรือ และหมอนนาง จํานวน 22 คน

20 การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนคิ ม จะไดน ําแนวทางไปใชขอ มลู พิจารณา หลักสตู ร เนอื้ หาตลอดจนเทคนิควธิ ีการจดั การกระบวนการเรียนรตู างๆ เพ่ือใหต อบสนองความตอ งการของผเู ขา อบรมไดร ับประโยชนน ําไปใชไ ดจ ริงตามศกั ยภาพของแตล ะคน ใหมีความเขาใจและมีคุณภาพตอไป ศูนยการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนสั นิคม ไดด ําเนินการตามขนั้ ตอนและไดรวบรวมขอมลู โดยกาํ หนดคาลาํ ดับความสาํ คัญของการประเมินผลออกเปน 5 ระดับ ดงั น้ี มากที่สุด ใหคะแนน 5 มาก ใหค ะแนน 4 ปานกลาง ใหคะแนน 3 นอย ใหค ะแนน 2 นอยทสี่ ดุ ใหคะแนน 1 ในการแปลผล ผูจดั ทาํ ไดใชเกณฑก ารพิจารณาจากคะแนนเฉลยี่ ตามแนวคิดของ บญุ ชม ศรสี ะอาด และบญุ สง นวิ แกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดมี าก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตอ งปรับปรุง ผเู ขา รว มโครงการจะตอ งกรอกขอมูลตามแบบสอบถาม เพื่อนาํ ไปใชในการประเมินผลของการจดั กจิ กรรม ดังกลา ว และจะไดนําไปเปน ขอมลู ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชในการจัดทาํ แผนการดําเนินการในปตอไป

บทท่ี 4 ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อ มูล ในการจดั กจิ กรรมโครงการเรียนรกู ารทําเกษตรอนิ ทรียตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในวนั ที่ 12 กุมภาพนั ธ 2563 ณ นงนุชเทรดดชิ ั่นเซน็ เตอร ตาํ บลนาจอมเทียน อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ซงึ่ ไดสรปุ ผลจาก แบบสอบถามและนําเสนอผลการวิเคราะหขอ มลู จากผเู ขารวมโครงการทงั้ หมด จํานวน 50 คน และซงึ่ ไดส รปุ ผลจาก แบบสอบถามและนําเสนอผลการวเิ คราะหขอมูล จากผเู ขา รว มโครงการทั้งหมด ไวดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอมลู สว นตวั ผูตอบแบบถามของผูเขารวมกจิ กรรมโครงการเรียนรกู ารทาํ เกษตรอินทรียตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผูเขา รว มกจิ กรรมที่ตอบแบบสอบถามไดนาํ มาจาํ แนกตามเพศ ระดบั การศึกษา และ อายุ ผูจดั ทําไดนาํ เสนอจาํ แนกตามขอมูลดังกลา ว ดงั ปรากฏตามตารางท่ี 1 ดังตอ ไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงคารอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ ความคดิ เหน็ เพศ ชาย หญิง จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ โครงการเรียนรกู ารทําเกษตรอินทรยี ตามหลักปรัชญาของ 1 4.55 21 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รจากตารางท่ี 1 แสดงผตู อบแบบสอบถามของผูเ ขารว มโครงการเรียนรกู ารทําเกษตรอนิ ทรียต ามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ชาย 1 คน คดิ เปน รอยละ 4.55 เปนหญงิ 21 คน คดิ เปน รอยละ 95.55 ตารางที่ 2 แสดงคา รอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ อายุ ตํ่ากวา 15 ป 16-39 ป 40-59 ป 60 ขน้ึ ไป ความคดิ เห็น จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ โครงการเรยี นรูการทาํ เกษตรอนิ ทรีย - - 1 4.55 10 45.45 11 50 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จากตารางที่ 2 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รว มกิจกรรมโครงการเรยี นรูก ารทําเกษตรอินทรียตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ชวงอายุ 16-39 ป มีจํานวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ 4.55 ชวงอายุ 40-59 ป มี จํานวน 10 คน คดิ เปนรอยละ 45.45 และ60 ขนึ้ ไป มีจํานวน 11 คน คิดเปน รอ ยละ 50

22 ตารางที่ 3 แสดงคารอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชีพ รบั จาง คา ขาย รบั ราชการ เกษตรกรรม อ่นื ๆ(วา งงาน) ประเภท จํานวน รอ ย จาํ นวน รอ ย จาํ นวน รอ ย จาํ นวน รอย จํานวน รอ ย ละ ละ ละ ละ ความคิดเห็น ละ โครงการเรยี นรกู าร 5 22.72 3 13.63 - - 10 45.45 4 18.18 ทาํ เกษตรอินทรยี  ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพยี ง จากตารางที่ 3 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รว มกิจกรรมโครงการเรียนรูการทําเกษตรอนิ ทรียตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีอาชีพเกษตรกร มากที่สดุ จาํ นวน 10 คน คิดเปนรอยละ 45.45 และรบั จาง จํานวน 5 คน คิดเปน รอ ยละ 22.72 อื่นๆ จาํ นวน 4 คน คิดเปนรอยละ 18.18 และนอยทส่ี ดุ คือ คาขาย จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 22.72

23 ตอนที่ 2 ขอ มลู เกยี่ วกบั ความคดิ เห็นของผเู ขา รว มโครงการเรียนรูการทาํ เกษตรอนิ ทรยี ต ามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ความคดิ เหน็ ของผูเขา รวมกจิ กรรม จาํ นวน 22 คน จากแบบสอบถามท้งั หมดท่มี ีตอ โครงการเรยี นรูการทําเกษตรออนิ ทรยี ต ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ณ นงนชุ เทรดดิช่ันเซ็นเตอร ต.นาจอมเทยี น อ.พนสั นคิ ม จ.ชลบุรี N =22 รายการที่ประเมิน อันดับ ระดับผล µꝹ ท่ี การประเมิน ดา นหลักสูตร 1. กิจกรรมท่ีจัดสอดคลองกบั วัตถุประสงค ของหลกั สตู ร 4.44 0.60 10 มาก 2. เนื้อหาของหลักสูตรตรงกบั ความตอ งการของผรู บั บรกิ าร 4.50 0.61 2 มาก 3. การจดั กิจกรรมทําใหผ รู บั บริการสามารถ คดิ เปนทําเปนแกปญหาเปน 4.45 0.69 4 มาก 4. ผรู บั บริการมีสวนรวมในการแสดงความคดิ เห็นตอการจัดทําหลักสูตร 4.35 0.75 12 มาก 5. ผูร บั บรกิ ารสามารถนาํ ความรูไปปรบั ใชในชีวิตประจาํ วันได 4.55 0.69 1 มากสดุ 6. สอ่ื /เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 4.45 0.51 4 มาก ดา นวิทยากร 7. วิทยากรมีความรูความสามารถในการจดั กิจกรรม 4.50 0.5 2 มาก 8. เทคนคิ /กระบวนในการจัดกจิ กรรมของวทิ ยากร 4.40 0.51 10 มาก 9. วทิ ยากรมีการใชสือ่ ที่สอดคลองและเหมาะสมกบั กจิ กรรม 4.45 0.51 4 มาก 10. บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 4.45 0.60 4 มาก ดานสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ 11. สถานที่ในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.35 0.81 12 มาก 12. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.43 0.66 9 มาก 13. ความพึงพอใจในภาพรวมของผูรบั บริการตอการเขารว มกิจกรรม 4.45 0.51 4 มาก คา เฉลยี่ 4.44 0.62 มาก ทททท

ท จากตารางท่ี 4 แสดงใหเห็นวา ผเู ขารวม โครงการเรยี นรกู ารทาํ เกษตรออนิ ทรยี ตามหลกั ปรชั ญาของ 24 เศรษฐกจิ พอเพียง พบวา อยใู นระดบั ดี เมื่อวิเคราะหเปนรายขอ พบวา ผูรับบรกิ ารสามารถนําความรูไปปรบั ใชใ น ชีวิตประจําวันได (µ = 4.55) เปนอนั ดบั ท่ี 1 รองลงมาคอื เนอ้ื หาของหลักสตู รตรงกบั ความตองการของ ผูรบั บริการ , วิทยากรมคี วามรูความสามารถในการจดั กจิ กรรม (µ =4.50) การจัดกจิ กรรมทําใหผ ูรับบรกิ ารสามารถ คดิ เปนทาํ เปน แกป ญหาเปน ,สอื่ /เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม, วทิ ยากรมกี ารใชสอื่ ทีส่ อดคลอ ง และเหมาะสมกับกิจกรรม ,บคุ ลกิ ภาพของวทิ ยากร , ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู ับบรกิ ารตอการเขา รว ม (µ =4.45) ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม (µ =4.43) กจิ กรรมท่ีจดั สอดคลองกับวตั ถปุ ระสงคของหลักสตู ร , เทคนคิ /กระบวนในการจดั กจิ กรรมของวิทยากร (µ X=4.40) ผรู ับบริการมีสว นรว มในการแสดงความคดิ เหน็ ตอการ จดั ทําหลกั สตู ร ,สถานที่ในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม (µ =4.35) ตามลาํ ดบั ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ ผูเขา รว มกิจกรรมโครงการเรยี นรูก ารทาํ เกษตรออนิ ทรียต ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เนอื้ หาผเู ขา รว มกิจกรรมโครงการเรยี นรูก ารทาํ N = 22 เกษตรออนิ ทรยี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ µ Ꝺ อนั ดบั ท่ี ระดับผลการประเมิน พอเพยี ง 1. การมีสวนรว มในกจิ กรรมกลมุ 4.45 0.51 3 มาก 2. ความพึงพอใจในการเขารว มโครงการ 4.50 0.61 2 มาก 3. การคดิ อยางมีเหตุผล 4.55 0.69 1 มากสดุ 4. การเขา ใจ และรับฟงความคดิ เห็นจากผูอืน่ 4.40 0.75 4 มาก 5.การรจู กั และเขา ใจตนเอง 4.35 0.75 5 มาก คา เฉลี่ย 4.44 0.66 มาก รรรรรรรร จากตารางท่ี 5 พบวา โดยเฉลย่ี แลวผูเขา รว มผเู ขา รวมกิจกรรมโครงการเรียนรูการทาํ เกษตรออนิ ทรยี ต าม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในระดับ ดี เม่ือวิเคราะหเ ปน รายพบวา การคิดอยางมีเหตุผล (µ =4.55) รองลงมาคือ ความพงึ พอใจในการเขา รวมโครงการ (µ =4.50) การมสี วนรว มในกิจกรรมกลมุ (µ = 4.45) การเขาใจ และรบั ฟงความคิดเหน็ จากผูอืน่ (µ = 4.40) การรูจักและเขาใจตนเอง (µ = 4.35) ตามลําดบั

บทท่ี 5 สรุปผลการดาํ เนินการ อภปิ ราย และขอ เสนอแนะ ผลทปี่ รากฏ การจดั ทาํ โครงการเรยี นรกู ารทาํ เกษตรออนิ ทรยี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในวนั ท่ี 5 มีนาคม 2563 ณ นงนชุ เทรดดชิ ่ันเซ็นเตอร ตาํ บลนาจอมเทียน อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี เปน ประชาชนตําบลพลตู า หลวง จาํ นวน 20 คน ตลอดระยะเวลาทร่ี ับการอบรมโดยมกี ารซักถามพูดคุยตอบโต ในวทิ ยากรอยา งสนใจ ในดา น ตางๆ คอื ดานหลักสตู ร - มีความสอดคลอ งกบั วตั ถุประสงคข องหลกั สูตร ผเู รยี นมีความพึงพอใจ - เน้อื หาของหลกั สตู รตรงกบั ความตอ งการของผูเขาอบรม ดา นวิทยากร - วิทยากรมีความรูความสามารถในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูไดอ ยา งดี - เทคนิค/กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู องวทิ ยากรเหมาะสม - วทิ ยากรมีการใชสื่อที่สอดคลองและเหมาะสมกบั กจิ กรรม - บุคลกิ ภาพของวทิ ยากร ดีเหมาะสม ดา นสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ - สถานทใ่ี นการจัดกิจกรรมการเรียนรูมีความเหมาะ - ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูเหมาะ - ผเู ขารบั การอบรมมีความพึงพอใจตอการเขารว มกิจกรรม สรปุ ผลการดําเนนิ งาน ผเู ขา รวมโครงการเรียนรูก ารทาํ เกษตรออินทรยี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของศูนยการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอพนสั นิคม มีความพงึ พอใจอยูในระดบั มาก คิดเปนรอ ยละ 4.26 อภิปรายผล จากกิจกรรมโครงการเรียนรูการทําเกษตรออินทรยี ต ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของศนู ย การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนัสนิคม 1.เขารว มโครงการมีความคิดเหน็ ตอโครงการเรียนรูการทาํ เกษตรออนิ ทรียตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มาก 2.ที่รวมโครงการมีความเปนระเบยี บและพรอมเพยี งกันในการรว มกิจกรรม 3.ผทู ่ีรวมโครงการไดร ับประสบการณตรงจากวทิ ยากร 4.ผเู ขารว มโครงการสามารถนําความรูที่ไดไปถา ยทอดตอผอู ื่น 5.ผูเขา รว มโครงการมีความสุขและสนกุ กบั การรว มกจิ กรรม ขอเสนอแนะ ดานแบบสาํ รวจและวดั ความพึงพอใจของผเู ขา รับการอบรม - ควรจะมีการจดั โครงการศกึ ษาดงู านในดานอ่นื ๆ อยางตอเนื่อง - จัดโครงการแบบนีบ้ อยๆ ไมเครยี ด ไดเท่ียวในทีใ่ หมๆ

ภาคผนวก

แบบประเมนิ ผเู รียน / โครงการเรียนรกู ารทาํ เกษตรออนิ ทรียต ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สว นที่ 1 คาํ ชแ้ี จง ใสเ คร่ืองหมาย/ลงในชอ งทต่ี รงกับขอมูลของทา นเพียงชองเดยี ว เพศ ชาย หญิง อายุ 14-39 ป 40-59 ป 60 ปข ้นึ ไป อาชีพ รับจาง คาขาย เกษตรกรรม รับราชการ อ่นื ๆ สว นท่ี 2 ดา นความพงึ พอใจของผูเรยี น/ผรู บั บรกิ าร (ใสเ ครือ่ งหมาย/ลงในชองท่ตี รงกับความคิดเห็นของทา นเพยี ง ชอ งเดียว ขอที่ รายการ ระดบั การประเมนิ มากทสี่ ุด มาก ปาน นอย นอ ยท่สี ุด กลาง 1 กจิ กรรมที่สอดคลองกับวตั ถุประสงคข องหลักสตู ร 2 เนอ้ื หาของหลกั สตู รตรงกบั ความตอ งการ 3 การจดั กจิ กรรมทําใหสามารถคิดเปนทําเปน แกปญ หาได 4 ผูร ับบริการมีสว นรวมในการแสดงความคิดเห็น 5 ผูรับบรกิ ารสามารถนาํ ความรูไปใชในชีวติ ประจาํ วันได 6 สื่อ/เอกสารประกอบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 7 วิทยากรมีความรูความสามารถในการจัดกิจกรรม 8 เทคนิค/กระบวนการในการจัดกจิ กรรมของวิทยากร 9 วทิ ยากรมีการใชสือ่ สอดคลองและเหมาะสมกับกจิ กรรม 10 บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 11 สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 12 ระยะเวลาในการจัดเหมาะสม 13 ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู ับการอบรม

ใบสมคั รโครงการเรียนรกู ารทําเกษตรออนิ ทรียต ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ณ นงนุชเทรดดิชั่นเซน็ เตอร ตาํ บลนาจอมเทียน อําเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี วันที่ 5 มีนาคม 2563 สถานศึกษา..ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอพนสั นคิ ม ขอ มลู สว นตัว (กรอกขอมูลดว ยตัวบรรจง) ชื่อ-นามสกุล (นาย/ นาง/ นางสาว)................................................................................................ เลขประจาํ ตัวประชาชน........................................เกิดวันท่ี............/................../...........อายุ.............. ป สญั ชาติ................. ศาสนา....................... อาชีพ........................รายไดเฉลยี่ ตอเดือน....................บาท ท่ีอยปู จจบุ นั ................................. หมทู ่.ี .................................. หมบู าน................................................ ตําบล........................................ อําเภอ........................................ จงั หวดั ............................................. รหัสไปรษณีย. .............................................. โทรศัพท. ........................................................................... ขอบคุณทุกทา นที่ใหค วามรว มมอื

ท่ปี รกึ ษา คณะผูจดั ทํา นางณัชธกญั หมนื่ สา ผอ.กศน.อําเภอพนสั นคิ ม คณะทํางาน หัวหนา กศน.ตาํ บลหนาพระธาตุ หวั หนา กศน.ตําบลสระสี่เหลยี่ ม 6.1 นางสาวพจนีย ประทุมทอง หัวหนา กศน.ตําบลหมอนนาง 6.2 นางสาวศรยิ า พุทธมาลี หวั หนา กศน.ตําบลหนองปรอื 6.3 นางสาวชญั ญานุช พทิ กั เมฆา ครู ศรช. กศน.ตําบลหนองปรอื 6.4 นางสาวสรุ ภา เชาวันดี 6.5 นางสาวนฤมล อนิ ทศร ผรู วบรวม เรยี บเรียง และจัดพมิ พ นางสาวสุรภา เชาวันดี ครู กศน.ตําบลหนองปรอื