Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป 5 บทพัฒนาอาชีพช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

สรุป 5 บทพัฒนาอาชีพช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-04-03 07:55:12

Description: สรุป 5 บทพัฒนาอาชีพช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ การศึกษาตอ เน่ือง (โครงการศนู ยฝกอาชพี ชมุ ชน) รูปแบบช้ันเรยี นวชิ าชพี กิจกรรมวิชา ชา งซอมเครอ่ื งใชไ ฟฟาภายในบา น หลกั สูตร 40 ชว่ั โมง ระหวางวันที่ 27 มกราคม - 5 กุมภาพันธ พ.ศ.2563 ณ กศน.ตาํ บลกุฎโงง หมูท่ี6 ตําบลกฎุ โงง อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี กศน.ตาํ บลกฎุ โงง ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นิคม สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั ชลบรุ ี

บทสรปุ ผูบ รหิ าร โครงการอบรมอาชีพระยะสน้ั เพ่ือการมีงานทาํ หลักสตู ร วิชาชพี รูปแบบชั้นเรยี นวชิ าชีพ วชิ า ชา ง ซอ มเครอื่ งใชไ ฟฟาภายในบาน (หลกั สูตร 40 ช่ัวโมง ) จัดขน้ึ ในครง้ั น้ีมวี ัตถปุ ระสงคเพื่อใหป ระชาชนเหน็ ชองทาง ในการประกอบอาชีพ มีอาชีพ มีรายได และลดรายจา ย ซ่ึงมีการประเมินโครงการดงั กลา วเพ่อื ตองการทราบวา การดาํ เนินโครงการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคทก่ี ําหนดไวห รือไม บรรลใุ นระดับใดและไดจ ัดทําเอกสารรายงานการ ประเมนิ โครงการรายงานตอผูบริหาร ผูเ กย่ี วขอ งเพ่ือนําขอมูลไปใชในการปรับปรุงและพฒั นาการดําเนิน โครงการใหด ยี ่งิ ขน้ึ ตอไป อีกทั้งมงุ จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ ใหก บั ทกุ กลุมเปาหมาย โดยจัดกจิ กรรม การศกึ ษาที่มุง เนนใหท ุกลมุ เปาหมายมคี วามรูความสามารถในการจดั การชวี ิตของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมี ความสขุ รวมทั้งการใชเ วลาวางใหเ ปน ประโยชนต อตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยมีกลุมเปา หมายคือ ประชาชนในตาํ บลกฎุ โงง จํานวน 15 คน โดยจะใชกลุมเปาหมายทัง้ หมดในการคาํ นวณโดยใชโปรแกรม สําเร็จรปู คอมพวิ เตอร (โปรแกรมตารางคาํ นวณ) เพ่อื สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานในครง้ั นี้ วธิ ีการดําเนินงาน โดยการสํารวจความตอ งการของประชาชนในพ้ืนท่ีตาํ บลกฎุ โงง และนาํ ผลจาก การสาํ รวจมาจดั ทํากจิ กรรมโครงการอบรมอาชพี ระยะสน้ั เพอื่ การมงี านทํา หลกั สูตร วชิ าชีพรูปแบบชนั้ เรยี น วชิ าชีพ วชิ า ชา งซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบา น จาํ นวน 15 คน ในวนั ท่ี 27 มกราคม - 5 กุมภาพันธ 2563 ณ กศน.ตําบลกุฎโงง หมูที่6 ตําบลกุฎโงง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โดยมี นายสุวิทย ใบใหญ เปน วิทยากรใหความรู หลังจากการจัดกิจกรรมโครงการแลวมีการแจกแจงแบบประเมินความพึงพอใจ สําหรับ ผูเขารวมโครงการท้ังหมด จํานวน 15 ชุด แลวนําขอมูลที่ไดมาคํานวณทางสถิติ หาคารอ ยละ คาเฉลี่ย การแจก แจงความถ่ี และคา เบย่ี งเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาํ เนนิ งาน จากการนาํ ขอ มลู ทไ่ี ดมาทาํ การคาํ นวณหาคาสถิตติ างๆ สรปุ วา ผเู ขารว ม กิจกรรม มีความพึงพอใจอยใู น ระดบั 4.57 (ดีมาก)

คํานํา กศน.ตําบลกุฎโงง สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม ไดจัดทําการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอม เคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน หลกั สตู ร 40 ชั่วโมง โดยมวี ัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนเห็นชองทางในการประกอบ อาชีพ มีอาชีพ มีรายได และลดรายจาย ซ่ึงมีการประเมินโครงการดังกลาวเพ่ือตองการทราบวาการดําเนิน โครงการบรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวหรือไม บรรลุในระดับใดและไดจัดทําเอกสารรายงานการประเมิน โครงการรายงานตอผูบริหาร ผูเก่ียวของเพ่ือนําขอมูลไปใชในการปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินโครงการใหดี ยิง่ ขน้ึ ตอ ไป ขอขอบคณุ ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนสั นิคม ทใ่ี ห คาํ แนะนํา คําปรึกษาในการจัดทาํ เอกสารรายงานการประเมนิ โครงการในคร้ังนี้ หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารรายงานการประเมินโครงการฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอผูปฏิบัติงาน โครงการและผูเก่ียวของในการนําไปใชเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรมการศึกษาตอเนื่อง โครงการศูนยฝก อาชพี ชุมชนตอไป ธีรพงศ เขยี วหวาน ครู กศน.ตาํ บล กมุ ภาพันธ 2562

สารบัญ หัวเรอื่ ง หนา คาํ นํา บทที่ 1 บทนํา 1 - หลกั การและเหตผุ ล 1 - วตั ถุประสงค 2 - กลมุ เปาหมาย 2 - วตั ถุประสงคของการประเมนิ 2 - ประชากร 2 - วิธดี าํ เนนิ การ 2 - วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ 2 - แผนการใชจ ายงบประมาณ 3 - ผูรบั ผิดชอบ 3 - เครือขาย 3 - โครงการท่ีเกี่ยวของ 3 - ผลลพั ธ 3 - ตัวช้วี ดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ 3 - การติดตามและประเมนิ ผลของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกีย่ วของ 4 - ยุทธศาสตรและจดุ เนน การดาํ เนินงาน สาํ นักงาน กศน. 2563 4 - แนวทาง/กลยทุ ธก ารดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตาํ บลกุฎโงง 14 - หลักการจดั การศกึ ษาตอเน่อื ง 24 - อาชพี ช้นั เรียนและอาชีพระยะส้นั 30 บทท่ี 3 วิธดี ําเนนิ งาน 32 - สาํ รวจความตองการของกลุม เปา หมาย 32 - ดําเนนิ การจดั กรรม 32 - การวเิ คราะหขอ มูล 32 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอ มลู 34 - ตอนท่ี 1 ขอมูลเกี่ยวกบั ผตู อบแบบสอบถาม 34 - ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ การศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝกอาชพี ชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวชิ าชพี กจิ กรรมวชิ าชา งซอ มเครื่องใชไฟฟาภายในบาน 36 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ขอ เสนอแนะ 39 - สรุปผลการดําเนินงาน 39 - อภิปรายผล 39 - ขอ เสนอแนะ 39 บรรณานุกรม

สารบัญตาราง หนา 34 ตารางที่ 34 1. จาํ นวนและรอ ยละของผเู ขารวมกิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของ 35 โครงการ จําแนกตามเพศ 35 2. จาํ นวนและรอยละของผเู ขารวมกจิ กรรมท่ีตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจของ 36 โครงการ จําแนกตามอายุ 36 3. จํานวนและรอยละของผเู ขารว มกจิ กรรมที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของ 37 โครงการ จําแนกตามระดบั การศึกษา 38 4. จาํ นวนและรอยละของผเู ขารวมกิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของ โครงการจาํ แนกตามการประกอบอาชีพ 5. คา เฉลย่ี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรมท่มี ีความ พงึ พอใจตอโครงการ ในภาพรวม 6. คาเฉล่ยี และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเขา รว มกิจกรรมท่ีมีความ พงึ พอใจตอโครงการ ดา นบริหารจดั การ 7. คาเฉลย่ี และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเขารว มกจิ กรรมทมี่ ีความ พงึ พอใจตอโครงการ ดา นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู 8. คาเฉลย่ี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผูเขารวมกิจกรรมทีม่ ีความ พึงพอใจตอโครงการ ดา นประโยชนทไี่ ดร บั

บทท่ี 1 บทนํา หลักการและเหตุผล สถานการณและสภาวะแวดลอมของเศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยางมีนัยสําคัญ ภายใต สภาวการณทางเศรษฐกิจดังที่กลาวมานี้ ทุกรัฐบาลที่ผานมาจึงไดใหความสําคัญตอการพัฒนาประเทศในดาน เศรษฐกิจเปนกรณีพิเศษ จุดมุงหมายของนโยบายของรัฐบาลไดมุงไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจเปนสําคัญ คือ มุงนําประเทศไทยไปสูโครงสรางเศรษฐกิจท่ีสมดุล มีความเขมแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น ซึ่งจะ เปนพ้ืนฐานที่สําคัญของการสรางการเติบโตอยางมีคุณภาพและย่ังยืน และสามารถตอบสนองรองรับตอการ เติบโตทางเศรษฐกิจของประชาคมอาเซียนไดอยางสมบูรณ โดยสรางความพรอมและความเขมแข็งทางดาน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมท้ังการเมืองและความม่ันคง ทั้งน้ี ไดกําหนดนโยบายเพ่ือตอบสนอง จุดมุงหมายดังกลาวที่สาํ คัญประการหน่ึง คือ การเสริมสรางกระบวนการสรางอาชีพ สรางงานที่มีคุณภาพและมี รายไดสูงใหแกประชาชนอยางทั่วถึงเปนระบบในทุกระดับช้ันความรู สําหรับรัฐบาลชุดปจจุบันไดมีการแถลง นโยบายที่จะใหมีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู ใหความสําคัญท้ังการศึกษาในระบบและการศึกษา ทางเลือกไปพรอมกัน เนนการเรียนรูเพ่ือสรางสัมมาชีพในพ้ืนที่ พัฒนากําลังคนใหเปนที่ตองการ เหมาะสมกับ พ้ืนท่ี ทงั้ ในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกจิ บรกิ าร จดั ระบบการสนับสนุนใหเยาวชนและประชาชนทว่ั ไป มีสิทธิเลือกรับบริการทางการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมท้ังมีนโยบายในการลดความ เหลื่อมลํ้าทางสังคม และการเรงสรางโอกาสอาชีพ และการมีรายไดท่ีม่ันคงแกผูท่ีเขาสูตลาดแรงงาน โดยให แรงงานทัง้ ระบบ มโี อกาสเขาถึงการเรยี นรู และพฒั นาทักษะฝมือแรงงานในทุกระดับอยา งมมี าตรฐาน ในสวนของกระทรวงศึกษาธิการไดขานรับตอนโยบายของรัฐบาลดังกลาว ดวยการกําหนดภารกิจ ในการทจ่ี ะเพ่ิมและกระจายโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางเทาเทียม ยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดย ปฏิรูปหลักสูตรการเรียนการสอน ปฏิรูปครู รวมท้ังการเพ่ิมศักยภาพการแขงขันของประเทศ โดยเนนผลิตและ พัฒนากําลังคนระดับกลางและระดับสูงที่มีคุณภาพ เปนตน เพื่อเปนการตอบสนองตอนโยบายของรัฐบาลและ กระทรวงศึกษาธิการดังท่ีกลาวมาแลวขางตน ในป 2563 สํานักงาน กศน. จึงไดนํานโยบายดังกลาวสูการปฏิบัติ ดวยการใหสํานักงาน กศน.จังหวัด/กทม.และสถานศึกษา กศน. ดําเนินการสานตอการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา อาชพี ของโครงการศูนยฝกอาชพี ชมุ ชน โดยอาจเปนการจดั ฝกอาชพี ในรปู แบบกลุม สนใจ หรือรูปแบบชนั้ เรียนวิชาชีพ ซ่ึงอาจเปนช้ันเรียนระยะส้นั หรือ ชั้นเรียนระยะยาว ในวิชาตางๆ และการจัดฝกอาชีพใหกับผูที่ตองการตอยอดอาชีพเดิม เพ่ือใหสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสงเสริมการใชระบบเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาอาชีพ ในอันท่ีจะประกอบ อาชีพท่ีสรา งรายไดไดจ ริง จากเหตุผลขางตน กศน.ตําบลกุฎโงง เปนฐานการจัดกิจกรรมใหแกประชาชนกลุมเปาหมายใน พ้นื ที่บริการ โดยมคี วามเชื่อมั่นวาโครงการดงั กลา วจะสามารถชวยใหประชาชนระดับฐานรากที่ยงั วางงาน หรอื มี รายไดน อย หรือขาดโอกาสในการเพ่ิมรายได ไดเหน็ ชอ งทางในการประกอบอาชีพ มีโอกาสทีจ่ ะมอี าชพี สามารถ ที่จะมีรายได ลดรายจาย ซ่ึงอาจทําไดดวยการสรางอาชีพใหม พัฒนาตอยอดอาชีพเดิม หรือทําเปนอาชีพเสริม เปนตน ซ่ึงจะทําใหประชาชนสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข จึงไดจัดการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนย ฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสตู ร 40 ช่ัวโมง นขี้ ้ึน

2 วตั ถุประสงค 2.1. เพอ่ื ใหประชาชนเห็นชอ งทางในการประกอบอาชพี ได 2.2. เพอื่ ใหประชาชนมีอาชีพ มีรายได ลดรายจายได กลุมเปาหมาย ประชาชน ในพื้นทตี่ าํ บลกุฎโงง รวมท้ังสิน้ 15 คน วัตถปุ ระสงคของการประเมนิ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีตอการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบช้นั เรียนวชิ าชพี กิจกรรมวชิ า ชา งซอ มเครื่องใชไฟฟาภายในบา น หลกั สตู ร 40 ชว่ั โมง ประชากร ไดแก ประชาชน ในพื้นที่ตําบลกฎุ โงง รวมทงั้ สนิ้ 15 คน วิธดี ําเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย เปา หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ประชาชนท่ัวไป 15 คน ดําเนนิ การ 27 10,800.- 1.ดําเนินการขอ รูปแบบ 1.เพือ่ ใหประชาชน ในตําบลกุฎโงง ณ กศน.ตําบล ชัน้ เรยี น เหน็ ชองทางในการ กฎุ โงง หมูท่ี6 มกราคม บาท 2.ดาํ เนินงานและติดตอ ประกอบอาชีพได ตําบลกุฎโงง –5 ประสานงาน 2. เพื่อให อาํ เภอพนัสนิคม 3.ดําเนนิ กิจกรรมตาม ประชาชนมีอาชีพ จงั หวดั ชลบรุ ี กมุ ภาพันธ โครงการฝก ทักษะอาชพี มรี ายได ลด 2563 “างซอมเครื่องใชไ ฟฟา รายจา ยได ภายในบาน” 4.สรุปผลและรายงานผล วงเงนิ งบประมาณทงั้ โครงการ เงนิ งบประมาณดาํ เนนิ งาน การศกึ ษาตอ เน่ือง (กิจกรรมสงเสรมิ ศูนยฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบชั้น เรยี นวชิ าชพี จํานวน 10,800.- (-หนง่ึ หมน่ื แปดรอยบาทถวน-) จาํ นวนเงนิ กิจกรรมการศกึ ษา ไตรมาส 1 รายละเอยี ดคาใชจ า ยในการดาํ เนินงาน บาท สต. 1.การอบรมใหค วามรู 10,800.-บาท 1.คา วทิ ยากร จํานวน 40 ช่วั โมงๆ ละ 200 บาท 8,000 - 2.การฝก ทกั ษะ 2.คาวสั ดุฝกทกั ษะอาชพี 2,800 - รวมเปน เงินทง้ั สิ้น 10,800 - หมายเหตุ ทง้ั น้ีขอถัวจา ยตามจริงทกุ ประการ

แผนการใชจ ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 3 - 10,800.- ไตรมาส 4 กิจกรรมหลกั โครงการศูนยฝ ก อาชีพชุมชนรูปแบบชั้นเรียน - วชิ าชา งซอ มเครื่องใชไ ฟฟา ภายในบา น (จํานวน 40 ชัว่ โมง) ผูรบั ผิดชอบ นายธรี พงศ เขยี วหวาน หวั หนา กศน.ตําบลกุฎโงง เครือขา ย 1. เทศบาลตําบลกุฎโงง โครงการทเ่ี ก่ยี วขอ ง โครงการจัดการศึกษาตอเนอื่ งเพอ่ื พฒั นาอาชพี ผลลัพธ ผเู ขารว มกจิ กรรมสามารถนําความรูไ ปใชใ นการประกอบอาชพี และสรางรายไดไดจรงิ เพื่อเปนการ เพิ่มรายไดใหก บั ครอบครัว ตวั ชีว้ ดั ความสาํ เร็จของโครงการ ตัวชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ผเู ขารวมกจิ กรรมไมน อยกวา รอ ยละ 80 ของเปา หมาย ตวั ชว้ี ัดคุณภาพ ผูเ ขารว มกจิ กรรมไดรับความรูเก่ียวกบั การซอมเครือ่ งใชไ ฟฟาภายในบา น รอ ยละ 80 1. ผรู ับการฝก ทักษะอาชีพไดรบั ความรูเก่ยี วกบั การซอมเครื่องใชไ ฟฟา ภายในบา น ไมนอยกวา รอยละ 80 2. หลังจากจบกิจกรรมการฝกทักษะอาชพี “ชางซอ มเคร่ืองใชไฟฟาภายในบา น” ผูเขา รว มกิจกรรม ไมน อ ยกวารอ ยละ 80 สามารถนําไปประกอบอาชพี ได การตดิ ตามและประเมนิ ผลของโครงการ 1. รายงานผลการจัดกิจกรรม 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. การสังเกตผูเขารวมกจิ กรรม

บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานท่เี กี่ยวขอ ง ในการจดั ทาํ รายงานคร้งั นี้ ไดทาํ การศึกษาคนควาเน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและรายงานทีเ่ ก่ียวของ ดงั ตอ ไปนี้ 1. ยทุ ธศาสตรและจุดเนนการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2563 2. แนวทาง/กลยุทธก ารดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน. ตาํ บลกุฎโงง 3. หลักการจัดการศึกษาตอ เนื่อง 4. อาชีพรปู แบบช้นั เรยี น 1.นโยบายและจดุ เนน การดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 วสิ ัยทศั น คนไทยไดร บั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรตู ลอดชีวติ อยา งมคี ณุ ภาพ สามารถดํารงชีวติ ท่เี หมาะสม กับชวง วยั สอดคลอ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะท่จี าํ เปน ในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จดั และสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคลอ งกบั หลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อยกระดบั การศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรูข องประชาชนทุกกลุมเปา หมาย ให เหมาะสมทกุ ชวงวยั พรอ มรับการเปลีย่ นแปลงบริบททางสงั คม และกาวสูการเปนสงั คมแหง การเรยี นรตู ลอดชีวิต อยา งยงั่ ยนื 2. สงเสรมิ สนับสนุน แสวงหา และประสานความรว มมือเชงิ รุกกบั ภาคเี ครือขาย ใหเขามามีสว นรวม ในการ สนับสนนุ และจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรตู ลอดชวี ิต ในรปู แบบตา งๆ ใหก บั ประชาชน 3. สง เสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาํ เทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชพ ฒั นาประสทิ ธภิ าพ ในการจัด และใหบ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก ับประชาชนอยางท่ัวถึง 4. พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สอื่ และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผล ในทกุ รปู แบบใหม คี ุณภาพและมาตรฐาน สอดคลองกบั บรบิ ทในปจ จบุ นั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการองคกรใหม ีประสิทธิภาพ เพ่ือมงุ จัดการศึกษา และการเรียนรู ที่มคี ณุ ภาพโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล เปา ประสงค 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท่งั ประชาชนทัว่ ไปไดร ับโอกาส ทางการศึกษา ในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน การศึกษาตอเนอื่ ง และการศึกษา ตามอัธยาศยั ท่ีมี คณุ ภาพอยา งเทาเทียมและท่ัวถึง เปน ไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะกลุมเปา หมาย 2. ประชาชนไดร ับการยกระดับการศึกษา สรางเสรมิ และปลูกสงคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเปน พลเมือง ที่ สอดคลองกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อนั นําไปสูการยกระดบั คุณภาพชีวติ และเสรมิ สรางความ เขมแข็งให ชุมชน เพื่อพฒั นาไปสูความม่ันคงและย่ังยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และ สงิ่ แวดลอม 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรู และมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม สามารถ คดิ

5 วิเคราะห และประยุกตใชใ นชีวิตประจําวนั รวมทัง่ แกปญ หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ ยา งสรางสรรค 4. ประชาชนไดรับการสรางและสงเสริมใหมีนิสัยรักการอานเพ่ือพัฒนาการแสวงหาความรูดว ยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคเี ครือขา ยทุกภาคสว น มสี ว นรว มในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการศกึ ษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทั่งการขับเคลอื่ นกจิ กรรมการเรยี นรูของชมุ ชน 6. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจิทัล มาใชในการ ยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรแู ละเพิ่มโอกาสการเรียนรใู หก บั ประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และการจัดกระบวนการเรยี นรู เพอ่ื แกป ญ หาและ พฒั นาณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปล่ยี นแปลงบริบทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และสิง่ แวดลอ ม รวมทัง้ ตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย 8. หนว ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองคกรท่ที นั สมยั มปี ระสทิ ธภิ าพ และเปนไป ตาม หลักธรรมาภิบาล 9. บุคลากร กคน.ทุกประเภททุกระดับไดร บั การพัฒนาเพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการปฏบิ ัติงานตามสายงานอยางมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ัด ตัวชี้วดั เซิงปริมาณ 1. จํานวนผูเ รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานทไ่ี ดร ับการสนับสนุนคาใชจ ายตามสทิ ธิ ทก่ี ําหนดไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปา หมายตา ง ๆ ทเ่ี ขารว มกิจกรรมการเรียนร/ู ไดรับบริการกิจกรรมการศึกษา ตอเน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศัยทีส่ อดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตอ งการ 3. รอยละของกาํ ลงั แรงงานท่ีสาํ เรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ขน้ึ ไป 4. จาํ นวนภาคเี ครือขา ยท่เี ขามามสี ว นรว มในการจดั /พัฒนา/สงเสริมการศึกษา (ภาคเี ครือขา ย : สถาน ประกอบการ องคกร หนว ยงานทีม่ ารวมจัด/พฒั นา/สงเสริมการศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นทส่ี งู และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนที่ 5 จังหวัด 11 อําเภอ ไดรบั บริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยการเรียนชมุ ชนสังกดั สํานกั งาน กคน. 6. จํานวนผูรบั บริการในพนื้ ท่เี ปา หมายไดร ับการสงเสรมิ ดา นการรหู นังสือและการพัฒนาทกั ษะชวี ิต 7. จํานวนนกั เรยี น/นักศกึ ษาทีไ่ ดรบั บริการตวิ เขม เต็มความรู 8. จาํ นวนประชาชนทไี่ ดรับการ'ฟก อาชีพระยะส้ัน สามารถสรา งหรอื พัฒนาอาชพี เพ่ือสรา งรายได 9. จาํ นวน ครู กคน. ตําบล จากพื้นท่ี กคน.ภาค ไดร ับการพฒั นาศักยภาพดา นการจดั การเรียน การสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 10. จาํ นวนประชาชนที่ไดร ับการฟกอบรมภาษาตา งประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชพี 11. จํานวนผผู านการอบรมหลักสตู รการดูแลผูส ูงอายุ 12. จาํ นวนประชาชนทผี่ า นการอบรมจากศูนยดจิ ิทัลชมุ ชน 13. จาํ นวนศูนยการเรยี นชุมชน กคน. บนพนื้ ท่สี งู ในพ้ืนที่ 5 จงั หวดั ทส่ี งเสริมการพัฒนาทักษะ การฟง พูด ภาษาไทยเพือ่ การส่อื สาร รวมกันในสถานศึกษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และกศน 14. จาํ นวนหลกั สตู รหรือสอื่ ออนไลนท่ีใหบ ริการกบั ประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั

6 ตัวช้วี ัดเซิงคุณภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก รายวชิ าทกุ ระดับ 2. รอ ยละของผเู รยี นท่ีไดรบั การสนบั สนุนการจดั การศึกษาขัน้ พื้นฐานเทียบกับคาเปา หมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายทลี่ งทะเบยี นเรยี นในทุกหลกั สูตร/กจิ กรรมการศึกษาตอ เน่ือง เทียบกบั เปาหมาย 4. รอยละของผูผานการฟกอบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะสน้ั สามารถนําความรูไ ปใชในการ ประกอบอาชีพ หรือพัฒนางานได 5. รอยละของผเู รยี นในเขตพื้นทจ่ี ังหวัดชายแดนภาคใตที่ไดรบั การพัฒนาศักยภาพ หรอื ทักษะ ดา นอาชีพ สามารถมีงานทําหรอื นําไปประกอบอาชีพได 6. รอ ยละของผูจ บหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถนาํ ความรูความเขาใจไปใชไดตามจดุ มงุ หมาย ของหลักสตู ร/ กิจกรรม การศกึ ษาตอเนื่อง 7. รอยละของประชาชนที่ไดรับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอการบรกิ าร/เขา รวมกิจกรรมการเรยี นรู การศกึ ษา ตามอธั ยาศัย 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายทไี่ ดรับบรกิ าร/เขารว มกิจกรรมท่มี ีความรคู วามเขา ใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตามจุดมุงหมายของกิจกรรมที่กําหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศยั 9. รอยละของผูสูงอายุที่เปน กลมุ เปาหมาย มโี อกาสมาเขารวมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรงดว นเพือ่ รว มขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด านความมนั่ คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรางความจงรกั ภกั ดตี อ สถาบนั หลกั ของชาติ พรอมท้ังนอ มนําและเผยแพรศาสตร พระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดํารติ า ง ๆ 1.2 เสริมสรา งความรคู วามเขา ใจ และการมสี วนรวมอยางถกู ตองกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ ในบริบทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ 1.3 สงเสริมและสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาเพอื่ ปอ งกนั และแกไขปญ หาภยั คกุ คามในรูปแบบใหม ท้งั ยาเสพติด การคา มนุษย ภัยจากไซเบอร ภยั พบิ ัติจากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ใิ หม ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและสรา งเสรมิ โอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษา ในเขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต และพ้นื ท่ีชายแดนอื่น ๆ 1.5 สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพอื่ นบาน กลมุ ชาตพิ ันธุ และชาวตางชาตทิ ม่ี ีความหลากหลาย 2. ยุทธศาสตรด า นการสรา งความสามารถในการแขงขัน 2.1 ยกระดับการจัดการศึกษาอาชีพ กคน. เพือ่ พัฒนาทกั ษะอาชีพของประชาชนใหร องรบั อตุ สาหกรรม เปาหมายของประเทศ (First s - curve และ News-curve) โดยเฉพาะในพน้ื ท่ีเขตระเบยี ง เศรษฐกิจ และเขต พฒั นาพิเศษตามภมู ภิ าคตา ง ๆ ของประเทศ สาํ หรบั พ้ืนทปี่ กติใหพฒั นาอาชีพทเี่ นน การตอ ยอดศกั ยภาพและ ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี 2.2 จดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาพื้นทภ่ี าคตะวนั ออก ยกระดับการศกึ ษาใหกบั ประชาชนใหจ บการศกึ ษา อยา ง นอ ยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนําคุณวฒุ ิทไี่ ดร บั ไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพฒั นา เขตพ้ืนท่ี ระเบยี บเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสรมิ ประชาชนเพอ่ื ตอ ยอดการผลิตและจําหนายสินคาและผลติ ภัณฑ กคน. ออนไลน

7 พรอ มท้งั ประสานความรว มมือกับภาคเอกชนในการเพ่ิมชองทางการจําหนายสินคาและผลติ ภัณฑ ใหก วางขวาง ยิ่งขึ้น 3. ยุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย 3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบคุ ลากรที่เก่ียวซองกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู เปน ผเู ชอื่ มโยง ความรูกบั ผเู รยี นและผรู บั บริการ มคี วามเปน “ครูมอื อาชพี ” มีจิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการ เปลยี่ นแปลง ของสังคม และเปน “ผอู ํานวยการการเรียนร”ู ที่สามารถบรหิ ารจัดการความรู กจิ กรรม และการ เรียนรูทดี่ ี 1) เพิ่มอตั ราขา ราชการครูใหกบั สถานศึกษาทุกประเภท 2) พฒั นาขาราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่เี ชอ่ื มโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครใู ห สามารถปฏิบตั ิงานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน เร่อื งการพฒั นาทักษะการจัด การเรยี นการสอน ออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 5) พฒั นาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีความรูแ ละทักษะเรื่องการใชประโยชนจากดิจทิ ลั และภาษาตางประเทศที่จาํ เปน รวมท้งั ความรูเกย่ี วกับอาขีพที่รองรบั อตุ สาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First - Curve และ New ร - Curve) 3.2 พัฒนาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาอาชีพระยะส้ัน ใหม ีความหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสม กับบรบิ ท ของพืน้ ท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบรกิ าร 3.3 สง เสริมการจัดการเรียนรูท ีท่ ันสมัยและมีประสิทธภิ าพ เอ้ือตอการเรยี นรูส ําหรบั ทุกคน สามารถ เรียน ไดทกุ ทที่ ุกเวลา มกี ิจกรรมทหี่ ลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตอ งการของชมุ ชน 3.4 เสรมิ สรางความรวมมอื กบั ภาคีเครอื ขาย ประสาน สง เสรมิ ความรว มมือภาคเี ครือขา ย ท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสว นทองถน่ิ รวมท้ังสง เสรมิ และสนับสนนุ การมสี วนรว มของชุมชน เพ่ือ สรา งความเขา ใจ และใหเกดิ ความรว มมือในการสงเสรมิ สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรียนรูใหก ับ ประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชนต อการจดั การศึกษาและกลมุ เปาหมาย เขน จดั การศึกษาออนไลน กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน การพัฒนาทกั ษะชวี ติ ทักษะอาชพี และ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งสง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยใี นการปฏบิ ัติงาน การบริหารจดั การ การจดั การเรยี นรู และใชการวิจัยอยางงายเพือ่ สรา งนวตั กรรมใหม 3.6 พัฒนาศกั ยภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และประชาชนท่ัวไป ดานความรูความเขา ใจ และ ทักษะในการใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Literacy) 3.7 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลมุ เปาหมายทหารกองประจําการ รวมทั้งกลุมเปา หมายพเิ ศษอื่น ๆ อาทิ ผูต อ งขงั คนพิการ เดก็ ออกกลางดนั ประชากรวัยเรียนท่ีอยนู อกระบบการศึกษา ใหจ บการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 3.8 พัฒนาทักษะภาษาตางประเทศเพ่อื การสอ่ื สารของประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเนนทักษะ ภาษา เพื่ออาชพี ท้ังในภาคธุรกจิ การบริการ และการทอ งเท่ียว 3.9 เตรียมความพรอมของประชาชนในการเชาสูส งั คมผูสูงอายุท่เี หมาะสมและมคี ุณภาพ 3.10 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตรเ ซิงรกุ ใหกับประชาชนในชุมชน โดยใหความรวู ทิ ยาศาสตรอยางงา ย ท้ัง วิทยาศาสตรใ นวถิ ชี ีวิต และวิทยาศาสตรในชวี ิตประจาํ วัน รวมทัง้ ความกาวหนาทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรม 3.11 สงเสรมิ การรภู าษาไทยใหกบั ประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ทส่ี ูง ให สามารถพิง พูด อาน และเขยี นภาษาไทย เพอื่ ประโยชนในการใชชีวติ ประจําวันได

8 4. ยุทธศาสตรด านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหลงเรยี นรูใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อื้อตอการเรียนรู มีความพรอ ม ในการใหบริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรยี นรู 1) เรง ยกระดับ กคน.ตําบลนาํ รอง 928 แพง (อําเภอละ 1 แพง)ใหเ ปน กคน.ตําบล 5 ดี พรเี มยี ม ท่ปี ระกอบดวย ครูดี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี) กิจกรรมดี เครือขา ยดี และมีนวตั กรรมการเรียนรูท่ีดมี ี ประโยชน 2) จดั ใหม ศี ูนยการเรยี นรตู น แบบ กคน. เพื่อยกระดับการเรียนรู เปน พื้นท่ีการเรียนรู (Co - Learning Space) ทท่ี ันสมยั สําหรับทุกคน มีความพรอ มในการใหบ รกิ ารตา ง ๆ 3) พัฒนาหองสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ใหเ ปน Digital Library 4.2 จัดตั้งศนู ยก ารเรยี นรสู ําหรับทุกชวงวัยที่มีกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความตองการ ในการเรียนรใู นแตล ะวยั เพ่ือใหม พี ัฒนาการเรยี นรูทเี่ หมาะสม และมีความสุขกับการเรยี นรตู ามความสนใจ 4.3 สงเสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูสาํ หรบั กลุมเปาหมายผพู ิการ โดยเนน รูปแบบการศึกษาออนไลน 5. ยทุ ธศาสตรดา นการสรางการเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปนมติ รตอ สง่ิ แวดลอม 4.1 สงเสริมใหมกี ารใหความรกู ับประชาชนในการรับมือและปรบั ตวั เพ่ือลดความเสยี หาย จากภัยธรรมชาติและผลกระทบท่เี กย่ี วของกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 42 สรางความตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของการสรางสงั คมสเี ขยี ว สงเสริมความรูใหก ับประชาชน เก่ยี วกับการคดั แยกตัง้ แตต น ทาง การกําจัดขยะ และการนํากลับมาใขซํา้ 43 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานที่เปน มติ รกับสิ่งแวดลอม รวมทง้ั ลดการใช ทรัพยากรท่สี ง ผลกระทบตอส่งิ แวดลอม เขน รณรงคเรื่องการลดการใชถงุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั 6.1 พัฒนาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏิบัติราชการใหท นั สมัย มคี วามโปรงใส ปลอดการทจุ รติ และ ประพฤติมิชอบ บรหิ ารจดั การบนขอมลู และหลักฐานเชิงประจกั ษ มุงผลสมั ถทุ ธึม๋ ีความโปรงใส 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทาํ งานท่ีเปน ติจิทลั มาใซใ นการบริหารและพฒั นางาน 6.3 สงเสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดับอยา งตอเนอ่ื ง ใหม ีความรูและทกั ษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตองการของบุคลากร ภารกจิ ตอเนอื่ ง 1. ดา นการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 1) สนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตั้งแตปฐมวยั จนจบการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน โดยดําเนนิ การ ใหผ ูเรยี น ไดร ับการสนบั สนุนคาจัดซอ้ื หนังสือเรยี น คา จัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ รียน และคา จดั การเรียน การสอนอยาง ทว่ั ถึงและเพยี งพอ เพือ่ เพมิ่ โอกาสในการเขา ถึงบรกิ ารทางการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพโดยไมเ สียคา ใชจ า ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานใหกบั กลุมเปา หมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง การศกึ ษา ผา นการเรียนแบบเรยี นรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรยี นแบบข้นั เรยี น และการจัด การศึกษา ทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน ทั่ง ดา นหลักสตู ร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่อื และนวตั กรรม ระบบการวัดและประเมนิ ผล การเรียน และระบบการใหบ ริการนกั ศึกษาในรูปแบบอื่นๆ 4) จัดใหมกี ารประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ทีม่ คี วาม โปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มมี าตรฐานตามทก่ี าํ หนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของ

9 กลุม เปาหมายไดอยา งมีประสิทธภิ าพ 5) จัดใหม ีกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียนที่มีคุณภาพท่ผี เู รยี นตอ งเรียนรแู ละเขา รวมปฏิบัติกจิ กรรม เพ่ือเปน สวนหนงึ่ ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสรมิ สรางความสามคั คี กิจกรรมเกี่ยวกับการปอ งกนั และแกิใข ปญหายาเสพติด การแขงขนั กีฬา การบาํ เพ็ญสาธารณประโยชนอ ยา งตอเนื่อง การสงเสรมิ การปกครองใน ระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กจิ กรรม จิตอาสา และการจัดต้งั ชมรม/ชุมนมุ พรอมทัง่ เปด โอกาสใหผูเรียนนํากจิ กรรมการบําเพ็ญประโยชนอ ่ืน ๆ นอก หลกั สูตร มาใช เพิ่มช่วั โมงกิจกรรมใหผ ูเรียนจบตามหลักสตู รได 1.2 การสงเสริมการรูหนงั สือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมลู ผไู มรหู นงั สือ ใหม คี วามครบถวน ลกู ตอง ทันสมัยและเปน ระบบเดยี วกนั ทง่ั สว นกลางและสวนภมู ิภาค 2) พฒั นาหลักสตู ร สอื่ แบบเรยี น เคร่อื งมือวัดผลและเครื่องมอื การดาํ เนนิ งานการสง เสริม การรหู นงั สือที่ สอดคลองกับสภาพแตละกลุม เปา หมาย 3) พัฒนาครู กคน. และภาคีเครอื ขายทรี่ วมจดั การศึกษา ใหม คี วามรู ความสามารถ และทักษะการจัด กระบวนการเรยี นรูใหกับผไู มรูหนงั สอื อยางมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจดั ใหมีอาสาสมคั รสงเสรมิ การรหู นังสอื ใน พ้ืนที่ ท่ีมีความตองการจําเปน เปน พิเศษ 4) สง เสริม สนับสบุนใหสถานศึกษาจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การรหู นังสือ การคงสภาพการรหู นังสอื การพัฒนา ทักษะการรูหนังสือใหกบั ประชาชนเพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรยี นรูอยา งตอเนือ่ งตลอดชีวติ ของ ประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอเนอ่ื ง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทําอยางยง่ั ยนื โดยใหความสําคญั กับการจดั การศึกษาอาชีพ เพื่อการมี งานทาํ ในกลุม อาชีพเกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบรกิ าร รวมถงึ การเนนอาชพี ชา งพน้ื ฐาน ทสี่ อดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแตละพื้นที่ มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนท่ยี อมรบั สอดรบั กบั ความตอ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ ตลอดจน สรางความเขมแขง็ ใหก ับศนู ยผ กิ อาชีพชุมชน โดยจดั ใหม ีหน่งึ อาชีพเดน รวมทง้ั ใหม ีการกาํ กับ ตดิ ตาม และรายงาน ผลการจดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยางเปนระบบและตอเนอื่ ง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิตใหก บั ทกุ กลุมเปา หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสงู อายุ ท่ีสอดคลอ งกบั ความตอ งการจําเปนของแตละบคุ คล และมงุ เนน ใหทกุ กลุม เปา หมายมที ักษะการดํารงชวี ติ ตลอดจน สามารถ ประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเองใหอยใู นสังคมได อยา ง มีความสขุ สามารถเผชญิ สถานการณต า งๆ ท่เี กิดขน้ึ ในชวี ิตประจําวันไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และเตรยี มพรอม สําหรับการปรับตัวใหท นั ตอการเปลย่ี นแปลงของขา วสารขอมลู และเทคโนโลยสี มยั ใหมใ นอนาคตโดยจดั กจิ กรรม ทม่ี ีเนอื้ หาสาํ คัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปอ งกนั ภยั ยาเสพติด เพศศึกษา คณุ ธรรมและคา นิยม ที่พงึ ประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส ิน ผา นการศึกษารูปแบบตาง ๆ อาทิ คา ยพัฒนาทักษะชีวิต การจดั ทง้ั ชมรม/ชมุ นุม การสงเสริมความสามารถพิเศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชมุ ชน โดยใชหลักสูตรและการจดั กระบวนการเรยี นรู แบบบรู ณาการ ในรูปแบบของการผกิ อบรม การประชุม สมั มนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู การจดั กจิ กรรม จิตอาสา การ สรางชมุ ชนนักปฏบิ ัติ และรูปแบบอน่ื ๆ ท่ีเหมาะสมกับกลมุ เปา หมาย และบรบิ ทของชมุ ชน แตละพื้นที่ เคารพ ความคดิ ของผูอนื่ ยอมรบั ความแตกตางและหลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ รวมทัง้ สังคม พหุวัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการใหบุคคลรวมกลมุ เพ่ือแลกเปลย่ี นเรียนรูร ว มกนั สรางกระบวนการจติ สาธารณะ การสราง จติ สาํ นกึ ความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรบั ผดิ ชอบตอ หนา ที่ความเปน พลเมืองดี การสง เสรมิ

10 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การบาํ เพ็ญประโยชนใ นชมุ ชน การบริหารจัดการนาื้ การรับมือกับสาธารณภยั การอนุรักษ พลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม ชวยเหลือซ่ึงกันและกนั ในการพฒั นาสังคมและชุมชน อยางยั่งยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรยี นรูตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผา นกระบวนการเรยี นรูตลอดชวี ติ ใน รปู แบบตา งๆ ใหกบั ประชาชน เพ่อื เสรมิ สรางภูมิคมุ กัน สามารถยืนหยดั อยไู ดอยางมั่นคง และมีการบริหาร จัดการ ความเสี่ยงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสูความสมดลุ และย่ังยืน 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหลงการเรียนรทู ่มี ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มทเ่ี อ้ือตอการอา นและพฒั นาศักยภาพ การ เรียนรูใ หเกิดขึน้ ในสงั คมไทย ใหเ กดิ ขึ้นอยา งกวา งขวางและทวั่ ถงึ เชน พฒั นาหอ งสมุดประชาชนทุกแหง ใหม ี การบรกิ ารท่ีทันสมยั สงเสริมและสนบั สบนุ อาสาสมัครสงเสริมการอา น การสรางเครือขายสง เสริมการอาน จัด หนว ย บรกิ ารเคล่อื นที่พรอมอปุ กรณเพ่ือจัดกิจกรรมสง เสริมการอานและการเรยี นรทู ี่หลากหลายใหบรกิ ารกบั ประชาชน ในพน้ื ท่ตี า งๆ อยางทว่ั ถงึ สมํ่าเสมอ รวมทั้งเสริมสรา งความพรอ มในดา นบุคลากร ส่อื อปุ กรณเพ่อื สนบั สบุนการอา น และการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสรมิ การอา นอยางหลากหลาย 2) จัดสรางและพัฒนาศนู ยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเ ปนแหลง เรยี นรูวทิ ยาศาสตรตลอดชีวติ ของ ประชาชน เปน แหลงสรางนวตั กรฐานวทิ ยาศาสตร และเปนแหลงทอ งเท่ียวเชิงศลิ ปะวทิ ยาการประจาํ ทองถ่นิ โดยจัดทําและพฒั นานิทรรศการ สอ่ื และกิจกรรมการศึกษาท่ีเนน การเสรมิ สรา งความรูและสรางแรงบันดาลใจ ดา นวทิ ยาศาสตร สอดแทรกวิธีการคดิ เชิงวิเคราะห การคิดเชงิ สรางสรรค และปลูกสงเจตคติทางวิทยาศาสตร ผานการกระบวนการเรยี นรูที่บรู ณาการความรดู า นวิทยาศาสตร ควบคูก บั เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร และ คณิตศาสตร รวมท้ังสอดคลองกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทง้ั ระดับภูมิภาคและ ระดบั โลก เพอ่ื ใหประชาชนมีความรูและสามารถนาํ ความรูและทักษะไปประยกุ ตใชใ นการ ดาํ เนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรกั ษาสิ่งแวดลอ ม การบรรเทาและปองกันภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมี ความสามารถในการปรบั ตัว รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกทเี่ ปน ไปอยา งรวดเรว็ และรุนแรง (Disruptive Change) ไดอยาง มีประสิทธภิ าพ 1.5 ประสานความรวมมือหนว ยงาน องคก ร หรอื ภาคสว นตา งๆ ทีม่ ีแหล,งเรียนรูอื่นๆ เพือ่ สง เสริม การ จัดการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบทหี่ ลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พพิ ธิ ภัณฑ ศูนยเ รียนรู แหลง โบราณคดี หอ งสมดุ เปน ตน 2. ดา นหลกั สูตร ส่อื รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล งานบริการ ทางวชิ าการ และการ ประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 สง เสริมการพัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรูและกิจกรรม เพื่อสง เสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทหี่ ลากหลาย ทนั สมัย รวมทงั้ หลกั สูตรทองถิ่นทีส่ อดคลองกบั สภาพบริบท ของพน้ื ท่ี และความตองการของกลมุ เปาหมายและชุมชน 2.2 สง เสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สอื่ อิเล็กทรอนกิ สและสือ่ อ่ืนๆ ทีเ่ อื้อตอ การเรยี นรูของผูเ รยี น กลมุ เปา หมายทัว่ ไปและกลมุ เปา หมายพิเศษ 2.3 พัฒนารปู แบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหมีความทันสมัย ดวยระบบหอ งเรียนและการควบคมุ การ สอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทยี บระดับการศกึ ษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ เพือ่ ใหม ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปา หมายไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั มกี ารประชาสมั พันธใหส าธารณชนไดรับรูและสามารถเขาถึงระบบการประเมนิ ได 2.5 พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลกั สูตร โดยเฉพาะหลักสตู ร ในระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานใหไดม าตรฐาน โดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-Exam)

11 มาใชอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ 2.6 สงเสริมและสนบั สนุนการศึกษาวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวัด และประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจดั สงเสริม และสนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังใหม ีการนําไปสกู ารปฏบิ ัติอยา งกวา งขวางและมกี ารพัฒนาใหเ หมาะสมกับบริบทอยา ง ตอเน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดม าตรฐาน เพื่อพรอมรบั การประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหมคี วามรู ความเขา ใจ ตระหนกั ถึงความสําคญั ของระบบการประกนั คณุ ภาพและ สามารถดาํ เนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอ ยางตอ เนื่องโดยใชการประเมนิ ภายในดว ยตนเอง และจดั ใหมีระบบสถานศกึ ษาพ่เี ลยี้ งเขา ไปสนับสนนุ อยา งใกลชดิ สําหรับสถานศึกษาท่ยี ังไมไดเ ขารับการประเมนิ คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าํ หนด 2.8 ประชาสมั พันธ/สรา งการรับรใู หกับประชาชนทว่ั ไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการดาน การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และสรางชองทางการแลกเปล่ยี นเรยี นรูดา นวิชาการของหนว ยงาน และ สถานศกึ ษาในสงั กดั อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานสื่อรูปแบบตา งๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน. 3. ดานเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวทิ ยุและรายการโทรทศั นเ พ่อื การศกึ ษา เพื่อใหเ ช่ือมโยงและตอบสนองตอ การจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา เพื่อกระจายโอกาสทาง การศึกษา สาํ หรับกลมุ เปาหมายตางๆ ใหม ีทางเลอื กในการเรียนรูท ีห่ ลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหร ูเ ทา ทนั สือ่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเขม เติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพรท างสถานวี ิทยุศึกษา สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นเ พือ่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทาง อนิ เทอรเนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรก ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยผา นระบบ เทคโนโลยี ดจิ ิทัล และชองทางออนไลนต างๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อ่นื ๆ เพอ่ื สง เสรมิ ให ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใี นการสรางกระบวนการเรยี นรดู ว ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานวี ทิ ยุศกึ ษาและสถานีโทรทัศนเพือ่ การศึกษา เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศใหก ลุมเปาหมายสามารถใชเ ปน ชองทางการเรยี นรทู ม่ี ีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยาย เครือขายการรับฟงใหส ามารถรบั ฟงไดทุกท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพน้ื ท่ีทั่วประเทศ และเพ่ิมชองทาง ใหสามารถ รับชมรายการโทรทศั นไดทงั่ ระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอนิ เทอรเ น็ต พรอมท่จี ะ รองรับ การพัฒนาเปนสถานวี ิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free E7V) 3.4 พัฒนาระบบการใหบ รกิ ารสื่อเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา เพ่ือใหไดหลายชองทางท่ังทางอนิ เทอรเ น็ต และรปู แบบอ่นื ๆ อาทิ Application บนโทรศพั ทเคลื่อนที่ และ Tablet รวมทงั่ ส่ือ Offlineในรูปแบบตางๆ เพ่ือให กลมุ เปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขา ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไดตามความตองการ 3.5 สาํ รวจ วิจยั ตดิ ตามประเมินผลดา นการใชส ื่อเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาอยางตอเนือ่ ง เพ่อื นําผล มา ใชใ นการพัฒนางานใหมีความถกู ตอง ทันสมัยและสามารถสงเสรมิ การศึกษาและการเรยี นรูต ลอดชวี ิต ของ ประชาชนไดอ ยางแทจรงิ 4. ดา นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ 4.1 สง เสริมและสนบั สนนุ การดําเนนิ งานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อัน เกีย่ วเน่ืองจากราชวงศ 4.2 จดั ทําฐานขอมลู โครงการและกิจกรรมของ กศน. ทีส่ นองงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ หรอื โครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ เพ่ือนําไปใชใ นการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพฒั นางาน

12 ไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 4.3 สง เสริมการสรางเครือขายการดาํ เนนิ งาน เพอ่ื สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ เพื่อให เกิดความเขมแข็งในการอดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศนู ยก ารเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟา หลวง” เพ่ือใหม คี วามพรอมในการอดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา ทที่ ่ีกําหนดไวอยางมีประสทิ ธิภาพ 4.4 จดั และสงเสรมิ การเรยี นรตู ลอดชีวติ ใหส อดคลองกับวถิ ชี ีวิตของประชาชนบนพื้นทสี่ งู ถ่ินทรุ กนั ดาร และพ้ืนทชี่ ายขอบ 5. ดา นการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และพน้ื ท่บี ริเวณชายแดน 4.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต 1) อัดและพัฒนาหลักสูตร และกจิ กรรมสง เสรมิ การศึกษาและการเรียนรูท ่ตี อบสนองปญหา และความ ตองการของกลุมเปาหมาย รวมทงั้ อัตลักษณแ ละความเปน พหุวัฒนธรรมของพื้นท่ี 2) พฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางเขมขนและตอ เนื่อง เพื่อให ผเู รียน สามารถนาํ ความรูทไ่ี ดรับไปใชประโยชนไ ดจ ริง 3) ใหห นว ยงานและสถานศึกษาอดั ใหม ีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบ ุคลากรและนักศึกษา กคน. ตลอดจนผูม าใชบริการอยางทั่วถงึ 42 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความรว มมือกับหนวยงานท่เี ก่ียวของในการอดั ทาํ แผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตร และบรบิ ทของ แตละอังหวัดในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ 2) อัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี โดยเนน สาขาท่เี ปน ความตอ งการของตลาด ใหเกิดการ พฒั นาอาชีพไดตรงตามความตอ งการของพน้ื ที่ 43 จดั การศึกษาเพ่ือความม่ันคง ของศนู ย, ฟก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศนู ยฟ ก และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพอ่ื ใหเ ปนศูนยฟกและสาธติ การ ประกอบอาชีพดา นเกษตรกรรม และศูนยการเรยี นรตู น แบบการอดั กิจกรรมตามแนวพระราชดํารปิ รัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง สําหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ดวยวธิ กี ารเรยี นรูท ห่ี ลากหลาย 2) มงุ จดั และพฒั นาการศกึ ษาอาชีพโดยใชวธิ ีการหลากหลาย ใชร ูปแบบเชิงรุก เพื่อการเขาถึง กลมุ เปา หมาย เชน การอดั มหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขา ย การอัดอบรมแกนนาํ ดา น อาชพี ที่เนน เร่ืองเกษตรธรรมชาติทีส่ อดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา นบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสวนรว มของทกุ ภาคสว น 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหมสี มรรถนะสูงขึน้ อยา งตอเน่ือง ทงั้ กอนและระหวา ง การดาํ รง ตาํ แหนงเพื่อใหมีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏิบัตงิ านและบริหารอัดการการดําเนินงาน ของหนวยงาน และสถานศึกษาไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ รวมท้ังสง เสรมิ ใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเอง เพอ่ื เลื่อนตาํ แหนง หรือเล่อื นรทิ ยฐานะ โดยเนน การประเมินวิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ 2) พฒั นาศึกษานเิ ทศก กศน. ใหมีสมรรถนะทจี่ าํ เปน ครบถว น มคี วามเปน มืออาชพี สามารถ ปฏบิ ัติการ นเิ ทศไดอยางมีศักยภาพ เพ่อื รว มยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ใน สถานศึกษา 3) พฒั นาหวั หนา กคน. ตําบล/แขวง ใหม สี มรรถนะสงู ขน้ึ เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ กคน. ตําบล/แขวง และ การปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยเนนการเปน นกั จัดการความรูและผอู ํานวย ความ สะดวกในการเรยี นรเู พ่ือใหผ เู รียนเกดิ การเรยี นรทู ี่มปี ระสิทธิภาพอยา งแทจริง

13 4) พฒั นาครู กคน. และบุคลากรทเี่ กยี่ วของกบั การจัดการศึกษาใหสามารถจดั รปู แบบการเรียนรไู ด อยา งมี คณุ ภาพ โดยสง เสริมใหมีความรคู วามสามารถในการจดั ทาํ แผนการสอน การจัดกระบวนการเรยี นรู การวดั และ ประเมินผล และการวจิ ัยเบ้ืองตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรบั ผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรยี นรู ใหมีความรคู วามสามารถ และ มคี วามเปน มืออาชพี ในการจดั บริการสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวิตของประชาชน 6) สง เสรมิ ใหคณะกรรมการ กคน. ทกุ ระดับ และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีสว นรว มในการบรหิ าร การ ดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของ กคน. อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กคน. ใหส ามารถทําหนา ท่ีสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศยั ไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสมั พันธระหวา งบคุ ลากร รวมทั้งภาคเี ครือขา ยทั้งใน และ ตา งประเทศในทุกระดบั โดยจัดใหม กี ิจกรรมเพ่ือเสริมสรางสัมพนั ธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทาํ งาน รว มกันในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยา งตอเนือ่ ง อาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน 6.2 การพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐานและอัตรากาํ ลงั 1) จัดทาํ แผนการพัฒนาโครงสรา งพนื้ ฐานและดําเนนิ การปรบั ปรุงสถานท่ี และวัสดุอปุ กรณ ใหม ี ความ พรอมในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู 2) บริหารอตั รากําลงั ที่มีอยู ทั้งในสวนท่เี ปน ขา ราชการ พนักงานราชการ และลกู จาง ใหเ กิด ประสิทธภิ าพ สูงสุดในการปฏบิ ตั ิงาน 3) แสวงหาความรว มมือจากภาคีเครือขา ยทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนาํ มาใชใ นการ ปรับปรุง โครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอมสําหรบั ดําเนนิ กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และ การสงเสรมิ การเรยี นรูส ําหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมยั และเชอื่ มโยงกนั ทวั่ ประเทศ อยา งเปนระบบ เพอ่ื ใหห นวยงานและสถานศึกษาในสงั กัดสามารถนาํ ไปใชเปน เคร่ืองมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การ ปฏบิ ัตงิ าน การตดิ ตามประเมินผล รวมทง้ั จดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางมี ประสทิ ธภิ าพ 2) เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากบั ควบคมุ และเรง รดั การ เบกิ จายงบประมาณใหเ ปน ตามเปาหมายที่กาํ หนดไว 3) พฒั นาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน.ใหม ีความครบถว น ลกู ตอง ทันสมัย และเช่ือมโยง กนั ทว่ั ประเทศ สามารถสืบคน และสอบทานไดทนั ความตองการเพื่อประโยชนใ นการจดั การศึกษาใหก บั ผูเรียน และการ บรหิ ารจดั การอยา งมีประสทิ ธภิ าพ 4) สงเสริมใหมีการจดั การความรูใ นหนว ยงานและสถานศกึ ษาทกุ ระดับ รวมทงั่ การศึกษาวจิ ัย เพือ่ สามารถ นํามาใชใ นการพัฒนาประสิทธภิ าพการดําเนนิ งานทีส่ อดคลอ งกับความตอ งการของประชาชน และชุมชนพรอม ทัง่ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขง ขันของหนวยงานและสถานศึกษา 5) สรา งความรวมมือของทุกภาคสว นทัง่ ในประเทศและตา งประเทศ ในการพฒั นาและสงเสริม การจดั การ ศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต 6) สง เสริมการใชระบบสาํ นักงานอิเลก็ ทรอนิกส (E - office) ในการบรหิ ารจดั การ เขน ระบบการลา ระบบ สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชห อ งประชุม เปนตน 6.4 การกาํ กับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล

14 1) สรางกลไกการกาํ กับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศัยใหเชื่อมโยงกับหนว ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขา ยท่งั ระบบ 2) ใหหนว ยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกาํ กบั ติดตาม และรายงาน ผล การนาํ นโยบายสูการปฏิบตั ิ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอยางมี ประสิทธภิ าพ 3) สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และสอื่ อื่น ๆ ทเ่ี หมาะสม เพื่อการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมปี ระสิทธิภาพ 4) พฒั นากลไกการตดิ ตามประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคํารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ป ของ หนวยงาน สถานศกึ ษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏบิ ัติราชการประจาํ ป ของสาํ นักงาน กศน.ใหด ําเนนิ ไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ เปนไปตามเกณฑวิธีการ และระยะเวลาที่กําหนด 5) ใหมกี ารเชอ่ื มโยงระบบการนเิ ทศในทุกระดับ ท่ังหนว ยงานภายในและภายนอกองคก ร ตงั้ แต สวนกลาง ภูมิภาค กลุม จงั หวัด จังหวดั อําเภอ/เขต และตาํ บล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชข อมลู และการพฒั นา งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน. ตําบลกุฎโงง สังกดั กศน.อาํ เภอพนสั นิคม วิสยั ทัศน “กศน.อาํ เภอพนสั นิคม จดั และสงเสริม สนับสนนุ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก บั ประชาชนกลุม เปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยา งมีคณุ ภาพดวยแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง” พนั ธกิจ 1. ออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรใู หสอดคลองกับหลักสตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรูและการบริหารการศึกษา 3. พัฒนาบุคลากรดา นการออกแบบการจดั กระบวนการเรียนรู/สอื่ /การประเมนิ ผล 4. สง เสริมและสนับสนนุ การมสี วนรว มของภาคีเครอื ขา ยและชุมชนในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา เปา ประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั่งประชาชนท่ัวไปไดรับโอกาส ทางการศึกษา ในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษา ตามอธั ยาศยั ท่ีมี คณุ ภาพอยางเทาเทียมและทั่วถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะกลมุ เปา หมาย 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสรมิ และปลกู สงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปนพลเมือง ที่ สอดคลองกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อันนําไปสูการยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสริมสรางความ เขม แข็งให ชมุ ชน เพอ่ื พฒั นาไปสคู วามม่นั คงและยั่งยืนทางดานเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และ สิ่งแวดลอม 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรียนรู และมเี จตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม สามารถ คดิ วเิ คราะห และประยุกตใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน รวมทัง่ แกปญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ ยา งสรางสรรค 4. ประชาชนไดร ับการสรางและสงเสรมิ ใหมนี สิ ัยรกั การอานเพอื่ พัฒนาการแสวงหาความรดู วยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครอื ขายทุกภาคสว น มสี ว นรวมในการจดั สง เสรมิ และสนบั สนุนการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท่ังการขับเคล่อื นกจิ กรรมการเรยี นรขู องชุมชน

15 6. หนว ยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใชในการ ยกระดับคุณภาพในการจดั การเรียนรแู ละเพ่ิมโอกาสการเรียนรใู หกบั ประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสอื่ นวตั กรรม และการจดั กระบวนการเรยี นรู เพือ่ แกป ญ หาและ พัฒนาณภาพชีวติ ที่ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และส่งิ แวดลอ ม รวมท้ังตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย 8. หนว ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการองคกรท่ีทนั สมัย มีประสทิ ธภิ าพ และเปนไป ตาม หลักธรรมาภิบาล 9. บคุ ลากร กคน.ทุกประเภททกุ ระดับไดร ับการพัฒนาเพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการปฏิบัตงิ านตามสายงานอยา งมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชว้ี ัด ตัวชวี้ ดั เซิงปริมาณ 1. จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐานทีไ่ ดรับการสนับสนนุ คา ใชจา ยตามสิทธิ ท่ีกาํ หนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปา หมายตา ง ๆ ทเ่ี ขารวมกจิ กรรมการเรียนรู/ ไดร ับบรกิ ารกจิ กรรมการศึกษา ตอ เนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทีส่ อดคลองกับสภาพ ปญ หา และความตอ งการ 3. รอ ยละของกาํ ลงั แรงงานที่สาํ เรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตนขึ้นไป 4. จาํ นวนภาคเี ครือขา ยทเี่ ขามามสี วนรวมในการจดั /พฒั นา/สง เสริมการศึกษา (ภาคเี ครือขา ย : สถาน ประกอบการ องคกร หนวยงานทม่ี ารว มจัด/พฒั นา/สงเสริมการศึกษา) 5. จํานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพ้นื ทส่ี งู และชาวไทยมอแกน ในพน้ื ท่ี 5 จังหวัด 11 อําเภอ ไดรับ บริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยก ารเรยี นชมุ ชนสงั กัดสาํ นักงาน กคน. 6. จาํ นวนผูรบั บรกิ ารในพ้ืนที่เปา หมายไดร ับการสงเสริมดา นการรูหนังสอื และการพัฒนาทักษะชีวิต 7. จํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่ไดร บั บริการตวิ เขมเต็มความรู 8. จํานวนประชาชนที่ไดรบั การ'ฟกอาชพี ระยะสน้ั สามารถสรางหรือพฒั นาอาชพี เพื่อสรางรายได 9. จํานวน ครู กคน. ตําบล จากพ้ืนท่ี กคน.ภาค ไดรบั การพัฒนาศักยภาพดา นการจัดการเรยี น การสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จาํ นวนประชาชนทไี่ ดร ับการฟกอบรมภาษาตา งประเทศเพ่ือการส่ือสารดานอาชีพ 11. จํานวนผผู านการอบรมหลักสูตรการดแู ลผสู งู อายุ 12. จาํ นวนประชาชนทผี่ านการอบรมจากศนู ยดิจทิ ัลชุมชน 13. จาํ นวนศูนยก ารเรียนชมุ ชน กคน. บนพ้ืนที่สูง ในพื้นท่ี 5 จงั หวัด ทส่ี ง เสริมการพัฒนาทักษะ การฟง พูด ภาษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร รวมกนั ในสถานศึกษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และกศน 14. จาํ นวนหลักสตู รหรอื สอ่ื ออนไลนท ่ีใหบ รกิ ารกับประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวชี้วัดเซงิ คุณภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทกุ ระดับ 2. รอยละของผเู รียนท่ีไดร ับการสนับสนนุ การจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเทยี บกบั คา เปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายทีล่ งทะเบียนเรียนในทุกหลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เนื่อง เทียบกับเปา หมาย 4. รอ ยละของผูผานการฟกอบรม/พฒั นาทักษะอาชพี ระยะสั้นสามารถนําความรไู ปใชในการ ประกอบอาชพี

16 หรอื พัฒนางานได 5. รอ ยละของผเู รียนในเขตพื้นที่จังหวดั ชายแดนภาคใตท่ีไดร ับการพฒั นาศักยภาพ หรือทักษะ ดานอาชีพ สามารถมีงานทาํ หรอื นําไปประกอบอาชีพได 6. รอยละของผูจบหลักสูตร/กจิ กรรมท่สี ามารถนําความรูความเขา ใจไปใชไ ดต ามจดุ มุงหมาย ของหลักสูตร/ กจิ กรรม การศึกษาตอเนอื่ ง 7. รอ ยละของประชาชนที่ไดร ับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอ การบริการ/เขารวมกิจกรรมการเรยี นรู การศึกษา ตามอธั ยาศัย 8. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีไดรบั บรกิ าร/เขา รว มกจิ กรรมทม่ี คี วามรคู วามเขาใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตามจดุ มงุ หมายของกจิ กรรมทก่ี ําหนด ของการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 9. รอ ยละของผสู ูงอายุท่เี ปนกลมุ เปา หมาย มีโอกาสมาเขารวมกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชีวิต นโยบายเรงดว นเพอื่ รว มขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1.ยุทธศาสตรดา นความมนั่ คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรา งความจงรกั ภักดีตอสถาบนั หลักของชาติ พรอมทั้งนอมนาํ และเผยแพรศาสตร พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดาํ ริตาง ๆ 1.2 เสรมิ สรา งความรูค วามเขา ใจ และการมีสวนรว มอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข ในบริบทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ 1.3 สง เสริมและสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาเพ่ือปอ งกันและแกไ ขปญหาภยั คกุ คามในรูปแบบใหม ทั้งยาเสพติด การคา มนษุ ย ภัยจากไซเบอร ภัยพิบตั ิจากธรรมชาติ โรคอบุ ตั ใิ หม ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและสรางเสรมิ โอกาสในการเขา ถึงบริการการศึกษา ในเขตพฒั นาพเิ ศษ เฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต และพ้ืนท่ีชายแดนอน่ื ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขา ใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพอื่ นบา น กลุมชาติพันธุ และชาวตา งชาตทิ ่ีมคี วามหลากหลาย 2. ยทุ ธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขนั 2.1 ยกระดบั การจดั การศกึ ษาอาชพี กคน. เพื่อพัฒนาทกั ษะอาชีพของประชาชนใหร องรบั อตุ สาหกรรม เปาหมายของประเทศ (First s - curve และ News-curve) โดยเฉพาะในพ้นื ที่เขตระเบยี ง เศรษฐกิจ และเขต พัฒนาพเิ ศษตามภมู ภิ าคตาง ๆ ของประเทศ สาํ หรบั พน้ื ทป่ี กติใหพ ฒั นาอาชีพทีเ่ นน การตอ ยอดศกั ยภาพและ ตามบริบทของพนื้ ท่ี 2.2 จดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาพื้นที่ภาคตะวนั ออก ยกระดับการศกึ ษาใหกับประชาชนใหจบการศึกษา อยาง นอยการศกึ ษาภาคบงั คับ สามารถนําคุณวุฒทิ ่ีไดร บั ไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการพฒั นา เขตพ้นื ที่ ระเบยี บเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสง เสริมประชาชนเพือ่ ตอ ยอดการผลิตและจาํ หนา ยสินคา และผลติ ภัณฑ กคน. ออนไลน พรอมทงั้ ประสานความรวมมือกับภาคเอกชนในการเพ่ิมชอ งทางการจาํ หนายสนิ คา และผลติ ภัณฑ ใหก วา งขวาง ย่งิ ขึน้ 3. ยทุ ธศาสตรดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย 3.1 สรรหา และพฒั นาครูและบุคลากรทเี่ กีย่ วซองกับการจัดกจิ กรรมและการเรียนรู เปนผูเช่อื มโยง ความรกู ับผูเ รยี นและผรู ับบรกิ าร มีความเปน “ครูมืออาชพี ” มีจิตบริการ มีความรอบรูและทันตอ การ เปลีย่ นแปลง ของสังคม และเปน “ผอู ํานวยการการเรยี นรู” ท่สี ามารถบริหารจัดการความรู กจิ กรรม และการ เรียนรทู ่ดี ี 1) เพ่ิมอตั ราขาราชการครูใหกับสถานศึกษาทุกประเภท

17 2) พฒั นาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรทเ่ี ชื่อมโยงกบั วิทยฐานะ 3) พัฒนาครูให สามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเนน เรอื่ งการพัฒนาทกั ษะการจดั การเรยี นการสอน ออนไลน ทกั ษะภาษาตางประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรู 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก ใหส ามารถปฏบิ ตั ิการนเิ ทศไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหมีความรูและทักษะเรื่องการใชประโยชนจ ากดิจทิ ลั และภาษาตา งประเทศทีจ่ าํ เปน รวมทงั้ ความรเู กีย่ วกับอาขีพท่รี องรบั อุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First - Curve และ New ร - Curve) 3.2 พัฒนาหลักสตู รการจัดการศึกษาอาชพี ระยะสัน้ ใหม ีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับบริบท ของพ้ืนท่ี และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผูร ับบรกิ าร 3.3 สงเสริมการจดั การเรียนรูทที่ นั สมัยและมีประสิทธภิ าพ เอ้ือตอ การเรยี นรูสําหรบั ทุกคน สามารถ เรยี น ไดทุกทท่ี ุกเวลา มกี จิ กรรมทีห่ ลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตอ งการของชุมชน 3.4 เสริมสรา งความรวมมือกับภาคีเครือขา ย ประสาน สงเสริมความรวมมือภาคเี ครือขา ย ทัง้ ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งสง เสรมิ และสนบั สนนุ การมสี วนรว มของชุมชน เพ่ือ สรางความเขาใจ และใหเ กดิ ความรว มมอื ในการสงเสรมิ สนับสนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใหกับ ประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่อื ประโยชนตอการจัดการศกึ ษาและกลุมเปาหมาย เขน จดั การศึกษาออนไลน กศน. ท้ังในรปู แบบของการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การพฒั นาทกั ษะชวี ิต ทักษะอาชพี และ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังสง เสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏิบัตงิ าน การบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู และใชการวิจยั อยางงายเพอื่ สรางนวัตกรรมใหม 3.6 พัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ดานความรูความเขา ใจ และ ทักษะในการใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Literacy) 3.7 ยกระดับการศกึ ษาใหกับกลมุ เปาหมายทหารกองประจาํ การ รวมท้ังกลุมเปาหมายพิเศษอืน่ ๆ อาทิ ผูต องขัง คนพิการ เดก็ ออกกลางดัน ประชากรวยั เรียนท่อี ยูน อกระบบการศึกษา ใหจบการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 3.8 พัฒนาทกั ษะภาษาตา งประเทศเพือ่ การสื่อสารของประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ โดยเนน ทกั ษะ ภาษา เพอ่ื อาชพี ท้ังในภาคธรุ กิจ การบริการ และการทอ งเท่ียว 3.9 เตรียมความพรอ มของประชาชนในการเชาสูสังคมผูสงู อายุทเ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 3.10 จดั กจิ กรรมวิทยาศาสตรเซงิ รกุ ใหก ับประชาชนในชุมชน โดยใหความรวู ทิ ยาศาสตรอยา งงาย ทั้ง วิทยาศาสตรใ นวิถชี วี ติ และวิทยาศาสตรใ นชีวติ ประจาํ วัน รวมท้งั ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวตั กรรม 3.11 สงเสริมการรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ทส่ี งู ให สามารถพิง พดู อาน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชนใ นการใชช ีวิตประจาํ วนั ได 4. ยุทธศาสตรด า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหลงเรยี นรใู หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู มีความพรอ ม ในการใหบรกิ ารกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู 1) เรงยกระดบั กคน.ตําบลนํารอ ง 928 แพง (อําเภอละ 1 แพง)ใหเปน กคน.ตาํ บล 5 ดี พรเี มียม ท่ีประกอบดว ย ครูดี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพน้ื ที่) กจิ กรรมดี เครอื ขายดี และมีนวัตกรรมการเรยี นรทู ี่ดมี ี ประโยชน 2) จดั ใหม ศี ูนยการเรยี นรูต น แบบ กคน. เพ่ือยกระดับการเรยี นรู เปน พ้ืนที่การเรยี นรู (Co - Learning Space) ทที่ ันสมยั สําหรับทุกคน มีความพรอ มในการใหบ ริการตาง ๆ

18 3) พัฒนาหองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ใหเปน Digital Library 4.2 จดั ตงั้ ศนู ยก ารเรียนรสู าํ หรบั ทกุ ชวงวยั ทม่ี ีกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความตองการ ในการเรียนรูในแตล ะวยั เพื่อใหมพี ฒั นาการเรียนรทู ี่เหมาะสม และมคี วามสุขกบั การเรียนรูต ามความสนใจ 4.3 สง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาและการเรียนรสู าํ หรบั กลุมเปา หมายผูพ ิการ โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 5. ยทุ ธศาสตรด านการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม 4.1 สงเสริมใหมีการใหค วามรูกบั ประชาชนในการรบั มือและปรับตัวเพ่ือลดความเสยี หาย จากภัยธรรมชาตแิ ละผลกระทบทเ่ี ก่ยี วของกับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 42 สรา งความตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญของการสรางสังคมสีเขียว สง เสริมความรใู หก บั ประชาชน เกีย่ วกบั การคัดแยกต้ังแตตน ทาง การกําจดั ขยะ และการนํากลบั มาใขซ ํา้ 43 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพ ลงั งานทเ่ี ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม รวมทง้ั ลดการใช ทรพั ยากรทส่ี ง ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เขน รณรงคเ ร่ืองการลดการใชถ ุงพลาสติก การประหยดั ไฟฟา เปนตน 6. ยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั 6.1 พัฒนาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏบิ ัติราชการใหทนั สมัย มีความโปรง ใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอมลู และหลกั ฐานเชิงประจักษ มุงผลสัมถทุ ธ๋ึมีความโปรง ใส 6.2 นาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานทเ่ี ปน ติจิทลั มาใซใ นการบรหิ ารและพฒั นางาน 6.3 สงเสริมการพัฒนาบคุ ลากรทุกระดับอยางตอเนือ่ ง ใหมีความรแู ละทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหต รงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตองการของบุคลากร ภารกจิ ตอเนอื่ ง 1. ดา นการจดั การศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1) สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบต้งั แตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน โดยดาํ เนินการ ใหผูเรยี น ไดรบั การสนบั สนนุ คาจัดซ้อื หนงั สือเรยี น คา จดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น และคา จดั การเรียน การสอนอยา ง ทั่วถึงและเพยี งพอ เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเขาถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพโดยไมเสียคาใชจ า ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานใหกับกลุมเปาหมายผดู อย พลาด และขาดโอกาสทาง การศกึ ษา ผานการเรยี นแบบเรยี นรดู วยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบขนั้ เรียน และการจัด การศกึ ษา ทางไกล 3) พฒั นาประสทิ ธภิ าพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน ทั่ง ดา นหลกั สตู ร รปู แบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวตั กรรม ระบบการวัดและประเมนิ ผล การเรยี น และระบบการใหบ ริการนักศึกษาในรปู แบบอนื่ ๆ 4) จดั ใหมกี ารประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรแู ละประสบการณ ทมี่ คี วาม โปรงใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของ กลุมเปา หมายไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) จดั ใหม ีกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนท่มี ีคุณภาพทีผ่ เู รยี นตอ งเรยี นรแู ละเขา รวมปฏิบัตกิ จิ กรรม เพอื่ เปน สวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรา งความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกบั การปอ งกันและแกิใข ปญ หายาเสพตดิ การแขงขันกีฬา การบําเพญ็ สาธารณประโยชนอ ยางตอ เนื่อง การสงเสริมการปกครองใน ระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยวุ กาชาด กจิ กรรม จติ อาสา และการจัดตัง้ ชมรม/ชุมนุม พรอมทัง่ เปดโอกาสใหผูเรยี นนํากจิ กรรมการบาํ เพ็ญประโยชนอืน่ ๆ นอก หลักสตู ร มาใช เพิ่มชวั่ โมงกจิ กรรมใหผเู รยี นจบตามหลักสตู รได

19 1.2 การสงเสริมการรหู นงั สือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมลู ผไู มรหู นังสอื ใหมคี วามครบถวน ลกู ตอ ง ทนั สมัยและเปน ระบบเดยี วกนั ท่งั สวนกลางและสวนภูมภิ าค 2) พัฒนาหลกั สูตร สอ่ื แบบเรยี น เครือ่ งมือวดั ผลและเคร่ืองมือการดําเนินงานการสง เสริม การรหู นังสอื ท่ี สอดคลอ งกับสภาพแตละกลมุ เปาหมาย 3) พัฒนาครู กคน. และภาคเี ครอื ขายทร่ี ว มจดั การศึกษา ใหมคี วามรู ความสามารถ และทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรูใหกบั ผไู มรูห นังสืออยา งมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดใหม ีอาสาสมคั รสงเสรมิ การรูหนังสอื ใน พ้นื ที่ ที่มีความตองการจาํ เปนเปนพเิ ศษ 4) สงเสรมิ สนับสบนุ ใหส ถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมสง เสริมการรหู นงั สือ การคงสภาพการรูห นงั สอื การพฒั นา ทักษะการรูหนงั สือใหกบั ประชาชนเพอ่ื เปนเคร่ืองมือในการศกึ ษาและเรียนรูอยา งตอเนื่องตลอดชวี ติ ของ ประชาชน 1.3 การศึกษาตอเนอื่ ง 1) จดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมีงานทาํ อยา งยัง่ ยืน โดยใหค วามสาํ คญั กับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมี งานทําในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถงึ การเนนอาชพี ชางพ้ืนฐาน ท่สี อดคลองกับศักยภาพของผเู รยี น ความตองการและศักยภาพของแตละพ้นื ท่ี มีคณุ ภาพไดมาตรฐานเปน ท่ยี อมรับ สอดรบั กับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สรางความเขมแขง็ ใหก ับศนู ยผ ิกอาชีพชุมชน โดยจดั ใหมีหนึ่งอาชีพเดน รวมท้ังใหม ีการกํากับ ตดิ ตาม และรายงาน ผลการจัดการศึกษาอาชพี เพอ่ื การมีงานทําอยางเปนระบบและตอเนอื่ ง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิตใหก ับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสู งู อายุ ทสี่ อดคลองกบั ความตองการจําเปน ของแตล ะบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุม เปาหมายมที ักษะการดํารงชีวติ ตลอดจน สามารถ ประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได มีความรูค วามสามารถในการบริหารจดั การชวี ติ ของตนเองใหอ ยูใ นสังคมได อยา ง มีความสุข สามารถเผชญิ สถานการณต างๆ ที่เกดิ ขึ้นในชีวติ ประจาํ วนั ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเตรยี มพรอม สําหรับการปรบั ตวั ใหท นั ตอการเปลยี่ นแปลงของขา วสารขอมูลและเทคโนโลยสี มัยใหมใ นอนาคตโดยจดั กจิ กรรม ทีม่ เี น้อื หาสาํ คญั ตา งๆ เชน สุขภาพกายและจติ การปองกนั ภัยยาเสพตดิ เพศศึกษา คณุ ธรรมและคา นยิ ม ท่ีพึง ประสงค ความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส นิ ผานการศึกษารูปแบบตา ง ๆ อาทิ คา ยพฒั นาทักษะชีวิต การจดั ทัง้ ชมรม/ชมุ นุม การสงเสรมิ ความสามารถพเิ ศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน โดยใชห ลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรยี นรู แบบบูรณาการ ในรูปแบบของการผิกอบรม การประชมุ สมั มนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู การจดั กจิ กรรม จิตอาสา การ สรา งชมุ ชนนกั ปฏบิ ตั ิ และรปู แบบอนื่ ๆ ทเ่ี หมาะสมกับกลมุ เปาหมาย และบริบทของชมุ ชน แตล ะพน้ื ที่ เคารพ ความคิดของผูอืน่ ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมทัง้ สงั คม พหุวัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการใหบ ุคคลรวมกลมุ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรรู วมกัน สรา งกระบวนการจติ สาธารณะ การสราง จติ สํานึกความเปน ประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอ หนาท่ีความเปนพลเมืองดี การสงเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจดั การนืา้ การรบั มือกับสาธารณภัย การอนรุ ักษ พลงั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม ชวยเหลือซ่ึงกันและกนั ในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน อยางย่งั ยนื 4) การจัดกจิ กรรมการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงผานกระบวนการเรยี นรูตลอดชีวติ ใน รูปแบบตา งๆ ใหกับประชาชน เพือ่ เสริมสรางภมู ิคมุ กัน สามารถยืนหยัดอยไู ดอยางมัน่ คง และมกี ารบรหิ าร จัดการ ความเสย่ี งอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน

20 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) พฒั นาแหลงการเรยี นรทู มี่ ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มท่ีเอื้อตอการอานและพฒั นาศักยภาพ การ เรียนรูใ หเ กิดขึ้นในสังคมไทย ใหเกดิ ขน้ึ อยางกวางขวางและทั่วถงึ เชน พัฒนาหองสมุดประชาชนทกุ แหงใหม ี การบริการที่ทนั สมยั สง เสรมิ และสนับสบนุ อาสาสมัครสง เสรมิ การอา น การสรางเครือขายสง เสริมการอาน จัด หนวย บริการเคล่ือนท่ีพรอมอปุ กรณเพื่อจัดกจิ กรรมสง เสริมการอานและการเรยี นรทู ีห่ ลากหลายใหบริการกบั ประชาชน ในพน้ื ท่ีตางๆ อยา งทว่ั ถึง สมา่ํ เสมอ รวมทง้ั เสริมสรา งความพรอ มในดานบคุ ลากร สอ่ื อปุ กรณเพอ่ื สนบั สบนุ การอาน และการจัดกจิ กรรมเพอื่ สงเสริมการอา นอยา งหลากหลาย 2) จัดสรางและพัฒนาศูนยวทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษา ใหเปนแหลง เรียนรูวิทยาศาสตรต ลอดชีวิต ของ ประชาชน เปนแหลง สรางนวตั กรฐานวิทยาศาสตร และเปนแหลงทอ งเท่ยี วเชิงศลิ ปะวิทยาการประจาํ ทองถิ่น โดยจดั ทาํ และพฒั นานิทรรศการ สอ่ื และกิจกรรมการศกึ ษาทเ่ี นนการเสรมิ สรางความรูแ ละสรา งแรงบนั ดาลใจ ดา นวิทยาศาสตร สอดแทรกวิธกี ารคดิ เชิงวเิ คราะห การคดิ เชิงสรางสรรค และปลูกสงเจตคติทางวิทยาศาสตร ผา นการกระบวนการเรียนรทู ่ีบรู ณาการความรูดา นวิทยาศาสตร ควบคูก บั เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร และ คณติ ศาสตร รวมท้ังสอดคลองกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บรบิ ทของชุมชน และประเทศ รวมทัง้ ระดับภมู ิภาคและ ระดับโลก เพ่ือใหประชาชนมคี วามรูและสามารถนําความรูและทักษะไปประยุกตใชใ นการ ดําเนินชีวติ การพฒั นา อาชีพ การรักษาส่งิ แวดลอ ม การบรรเทาและปองกันภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ รวมทั้งมี ความสามารถในการปรบั ตวั รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกท่เี ปนไปอยางรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Change) ไดอยาง มีประสิทธภิ าพ 1.5 ประสานความรว มมือหนวยงาน องคกร หรอื ภาคสวนตางๆ ท่มี แี หล,งเรยี นรูอ่ืนๆ เพอื่ สงเสริม การ จดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหม ีรปู แบบทห่ี ลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พพิ ิธภัณฑ ศูนยเ รียนรู แหลง โบราณคดี หอ งสมดุ เปน ตน 2. ดา นหลักสตู ร ส่อื รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล งานบริการ ทางวชิ าการ และการ ประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรูและกิจกรรม เพื่อสง เสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทห่ี ลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลกั สตู รทองถ่ินท่ีสอดคลองกบั สภาพบริบท ของพ้นื ท่ี และความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพฒั นาสื่อแบบเรียน สือ่ อิเล็กทรอนิกสและส่อื อ่นื ๆ ที่เอ้ือตอ การเรยี นรขู องผูเรยี น กลมุ เปา หมายทว่ั ไปและกลมุ เปา หมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจดั การศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัย ดว ยระบบหอ งเรียนและการควบคมุ การ สอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพอ่ื เทยี บระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูแ ละประสบการณ เพือ่ ใหม ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปา หมายไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ รวมท้ัง มกี ารประชาสัมพนั ธใ หส าธารณชนไดรบั รแู ละสามารถเขาถึงระบบการประเมนิ ได 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลกั สูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานใหไดม าตรฐาน โดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส (e-Exam) มาใชอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ 2.6 สง เสริมและสนับสนุนการศกึ ษาวิจัย เพอ่ื พัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจดั สง เสริม และสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั รวมท้ังใหม ีการนาํ ไปสูก ารปฏบิ ัติอยา งกวา งขวางและมกี ารพฒั นาใหเ หมาะสมกับบริบทอยา ง ตอ เนอ่ื ง

21 2.7 พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาใหไ ดม าตรฐาน เพื่อพรอมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหม คี วามรู ความเขา ใจ ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของระบบการประกันคณุ ภาพและ สามารถดําเนนิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ ยา งตอ เน่ืองโดยใชก ารประเมนิ ภายในดว ยตนเอง และจดั ใหมรี ะบบสถานศกึ ษาพ่ีเล้ยี งเขาไปสนับสนนุ อยา งใกลชดิ สาํ หรบั สถานศกึ ษาทีย่ ังไมไดเ ขารบั การประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าํ หนด 2.8 ประชาสมั พันธ/สรา งการรบั รใู หก บั ประชาชนทว่ั ไปเก่ยี วกับการบรกิ ารทางวชิ าการดาน การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และสรางชองทางการแลกเปล่ียนเรยี นรดู า นวิชาการของหนว ยงาน และ สถานศกึ ษาในสังกดั อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานส่อื รูปแบบตางๆ การจดั นิทรรศการ/มหกรรมวชิ าการ กศน. 3. ดานเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา 3.1 ผลติ และพฒั นารายการวทิ ยแุ ละรายการโทรทศั นเพอื่ การศึกษา เพื่อใหเชื่อมโยงและตอบสนองตอ การจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาสทาง การศึกษา สําหรบั กลมุ เปาหมายตา งๆ ใหมีทางเลอื กในการเรยี นรทู ่หี ลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหรเู ทาทัน สอื่ และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร เชน รายการพฒั นาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการตวิ เขมเติมเตม็ ความรู ฯลฯ เผยแพรท างสถานีวทิ ยุศึกษา สถานวี ทิ ยุโทรทศั นเ พ่ือการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทาง อนิ เทอรเน็ต 3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยผานระบบ เทคโนโลยี ดจิ ทิ ัล และชอ งทางออนไลนต างๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อน่ื ๆ เพือ่ สง เสริมให ครู กศน. นําเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใี นการสรางกระบวนการเรียนรูดว ยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานวี ิทยศุ ึกษาและสถานโี ทรทศั นเ พือ่ การศึกษา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศใหก ลมุ เปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรยี นรทู ี่มคี ณุ ภาพไดอยา งตอเน่ืองตลอดชวี ติ โดยขยาย เครอื ขายการรับฟง ใหสามารถรับฟง ไดทุกที่ ทกุ เวลา ครอบคลมุ พน้ื ท่ีทว่ั ประเทศ และเพ่ิมชองทาง ใหสามารถ รับชมรายการโทรทัศนไดท ง่ั ระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเ น็ต พรอมท่จี ะ รองรบั การพัฒนาเปน สถานีวทิ ยโุ ทรทศั นเ พื่อการศกึ ษาสาธารณะ (Free E7V) 3.4 พัฒนาระบบการใหบรกิ ารสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา เพ่ือใหไดหลายชองทางท่ังทางอนิ เทอรเน็ต และรปู แบบอื่นๆ อาทิ Application บนโทรศัพทเ คล่ือนท่ี และ Tablet รวมทัง่ สอื่ Offlineในรปู แบบตา งๆ เพื่อให กลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบ ริการเพ่ือเขา ถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไดตามความตองการ 3.5 สาํ รวจ วิจัย ตดิ ตามประเมนิ ผลดา นการใชสื่อเทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษาอยา งตอเนอื่ ง เพอ่ื นําผล มา ใชใ นการพัฒนางานใหม ีความถูกตอง ทันสมยั และสามารถสง เสริมการศึกษาและการเรยี นรตู ลอดชวี ติ ของ ประชาชนไดอ ยางแทจรงิ 4. ดา นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรอื โครงการอันเก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการ อนั เกีย่ วเนอ่ื งจากราชวงศ 4.2 จัดทําฐานขอมลู โครงการและกิจกรรมของ กศน. ทสี่ นองงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ เพ่ือนาํ ไปใชใ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ 4.3 สงเสริมการสรางเครือขายการดําเนนิ งาน เพื่อสนับสนนุ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ เพื่อให เกิดความเขม แข็งในการอัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4.4 พัฒนาศนู ยก ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง” เพ่ือใหม ีความพรอมในการอดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา ที่ที่กําหนดไวอยางมปี ระสิทธิภาพ

22 4.4 จัดและสงเสรมิ การเรียนรตู ลอดชวี ิตใหสอดคลอ งกับวิถีชีวติ ของประชาชนบนพ้นื ทส่ี ูง ถิ่นทรุ กนั ดาร และพื้นท่ีชายขอบ 5. ดา นการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พ้ืนที่เขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพื้นที่บริเวณชายแดน 4.1 พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 1) อัดและพฒั นาหลักสตู ร และกจิ กรรมสงเสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรทู ต่ี อบสนองปญหา และความ ตองการของกลมุ เปาหมาย รวมท้งั อัตลักษณและความเปน พหวุ ฒั นธรรมของพื้นท่ี 2) พฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยา งเขมขนและตอเนือ่ ง เพอ่ื ให ผเู รียน สามารถนาํ ความรูทไ่ี ดรบั ไปใชประโยชนไดจริง 3) ใหห นว ยงานและสถานศึกษาอัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบ คุ ลากรและนักศึกษา กคน. ตลอดจนผูมาใชบ ริการอยา งทั่วถงึ 42 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 1) ประสานความรวมมอื กบั หนว ยงานทเ่ี กยี่ วของในการอัดทาํ แผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตร และบรบิ ทของ แตล ะอังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) อดั ทําหลกั สูตรการศกึ ษาตามบรบิ ทของพ้ืนที่ โดยเนนสาขาทีเ่ ปน ความตอ งการของตลาด ใหเกิดการ พฒั นาอาชีพไดตรงตามความตองการของพ้นื ท่ี 43 จดั การศึกษาเพือ่ ความมั่นคง ของศนู ย, ฟก และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฟกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพอื่ ใหเปน ศนู ยฟก และสาธิต การ ประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศนู ยการเรียนรูตนแบบการอัดกจิ กรรมตามแนวพระราชดํารปิ รชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง สาํ หรับประชาชนตามแนวชายแดน ดว ยวธิ กี ารเรียนรูที่หลากหลาย 2) มงุ จดั และพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชวิธกี ารหลากหลาย ใชรปู แบบเชิงรุก เพือ่ การเขาถึง กลุม เปา หมาย เชน การอดั มหกรรมอาชีพ การประสานความรว มมอื กบั เครือขาย การอัดอบรมแกนนําดา น อาชีพ ทเ่ี นน เร่ืองเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคลองกบั บรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ใหแ กป ระชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา นบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสว นรว มของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พฒั นาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหมสี มรรถนะสงู ขึน้ อยางตอเน่ือง ทงั้ กอนและระหวาง การดาํ รง ตําแหนง เพื่อใหมีเจตคติทด่ี ใี นการปฏิบัตงิ าน สามารถปฏบิ ัติงานและบรหิ ารอัดการการดําเนินงาน ของหนว ยงาน และสถานศึกษาไดอยา งมีประสิทธภิ าพ รวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสงั กดั พัฒนาตนเอง เพอ่ื เลื่อนตําแหนง หรือเลือ่ นริทยฐานะ โดยเนนการประเมนิ วิทยฐานะเชิงประจกั ษ 2) พัฒนาศึกษานเิ ทศก กศน. ใหม ีสมรรถนะท่ีจาํ เปน ครบถวน มคี วามเปน มืออาชีพ สามารถ ปฏบิ ัติการ นเิ ทศไดอยางมศี ักยภาพ เพอ่ื รว มยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ใน สถานศึกษา 3) พฒั นาหัวหนา กคน. ตาํ บล/แขวง ใหมสี มรรถนะสูงข้นึ เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ กคน. ตาํ บล/แขวง และ การปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทภารกจิ อยางมปี ระสิทธภิ าพ โดยเนน การเปน นักจดั การความรูและผอู ํานวย ความ สะดวกในการเรียนรเู พื่อใหผูเรยี นเกิดการเรียนรทู ่ีมีประสิทธิภาพอยา งแทจรงิ 4) พฒั นาครู กคน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจดั การศึกษาใหสามารถจัดรปู แบบการเรียนรูไ ด อยางมี คุณภาพ โดยสงเสรมิ ใหม ีความรคู วามสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และ ประเมินผล และการวจิ ัยเบอ้ื งตน 5) พฒั นาศักยภาพบุคลากร ทร่ี บั ผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมคี วามรคู วามสามารถ และ มคี วามเปนมืออาชพี ในการจดั บริการสง เสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ิตของประชาชน

23 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กคน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มสี วนรว มในการบรหิ าร การ ดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กคน. อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมคั ร กคน. ใหส ามารถทาํ หนา ทีส่ นบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศัยไดอยา งมีประสิทธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสรมิ สรา งความสัมพันธร ะหวางบคุ ลากร รวมทงั้ ภาคเี ครือขา ยท้งั ใน และ ตางประเทศในทุกระดบั โดยจัดใหมกี จิ กรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทาํ งาน รวมกนั ในรปู แบบที่หลากหลายอยางตอเนอ่ื ง อาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสิทธภิ าพ ในการทํางาน 6.2 การพฒั นาโครงสรางพ้ืนฐานและอัตรากําลงั 1) จัดทําแผนการพฒั นาโครงสรา งพืน้ ฐานและดําเนนิ การปรับปรงุ สถานท่ี และวัสดุอปุ กรณ ใหมี ความ พรอมในการจดั การศึกษาและการเรียนรู 2) บรหิ ารอัตรากาํ ลงั ท่ีมีอยู ทั้งในสวนทเ่ี ปนขาราชการ พนักงานราชการ และลกู จา ง ใหเกิด ประสทิ ธภิ าพ สูงสดุ ในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความรว มมือจากภาคเี ครือขายทุกภาคสว นในการระดมทรัพยากรเพ่ือนาํ มาใชในการ ปรับปรงุ โครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอ มสําหรับดําเนินกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และ การสงเสริมการเรยี นรูสาํ หรับประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พฒั นาระบบฐานขอมลู ใหมคี วามครบถว น ถูกตอง ทันสมัย และเชอ่ื มโยงกันทัว่ ประเทศ อยางเปนระบบ เพื่อใหห นวยงานและสถานศึกษาในสังกดั สามารถนาํ ไปใชเ ปนเครอื่ งมอื สําคญั ในการบริหาร การวางแผน การ ปฏิบตั ิงาน การติดตามประเมินผล รวมทัง้ จัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางมี ประสทิ ธภิ าพ 2) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเรงรัด การ เบิกจา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปา หมายท่ีกําหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมลู รวมของนกั ศึกษา กศน.ใหม ีความครบถว น ลกู ตอง ทันสมยั และเชอ่ื มโยง กันทว่ั ประเทศ สามารถสืบคน และสอบทานไดท ันความตองการเพ่ือประโยชนใ นการจัดการศึกษาใหกับผูเ รยี น และการ บรหิ ารจัดการอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) สงเสรมิ ใหม ีการจดั การความรใู นหนว ยงานและสถานศึกษาทกุ ระดับ รวมท่ังการศึกษาวจิ ยั เพ่อื สามารถ นํามาใชใ นการพัฒนาประสทิ ธิภาพการดาํ เนินงานท่ีสอดคลองกบั ความตอ งการของประชาชน และชมุ ชนพรอ ม ท่งั พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแขง ขันของหนว ยงานและสถานศกึ ษา 5) สรางความรวมมือของทุกภาคสวนทั่งในประเทศและตา งประเทศ ในการพฒั นาและสง เสริม การจดั การ ศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนรูตลอดชวี ติ 6) สงเสรมิ การใชร ะบบสาํ นักงานอเิ ล็กทรอนิกส (E - office) ในการบรหิ ารจดั การ เขน ระบบการลา ระบบ สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชหองประชมุ เปนตน 6.4 การกํากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหเชอื่ มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครือขายทั่งระบบ 2) ใหหนว ยงานและสถานศึกษาท่ีเกีย่ วของทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกํากบั ตดิ ตาม และรายงาน ผล การนาํ นโยบายสกู ารปฏบิ ัติ ใหสามารถตอบสนองการดาํ เนินงานตามนโยบายในแตล ะเร่ืองไดอยา งมี ประสทิ ธิภาพ

24 3) สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร และสื่ออนื่ ๆ ทีเ่ หมาะสม เพื่อการกาํ กบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา งมปี ระสิทธิภาพ 4) พฒั นากลไกการติดตามประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคาํ รบั รองการปฏิบัติราชการประจําป ของ หนว ยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตวั ชีว้ ดั ในคํารับรองการปฏิบัตริ าชการประจําป ของสํานักงาน กศน.ใหดําเนนิ ไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ เปนไปตามเกณฑวิธกี าร และระยะเวลาท่ีกําหนด 5) ใหม กี ารเชือ่ มโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท่งั หนว ยงานภายในและภายนอกองคกร ตัง้ แต สว นกลาง ภูมภิ าค กลุม จงั หวดั จังหวัด อําเภอ/เขต และตาํ บล/แขวง เพ่อื ความเปนเอกภาพในการใชข อมูล และการพฒั นา งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. หลักการจดั การศึกษาตอเนอื่ ง เพ่อื ใหการดาํ เนนิ งานการจดั การศึกษาตอเน่ือง เปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ สํานักงาน กศน. จงึ ได กาํ หนดหลกั การในการจดั ไว ดงั น้ี 1. หลกั สูตรไดร ับการพัฒนาใหมีความสอดคลองกบั สภาพสังคมชมุ ชนและความตองการของ กลุม เปา หมาย (เปนหลกั สตู รทไี่ ดร บั อนุมัติโดยสถานศึกษา ผูอาํ นวยการสถานศกึ ษาเปน ผูอนมุ ัติ ผา นความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา และหรือเปนหลักสูตรที่หนว ยงานภาครฐั ไดอ นุมตั ิและอนญุ าตใหใชแ ลว) 2. สือ่ และแหลงคน ควา ตลอดจนวสั ดุ อปุ กรณ เครื่องมือ ตอ งไดรบั การพฒั นาใหมคี วาม สอดคลอ งกบั หลักสตู ร และกิจกรรมการเรียนรูของผเู รียน 3. วิทยากร ตองสรรหาวทิ ยากรทมี่ ีความรูความสามารถหรือมีความเชย่ี วชาญในสาขาท่จี ะสอ อยา งแทจ ริง และวทิ ยากรควรผา นการอบรมการเปนวทิ ยากรจากหนวยงานสถานศกึ ษาของ กศน. 4. การจัดการเรยี นรู จะตอ งจัดการศึกษาใหสอดคลองกบั ศักยภาพของผูเรียนและความพรอม ของผูเรยี น และสอดคลองกับความตอ งการและบรู ณาการวิธีการจดั การเรยี นรู 5. การจัดกระบวนการเรียนรู จะตองเนน ใหมกี ารจดั กระบวนการเรียนรทู ่ีหลากหลายและ สอดคลอ ง กับความตอ งการของกลมุ เปาหมาย 6. กลุมเปาหมายสามารถนําความรทู ี่ไดร ับจากการศึกษาไปใชใ นการประกอบอาชพี การพัฒนา อาชีพ พฒั นาคุณภาพชีวติ และสามารถอยใู นสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข การจดั การศึกษาตอ เนื่อง อาจจัดได ดังตอไปนี้ 1. จดั โดยสถานศกึ ษาในสงั กดั สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. จัดโดยสถานศกึ ษาในสังกดั สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมกบั ภาคีเครือขา ย 3. จดั โดยภาคเี ครือขาย ความหมาย การศึกษาตอเนอ่ื ง หมายความวา เปน การจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอก ระบบทเ่ี ปน หลักสูตรระยะส้ัน การศกึ ษาสายอาชีพ ชน้ั เรียน ทจี่ ัดตามความตอ งการของกลมุ เปาหมายท่ีมเี นื้อหา เกี่ยวกับอาชีพ ทกั ษะชีวิต การพฒั นาสงั คมและชุมชน การจดั กระบวนการเรยี นรูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ซึง่ นําไปสกู ารพฒั นาคุณภาพชีวิต อาชีพ เปน การศกึ ษาเพื่อพัฒนาความรคู วามสามารถและทักษะในการประกอบ อาชีพของบุคคล เพื่อใหบ ุคคลสามารถประกอบอาชพี หรือพัฒนาอาชีพของตนเองได โดยพจิ ารณาถงึ ความ ตอ งการในการเรียนของแตล ะบคุ คล ทักษะชีวิต เปน การศึกษาทใ่ี หความสาํ คญั กับการพัฒนาคนเพอื่ ใหมคี วามรู เจตคติ

25 และทักษะทจ่ี ําเปน สาํ หรบั การดํารงชีวิตในสงั คมปจ จุบนั เพื่อใหบ ุคคลสามารถเผชญิ สถานการณต าง ๆ ใน ชีวติ ประจําวันไดอยา งมีประสิทธภิ าพ และเตรยี มความพรอ มกับการปรบั ตัวในอนาคต เชน ความปลอดภยั ใน ชวี ิตและทรัพยสนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ มที่ดี เปนตน การพัฒนาสังคมและชมุ ชน เปนการศึกษาทีบ่ ูรณาการความรูและทักษะจากการศึกษาที่ผูเรียนมี อยหู รอื ไดรับจากการเขา รวมกจิ กรรมการศึกษานอกระบบ แลวนาํ ไปใชใหเปน ประโยชนต อ การพฒั นาสังคมและ ชมุ ชนโดยมรี ูปแบบการเรียนรูทห่ี ลากหลาย และใชชุมชนเปนฐานในการพัฒนาการเรยี นรูของคนในชมุ ชน เชน ประชาธปิ ไตย สิง่ แวดลอ ม วิสาหกจิ ชุมชน เปน ตน วิธีการจดั การเรียนรู วิธกี ารจดั การศึกษาตอเน่อื ง เปนการจัดประสบการณการเรียนรูจ ากวทิ ยากร ส่อื หรือการปฏิบัติ โดยวธิ ีการเรียนรทู ห่ี ลากหลาย ดงั นี้ 1. การเรยี นรูร ายบคุ คล เปนการเรยี นรขู องผูเ รยี นบคุ คลใดบุคคลหนึ่ง ทตี่ อ งการจะ เรยี นรใู นเนอื้ หาใด เน้ือหาหน่ึง ซึ่งเปนความสนใจเฉพาะตวั ตามหลกั สูตรการศึกษาตอเน่ืองในสถานศกึ ษาหรือ ภาคเี ครอื ขาย โดยผูเรียนและวิทยากรรวมกนั วางแผน และออกแบบการเรยี นรูท ี่ตอบสนองความตองการของ ผเู รียนแตละบคุ คล 2. การเรียนรูรายกลมุ เปนการเรยี นรูของผูเรยี นตั้งแคสองคนข้นึ ไป แตไมควรเกนิ สบิ หาคน ซึ่งมคี วามสนใจตรงกนั ตามหลักสตู รการศึกษาตอเนอ่ื ง 3. การเรียนรูจ ากแหลง เรียนรู เปนการจัดการเรียนรใู หผ ูเรียนในแหลงเรยี นรู เชน ศนู ยข ยายเพาะพนั ธปุ ลา ศนู ยสาธิตการทําไรนาสวนผสม ศูนยก ารเรียนรูเศรษฐกิจพอเพยี ง กลมุ ออมทรัพยเพ่ือ การผลิต องคการชมุ ชน กลุมวสิ าหกิจชุมชน เปนตน โดยมกี ารประสานความรวมมือกบั เครือขา ยแหลงเรียนรูใ น การจดั การศกึ ษาใหกับผูเรียน 4. การเรยี นรูในสถานประกอบการ เปนการจดั ใหผ เู รียนไดเรียนรใู นสถานประกอบการ เชน อูซอ ม รถยนต หา งสรรพสินคา หรือแหลง ประกอบการ SMEs ทม่ี ีสวนรวมหรือมวี ตั ถุประสงคในการจดั การศึกษา ตอเนอ่ื ง 5. การเรียนรูจากฐานการเรียนรู เปนการเรยี นรทู มี่ เี ปา หมายเฉพาะเจาะจง เชน ฐานการเรียนรเู กษตร ธรรมชาติ ฐานการเรยี นรูเศรษฐกจิ พอเพียง ฐานการเรยี นรูอนุรกั ษสง่ิ แวดลอม ฐานการเรยี นรสู ุขภาพอนามัย ฐานการเรียนรูคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ฐานการเรยี นรวู ัฒนธรรมไทย เปน ตน ซ่งึ เปน การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู ี่เนน ใหผเู รยี นไดเรียนรจู ากวิทยากร สถานการณจ รงิ หรือเรียนรูดว ยตนเอง 6. การศกึ ษาทางไกล เปนวิธกี ารจัดการศึกษาทเี่ ปดกวางในเรื่องของเวลา สถานที่ เนน การเรียนรดู ว ย ตนเองจากสื่อประสมท่หี ลากหลาย มีการจดั กิจกรรมเสรมิ ความรู ทักษะ ประสบการณ ที่จําเปน เหมาะสมกบั เนือ้ หา ตามหลักสูตร รวมทั้งมีการศึกษาคนควา เพมิ่ เตมิ หรือปฏบิ ตั ิการจากแหลงการเรยี นรตู าง ๆ เปนการ เรยี นรแู บบพึ่งพาตนเอง ผูเรียนจึงตองวางแผนและสรา งวนิ ัยในการเรยี นรูดวยตนเอง การสรรหาและแตงต้ังวิทยากร การสรรหาวิทยากร ใหสถานศกึ ษาสรรหาวทิ ยากรโดยพจิ ารณาจากคุณสมบัติดงั น้ี 1. เปน ผูทีม่ คี ณุ วฒุ หิ รอื เกยี รติบตั รรับรอง หรอื หลกั ฐานอนื่ ๆ ที่แสดงวาเปน ผูม คี วามรู ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวชิ าหรอื หลักสูตรน้ัน ๆ 2. เปน ผูมคี วามรู ความชาํ นาญ ประสบการณในการประกอบอาชีพสาขาวิชาหรือ หลกั สตู รนนั้ ๆ หรือ 3. เปนผูท มี่ ีความสามารถและประสบการณในการถายทอดความรใู หแ กผ ูเ รยี น

26 การแตงตง้ั วิทยากร ใหผ อู ํานวยการสถานศึกษาในสงั กดั สํานักงาน กศน. เปน ผอู นมุ ตั แิ ตงตั้ง โดยจัดทําเปน คําส่ัง ข้นั ตอนการดําเนนิ งาน 1. สถานศกึ ษาและภาคีเครือขา ยเตรยี มความพรอมในเรื่องหลักสตู ร วิทยากร สถานที่ วัสดอุ ปุ กรณท เ่ี อื้อตอ การจัดการศึกษา 2. ผูเรยี นสมัครและลงทะเบียนเรียนตอ สถานศกึ ษาหรอื ภาคเี ครอื ขาย 3. สถานศึกษาพจิ ารณาอนญุ าตและจดั สง ผูเรียนไดเ รยี นกับวทิ ยากรในแหลง การเรียนรู สถานประกอบการ ท่ีเหมาะสมตามหลักสูตร 4. วิทยากรประเมนิ พ้นื ฐานความรูข องผเู รยี นกอนจดั กระบวนการเรยี นรู 5. ผูเ รียนกบั วทิ ยากรรวมกนั จัดทําแผนการเรยี นรู 6. ดําเนินการจัดการเรยี นการสอน 7. วทิ ยากรประเมินผลการเรียนระหวา งเรยี นและหลงั จบหลักสูตร รวมท้ังประเมินความ พงึ พอใจของผูเรยี น การวดั ผลประเมนิ ผลและรายงานผลการเรียน การวัดผลประเมนิ ผลใหดําเนินการตามท่หี ลักสตู รกาํ หนด ดว ยวธิ กี ารหลากหลาย เชน 1. ประเมนิ ความรู ความสามารถ ทกั ษะ ดวยการซักถาม ทดสอบและปฏบิ ตั ิ 2. ประเมนิ ดานคุณธรรม ดวยแบบประเมนิ คณุ ธรรม 3. ประเมินชน้ิ งาน ดว ยผลงานที่ปฏบิ ตั ิ 4. ประเมินความพึงพอใจของผเู รียนดวยแบบสอบถาม การออกหลักฐานการศึกษาใหผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผลู งนามในหลักฐานการศึกษา ตามหลกั สตู ร กาํ หนด โดยระบชุ อื่ วิชา/กจิ กรรม ระยะเวลา ในกรณภี าคีเครือขายท่ีไมใ ชสถานศกึ ษาเปน ผูจ ดั ใหสง หลักฐานการจบการศกึ ษาใหกับผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอเปน ผอู อกวุฒิบตั ร แหลงเรียนรู/สถานประกอบการ แหลง เรยี นร/ู สถานประกอบการ ควรมลี ักษณะ ดงั น้ี 1. อยูในทําเลทต่ี ้ังท่ีผูเรยี นสามารถเดนิ ทางไดสะดวก ปลอดภัย 2. มีสงิ่ แวดลอมทเ่ี ออ้ื อาํ นวยตอการเรียนรู และฝก ปฏิบตั ิ 3. เปน แหลงการเรยี นรู/สถานประกอบการ ที่มกี ารดําเนินงานมั่นคง นา เชื่อถือเปน ท่ียอมรับในสงั คม 4. มคี วามพรอม มวี ทิ ยากร หรอื ผใู หความรูป ระจํา สามารถจัดการเรยี นรู หรอื จดั การ เรียนการสอนจนจบหลักสูตรหรือจบกระบวนการได รวมท้ังสามารถใหการฝกปฏิบตั ิแกผูเรยี นจน สามารถปฏิบัตใิ นเร่ืองน้นั ๆ ได 5. สามารถจดั บุคลากรเขา รว มประชุม อบรม พัฒนากับสถานศกึ ษาได 6. มีทศั นคติ เจตคตทิ ดี่ ตี อการถายทอดความรู ประสบการณใ หก บั ผูอื่น 7. สามารถดแู ล ใหคําปรึกษา แนะนาํ และรับผิดชอบผเู รยี นจนจบหลักสตู ร หลักเกณฑก ารจายเงนิ งบประมาณ 1. อาชพี ในแตละ กศน. ตาํ บล ใหเ ปด สอนอาชีพ 40 ช่ัวโมงขึ้นไป จํานวน 1 หอง ผูเ รียนไมน อยกวา 15 คน โดยใหเ บกิ คาใชจายดังน้ี 1.1 คาตอบแทน จา ยคาตอบแทนวิทยากรช่วั โมงละไมเกนิ 200 บาท ตาม จาํ นวนผูเ รียน 3 ระดับ ดงั นี้

27 (1) ผูเรียนท่ีมีตาํ่ กวา 6 คน ช่วั โมงละไมเ กิน 50 บาท (2) ผูเรียนท่ีมตี ัง้ แต 6 – 10 คน ชัว่ โมงละไมเกนิ 100 บาท (3) ผเู รียนท่ีมตี ง้ั แต 11 คนขึ้นไป ชั่วโมงละไมเกนิ 200 บาท 1.2 คา ใชสอย จายเปนคาเชา สถานท่ี เครื่องมืออุปกรณ และคา ใชจา ยในการ เดินทางไปราชการของวทิ ยากรทเ่ี ปน บคุ คลภายนอก (จา ยเปนคา พาหนะ และคาเชา ท่ีพัก ในอตั รา ตาํ่ สุด กรณีเปน ขาราชการบาํ นาญเบกิ จา ยตามยศ ตาํ แหนงครั้งสดุ ทา ย) 1.3 คาวัสดุ จา ยเปน คาวัสดฝุ ก เทาท่จี ายจริงตามความจําเปนและเหมาะสม ประหยดั และเพอื่ ประโยชนของทางราชการ ภายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ดรับจดั สรร หลกั สตู รละไมเ กิน 2000 บาทตอผเู รยี น 1 คน 1.4 คา สาธารณปู โภค จา ยใหแ กหนว ยงานภาครัฐหรือเอกชน จายไดเ ทาที่จา ยจริง ถัวจา ยจากวงเงนิ ที่ไดร ับในแตละหลักสูตร (ใชใ บเสรจ็ รับเงนิ หรือใบสําคญั รับเงิน) 3.1 ความหมายของหลักสูตรและการพฒั นาหลกั สูตร ความหมายของหลักสูตร ททททททททวิชยั วงษใ หญ (2525:2-3) กลา ววา หลักสูตร หมายถงึ ประสบการณทั้งหลายท่ี สถานศึกษาจัดใหแ กผ ูเรยี นเพ่ือใหเกิดการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง และหลักสูตรท่ดี ีนั้นตองเปน หลกั สตู รท่ตี อบสนองความตอ งการ ความสนใจของผูเรียน และสอดคลองกับความตองการของชีวิต ท่ี เหมาะสมที่สดุ ไดแ ก สภาพทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรมดานการศึกษา การ เปลย่ี นแปลงทางสงั คม สภาพแวดลอมทางจติ วทิ ยาทเ่ี อ้ืออาํ นวยตอการเรียนรู สภาพทางการเมอื งการ ปกครอง สภาพดา นขนบธรรมเนยี มประเพณีวฒั นธรรม คานยิ ม และคุณธรรม สํานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน (2549:2) กลาววา หลกั สตู รระยะส้ัน หมายถึงหลักสตู รท่ี สถานศึกษาจัดการศึกษาใหก ับผเู รยี นนอกเหนือจาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เพ่ือมุงพฒั นาคุณภาพชีวิต โดย ใหมคี วามยืดหยนุ เน้ือหา ระยะเวลาเรยี น และสถานท่ีตามความตอ งการของกลุมเปาหมายและชุมชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ สรปุ ไดว า หลักสูตรคอื ประสบการณท ี่ผูเรยี นไดรับ จะเปน ประสบการณใดๆ ก็ไดเม่ือผานเขา ไปใน การรับรูข องผเู รยี นแลว ทาํ ใหผ ูเรยี นเกิดการเรยี นรู และเกิดการพฒั นาตนเองใหมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดขี น้ึ ความหมายของการพฒั นาหลักสตู ร สาํ นกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรยี น (2547:17) กลาววา การพฒั นาหลักสูตรนนั้ สถาบันหรือ สถานศึกษาจะตองสํารวจศึกษาวิเคราะหความตองการของกลุม เปา หมายโดยตรง จงึ จะสามารถพัฒนา หลักสูตรไดสอดคลอ งกบั ความตองการของกลุมเปา หมาย บรรพต สวุ รรณประเสริฐ (2544:12) กลา ววา การพฒั นาหลักสตู รตางๆ ในสถานศกึ ษาใหมี ประสิทธภิ าพและเปนไปในทิศทางทีช่ าตติ องการ 3.2 ข้ันตอนในการพฒั นาหลกั สูตร Taba (อางถงึ ใน วิชัย วงษใ หญ ,2525:10) ไดก ลาวถงึ ขนั้ ตอนของการพฒั นาหลกั สูตรและการ สอนท่ีเต็มรูปแบบและสมบูรณไว 7 ประการ ดังนี้ 1. การศกึ ษาวเิ คราะหความตองการของผูเรยี น ของสงั คมและวฒั นธรรม 2. การกําหนดจดุ มุงหมาย 3. การเลือกเน้ือหาสาระ 4. การจดั รวบรวมพนิ จิ เน้ือหาสาระ 5. การเลือกประสบการณเ รยี น

28 6. การจัดประสบการณเรยี น 7. การประเมินผล เพ่ือตรวจสอบดูวา กจิ กรรมและประสบการณเรียนทีจ่ ัดขน้ึ น้นั ได บรรลุจุดมงุ หมายที่กาํ หนดไวหรือไม สาํ นกั บรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรียน (2549:5) กลาววาในการจัดทาํ หลักสูตร จะตองมอี งคป ระกอบอยางนอย 5 ข้นั ตอน คือ 1. สาํ รวจ / รวบรวมความตอ งการของกลุมเปาหมาย 2. วเิ คราะห / จดั ลําดับขอมลู ความตองการของกลมุ เปาหมาย 3. กําหนดหลกั สตู รระยะสน้ั 4. การอนุมตั หิ ลกั สูตร 5. คลงั หลักสูตรระยะส้นั ททททททททและตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (กรมการศึกษานอกโรงเรียน ม.ป.ป.:9) ยงั ไดกลา ว การศกึ ษานอกระบบเปนการศึกษาท่ีมคี วามยดื หยนุ ในการกาํ หนดจุดมงุ หมาย รปู แบบวิธีการจดั การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมนิ ผล ซึ่งเปนเงื่อนไขสาํ คัญของ การสาํ เรจ็ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสตู รจะตองมีความเหมาะสม สอดคลองกบั สภาพปญ หาและ ความตอ งการของบุคคลแตละกลุม ทททททททททสรปุ ไดวา การพัฒนาหลกั สูตรจะตองมีการสาํ รวจ ศึกษา วิเคราะหความตองการของ กลุม เปาหมายกอน แลวจึงนาํ ขอ มลู ทีส่ ํารวจ ศึกษา วิเคราะห มากาํ หนดทิศทางในการพัฒนาหลักสตู ร ใหต อบสนองความตองการความสนใจ ความถนัด และความแตกตางของกลุมเปา หมาย 3.3 หลกั สูตรระยะสั้น ททททททททหหมายถึง หลกั สูตรทสี่ ถานศึกษาจดั การศกึ ษาใหกบั ผูเรียนนอกเหนือจากการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวติ โดยใหมคี วามยดื หยนุ ดานเนอื้ หา ระยะเวลาเรียน และสถานท่ตี าม ความตองการของกลมุ เปา หมายและชุมชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ หมายถึงบุคคล ที่สถานศึกษาหรือหนว ยงานที่คัดเลือกใหทําหนา ทจ่ี ดั การศึกษาหลกั สูตรระยะส้นั ซงึ่ ไดรับความไวว างใจ จากสถานศึกษาใหเปน ผแู ทนในการถายทอดความรใู หก บั ผูเ รยี นโดยจะตอ งเปนผูท่ีมีความรทู กั ษะและ ประสบการณมคี วามเขา ใจในปรชั ญาการศกึ ษาผใู หญและจิตวทิ ยาการศึกษาผูใหญเปน ตน 3.4 วทิ ยากรผสู อน ททททททททวิทยากรหรือผสู อน จะตองโนมนาวและสามารถควบคมุ ผูเ รยี นในการดาํ เนินกิจกรรมการ เรยี นรใู หบ รรลุตามเปา หมาย โดยวิทยากร/ผสู อน จะตองมีศิลปะเทคนคิ ตา งๆ ทจี่ ะตองสรางทัศนคติที่ดี ใหแ กผ ูเ รยี น เพื่อมุงไปสคู วามรว มมือในการเรียนรู เพ่ือใหบรรลเุ ปา หมายของกิจกรรมน้นั พรอ มทง้ั จะตองใหค าํ ปรึกษาแกผ ูเรียนได และ วทิ ยากร/ผสู อน จะตองมีความรเู ชิงวชิ าการและทักษะในกิจกรรม ตา งๆ เปน อยางดี พรอมทจี่ ะรวมลงมือปฏิบตั ิ สาธิต และแกปญ หาใหก ับผูเรยี นไดอยางมีประสทิ ธิภาพ เพอื่ สรางความศรัทธาเชอ่ื มัน่ ใหก บั ผูเรยี น ททททททททวทิ ยากร หรือผสู อน จะตองดําเนนิ การ ดงั น้ี 1) ศกึ ษารายละเอยี ดและวตั ถุประสงคข องหลกั สูตรน้ันใหเขาใจ 2) จัดทําหรือเตรียมแผนการสอนของหลักสตู รระยะสั้น 3) คิดกจิ กรรมใหสอดคลองกับหลกั สตู รระยะส้ัน และเตรียมอปุ กรณ วัสดสุ อ่ื การ เรยี นการสอนที่เกี่ยวของ 4) จดั ทําบญั ชลี งเวลา 5) ดาํ เนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใหผเู รียน

29 6) ทาํ การวัดผล ประเมนิ ผล การเรยี นของผูเรียนแตล ะคน และรายวิชา 7) รับผดิ ชอบและควบคมุ ดูแลวัสดุอุปกรณใหใ ชอยา งคุมคาและประหยัด 8) เปน ผูใ หค ําแนะนํา และเปนท่ีปรกึ ษาเก่ียวกบั หลกั สูตรและการเรียนรูใหกับผเู รยี น 9) รายงานผล 10) จดั ทาํ อกสาร/หลักฐานการจบ 3.5 สถานศกึ ษา ททททททททหมายถงึ สถานศกึ ษาทสี่ งั กัดสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ หรือหนวยงานอนื่ ท่สี ถานศึกษาเหน็ ชอบใหจ ัดการศึกษาหลักสตู รระยะส้ันได สถานศึกษามบี ทบาท หนาที่ คือ 1) จดั การศึกษาหลักสตู รระยะส้ัน ดังนี้ ททท 1.1 สํารวจและสืบคน ขอ มลู ความตอ งการของกลมุ เปา หมายผรู ับการ อบรม โดยคํานึงถงึ ความแตกตางระหวา งบคุ คล 1.2 จัดหา/รวบรวมหลกั สตู รระยะสั้น หรือจดั ทํา/พัฒนาขึน้ ใหม จาก หลกั สตู รท่มี ีอยูแลวจากหนวยงานอ่ืนท้งั ภาครัฐและเอกชน โดยคาํ นึงถงึ รูปแบบ วิธกี าร และมาตรฐาน ทั้งน้ีใหเ ปน ไปตามคาํ สั่งและหลักเกณฑที่เกี่ยวของ 1.3 ออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ หบรรลุจดุ ประสงคของ หลกั สูตร 1.4 ฝก อบรมและพฒั นาและพฒั นาวทิ ยากรผูส อน ใหจ ัดการเรียนการ สอนได 1.5 กําหนดแผนงาน/โครงการ 1.6 ดาํ เนินกจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ 1.7 สงเสริมสนบั สนนุ หนวยงานอน่ื จัด 1.8 วดั ผลประเมนิ ผล สรุปรายงาน 1.9 ออกหลกั ฐานวุฒบิ ตั ร / ใบสําคัญการจบหลกั สตู ร 2) ผอู ํานวยการสถานศกึ ษา มีอาํ นาจหนา ที่ ททท2.1 อนมุ ตั หิ ลักสตู ร 2.2 แตง ตั้งคณะกรรมการการพิจารณาหลักสูตร 3.3 อนมุ ตั เิ กณฑการพจิ ารณาหลกั สูตร 2.4 อนุญาตใหจ ัดการศึกษาหลกั สตู รระยะสั้น 2.5 บริหาร ประสานงาน สถานศึกษา เครอื ขา ยอื่น 2.6 กํากับ ตรวจสอบ ติดตาม สนับสนนุ กจิ กรรม 2.7 จัดตั้ง ขยาย เปล่ียนแปลง ยุบ หยดุ ทาํ การสอนชวั่ คราว ช้นั เรยี น/กลมุ 3.6 ผเู รียน ททททททททหมายถึง ผทู ีส่ มัครเขารบั การศึกษา และไดข ้ึนทะเบียนเปน นักศึกษาของสถานศึกษา หรอื หนวยงานนนั้ โดยมพี น้ื ฐานความรู ประสบการณ และอายุของผเู รียนใหเปน ไปตามหลกั สูตรนัน้ ๆ กําหนด

30 4. อาชพี ชั้นเรียนและอาชีพระยะสน้ั การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เปนการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนใหผูเรียนมีความรู เจตคติ และมี ทักษะ ในอาชีพ ตามวัตถุประสงคของหลักสูตร ประกอบดวย ทักษะเก่ียวกับการปฏิบัติงาน การใชเทคโนโลยี สารสนเทศพื้นฐาน การคิดแกปญหา การส่ือสาร และทกั ษะเกีย่ วกับความปลอดภัยในอาชพี มีคุณลกั ษณะท่ี สําคัญในเรื่องความซ่ือสัตยสุจริต ความคิดเชิงบวก ความมุงม่ันในการทํางาน การทํางานรวมกับผูอ่ืน การรักษา สิ่งแวดลอม และการคํานึงถึงประโยชนสวนรวม มากกวาสวนตน การจัดกระบวนการเรียนรูเนนการปฏิบัติจริง และการเรยี นรูจากวทิ ยากรหรอื ผูรูท ี่ประกอบอาชพี นัน้ ๆ กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาตอเนื่อง จะเห็นวา การเตรียมความพรอมกอนดําเนินการจัด กิจกรรมการศึกษา ตอเน่ืองใหแกผูเรียน จะตองคํานึงถึงความตองการ ความจําเปน และความแตกตางของ ผูเรียนแตละคน สถานศึกษา จึงควรตองศึกษาขอมูลและดําเนินการตามกระบวนการ โดยฝกกระบวนการคิด วิเคราะหตนเองใหแกผูเรียน เพอื่ ใหผูเ รียน สามารถคนหาสภาพปญหาและความตองการที่แทจ ริงของตนเอง อัน จะนําไปสูการเลือกเรียนกิจกรรม กศน. ไดอยาง เหมาะสมเปนประโยชนตอตนเองมากที่สุด ในการฝก กระบวนการคิด วิเคราะหตนเอง เปนการบูรณาการ “หลักปรัชญา คิดเปน” และ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ในกระบวนการเลือกและการตดั สินใจของผเู รยี น ซ่ึงสามารถประมวลได เปน 2 ดาน คอื 1. ปญหาดานเศรษฐกจิ ผเู รยี นท่ีมีปญ หาดานเศรษฐกิจ สามารถทจ่ี ะหาทางชวยตนเองเปน เบ้ืองตน โดยการ จดั ทําบัญชีครวั เรือน เพื่อนําไปสูการจัดการชวี ิตดา นการลดรายจาย และการเพิม่ รายได 2. ปญหาท่วั ไปในชีวติ ประจําวนั ผเู รยี นสามารถนาํ ผลจากการวิเคราะหส ูกจิ กรรมการศึกษาที่ เหมาะสม กับผเู รียนแตล ะคน เปน รายบุคคล ซง่ึ สถานศึกษา กศน. จะไดจ ดั เปนกิจกรรมการศกึ ษาใน 2 รปู แบบ คอื 1. รปู แบบช้ันเรยี น เปน การจัดการศึกษาหลักสตู รทส่ี ถานศึกษาจดั ขึ้น เพ่ือมุงพัฒนาคุณภาพชีวิต และสงเสรมิ การเรยี นรูข องประชาชน โดยหลกั สตู รมคี วามยืดหยุน ดา นเนื้อหา สาระ ระยะเวลาเรียน และสถานที่ ตามความ ตองการและความจาํ เปน ของกลุมเปา หมาย หรือชมุ ชน หรอื นโยบายของทางราชการ 2. รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ เปน การจัดการศึกษาหลกั สตู รวชิ าชีพทส่ี ถานศึกษาจดั ข้ึน เพื่อมงุ พัฒนา ใหผูเรียน สามารถนาํ ความรูดงั กลา วไปประยุกตใชใ นการประกอบอาชพี และพัฒนาตอยอด อันจะนาํ ไปสูการพฒั นา คณุ ภาพชวี ิต แกป ญหาของผูเรียนไดอ ยางเปนรูปธรรม การพง่ึ พาตนเองอยางยัง่ ยืน และชุมชนเขม แข็งตอไป ตอไป การศกึ ษาตอ เนือ่ งรปู แบบชั้นเรยี นวชิ าชีพ ชางซอมเครื่องใชไ ฟฟา ภายในบา น การจดั การศกึ ษาอาชีพในปจ จุบันมคี วามสําคัญมาก เพราะจะเปนการพัฒนาประชากรของประเทศ ใหมคี วามรคู วามสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชพี เปนการแกป ญหาการวางงานและสง เสรมิ ความ เขม แข็งใหแกเศรษฐกจิ ซง่ึ กระทรวงศึกษาธิการไดก ําหนดยุทธศาตร ที่จะพฒั นา 5 ศักกยภาพของพื้นทใ่ี น 5 กลุม อาชีพใหม คือ กลุม อุตสาหกรรม กลุมพาณชิ กรรมกลมุ เกษตรกรรม กลุม ความคิดสรางสรรค กลมุ อํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ใหส ามารถแขงขันไดใน 5 ภมู ิภาคหลักของโลก “รูเขา รูเรา เทา ทัน เพื่อแขงขัน ไดใ นเวทีโลก” ตลอดจนกาํ หนดภารกิจทจ่ี ะยกระดับการจดั การศึกษาเพอ่ื เพ่ิมศกั ยภาพและขดี ความสามารถ ใหกับประชาชนไดมีอาชพี ทส่ี รางรายไดท ่ีม่นั คง โดยเนน การบรู ณาการใหสอดคลองกับศักยภาพดานตางๆ มงุ พัฒนาคนไทยใหไดรับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพและการมีงานทาํ อยางมคี ุณภาพทว่ั ถงึ และเทาเทยี มกนั ประชาชนมีรายไดมัน่ คง และมงี านทําทีย่ ่ังยนื มคี วามสามารถเชงิ การแขงนั ทงั้ ในระดับภูมภิ าคอาเซยี นและระดบั สากล ซ่งึ จะเปนการจดั การศึกษาตลอดชีวติ ในรูปแบบใหมท่ีสรา งความมนั่ คงใหแกประชาชนและประเทศชาติ

31 การเลอื กประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยุคปจจุบนั จาํ เปนตองมีขอ มลู พื้นฐานในหลกั สตู รใน หลายๆดานท้งั ดานการผลิตลความตองการของตลาดแรงงานในสาขาอาชพี ตางๆกลุม อาชีพหลักสตู ร ชางซอ ม เครอ่ื งใชไฟฟา ภายในบา น ก็เปน ทางเลอื กหน่งึ ในการเลอื กประกอบอาชีพ เพ่ือใหประชาชนผูท่ีสนใจในการฝก ปฏิบตั แิ ละนาํ ไปประกอบอาชีพสรา งรายไดมีความม่นั ใจในการนําความรูและทักษะไปประกอบอาชีพ การ กาํ หนดเนื้อหาและช่วั โมงการเรียนหลกั สูตรจะประกอบไปดว ยจาํ นวนชั่วโมงของเน้ือหาความรแู ละการปฏบิ ตั ิ เม่อื ผูเรียนๆจบหลกั สตู รแลวสามารถนาํ ความรูและทกั ษะไปประกอบอาชีพสรา งรายไดหรอื เปนรายไดเสรมิ อ่นื ที่ นอกเหนือจากการประกอบอาชพี ของตนเองมาสนบั สนุนครอบครัวเปนระบบกระบวนการพฒั นาความคิด สรา งสรรคป ระยุกตพฒั นางานตลอดจนนาํ ภูมิปญ ญาทอ งถิ่นแหลงเรยี นรูผูเก่ียวของมสี วนรวมจัดเน้อื หา ประสบการณใหเ กิดผลกับผเู รียนเปนคนดีมปี ญ ญามรี ายไดเ สรมิ แกค รอบครวั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ และความ เปนอยทู ีด่ ีขน้ึ รวมถงึ เพ่อื เปน การสนับสนนุ การรวมกลมุ กอใหเกิดรายไดในชุมชนเกดิ ความเขมแขง็ ตอไปซง่ึ เปน การศึกษาตอเนอ่ื งเพ่ือการพัฒนาย่งั ยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

บทท่ี 3 วธิ ดี ําเนนิ งาน โครงการฝก อาชพี และสง เสรมิ การเรียนรู วชิ าชา งซอ มเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบาน (หลกั สูตร 40 ชว่ั โมง) มีขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. สาํ รวจความตอ งการของกลมุ เปาหมาย 2. ดําเนนิ การจดั กจิ กรรมโครงการรวมกับกลุมประชาชนทว่ั ไปของตําบลกุฎโงง (โดยการอบรมใหความรูและฝกทกั ษะอาชพี ) 3. การวิเคราะหขอ มลู 1. สํารวจความตองการของกลมุ เปา หมาย กลมุ ภารกจิ การจดั การศึกษานอกโรงเรยี น มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลกุฎโงง อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี สาํ รวจความตอ งการของผเู รยี นของกลุมเปา หมายและแจง ใหก ลมุ เปาหมายฯ ทราบถงึ กําหนดการ จดั กจิ กรรม 2. ดาํ เนินการจดั กจิ กรรม โครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรยี นรู วชิ าชางซอมเคร่ืองใชไ ฟฟา ภายในบาน (หลักสตู ร 40 ชว่ั โมง) ระหวางวันที่ 27 มกราคม – 5 กมุ ภาพันธ 2563 จัดอบรมใหความรูและฝกทักษะอาชีพ ณ กศน.ตําบล กุฎโงง หมทู ่ี6 ตาํ บลกฎุ โงง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี มผี เู ขา รวมกิจกรรม 15 คน 3.เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอ มูล เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามความพึงพอใจตอการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน) รปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี กจิ กรรมวชิ าชา งซอมเครื่องใชไฟฟา ภายในบา น หลักสตู ร 40 ช่ัวโมง แบบสอบถามมี 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ถามขอมลู เก่ียวกบั ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 4 ขอ ใหทําเคร่ืองหมาย � ลงในชอง ใหต รงกบั สภาพจริง ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียน วชิ าชีพ กจิ กรรมวิชาชางซอมเครื่องใชไฟฟา ภายในบา น หลักสูตร 40 ชั่วโมง จํานวน 13 ขอ ซึ่งมีระดบั ความ พึงพอใจ 5 ระดบั ดังนี้ 5 มากท่สี ุด หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากท่ีสุด 4 มาก หมายถึง มีความพึงพอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถงึ มีความพงึ พอใจปานกลาง 2 นอย หมายถึง มีความพึงพอใจนอ ย 1 นอ ยท่ีสดุ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอยทีส่ ุด ตอนท่ี 3 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตอการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชพี กจิ กรรมวชิ าชา งซอ มเครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน หลักสตู ร 40 ช่ัวโมง 4. การเก็บรวบรวมขอมลู ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลหลังการเขารวมการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรยี นวชิ าชพี กจิ กรรมวิชาชางซอมเคร่อื งใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ช่วั โมง ระหวา งวันที่ 27 มกราคม - 5 กมุ ภาพันธ พ.ศ.2563 เกบ็ แบบสอบถามไดจาํ นวนท้งั ส้นิ 15 ฉบับ คดิ เปนรอ ยละ 100 5. การวเิ คราะหขอมลู

33 นําแบบสอบถามเพ่ือประเมินความพึงพอใจที่ดําเนินการสํารวจเรียบรอยแลว มาตรวจสอบความ สมบรู ณของขอมูล แลวนําไปวเิ คราะห ดงั น้ี 6.1 ตอนท่ี 1 ถามขอมลู เกี่ยวกับผตู อบแบบสอบถามจํานวน 4 ขอ วิเคราะหห าคาความถแ่ี ละคา รอย ละ 6.2 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน) รูปแบบชนั้ เรียน วิชาชีพ กิจกรรมวชิ าชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน หลกั สูตร 40 ช่ัวโมง นํามาวเิ คราะหโดยหาคาเฉลีย่ และ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน แลวนํามาแปลความหมายโดยเทียบกับเกณฑ และนําเสนอขอมูลในรูปตารางประกอบ ความเรียง เกณฑการประเมินคาเฉลี่ยของคะแนน แบงเปน 5 ระดับ ดังน้ี (ประคอง กรรณสูต, 2542 : 73) มากที่สดุ มคี า เฉลย่ี 4.50 – 5.00 มาก มคี าเฉลีย่ 3.50 – 4.49 ปานกลาง มคี า เฉล่ยี 2.50 – 3.49 นอ ย มคี า เฉล่ีย 1.50 – 2.49 นอยทส่ี ุด มีคาเฉลีย่ 1.00 – 1.49 6.3 ตอนที่ 3 ขอ คิดเห็นและขอเสนอแนะ ใชวิธวี ิเคราะหและนาํ มาประมวลใหเปนขอความโดย สรปุ

บทที่ 4 สรปุ ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหขอมูล ในการดําเนินการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ กิจกรรม วิชาชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ช่ัวโมง ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากผูเขารวม กจิ กรรมท่ีเขารบั การฝกปฏิบัตทิ ุกคน โดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอ การศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนย ฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชาชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน ซ่ึงเปนกลุมประชากร จาํ นวน 15 คน ขอ มูลสรุปได ดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ มูลเกย่ี วกับผูตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของผูเ ขารวมกจิ กรรมที่ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจตอการศกึ ษา ตอเนอ่ื ง (โครงการศนู ยฝกอาชพี ชุมชน) รูปแบบชัน้ เรียนวชิ าชีพ กิจกรรมวิชาชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ชว่ั โมง จาํ แนกตามเพศ เพศ จํานวน รอยละ ชาย 9 60.00 หญงิ 6 40.00 รวม 15 100.00 จากตารางท่ี 1 พบวา ผูเขารวมกจิ กรรม จาํ นวน 15 คน เปนเพศชาย จํานวน 9 คน คิดเปน รอยละ 60.00 และเพศหญิง จาํ นวน 6 คน คิดเปนรอยละ 40.00 ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของผูเขารวมกิจกรรมทตี่ อบแบบสอบถามความพึงพอใจตอการศึกษา ตอเนื่อง (โครงการศูนยฝก อาชพี ชุมชน) รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชพี กจิ กรรมวชิ าชา งซอมเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบา น หลกั สตู ร 40 ช่วั โมง จําแนกตามอายุ อายุ จํานวน รอยละ 15 – 25 ป 3 20.00 26 - 39 ป 3 20.00 40 - 59 ป 8 53.33 60 ปข ึ้นไป 1 6.67 รวม 15 100.00 จากตารางท่ี 2 พบวา ผเู ขารวมกิจกรรม จํานวน 15 คน สวนใหญมอี ายรุ ะหวาง 40 - 59 ป จาํ นวน 7 คน คิดเปนรอ ยละ 53.33 รองลงมาคืออายุระหวาง 15 – 25 ป จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 20.00 อายรุ ะหวา ง 26 - 39 ป จํานวน 3 คน คิดเปนรอ ยละ 20.00 และอายุ 60 ปข ้นึ ไป จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ 6.67

35 ตารางที่ 3 จาํ นวนและรอ ยละของผเู ขา รวมกจิ กรรมทตี่ อบแบบสอบถามความพึงพอใจตอการศึกษา ตอเน่ือง (โครงการศูนยฝก อาชีพชุมชน) รปู แบบช้ันเรียนวชิ าชีพ กจิ กรรมวชิ าชางซอมเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบาน หลกั สตู ร 40 ชัว่ โมง จาํ แนกตามระดบั การศึกษา ระดบั การศกึ ษา จาํ นวน รอยละ ตํา่ กวา ป.4 -- ป.4 1 6.67 ประถมศึกษา 4 26.67 มัธยมศกึ ษาตอนตน 4 26.67 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2 13.33 อนปุ ริญญา -- ปริญญาตรี 4 26.67 สูงกวาปรญิ ญาตรี -- รวม 15 100.00 จากตารางท่ี 3 พบวา ผูเขารว มกจิ กรรม จาํ นวน 15 คน สว นใหญม ีการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 4 คน คิดเปนรอ ยละ 26.67 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 4 คน คดิ เปนรอ ยละ 26.67 ระดบั ปรญิ ญาตรี จาํ นวน 4 คน คดิ เปน รอ ยละ 26.67 รองลงมา คือ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 2 คน คิด เปน รอยละ 13.33 และระดบั ป.4 จํานวน 1 คน คิดเปน รอยละ 6.67 ตามลาํ ดบั ตารางท่ี 4 จํานวนและรอยละของผูเ ขารวมกิจกรรมท่ตี อบแบบสอบถามความพึงพอใจตอการศึกษา ตอเน่ือง (โครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน) รปู แบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ กิจกรรมวชิ าชา งซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสตู ร 40 ชั่วโมง จาํ แนกตามการประกอบอาชพี ประกอบอาชีพ จํานวน รอ ยละ รับจา ง 12 80.00 คา ขาย - - เกษตรกร - - ลกู จาง/ขาราชการหนวยงานภาครฐั หรือเอกชน - - อน่ื ๆ 3 20.00 รวม 15 100.00 จากตารางท่ี 4 พบวา ผูเขารวมกิจกรรม จํานวน 15 คน สวนใหญประกอบอาชีพรับจาง จํานวน 12 คน คิดเปนรอ ยละ 80.00 รองลงมาคือ ประกอบอาชีพอ่นื ๆ จํานวน 3 คน คิดเปนรอ ยละ 20.00 ตามลําดบั

36 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอ การศึกษาตอเนือ่ ง (โครงการศนู ยฝกอาชพี ชมุ ชน) รูปแบบช้นั เรยี นวิชาชีพ กจิ กรรมวิชาชา งซอมเครื่องใชไฟฟา ภายในบาน หลกั สตู ร 40 ช่ัวโมง ตารางท่ี 5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนย ฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชาชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ช่ัวโมง ในภาพรวม รายการ คา เฉล่ยี สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั ดา นบรหิ ารจัดการ (µ) (σ) ความพึงพอใจ ดานการจดั กิจกรรมการเรียนรู 4.33 0.68 ดานประโยชนท ีไ่ ดรบั 4.37 0.55 มาก รวมทกุ ดา น 4.57 0.50 มาก 4.42 0.58 มากท่ีสดุ มาก จากตารางที่ 5 พบวา ผูตอบแบบสอบถามที่มีความพึงพอใจตอการศึกษาตอเน่ือง (โครงการศูนยฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ชั่วโมง ในภาพรวม อยูในระดับมาก (µ=4.42) เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานประโยชนท่ีไดรับ อยูในระดับ มากท่ีสุด มีคาเฉล่ยี (µ= 4.57) รองลงมาคือ ดา นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู อยูในระดับมาก มีคา เฉลย่ี (µ= 4.37) และดานบริหารจัดการ มีอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (µ= 4.33) ตามลําดับ โดยมีสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (σ) อยรู ะหวา ง 0.50 - 0.68 แสดงวา ผูเขา รวมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจสอดคลองกัน ตารางที่ 6 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเขารวมกจิ กรรมท่ีมคี วามพึงพอใจ ตอการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอม เครื่องใชไฟฟาภายในบา น หลกั สตู ร 40 ช่ัวโมง ดานบริหารจัดการ รายการ คา เฉลี่ย (µ) สว นเบีย่ งเบน ระดับ 1. อาคารสถานท่ี มาตรฐาน (σ) ความพึงพอใจ 2. สง่ิ อํานวยความสะดวก 3. กาํ หนดการและระยะเวลาในการดําเนินโครงการ 4.40 0.49 มาก 4. เอกสารการอบรม 4.33 0.70 มาก 5. วทิ ยากรผูใ หก ารอบรม 4.27 0.57 มาก 4.27 0.85 มาก รวม 4.40 0.71 มาก 4.33 0.68 มาก จากตารางท่ี 6 พบวา ผูตอบแบบสอบถามท่ีมีความพึงพอใจตอการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนย ฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี กิจกรรมวิชา ชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ชั่วโมง ดานบริหารจัดการ ในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (µ= 4.33) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา อาคาร สถานที่ มีคาเฉล่ีย (µ= 4.40) วิทยากรผูใหการอบรม มีคาเฉลี่ย (µ= 4.40) รองลงมา คือ สิ่งอํานวยความ สะดวก มีคาเฉล่ีย (µ= 4.33) กําหนดการและระยะเวลาในการดําเนินโครงการ มีคาเฉล่ีย (µ= 4.27) และ เอกสารการอบรม มีคาเฉล่ีย (µ= 4.27) ตามลําดับ โดยมีสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) อยูระหวาง 0.49 - 0.85 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั

37 ตารางท่ี 7 คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรมท่ีมีความพึง พอใจตอการศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน) รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอม เคร่อื งใชไ ฟฟา ภายในบาน หลักสตู ร 40 ชว่ั โมง ดานการจดั กจิ กรรมการเรียนรู รายการ คาเฉล่ีย (µ) สวนเบ่ียงเบน ระดบั มาตรฐาน (σ) ความพงึ พอใจ 6. การจัดฝกปฏบิ ตั อิ าชีพ วชิ า ชางซอม 4.47 0.50 มาก เครอื่ งใชไฟฟา ภายในบา น 7. การใหค วามรู เรอ่ื ง ชองทางการประกอบอาชีพ 4.53 0.50 มากที่สุด ทกั ษะการประกอบอาชีพ และการบรหิ ารจัดการใน การประกอบอาชพี ชา งซอ มเครื่องใชไ ฟฟาภายใน บา น 8. การตอบขอซักถามของวทิ ยากร 4.33 0.47 มาก 9. การแลกเปลย่ี นเรยี นรขู องผเู ขารบั การอบรม 4.40 0.49 มาก 10. การสรปุ องคความรูร ว มกัน 4.27 0.68 มาก 11. การวัดผล ประเมินผล การฝก อบรม 4.20 0.54 มาก รวม 4.37 0.55 มาก จากตารางที่ 7 พบวา ผตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจตอการศกึ ษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชาชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ชั่วโมง ดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉล่ีย (µ= 4.37 ) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา การใหค วามรู เรอื่ ง ชองทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ และการบรหิ ารจดั การในการ ประกอบอาชีพชา งซอ มเครอ่ื งใชไฟฟาภายในบาน อยูในระดับมากที่สดุ มคี าเฉลย่ี (µ= 4.53) รองลงมาคือ การ จัดฝกปฏิบัติอาชีพ วิชา ชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน มีคาเฉล่ีย (µ= 4.47) การแลกเปล่ียนเรียนรูของผู เขารับการอบรม มีคาเฉล่ีย (µ= 4.40 ) การตอบขอซักถามของวิทยากร มีคาเฉลี่ย (µ=4.33) การสรุปองค ความรูรว มกัน มีคาเฉล่ีย (µ=4.20) และการวัดผล ประเมินผล การฝกอบรม มีคาเฉล่ีย (µ=4.20) ตามลําดับ โดยมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) อยูระหวาง 0.47 - 0.68 แสดงวาผูตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็น สอดคลองกัน

38 ตารางที่ 8 คาเฉลีย่ และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู ขารวมกจิ กรรมท่ีมีความพึง พอใจตอ การศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝ กอาชพี ชุมชน) รปู แบบชนั้ เรยี นวชิ าชีพ กจิ กรรมวิชา ชา งซอ ม เครือ่ งใชไฟฟาภายในบาน หลักสตู ร 40 ชว่ั โมง ดานประโยชนท ีไ่ ดร ับ รายการ คา เฉลี่ย สวนเบยี่ งเบน ระดบั ความ (µ) มาตรฐาน (σ) พึงพอใจ 12. ไดเรียนรูแ ละฝกปฏิบตั เิ ก่ียวกับความรูเรอ่ื ง ชอง 4.53 0.50 มากท่ีสุด ทางการประกอบอาชพี ทกั ษะการประกอบอาชพี และ การบรหิ ารจดั การในการประกอบอาชีพชา งซอม 4.60 0.49 มากท่ีสดุ เครือ่ งใชไฟฟา ภายในบาน 4.57 0.50 มากท่ีสุด 13. ไดฝ กอาชีพ วชิ า ชางซอ มเครือ่ งใชไฟฟาภาย ในบาน รวม จากตารางที่ 8 พบวา ผตู อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจตอ การศึกษาตอเนื่อง (โครงการศนู ยฝก อาชีพชุมชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กิจกรรมวิชาชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน หลักสูตร 40 ช่ัวโมง ดานประโยชนท ไี่ ดรบั ในภาพรวมอยูในระดับมากทีส่ ุด มคี า เฉลีย่ (µ= 4.57) เมอื่ พิจารณาเปนรายขอ พบวา ได ฝกอาชีพ วิชาชางซอมเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน มีคาเฉล่ีย (µ= 4.60) รองลงมา คือ ไดเรียนรูและฝกปฏิบัติ เกี่ยวกับความรูเรื่อง ชองทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ และการบริหารจัดการในการ ประกอบอาชีพชางซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน มีคาเฉลี่ย (µ= 4.53) โดยมีสว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) อยู ระหวาง 0.49 - 0.50 แสดงวาผูตอบแบบสอบถามมีความคดิ เหน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน

บทที่ 5 สรปุ อภปิ ราย ขอเสนอแนะ การจัดกจิ กรรมโครงการฝกอาชีพและสงเสริมการเรยี นรู วชิ าชา งซอ มเครื่องใชไฟฟา ภายในบา น (หลกั สตู ร 40 ช่วั โมง) มีวัตถุประสงคเ พื่อไดรบั ความรูและฝกทักษะเกย่ี วกับชา งซอมเครื่องใชไฟฟา ภายในบาน และสามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชพี ไดจริงและเปนการเพ่มิ รายไดใหกบั ครอบครัว วิธีดําเนนิ การ กลมุ ภารกิจการจัดการศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายใหครู กศน.ตาํ บลกฎุ โงง สาํ รวจความตองการเรยี นรูข อง กลมุ เปาหมาย กลุมประชาชนทั่วไปในตาํ บลกุฎโงง และแจง ใหกลมุ เปาหมายฯ ทราบถึงกําหนดการจดั กจิ กรรม วชิ าชพี รูปแบบช้ันเรียน วิชาชา งซอมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน (หลักสูตร 40 ช่ัวโมง) เปน การอบรมใหความรู และฝก ทักษะอาชพี และปฏบิ ัติจรงิ ในหองเรยี น จดั ขนึ้ ในวนั ท่ี 27 มกราคม -5 กุมภาพนั ธ 2563 โดยเปนการจัด อบรมใหความรฝู กทักษะอาชีพ ณ กศน.ตําบลกุฎโงง หมูท่ี6 ตาํ บลกุฎโงง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี งบประมาณดําเนินการ โดย กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม มีผเู ขา รว มโครงการ จํานวน 15 คน สรุปผลการดําเนินงาน สรุปไดว า กลุม ประชาชนทัว่ ไปในตาํ บลกฎุ โงง เขา รวมโครงการฝก อาชพี และสงเสรมิ การเรยี นรู วชิ าชางซอ มเคร่ืองใชไ ฟฟา ภายในบาน (หลักสูตร 40 ชัว่ โมง) ที่จัดขึ้นในวนั ท่ี 27 มกราคม - 5 กมุ ภาพันธ 2563 โดยเปน การจดั อบรมใหค วามรูฝ กทักษะอาชีพ คอื ความรูความเขาใจเกี่ยวกบั การชางซอ มเครอ่ื งใชไฟฟา ภายในบาน ณ กศน.ตําบลกุฎโงง หมทู 6ี่ ตาํ บลกฎุ โงง อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ งี บประมาณดําเนินการ โดย กศน.อําเภอพนัสนิคม มีผเู ขา รว มโครงการ จํานวน 15 คน (รอยละ 100 ของเปา หมายโครงการ) โครงการ ฝกอาชพี อาชพี ชมุ ชนรูปแบบช้ันเรยี น วชิ าชางซอ มเคร่อื งใชไ ฟฟาภายในบาน (หลกั สูตร 40 ชั่วโมง) ผูเขา รวมมี ระดบั ความคิดเหน็ / ความพงึ พอใจ ตอโครงการ อยูในระดับ 4.57 “ดีมาก” อภิปรายผล การเขารว มโครงการในคร้ังนเ้ี ปนลักษณะ การฝก ปฏบิ ัติ จึงเกิดประโยชนต อประชาชนที่ไดรบั การฝก อาชีพ เล็งเหน็ ชองทางในการประกอบอาชีพ มีอาชีพ มรี ายไดและลดรายจาย สงผลใหมีคณุ ภาพคุณภาพชีวิตท่ี ดีขึน้ ขอเสนอแนะ ควรมกี ารจัดกิจกรรมการฝก อาชพี อยางตอเน่ือง

บรรณานุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) ประคอง กรรณสูต, 2542 : 73)



แบบสอบถามความพึงพอใจ การศึกษาตอเนื่อง (โครงการศูนยฝกอาชีพชมุ ชน) รปู แบบชั้นเรียนวชิ าชพี กิจกรรมวชิ า ชางซอ มเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบา น หลกั สูตร 40 ชวั่ โมง ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาํ บลกฎุ โงง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี คําชแี้ จง 1. แบบสอบถามฉบบั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค เพ่ือใชในการสอบถามความพงึ พอใจตอการศกึ ษาตอเนอื่ ง (โครงการศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชน) รปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี กิจกรรมวชิ าชางซอ มเครอ่ื งใชไฟฟา ภายในบาน หลักสูตร 40 ชัว่ โมง 2. แบบสอบถามมี 3 ตอนดงั น้ี ตอนท่ี 1 ถามขอมูลเกีย่ วกับผตู อบแบบสอบถามจํานวน 4 ขอ ใหทําเคร่ืองหมาย  ลงในชองใหตรงกับสภาพจริง ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอ การศกึ ษาตอ เน่อื ง (โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชน) รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชีพ กิจกรรมวิชา ชางซอมเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบาน หลักสตู ร 40 ชว่ั โมง จํานวน 13 ขอ ซง่ึ มรี ะดับความพึงพอใจ 5 ระดบั ดงั นี้ 5 มากทีส่ ุด หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ดุ 4 มาก หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถึง มคี วามพงึ พอใจปานกลาง 2 นอย หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ ย 1 นอ ยท่สี ดุ หมายถึง มีความพงึ พอใจนอยท่สี ดุ ตอนที่ 3 ขอคดิ เหน็ และขอเสนอแนะตอการศกึ ษาตอเนอ่ื ง (โครงการศูนยฝ กอาชีพชมุ ชน) รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ กจิ กรรมวิชาชา งซอมเคร่อื งใชไฟฟาภายในบาน หลกั สูตร 40 ช่ัวโมง ตอนที่ 1 ขอมลู ทั่วไปของผูต อบแบบสอบถาม หญิง 26 ป – 39 ป เพศ 60 ปข้ึนไป ชาย อายุ 15 ป – 25 ป 40 ป – 59 ป การศึกษา ต่ํากวา ป.4 ป.4 ประถม ม.ตน ม.ปลาย ประกอบอาชพี อนุปรญิ ญา ปรญิ ญาตรี สงู กวาปริญญาตรี รบั จา ง คาขาย เกษตรกร ลูกจาง/ขา ราชการหนวยงานภาครัฐหรอื เอกชน อ่นื ๆ ………………………………….

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกย่ี วกับการศกึ ษาตอเนอื่ ง (โครงการศูนยฝ ก อาชีพชมุ ชน) รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กจิ กรรมวิชา ชา งซอมเครอื่ งใชไ ฟฟาภายในบา น หลักสตู ร 40 ชว่ั โมง ระดับความคิดเหน็ ขอที่ รายการ 5 432 1 ดา นบรหิ ารจดั การ 1. อาคารและสถานท่ี 2. สง่ิ อํานวยความสะดวก 3. กาํ หนดการและระยะเวลาในการดาํ เนินโครงการ 4.. เอกสารการอบรม 5. วทิ ยากรผใู หการอบรม ดา นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู 6. การจัดฝกปฏบิ ัตอิ าชีพ วชิ า การแปรรูปอาหาร 7. การใหความรู เรื่อง ชองทางการประกอบอาชีพ ทกั ษะการ ประกอบอาชีพ และการบริหารจดั การในการประกอบอาชีพ ชา งซอ มเครือ่ งใชไฟฟา ภายในบาน 8. การตอบขอ ซักถามของวทิ ยากร 9. การแลกเปลย่ี นเรียนรขู องผเู ขารบั การอบรม 10. การสรุปองคค วามรรู วมกนั 11. การวดั ผล ประเมนิ ผล การฝกอบรม ดา นประโยชนทไ่ี ดรับ 12 ไดเ รียนรูแ ละฝกปฏิบัติเกย่ี วกับความรูเร่ือง ชองทางการ ประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ และการบริหาร จัดการในการประกอบอาชพี ชางซอมเครอื่ งใชไ ฟฟา ภายใน บา น 13 ไดฝ ก อาชพี วชิ า ชางซอ มเคร่ืองใชไ ฟฟาภายในบาน ตอนที่ 3 ขอ คิดเหน็ และขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น ............................................................................................................................................. ขอเสนอแนะ ...................................................................................................................................... ขอบขอบคุณที่ใหความรวมมอื กศน. อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี

รายงานผลการจัดกจิ กรรม วิชา..ชา งซอมเครื่องใชไฟฟา ภายในบา น...จาํ นวน..40..ชว่ั โมง ระหวางวันท่ี.27 มกราคม - 5 กมุ ภาพนั ธ 2563... ณ...กศน.ตาํ บลกฎุ โงง...หมูที่..6..ตาํ บล...กุฎโงง ..อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี.... วิทยากรคือ.....นายสวุ ิทย ใบใหญ. ......ผูเขา รวมกจิ กรรมจํานวน...........15.........คน นางณชั ธกัญ หมืน่ สา ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอพนสั นิคม และคณะ นเิ ทศกิจกรรมชา งซอ มเครอ่ื งใชไ ฟฟา ภายในบา น การซอมทีวี การซอมเตารดี /หมอหงุ ขาว มอบวุฒบิ ตั รกับผูจบหลักสตู ร โดย นายสรายทุ ธ เนียมละมูล รองนายกเทศมนตรตี าํ บลกฎุ โงง นายธีรพงศ เขียวหวาน ผรู ายงาน

ผจู ัดทาํ รายงาน ที่ปรกึ ษา ผูอํานวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม นางณัชธกญั หม่นื สา ครู นางสาวมุทกิ า การงานดี ผจู ัดทาํ รายงาน ครู กศน.ตาํ บลกฎุ โงง นายธีรพงศ เขียวหวาน