Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5 บทน้ำยาบ้วนปาก

5 บทน้ำยาบ้วนปาก

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-25 13:57:25

Description: 5 บทน้ำยาบ้วนปาก

Search

Read the Text Version

1 สรุปผลการจัดกจิ กรรม การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ วชิ า การทํานํ้ายาบวนปาก หลกั สตู ร 3 ชว่ั โมง ระหวางวันท่ี วันท่ี 24 กุมภาพันธ 63 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค ม.3ตําบลหนองปรือ อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี กศน.ตําบลหนองปรือ ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอพนัสนิคม สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั ชลบุรี

2 บทสรปุ ผบู ริหาร โครงการอบรมอาชีพระยะสั้นเพอ่ื การมงี านทํา หลักสูตร วิชาชพี รูปแบบกลุมสนใจ วิชา การทํานา้ํ ยาบวนปาก (หลักสูตร 3 ชั่วโมง ) จัดข้ึนในคร้ังนม้ี ีวัตถุประสงคเพ่อื พัฒนาการงานและอาชีพ โดยใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนางานและอาชีพระดับพื้นฐาน ระดับกึ่งฝม ือ และระดับฝม ือ ที่สอดคลอ งกับสภาพและความตองการของกลมุ เปาหมาย โดยมุงเนนใหผูเรียนสามารถนาความรูไปใชในการประกอบอาชีพ หรอื เพิม่ พูนรายได ท้ังน้ีใหมีการพัฒนาหลักสูตรและ วิธีการที่หลากหลายและทันสมยั สามารถใหบริการไดอยา งท่ัวถึง อีกท้ังมุงจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุก กลุมเปา หมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาที่มงุ เนนใหทุกลมุ เปา หมายมคี วามรูความสามารถในการจัดการชีวิตของตนเองให อยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสขุ รวมท้ังการใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยมกี ลมุ เปาหมาย คอื ประชาชนในตําบลหนองปรือ จาํ นวน 8 คน โดยจะใชกลุมเปาหมายท้ังหมดในการคํานวณโดยใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรูป คอมพิวเตอร (โปรแกรมตารางคาํ นวณ) เพ่ือสรุปผลการดําเนินงานในครั้งน้ี วิธีการดาํ เนินงาน โดยการสํารวจความตองการของประชาชนในพื้นที่ตาํ บลหนองปรอื และนําผลจากการสํารวจมา จัดทํากิจกรรมโครงการอบรมอาชีพระยะสั้นเพอ่ื การมงี านทํา หลักสูตร วิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ วชิ า การทาํ น้ํายาบว น ปาก จํานวน 8 คน ในวันที่ 24 กุมภาพันธ 2563 ณ อาคารอเนกประสงค หมู 3 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนคิ ม จ.ชลบรุ ี โดยมี นายวิชัย กา นบัว เปนวิทยากรใหความรู หลงั จากการจัดกิจกรรมโครงการแลวมกี ารแจกแจงแบบ ประเมินความพึงพอใจ สําหรับผูเขา รวมโครงการทั้งหมด จํานวน 8 ชุด แลวนําขอมูลท่ีไดมาคาํ นวณทางสถิติ หาคา รอยละ คา เฉลี่ย การแจกแจงความถี่ และคา เบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาํ เนินงาน จากการนาํ ขอมูลท่ีไดมาทําการคาํ นวณหาคาสถิติตางๆ สรุปวา ผูเขา รวมกิจกรรม มคี วามพึง พอใจอยูใน ระดับ 4.57 (ดีมาก)

3 คํานาํ ตามท่ี กศน.ตาํ บลหนองปรอื สงั กัดศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนคิ ม ได ดาํ เนินงานตามนโยบายของสํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ดวยการเห็นความสาํ คัญใน การจัดการศึกษาพัฒนาอาชพี เพอื่ การมงี านทําอยางยั่งยืน จึงไดจัดการฝกอาชีพระยะสั้นรูปแบบกลุมสนใจ วชิ าการทํา นา้ํ ยาบวนปาก ขึ้น เพื่อสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพไดและยังสรางมูลคา เพมิ่ ใหกับอาชีพในปจจุบัน ระหวา งวันท่ี 24 กมุ ภาพันธ 2563 ณ อาคารอเนกประสงค หมู 3 ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี โดยมี นายวิชัย กา นบัว เปนวิทยากรใหค วามรู เพอ่ื ใหไดขอมูลสําหรับเปนแนวทางในการพัฒนากิจกรรมดา นพัฒนาอาชีพใหดียงิ่ ขึ้นตอ ไป กศน.ตําบลหนองปรอื สังกัดศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอพนสั นิคม จึงไดจัดทําสรปุ ผลการจัดกิจกรรมการดาํ เนินงาน เพอื่ ใหประชาชนในตําบลหนองปรอื มีอาชีพเสริมที่สามารถสรา งรายไดใหกับครอบครัวเพิม่ ขึ้น กศน.ตําบลหนองปรือ กุมภาพันธ 2563

4 สารบญั หัวเร่ือง หนา คาํ นํา บทที่ 1 บทนํา 1- หลักการและเหตุผล 1 - วัตถุประสงค 1 - เปา หมาย 1 - วธิ ีดําเนินการ 2 - วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ 2 - แผนการใชจ ายงบประมาณ 2 - ผรู ับผิดชอบ 3 - เครือขาย 3 - โครงการท่ีเก่ียวของ 3 - ผลลัพธ 3 - ตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการ 3 - การติดตามและประเมินผลของโครงการ 3 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เก่ียวขอ ง 4 - ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน สาํ นักงาน กศน.ประจาํ ปงบประมาณ 2562 4 - แนวทาง/กลยุทธก ารดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตําบลหนองปรือ 10 - หลักการจัดการศึกษาตอเน่อื ง 17 - อาชีพช้ันเรียนและอาชพี ระยะสั้น 31 บทท่ี 3 วิธีดําเนินงาน 33 - สาํ รวจความตองการของกลมุ เปาหมาย 33 - ดําเนินการจัดกรรม 33 - การวิเคราะหขอมลู 33 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอ มลู 34 - ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามของผูเขา รวมกิจกรรมวิชาชีพ รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการทาํ น้ํายาบวนปาก ( 3 ชัว่ โมง) 34 - ตอนท่ี 2 ขอมูลเก่ียวกับความคิดเห็นของผูเขารับอบรมวิชาชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วิชาการทํานํ้ายา บวนปาก( 3 ช่ัวโมง) 36 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล ขอเสนอแนะ 38 - สรุปผลการดําเนินงาน 38 - อภิปรายผล 38 - ขอ เสนอแนะ 38 บรรณานุกรม ภาคผนวก

5 สารบัญตาราง หนา 34 หวั เร่ือง 34 ตารางที่ 1 ผูเขา รวมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ 34 ตารางท่ี 2 ผูเขา รวมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอายุ 35 ตารางท่ี 3 ผูเขารวมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอาชพี 35 ตารางที่ 4 ผูเขา รวมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามระดับการศึกษา 36 ตารางที่ 5 แสดงคารอยละเฉลี่ยความสําเร็จของตัวชี้วัด ผลผลิต ประชาชนทั่วไปตําบลหนองปรอื 37 ตารางที่ 6 ผลการประเมินการอบรมวชิ าชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการทํานํ้ายาบวนปาก ตารางท่ี 7 ผลการประเมินผูเขารวมกิจกรรมการอบรมรูปแบบกลุมสนใจวิชาการทํานํ้ายาบวนปาก

6 บทที่ 1 บทนาํ หลักการและเหตผุ ล ตามนโยบายของสํานกั งาน กศน.ที่มงุ เนนใหม ีการพัฒนาและจัดทําหลกั สูตรการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทําท่ี สอดคลอ งกับความตอ งการของผูเรียน ความตองการของตลาด และศกั ยภาพของพ้ืนท่ีโดยมีเปาหมายเพอื่ ใหการจัด การศึกษาอาชีพแนวใหม เปนการจัดการศึกษาที่สามารถสรางอาชพี หลักท่มี ั่นคงใหกับผูเรียนโดยสามารถสรา งรายไดไดจริง ทั้งในระหวางเรียนและสาํ เร็จการศึกษาไปแลว และสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพิ่มใหกับอาชพี เพื่อพัฒนาใหเปนผูประกอบการท่ีมคี วามสามารถเชิงการแขงขันอยา งย่งั ยืน จากการสํารวจความตองการของประชาชนตําบลหนองปรือ พบวาประชาชนสว นใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจา งทั่วไปคา ขาย ธรุ กิจสวนตัว แมบาน และเวลาวา งหลังจากการประกอบอาชีพ จึงมีการรว มกลุมกันเพ่อื เรียนรูวิชาชีพ ตา งๆเพ่ิมเติม โดยมคี วามคิดเห็นตรงกันท่ีจะเรียนวิชา การทาํ น้ํายาบวนปาก เพอ่ื ใหผูเรียนนาํ ไปใชในชีวิตประจาํ วันและ เปนแนวทางในการประกอบอาชีพเสริมสรา งรายได ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนคิ ม และ กศน.ตําบลหนองปรือ ไดเล็งเห็นความสาํ คัญของกระบวนการเรียนรูในชุมชนดา นการพัฒนาอาชีพ จงึ ไดจัดกิจกรรม สงเสรมิ ศูนยฝ กอาชีพชุมชน หลกั สูตรระยะส้ันรูปแบบกลมุ สนใจ วิชา การการทํานํ้ายาบวนปาก หลักสูตรละ 3 ช่ัวโมง สาํ หรับประชาชนตําบลหนองปรือขึ้น วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหผูเรียนมีความรู เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณในการการทํานํ้ายาบว นปาก 2. เพื่อใหผูเรียนมีทักษะในการการทาํ นํ้ายาบวนปากได 3. เพื่อใหผูเรียนสามารถนาํ ความรูไปปรับใชในชวี ิตประจาํ วันและการประกอบอาชีพได เปา หมาย เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรอื จาํ นวน 8 คน เชิงคณุ ภาพ - ผูเขารวมกิจกรรมสามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชีพและสรางรายไดไดจรงิ เพื่อเปนการเพม่ิ รายไดใหกับครอบครัว

72 วิธีดาํ เนนิ การ วัตถุประสงค กลุม เปา หมาย เปา หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 1. เพ่ือใหผูเรียนมี ประชาชนท่ัวไป 8 คน ดาํ เนินการ 24 1,400..- กิจกรรมหลัก ความรู เกี่ยวกับ ในตําบลหนอง อาคาร บาท 1.ดาํ เนินการขอรูปแบบ วัสดุ อุปกรณใน อเนกประสงค กุมภาพันธ กลุมสนใจ การการทํานํ้ายา ปรือ หมู 3 2563 2.ดําเนินงานและติดตอ บวนปาก ตําบลหนองปรือ ประสานงาน 2. เพื่อใหผูเรียนมี อาํ เภอพนสั นิคม 3.ดาํ เนินกิจกรรมตาม ทักษะในการการ จงั หวัดชลบรุ ี โครงการฝกทักษะอาชีพ ทาํ น้ํายาบวนปาก “การทาํ น้าํ ยาบวนปาก” ได 4.สรุปผลและรายงานผล 3. เพ่ือใหผูเรียน สามารถนาํ ความรู ไปปรับใชใน ชวี ิตประจําวันและ การประกอบอาชีพ ได วงเงินงบประมาณทง้ั โครงการ เงินงบประมาณดําเนินงาน การศึกษาตอเน่ือง (กิจกรรมสงเสริมศูนยฝกอาชีพชมุ ชน) รูปแบบกลมุ สนใจ จาํ นวน 1,400.- (หนึ่งพันส่รี อยบาทถว น-) จาํ นวนเงนิ กจิ กรรมการศึกษา ไตรมาส 1 รายละเอียดคาใชจายในการดาํ เนินงาน บาท สต. 1.การอบรมใหความรู 1,400.-บาท 1.คาวิทยากร จํานวน 3 ช่ัวโมงๆ ละ 200 บาท 600. - 2.การฝกทักษะ 2.คา วัสดุฝก ทักษะอาชพี 800. - รวมเปน เงนิ ท้ังสนิ้ 1,400 - หมายเหตุ ทั้งน้ขี อถัวจา ยตามจรงิ ทุกประการ แผนการใชจายงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการศูนยฝกอาชีพชุมชนรูปแบบกลมุ สนใจ - 1,400.- - - วชิ าการการการทําน้าํ ยาบวนปาก (จาํ นวน 3 ชัว่ โมง)

38 ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวสรุ ภา เชาวันดี หวั หนา กศน.ตําบลหนองปรือ เครอื ขา ย 1. องคการบริหารสวนตําบลหนองปรอื 2. สมาชกิ บทบาทสตรีตําบลหนองปรอื โครงการทีเ่ กีย่ วขอ ง โครงการจัดการศกึ ษาตอ เนื่องเพ่อื พัฒนาอาชีพ ผลลัพธ ผูเขา รวมกิจกรรมสามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชพี และสรางรายไดไดจริงเพื่อเปนการเพิม่ รายไดใหกับ ครอบครัว ตัวช้วี ดั ความสาํ เร็จของโครงการ ตัวช้วี ดั เชิงปริมาณ ผูเขารวมกิจกรรมไมนอยกวา รอยละ 80 ของเปาหมาย ตัวชีว้ ดั คณุ ภาพ ผูเขา รวมกิจกรรมไดรับความรูเก่ียวกับการการทาํ น้ํายาบว นปาก รอยละ 80 1. ผรู ับการฝกทักษะอาชีพไดรับความรูเก่ียวกับการการทําน้าํ ยาบวนปาก ไมนอยกวา รอ ยละ 80 2. หลังจากจบกิจกรรมการฝก ทักษะอาชีพ “การการทาํ นํ้ายาบวนปาก” ผูเขา รว มกิจกรรมไมนอ ยกวา รอยละ 80 สามารถนําไปประกอบอาชีพได การติดตามและประเมนิ ผลของโครงการ 1. รายงานผลการจัดกิจกรรม 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. การสังเกตผูเขารวมกิจกรรม

9 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานที่เกี่ยวของ ททททททททในการจัดทํารายงานคร้งั นี้ ไดทําการศึกษาคนควา เน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและรายงานที่เก่ียวของ ดงั ตอไปนี้ 1. ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน สํานกั งาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ 2563 ทททททททท2. แนวทาง/กลยุทธการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตําบลหนองปรือ 3. หลักการจัดการศึกษาตอเนื่อง 4. อาชพี รูปแบบกลุมสนใจ (ราง) นโยบายและจุดเนน การดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 วิสยั ทัศน คนไทยไดรับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชวี ิตอยางมคี ุณภาพ สามารถดํารงชีวิตที่เหมาะสม กับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเปนในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จัดและสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พฒั นา ทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทกุ ชว งวัย พรอ มรับการเปล่ียนแปลงบริบททางสงั คม และ สรา งสงั คมแหง การเรียนรูตลอดชีวิต 2 สง เสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขา ย ในการมีสวนรวมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย และการเรียนรูตลอดชวี ิต รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยก ารเรียนและแหลง การเรียนรอู ่ืน ใน รูปแบบตา ง ๆ 3. สงเสรมิ และพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใหเกิดประสิทธิภาพในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหกับประชาชนอยางท่ัวถึง 4. พฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผลในทุกรูปแบบให สอดคลอ งกับบริบทในปจจุบัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ เพอ่ื มุงจัดการศกึ ษาและการเรียนรูท่ีมคี ุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปาประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนทั่วไปไดรับโอกาสทางการศกึ ษาใน รปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอยาง เทาเทียมและท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตละ กลมุ เปา หมาย

510 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรา งเสรมิ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมือง อัน นาํ ไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขม แข็งใหชุมชน เพื่อพัฒนาไปสูความม่ันคงและยั่งยืนทางดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอม 3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรู และมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยกุ ตใชในชีวิตประจาํ วัน รวมท้ังแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางสรางสรรค 4. ประชาชนไดร ับการสรา งและสงเสริมใหม ีนิสัยรกั การอานเพือ่ การแสวงหาความรูดวยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครือขา ยทุกภาคสวน รวมจัด สงเสริม และสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรูข องชุมชน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการยกระดับคุณภาพใน การจัดการเรียนรแู ละเพ่ิมโอกาสการเรยี นรูใหกับประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ิต ที่ ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตรแ ละส่ิงแวดลอ ม รวมท้ังตาม ความตอ งการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการท่ีเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล 9. บคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพอ่ื เพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยางมีประสิทธิภาพ ตวั ช้ีวัด ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ 1. จาํ นวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาชั้นพื้นฐานท่ีไดรับการสนับสนุนคาใชจายตามสิทธิที่กาํ หนด ไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตาง ๆ ท่ีเขารวมกิจกรรมการเรียนรู/เขา รับบริการกิจกรรมการศกึ ษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่สอดคลองกับสภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอ ยละของกําลังแรงงานที่สําเร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนข้ึนไป 4. จํานวนภาคีเครือขายท่ีเขา มามีสวนรวมในการจัด/พัฒนา/สง เสรมิ การศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคกร หนวยงานท่ีมารวมจัด/พัฒนา/สง เสริมการศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นท่ีสงู และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี 5 จงั หวัด 11 อาํ เภอ ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยการเรียนชมุ ชนสงั กัดสํานักงาน กศน. 6. จํานวนผูรับบริการในพ้ืนที่เปา หมายไดรับการสงเสริมดานการรหู นังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต 7. จํานวนนักเรียนนักศึกษาท่ีไดรับบริการติวเขมเต็มความรู 8. จํานวนประชาชนที่ไดร ับการฝกอาชพี ระยะส้ัน สามารถสรา งอาชีพเพื่อสรางรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพ้ืนท่ี กศน.ภาค ไดร ับการพัฒนาศักยภาพดา นการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จาํ นวนประชาชนที่ไดรับการฝกอบรมภาษาตา งประเทศเพื่อการส่ือสารดานอาชีพ 11. จาํ นวนผูสูงอายุภาวะพง่ึ พิงในระบบ Long Term Care มผี ูดแู ลที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จํานวนประชาชนที่ผานการอบรมจากศูนยดิจิทัลชมุ ชน 13. จํานวนศูนยการเรียนชุมชน กศน. บนพ้ืนท่ีสงู ในพื้นที่ 5 จังหวัด ที่สง เสรมิ การพัฒนาทักษะการฟง พูด ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร รวมกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน.

611 14. จาํ นวนบคุ ลากร กศน. ตําบลท่ีสามารถจัดทําคลังความรูได 15. จาํ นวนบทความเพ่ือการเรยี นรูตลอดชีวิตในระดับตาํ บลในหัวขอตาง ๆ 16. จํานวนหลักสูตรและสื่อออนไลนที่ใหบริการกับประชาชน ทั้งการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศกึ ษาตอเนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทุกระดับ 2. รอ ยละของผูเรียนท่ีไดรับการสนับสนุนการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานเทียบกับคา เปาหมาย 3. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีลงทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กิจกรรมการศึกษาตอเนื่องเทียบกับ เปาหมาย 4. รอยละของผูผานการฝก อบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนาํ ความรูไปใชในการประกอบอาชพี หรือ พัฒนางานได 5. รอ ยละของผูเรียนในเขตพ้ืนที่จงั หวัดชายแดนภาคใตท่ีไดรับการพัฒนาศกั ยภาพ หรือทักษะดานอาชีพ สามารถ มงี านทําหรือนําไปประกอบอาชพี ได 6. รอ ยละของผูจบหลักสูตร/กจิ กรรมท่ีสามารถนําความรูความเขาใจไปใชไดตามจุดมงุ หมายของหลักสูตรกิจกรรม การศกึ ษาตอเนือ่ ง 7. รอ ยละของประชาชนท่ีไดรับบริการมคี วามพงึ พอใจตอ การบริการ/เขา รวมกิจกรรมการเรียนรกู ารศึกษาตาม อัธยาศัย 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีไดรับบริการ/ขารวมกิจกรรมที่มคี วามรูความเขา ใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจุดมงุ หมายของกิจกรรมท่ีกําหนด ของการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. รอ ยละของนักเรียน/นักศึกษาทม่ี ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาท่ีไดรับบริการติวเขม เต็มความรู เพิม่ สูงข้ึน 10. รอ ยละของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปา หมาย มีโอกาสมาเขารวมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรง ดว นเพอ่ื รวมขับเคล่ือนยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรดานความมันคง 1.1 พัฒนาและเสรมิ สรา งความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝง และสรางความตระหนักรถู ึง ความสาํ คัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรกั และความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาติไทย นอม นําและเผยแพรศาสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดําริตาง ๆ 1.2 เสรมิ สรางความรูความเขาใจท่ีถูกตอ ง และการมีสวนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ในบริบทของไทย มคี วามเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอุดมการณ 1.3 สงเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพอ่ื ปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม ท้ังยาเสพติด การคามนุษย ภัยจากไซเบอร ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม ฯลฯ

712 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสรา งเสริมโอกาสในการเขาถงึ บริการการศกึ ษา การพัฒนาทกั ษะ การ สรา งอาชีพ และการใชชีวิตในสงั คมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต และพื้นท่ีชายแดน อ่ืน ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขา ใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรับและเคารพใน ประเพณี วัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ และชาวตา งชาติที่มีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคมที่อยรู วมกัน 2 ยทุ ธศาสตรด านการสรา งความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงปรับหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดับทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเปนอาชพี ที่รองรับอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรวมมือในการพัฒนาและเสรมิ ทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุง เนนสรา งโอกาส ในการสรา งงาน สรา งรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตา ง ๆ ของประเทศสาํ หรับพ้ืนท่ีปกติใหพัฒนา อาชีพท่ีเนนการตอยอดศักยภาพและตามบริบทของพ้ืนท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาพื้นท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาใหกับประชาชนใหจบการศกึ ษาอยางนอย การศกึ ษาภาคบงั คับ สามารถนาํ คุณวุฒิที่ไดร ับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้ังพัฒนาทักษะในการประกอบอาชพี ตามความตองการของประชาชน สรา งอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบริบทของสังคมและชมุ ชน รวมทั้งรองรับการ พัฒนาเขตพ้ืนทรี่ ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง เสริมประชาชนเพ่ือตอยอดการผลิตและจําหนา ยสินคและผลิตภัณฑออนไลน 1) เรงจัดตัง้ ศูนยใหคาํ ปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพของสินคและผลิตภัณฑ การบรหิ ารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การสง ออก และสรา งชองทางจําหนาย) รวมทั้งสงเสริมการใชประโยชน จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑ 2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินคา และลิตภัณฑ กศน. ในแตละจังหวัด พรอมท้ังประสานความรวมมอื กับสถานี บรกิ ารน้ํามันในการเปนซองทางการจําหนายสุดยอดสินคา และผลิตภัณฑ กศน.ใหกวา งขวางยิ่งข้ึน 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย 3.1 พฒั นาครแู ละบุคลากรที่เกยี่ วขอ งกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผูเชื่อมโยงความรกู ับ ผูเรียนและผรู ับบริการ มีความเปน \"ครมู ืออาชีพ\" มจี ิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและเปน \"ผูอ าํ นวยการการเรียนรู\" ที่สามารถบริหารจัดการความรู กิจกรรม และการเรียนรูท่ีดี 1) เพ่ิมอัตราขา ราชการครูใหกับ กศน. อําเภอทุกแหง โดยเรง ดาํ เนินการเรื่องการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตงตัง้ ขาราชการครู 2) พัฒนาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรที่เช่ือมโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตําบลใหสามารถปฏิบัตงิ านไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนเร่อื งการพัฒนาทักษะการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู 4) พัฒนาศึกษานิเทศก ใหสามารถปฏิบัตกิ ารนิเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทใหมีทักษะความรเู ร่ืองการใชประโยชนจากดิจิทัลและ ภาษาตางประเทศที่จําเปน 3.2 พฒั นาแหลง เรียนรูใหม ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มท่ีเอื้อตอการเรียนรู มคี วามพรอ มในการใหบรกิ าร กจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู เปนแหลง สารสนเทศสาธารณะทง่ี ยตอการเขาถึง มีบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู เปน

813 คาเพพ้ืนท่ีการเรียนรสู ําหรับคนทุกชวงวัย มีสิง่ อํานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยสาํ หรับผูใชบริการ 1) เรงยกระดับ กศน.ตําบลนํารอ ง 928 แหง (อําเภอละ 1 แหง ) ใหเปน กศน.ตาํ บล 5 ดี พรีเมี่ยม ที่ประกอบดวย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพ้ืนที่) กิจกรรมดี เครือขา ยดี และมีนวัตกรรมการเรียนรูท่ีดีมีประโยชน 2) จัดใหมีศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. เพอ่ื ยกระดับการเรียนรู ใน 6 ภูมิภาค เปนพ้ืนที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ท่ีทันสมัยสาํ หรับทุกคน มีความพรอมในการใหบริการตา ง ๆ อาทิ พื้นที่สําหรับการทํางาน/การ เรียนรู พ้ืนที่สําหรับกิจกรรมตาง ๆ มีหองประชุมขนาดเล็ก รวมท้งั ทํางานรวมกับหอ งสมุดประชาชนในการใหบริการใน รูปแบบหองสมุดดิจิทัล บริการอินเทอรเน็ต ส่ือมัลติมีเดีย เพอื่ รองรับการเรยี นรูแบบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมุดประชชน \"เฉลิมราชกุมารี\" ใหเปน Digital Library โดยใหมีบริการหนังสือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตความเรว็ สงู รวมทั้ง Free Wifi เพื่อการสืบคนขอมูล 3.3 สง เสริมการจัดการเรียนรูที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรูส ําหรับทุกคน สามารถ เรียนไดทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพ การเรียนรูข องประชาชน รวมท้ังใชประโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือเชื่อมโยง ความสัมพันธของคนในชุมชนไปสูการจัดการความรูของชมุ ชนอยา งยง่ั ยืน 1) สง เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสว นรวม และการมจี ิตอาสา ผา นกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพอื่ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหก ับบุคลากรในองคกร 2) จัดใหมีหลักสูตรลกู เสือมัคคเุ ทศก โดยใหสํานักงาน กศน.จงั หวัดทุกแหปกทม. จัดตั้งกองลูกเสือ ที่ลูกเสือมีความพรอ มดานทักษะภาษาตางประเทศ เปนลกู เสือมคั คุเทศกจังหวัดละ 1 กอง เพือ่ สงเสรมิ ลูกเสอื จิตอาสา พัฒนาการทองเที่ยวในแตละจงั หวัด 3.4 เสรมิ สรา งความรว มมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สง เสริมความรว มมือภาคีเครือขาย ท้งั ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสว นทองถิ่น รวมทั้งสง เสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชมุ ชนเพอ่ื สรา งความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการสง เสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมีคุณภาพ 1) เรงจัดทําทําเนียบภูมิปญญาทองถิ่นในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถ่ินในการสรา งการเรียนรู จากองคความรูในตัวบุคคลใหเกิดการถายทอดภมู ิปญญา สรา งคุณคาทางวัฒนธรรมอยางย่ังยืน 2) สง เสริมภูมิปญญาทองถิ่นสูการจัดการเรียนรูชมุ ชน 3) ประสานความรว มมอื กับภาคีเครือขา ยเพือ่ การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเขา ถงึ กลมุ เปาหมายทุกกลุมอยา งกวางขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลมุ ผูสูงอายุ กลุม อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาและกลมุ เปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาทักษะ ชีวิตและทักษะอาชีพ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทง้ั การพัฒนาชองทางการคา ออนไลน 2) สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู 3) สงเสริมใหมีการใชก ารวิจัยอยา งงายเพ่ือสรางนวัตกรรมใหม 3.6 พฒั นาศกั ยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนา รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน 2) สง เสริมการจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพอ่ื ใหประชาชนมีทักษะความเขา ใจและ

914 ใชเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีสามารถนาํ ไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน รวมท้ังสรา งรายไดใหกับตนเองได 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตา ง ๆ อยา งเปนรูปธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ทั้งในภาคธรุ กิจ การบริการ และการทองเที่ยว รวมท้ัง พัฒนาสื่อการเรียนการสอนเพ่ือสง เสริมการใชภาษาเพือ่ การสื่อสารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอ มการเขาสูสงั คมผูสูงอายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพื่อสรางความตระหนักถึงการเตรียมพรอมเขาสู สังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมทั้งเรียนรแู ละมสี วนรว มในการดูแล รบั ผิดชอบผูสูงอายุในครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสาํ หรับประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขาสูวัยสงู อายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับผูสงู อายภุ ายใตแนวคิด \"Active Aging\" การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทงั้ สุขภาพกายและสุขภาพจิต และรูจักใชประโยชนจากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักดิ์ศรขี องผูสูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภูมิปญญา ของผูสูงอายุ และใหมีสวนรวมในกิจกรรมดา นตาง ๆ ในชุมชน เชน ดา นอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพื่อรองรบั สงั คมผูสูงอายุ โดยบรู ณาการความรวมมือกับหนวยงานที่เก่ียวของ ในทุกระดับ 3.9 การสงเสริมวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตรเชิงรุก และเนนใหความรูวิทยาศาสตรอยา งงา ยกับประชาชนในชมุ ชน ท้ังวิทยาศาสตรในวิถีชีวิต และวิทยาศาสตรในชีวิตประจําวัน 2) พัฒนาส่ือนิทรรศการเละรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรใหมีความทันสมัย 3.10 สง เสรมิ การรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนที่สูง ใหสามารถฟง พูด อา น และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชชีวิตประจาํ วันได 4 ยทุ ธศาสตรต น การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตงั้ ศูนยก ารเรียนรูสาํ หรับทุกชวงวัย ท่ีเปนศูนยการเรียนรูตลอดชีวิตที่สามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดทุกคน ทุกชวงวัย ท่ีมีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตละวัย และเปนศูนยบริการความรู ศูนยก ารจัดกิจกรรมท่คี รอบคลุมทุกชวงวัย เพอื่ ใหมีพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสม และมคี วามสุขกับการเรียนรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกับสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือจัดทาํ ฐานขอมูลโรงเรียนที่ถูกยุบรวม หรอื คาดวา นาจะถกู ยุบรวม 2) ใหสํานกั งาน กศน.จงั หวัดทุกแหง ท่ีอยูในจังหวัดที่มีโรงเรียนท่ีถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ ื้นที่เพื่อจัดตั้งศูนยการ เรียนรูสําหรับทุกชวงวัย กศน. 4.2 สง เสริมและสนับสนุนการจัดการศกึ ษาและการเรียนรูสําหรับกลุมเปาหมายผูพิการ 1) จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเนน รูปแบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง /กทม. ทาํ ความรวมมือกับศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัด ในการใช สถานที่ วัสดุอุปกรณ และครุภัณฑดานการศกึ ษา เพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรูสาํ หรับกลุมเปาหมายผู พิการ

1105 4.3 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปา หมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุมเปา หมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศกึ ษาใหจบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน สามารถนาํ ความรูที่ไดร ับไปพัฒนาตนเองไดอยางตอเนอ่ื ง 4.4 พฒั นาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชพี ระะสั้น ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผูร ับบริการ 5. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ปน มิตรตอ ส่ิงแวดลอ ม 5.1 สง เสรมิ ใหมกี ารใหความรูกับประชาชนในการรบั มือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่ีเก่ียวของกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถงึ ความสําคัญของการสรางสงั คมสีเขียว สง เสรมิ ความรูใหกับประชาชนเก่ียวกับการคัด แยกตัง้ แตตนทาง การกําจัดขยะ และการนํากลับมาใชช้าํ เพื่อลดปรมิ าณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนําขยะกลับมาใชประโยชนไดโดยงาย รวมทั้งการจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สง เสรมิ ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพ ลงั งานที่เปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม รวมท้ังลดการใชทรพั ยากรที่สง ผล กระทบตอสิง่ แวดลอม เชน รณรงคเรื่องการลดการใชถ ุงพลาสตกิ การประหยัดไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรด านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบหารบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัตริ าชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริต บริหารจัดการบน ขอ มูลและหลักฐานเชิงประจักษ มงุ ผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานที่เปนดิจิทัลมาใชในการบริหารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กับระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ พรอมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลนที่สามารถเช่อื มโยงขอ มูลตา ง ๆ ที่ทํา ใหการบริหารจัดการเปนไปอยางตอเนื่องกันตั้งแตตนจนจบกระบวนการและใหประชาชนกลุมเปาหมายสามารถเขา ถึง บรกิ ารไดอยา งทันที ทุกท่ีและทุกเวลา 6.3 สง เสรมิ การพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับอยา งตอเนื่อง ใหมีความรแู ละทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับ สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบคุ ลากร 2. แนวทาง/กลยุทธการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาํ บลหนอง ปรอื สงั กัด กศน.อาํ เภอพนัสนิคม วิสัยทัศน “กศน.อําเภอพนัสนิคม จดั และสงเสรมิ สนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก ับประชาชน กลมุ เปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยางมีคุณภาพดวยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง” พันธกิจ 1. ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรูใหสอดคลองกับหลักสูตร 2. จัดระบบสารสนเทศเพ่ือการเรียนรแู ละการบริหารการศึกษา 3. พัฒนาบุคลากรดา นการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/สอ่ื /การประเมินผล 4. สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรว มของภาคีเครอื ขา ยและชุมชนในการจัดกิจกรรมการศกึ ษา

1116 เปา ประสงค ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน การศกึ ษาตอเนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอยางเทาเทียม และท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตละ กลมุ เปา หมาย 1. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลกู ฝง คุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมือง อัน นําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรา งความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสูความมั่นคงและย่งั ยืนทางดาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอม 2. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรียนรู และมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รวมทง้ั แกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางสรางสรรค 3. ประชาชนไดรับการสรางและสง เสริมใหมีนิสัยรกั การอานเพ่อื การแสวงหาความรูดวยตนเอง 4. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รวมจัด สง เสรมิ และสนับสนุนการดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรูของชุมชน 5. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชในการยกระดับคุณภาพใน การจัดการเรียนรูแ ละเพิ่มโอกาสการเรยี นรูใหกับประชาชน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรู เพ่ือแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตรแ ละส่ิงแวดลอ ม รวมท้ังตาม ความตองการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบที่หลากหลาย 7. หนวยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการที่เปนไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา งมีประสิทธิภาพ ตวั ชว้ี ดั ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาชั้นพื้นฐานท่ีไดรับการสนับสนุนคา ใชจา ยตามสิทธิที่กาํ หนด ไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปา หมายตาง ๆ ที่เขารว มกิจกรรมการเรียนรู/เขา รับบริการกิจกรรมการศึกษาตอ เน่ือง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยท่ีสอดคลอ งกับสภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอยละของกําลงั แรงงานที่สําเร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนข้ึนไป 4. จาํ นวนภาคีเครือขา ยท่ีเขา มามีสวนรวมในการจัด/พัฒนา/สง เสรมิ การศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคก ร หนวยงานที่มารวมจัด/พัฒนา/สง เสริมการศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด 11 อําเภอ ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยการเรียนชุมชนสังกัดสํานกั งาน กศน. 6. จํานวนผูรับบริการในพ้ืนที่เปา หมายไดร ับการสง เสริมดา นการรูหนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต 7. จาํ นวนนักเรียนนักศกึ ษาท่ีไดรับบรกิ ารติวเขมเตม็ ความรู 8. จํานวนประชาชนที่ไดรับการฝก อาชีพระยะสั้น สามารถสรางอาชีพเพอื่ สรา งรายได

1217 9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพ้ืนท่ี กศน.ภาค ไดร ับการพัฒนาศักยภาพดานการจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 10. จาํ นวนประชาชนที่ไดรับการฝกอบรมภาษาตางประเทศเพ่ือการสื่อสารดา นอาชีพ 11. จํานวนผูสงู อายุภาวะพงึ่ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผูดูแลที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จาํ นวนประชาชนที่ผานการอบรมจากศูนยดิจิทัลชมุ ชน 13. จาํ นวนศูนยการเรียนชุมชน กศน. บนพ้ืนท่ีสูง ในพ้ืนที่ 5 จงั หวัด ท่ีสงเสริมการพัฒนาทักษะการฟง พูด ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร รวมกนั ในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จาํ นวนบคุ ลากร กศน. ตําบลที่สามารถจัดทําคลงั ความรูได 15. จาํ นวนบทความเพ่ือการเรยี นรูตลอดชีวิตในระดับตําบลในหัวขอตาง ๆ 16. จํานวนหลักสูตรและส่ือออนไลนที่ใหบริการกับประชาชน ทั้งการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั ช้วี ัดเชิงคณุ ภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทุกระดับ 2. รอ ยละของผูเรียนท่ีไดรับการสนับสนุนการจัดการศึกษาขน้ั พื้นฐานเทียบกับคา เปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศกึ ษาตอ เนื่องเทียบกับ เปา หมาย 4. รอ ยละของผูผ านการฝกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชีพหรือ พัฒนางานได 5. รอ ยละของผูเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตที่ไดร ับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดา นอาชีพ สามารถ มงี านทาํ หรือนําไปประกอบอาชพี ได 6. รอยละของผูจบหลักสูตร/กิจกรรมท่ีสามารถนําความรคู วามเขาใจไปใชไดตามจุดมงุ หมายของหลักสูตรกิจกรรม การศึกษาตอเน่อื ง 7. รอ ยละของประชาชนท่ีไดรับบริการมคี วามพึงพอใจตอการบริการ/เขารวมกิจกรรมการเรียนรกู ารศกึ ษาตาม อธั ยาศัย 8. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ไดรับบริการ/ขารวมกิจกรรมที่มคี วามรูค วามเขาใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจุดมุงหมายของกิจกรรมท่ีกําหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. รอ ยละของนักเรียน/นักศึกษาที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาที่ไดรับบรกิ ารติวเขมเต็มความรูเพิ่มสงู ข้ึน 10. รอยละของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปา หมาย มีโอกาสมาเขารว มกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรงดว นเพอื่ รวมขับเคล่อื นยุทธศาสตรการพฒั นาประเทศ 1.ยทุ ธศาสตรด านความม่นั คง 1.1 พฒั นาและเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรา งความตระหนักรูถ งึ ความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรักและความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาติไทย นอม นาํ และเผยแพรศ าสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริตา ง ๆ

1318 1.2 เสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจท่ีถูกตอง และการมีสวนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ในบริบทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอุดมการณ 1.3 สง เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษาเพือ่ ปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม ทั้งยา เสพติด การคา มนุษย ภัยจากไซเบอร ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม ฯลฯ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสรางเสริมโอกาสในการเขาถึงบริการการศกึ ษา การพัฒนาทกั ษะ การ สรางอาชีพ และการใชชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต และพื้นที่ชายแดน อ่ืน ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขา ใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานยอมรับและเคารพใน ประเพณี วัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ และชาวตางชาติที่มีความหลากหลาย ในลักษณะพหสุ ังคมที่อยูร วมกัน 2 ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งความสามารถในการแขง ขัน 2.1 เรงปรับหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชพี กศน. เพ่ือยกระดับทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเปนอาชพี ที่รองรับอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรวมมือในการพัฒนาและเสรมิ ทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมงุ เนนสรางโอกาส ในการสรา งงาน สรา งรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพิเศษตามภูมภิ าคตาง ๆ ของประเทศ สําหรับพื้นที่ปกติใหพัฒนาอาชพี ท่ีเนนการตอยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นที่ 2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศกึ ษาใหกับประชาชนใหจบการศึกษาอยา งนอย การศึกษาภาคบงั คับ สามารถนาํ คุณวุฒิที่ไดร ับไปตอยอดในการประกอบอาชพี รวมทั้งพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ ตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบริบทของสังคมและชมุ ชน รวมทง้ั รองรับการ พัฒนาเขตพ้ืนที่ระเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง เสริมประชาชนเพ่ือตอยอดการผลิตและจาํ หนายสินคและผลิตภัณฑออนไลน 1) เรงจัดตั้งศูนยใหคาํ ปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพื่อยกระดับคุณภาพของสินคแ ละผลิตภัณฑ การบริหารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรา งชองทางจําหนา ย) รวมทั้งสงเสริมการใชประโยชน จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑ 2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินคา และลิตภัณฑ กศน. ในแตละจังหวัด พรอ มทง้ั ประสานความรวมมือกับสถานี บรกิ ารนาํ้ มันในการเปนซองทางการจาํ หนา ยสุดยอดสินคาและผลิตภัณฑ กศน.ใหกวางขวางย่ิงข้ึน 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 พัฒนาครูและบคุ ลากรที่เก่ียวขอ งกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผูเชื่อมโยงความรูก ับ ผูเรียนและผูรับบริการ มคี วามเปน \"ครูมอื อาชพี \" มจี ิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและเปน \"ผอู าํ นวยการการเรียนรู\" ท่ีสามารถบริหารจัดการความรู กิจกรรม และการเรียนรูที่ดี 1) เพิม่ อัตราขา ราชการครูใหกับ กศน. อาํ เภอทุกแหง โดยเรงดาํ เนินการเรื่องการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตงตงั้ ขา ราชการครู 2) พัฒนาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรที่เช่ือมโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาํ บลใหสามารถปฏิบัตงิ านไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนเร่อื งการพัฒนาทักษะการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู 4) พัฒนาศึกษานิเทศก ใหสามารถปฏิบัติการนิเทศไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

1419 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทใหมีทักษะความรเู ร่ืองการใชประโยชนจากดิจิทัลและ ภาษาตางประเทศที่จําเปน 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรูใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอ การเรียนรู มีความพรอมในการใหบรกิ าร กิจกรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปนแหลง สารสนเทศสาธารณะท่ีงยตอการเขาถึง มีบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียนรู เปน คาเพพื้นท่ีการเรียนรูส ําหรับคนทุกชวงวัย มีสงิ่ อํานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมชี ีวิต ท่ีดงึ ดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยสําหรับผูใชบริการ 1) เรงยกระดับ กศน.ตําบลนาํ รอง 928 แหง (อําเภอละ 1 แหง) ใหเปน กศน.ตําบล 5 ดี พรีเม่ียม ที่ประกอบดวย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครือขายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรูที่ดีมีประโยชน 2) จัดใหมีศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู ใน 6 ภูมิภาค เปนพ้ืนที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ท่ีทันสมัยสาํ หรับทุกคน มีความพรอมในการใหบริการตา ง ๆ อาทิ พื้นที่สําหรับการทํางาน/การ เรียนรู พ้ืนที่สําหรับกิจกรรมตาง ๆ มีหองประชุมขนาดเล็ก รวมทั้งทํางานรวมกับหองสมุดประชาชนในการใหบริการใน รูปแบบหองสมุดดิจิทัล บริการอินเทอรเน็ต ส่ือมัลติมีเดีย เพ่ือรองรับการเรียนรูแบบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมุดประชชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" ใหเปน Digital Library โดยใหมีบริการหนงั สือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตความเรว็ สงู รวมทั้ง Free Wifi เพ่ือการสืบคนขอมูล 3.3 สงเสริมการจัดการเรียนรูที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอ้อื ตอการเรียนรสู ําหรับทุกคน สามารถ เรียนไดทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพอ่ื พัฒนาศักยภาพ การเรียนรูของประชาชน รวมท้ังใชประโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรว มจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อเช่ือมโยง ความสัมพันธของคนในชมุ ชนไปสูการจัดการความรูข องชุมชนอยา งย่ังยืน 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสวนรวม และการมีจิตอาสา ผา นกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนุนใหม ีการจัดกิจกรรมเพือ่ ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรในองคกร 2) จัดใหมีหลกั สูตรลูกเสือมัคคเุ ทศก โดยใหสํานักงาน กศน.จังหวัดทุกแหปกทม. จัดต้ังกองลูกเสือ ท่ีลูกเสือมีความพรอมดานทักษะภาษาตางประเทศ เปนลูกเสอื มคั คุเทศกจังหวัดละ 1 กอง เพอ่ื สง เสริมลูกเสอื จิตอาสา พัฒนาการทองเท่ียวในแตละจังหวัด 3.4 เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครอื ขาย ประสาน สงเสรมิ ความรวมมือภาคีเครือขาย ท้ังภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคก รปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมสี วนรวมของชมุ ชนเพอื่ สรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 1) เรงจัดทาํ ทําเนียบภูมิปญญาทองถ่ินในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่นในการสรา งการเรียนรู จากองคความรูในตัวบุคคลใหเกิดการถายทอดภูมิปญญา สรา งคุณคาทางวัฒนธรรมอยางยง่ั ยืน 2) สง เสริมภูมิปญญาทองถิ่นสูการจัดการเรียนรูชุมชน 3) ประสานความรว มมือกับภาคีเครือขายเพอ่ื การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหเขาถึงกลมุ เปา หมายทุกกลุมอยางกวางขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุมผูสูงอายุ กลุม อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชนตอการจัดการศกึ ษาและกลุมเปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะ ชีวิตและทักษะอาชีพ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้งั การพัฒนาชองทางการคาออนไลน 2) สง เสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู 3) สงเสริมใหม ีการใชก ารวิจัยอยางงายเพ่ือสรา งนวัตกรรมใหม

1520 3.6 พฒั นาศกั ยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู ละทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน 2) สงเสริมการจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพือ่ ใหประชาชนมีทักษะความเขาใจและ ใชเทคโนโลยีดิจิทัลที่สามารถนําไปใชประโยชนในชวี ิตประจําวัน รวมทั้งสรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตาง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ทั้งในภาคธรุ กิจ การบริการ และการทองเท่ียว รวมทั้ง พัฒนาส่ือการเรียนการสอนเพื่อสงเสรมิ การใชภาษาเพ่ือการส่อื สารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอมการเขาสูสังคมผูสูงอายุท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง เสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรางความตระหนักถึงการเตรียมพรอมเขาสูสงั คมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขา ใจในพัฒนาการของชว งวัย รวมทัง้ เรียนรูแ ละมีสว นรวมในการดูแล รับผิดชอบผูสงู อายุในครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบรกิ ารการศึกษาและการเรียนรูสาํ หรับประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขาสูวัยสูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาํ หรับผูสงู อายภุ ายใตแนวคิด \"Active Aging\"การศึกษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตและรูจกั ใชประโยชนจาก เทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคา และศักดิ์ศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสใหม ีการเผยแพรภ ูมิปญญาของผสู ูงอายุ และ ใหมีสวนรวมในกิจกรรมดานตาง ๆ ในชุมชน เชน ดานอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือรองรับสังคมผสู ูงอายุ โดยบรู ณาการความรวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ในทุกระดับ 3.9 การสง เสริมวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตรเชิงรกุ และเนนใหความรูวิทยาศาสตรอยา งงายกับประชาชนในชมุ ชน ทั้งวิทยาศาสตรในวถิ ีชีวิต และวิทยาศาสตรในชีวิตประจําวัน 2) พัฒนาสือ่ นิทรรศการเละรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตรใหมคี วามทันสมัย 3.10 สง เสรมิ การรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนท่ีสูง ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชชีวิตประจาํ วันได 4 ยทุ ธศาสตรตน การสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จัดตั้งศูนยการเรียนรูสําหรับทุกชวงวัย ท่ีเปนศูนยการเรยี นรูตลอดชีวิตท่ีสามารถใหบริการ ประชาชนไดทุกคน ทุกชวงวัย ท่มี ีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตละวัย และเปนศูนยบริการความรู ศูนยการจัดกิจกรรมท่คี รอบคลุมทุกชว งวัย เพื่อใหมีพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสม และมคี วามสุขกับการเรียนรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกับสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อจัดทําฐานขอมูลโรงเรียนท่ีถูกยุบรวม หรอื คาดวานาจะถกู ยุบรวม 2) ใหสํานกั งาน กศน.จงั หวัดทุกแหงที่อยูในจังหวัดท่ีมีโรงเรยี นท่ีถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ้ืนท่ีเพ่ือจัดต้ังศูนยการ เรียนรูสาํ หรับทุกชวงวัย กศน. 4.2 สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรูสําหรับกลุมเปา หมายผูพกิ าร

1621 1) จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและทกั ษะอาชีพ และการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยเนน รูปแบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหง /กทม. ทําความรว มมือกับศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจังหวัด ในการใช สถานที่ วัสดุอุปกรณ และครุภัณฑดานการศกึ ษา เพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรูสาํ หรับกลุมเปาหมายผู พิการ 4.3 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ รวมทั้งกลุมเปาหมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพกิ าร เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษาใหจบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน สามารถนําความรูท่ีไดรับไปพัฒนาตนเองไดอยางตอเนอื่ ง 4.4 พฒั นาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระะส้ัน ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบริการ 5. ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ปนมิตรตอส่ิงแวดลอม 5.1 สงเสริมใหมีการใหความรูกับประชาชนในการรบั มอื และปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่ีเก่ียวของกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสาํ คัญของการสรา งสงั คมสีเขียว สง เสริมความรูใหก ับประชาชนเก่ียวกับการคัด แยกตง้ั แตตนทาง การกาํ จัดขยะ และการนาํ กลับมาใชช ้ํา เพ่ือลดปรมิ าณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลับมาใชประโยชนไดโดยงา ย รวมท้ังการจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสรมิ ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลังงานที่เปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม รวมทัง้ ลดการใชทรัพยากรที่สงผล กระทบตอสิ่งแวดลอม เชน รณรงคเรื่องการลดการใชถ ุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรด านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบหารบรหิ ารจดั การภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจรติ บริหารจัดการบน ขอมูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรงใส 6.2 นาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทํางานท่ีเปนดิจิทัลมาใชในการบริหารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กับระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ พรอมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลนท่ีสามารถเชอ่ื มโยงขอมูลตาง ๆ ท่ีทํา ใหการบริหารจัดการเปนไปอยา งตอเนื่องกันตั้งแตตนจนจบกระบวนการและใหประชาชนกลุมเปา หมายสามารถเขาถึง บรกิ ารไดอยา งทันที ทุกท่ีและทุกเวลา 6.3 สง เสริมการพัฒนาบุคลากรทกุ ระดับอยา งตอเน่ือง ใหมีความรแู ละทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกับ สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากร

1272 3. หลกั การจดั การศึกษาตอเน่ือง เพือ่ ใหการดําเนินงานการจัดการศึกษาตอเนื่อง เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สํานักงาน กศน. จงึ ไดกาํ หนดหลักการ ในการจัดไว ดงั นี้ 1. หลักสูตรไดร ับการพัฒนาใหม ีความสอดคลองกับสภาพสังคมชมุ ชนและความตองการของกลุม เปา หมาย (เปน หลักสูตรท่ีไดรับอนมุ ัติโดยสถานศึกษา ผูอาํ นวยการสถานศึกษาเปนผูอนมุ ัติ ผา นความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษา และหรือเปนหลักสูตรที่หนวยงานภาครัฐไดอนมุ ัติและอนุญาตใหใชแลว) 2. สอ่ื และแหลง คนควา ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ตอ งไดรับการพัฒนาใหมีความสอดคลองกับหลักสูตร และ กิจกรรมการเรียนรขู องผูเรียน 3. วิทยากร ตองสรรหาวิทยากรทีม่ ีความรูความสามารถหรือมีความเช่ียวชาญในสาขาที่จะสอนอยา งแทจริง และ วิทยากรควรผานการอบรมการเปนวิทยากรจากหนวยงานสถานศกึ ษาของ กศน. 4. การจัดการเรียนรู จะตอ งจัดการศึกษาใหสอดคลองกับศักยภาพของผูเรียนและความพรอ มของผูเรียน และ สอดคลอ งกับความตองการและบรู ณาการวิธีการจัดการเรียนรู 5. การจัดกระบวนการเรียนรู จะตองเนนใหมีการจัดกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายและสอดคลอง กับความ ตองการของกลมุ เปาหมาย 6. กลุมเปาหมายสามารถนําความรูที่ไดรับจากการศกึ ษาไปใชในการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชพี พัฒนา คุณภาพชีวิต และสามารถอยูในสังคมไดอยา งมีความสุข การจัดการศึกษาตอเนื่อง อาจจัดได ดังตอไปนี้ 1. จัดโดยสถานศกึ ษาในสังกัด สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. จัดโดยสถานศกึ ษาในสังกัด สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยรวมกับภาคี เครือขาย 3. จัดโดยภาคีเครือขาย

1823 ความหมาย การศกึ ษาตอเน่อื ง หมายความวา เปนการจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบท่ีเปนหลกั สูตร ระยะส้ัน การศกึ ษาสายอาชีพ กลมุ สนใจ ที่จัดตามความตองการของกลุมเปาหมายท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับอาชพี ทักษะชีวิต การพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซงึ่ นําไปสูการพัฒนาคุณภาพ ชวี ิต อาชีพ เปนการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาความรูค วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให บคุ คลสามารถประกอบอาชพี หรอื พัฒนาอาชีพของตนเองได โดยพิจารณาถงึ ความตองการในการเรียนของแตละบุคคล ทักษะชีวิต เปนการศึกษาท่ีใหความสาํ คัญกับการพัฒนาคนเพ่อื ใหมคี วามรู เจตคติและทักษะที่จาํ เปน สาํ หรับการดํารงชวี ิตในสังคมปจจุบัน เพื่อใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมกับการปรับตัวในอนาคต เชน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน คุณธรรม จริยธรรม และคา นิยมท่ีดี เปนตน การพัฒนาสงั คมและชุมชน เปนการศึกษาที่บรู ณาการความรแู ละทักษะจากการศึกษาที่ผูเรียนมีอยูหรือ ไดรับจากการเขา รวมกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ แลวนําไปใชใหเปนประโยชนตอการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยมี รูปแบบการเรียนรูท่ีหลากหลาย และใชชุมชนเปนฐานในการพัฒนาการเรียนรูของคนในชุมชน เชน ประชาธิปไตย สิง่ แวดลอ ม วิสาหกิจชุมชน เปนตน วธิ ีการจดั การเรียนรู วธิ ีการจัดการศึกษาตอเนอื่ ง เปนการจัดประสบการณการเรียนรูจากวิทยากร ส่อื หรือการปฏิบัติ โดย วิธีการเรียนรูท่ีหลากหลาย ดังน้ี 1. การเรียนรรู ายบุคคล เปนการเรียนรูของผูเรียนบุคคลใดบคุ คลหนงึ่ ที่ตองการจะ เรียนรูในเน้ือหาใด เนื้อหาหน่ึง ซึ่งเปนความสนใจเฉพาะตัว ตามหลักสูตรการศึกษาตอเน่ืองในสถานศึกษาหรือภาคี เครือขาย โดยผูเรียนและวิทยากรรว มกันวางแผน และออกแบบการเรียนรูท่ีตอบสนองความตองการของผูเรียนแตละ บุคคล 2. การเรียนรรู ายกลมุ เปนการเรียนรขู องผูเรียนต้ังแคสองคนข้ึนไป แตไมควรเกิน สิบหา คน ซ่ึงมคี วามสนใจตรงกนั ตามหลักสูตรการศึกษาตอเน่ือง 3. การเรียนรูจากแหลง เรียนรู เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนในแหลงเรียนรู เชน

1924 ศูนยขยายเพาะพันธุปลา ศูนยสาธิตการทําไรนาสวนผสม ศนู ยการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต องคการชุมชน กลุม วิสาหกิจชุมชน เปนตน โดยมกี ารประสานความรวมมือกับเครอื ขา ยแหลง เรียนรูในการจัดการศกึ ษา ใหกับผูเรียน 4. การเรียนรูในสถานประกอบการ เปนการจัดใหผูเรียนไดเรียนรูในสถาน ประกอบการ เชน อซู อมรถยนต หา งสรรพสินคา หรอื แหลงประกอบการ SMEs ทม่ี ีสว นรวมหรือมีวัตถุประสงคในการจัด การศกึ ษาตอเนอ่ื ง 5. การเรียนรูจากฐานการเรียนรู เปนการเรียนรูท่ีมีเปา หมายเฉพาะเจาะจง เชน ฐาน การเรียนรูเกษตรธรรมชาติ ฐานการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรียนรูอนรุ ักษส่ิงแวดลอ ม ฐานการเรียนรูสุขภาพ อนามัย ฐานการเรียนรูคุณธรรม จริยธรรม ฐานการเรียนรูวัฒนธรรมไทย เปนตน ซึ่งเปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนให ผูเรียนไดเรียนรูจากวิทยากร สถานการณจรงิ หรือเรียนรูดวยตนเอง 6. การศกึ ษาทางไกล เปนวิธีการจัดการศึกษาที่เปดกวางในเรื่องของเวลา สถานที่ เนน การเรียนรูดว ยตนเองจากสื่อประสมที่หลากหลาย มีการจัดกิจกรรมเสรมิ ความรู ทกั ษะ ประสบการณ ท่ีจําเปน เหมาะสม กับเน้อื หา ตามหลักสูตร รวมท้ังมีการศกึ ษาคนควาเพิม่ เติมหรือปฏิบัติการจากแหลงการเรยี นรูตา ง ๆ เปนการเรียนรูแบบ พึง่ พาตนเอง ผูเรียนจึงตองวางแผนและสรา งวินัยในการเรียนรูดวยตนเอง การสรรหาและแตงตัง้ วิทยากร การสรรหาวิทยากร ใหสถานศกึ ษาสรรหาวิทยากรโดยพิจารณาจากคุณสมบัติดังนี้ 1. เปนผูที่มีคุณวุฒิหรอื เกียรติบัตรรับรอง หรือหลกั ฐานอื่น ๆ ท่ีแสดงวาเปนผมู คี วามรู ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวชิ าหรือหลักสูตรน้ัน ๆ 2. เปนผูมคี วามรู ความชํานาญ ประสบการณในการประกอบอาชีพสาขาวิชาหรอื หลกั สูตรนั้น ๆ หรอื 3. เปนผูที่มีความสามารถและประสบการณในการถายทอดความรูใหแ กผูเรียน การแตง ตง้ั วิทยากร ใหผูอาํ นวยการสถานศึกษาในสังกัด สํานักงาน กศน. เปนผูอนมุ ัตแิ ตงต้งั โดยจัดทําเปนคําส่งั

2025 ขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน 1. สถานศึกษาและภาคีเครอื ขาย เตรียมความพรอมในเรื่องหลักสูตร วิทยากร สถานที่ วสั ดุอุปกรณที่เอ้ือตอ การจัดการศึกษา 2. ผูเรียนสมคั รและลงทะเบียนเรียนตอสถานศึกษาหรือภาคเี ครอื ขา ย 3. สถานศึกษาพิจารณาอนุญาตและจัดสง ผูเรียนไดเรียนกับวิทยากรในแหลงการเรียนรู สถานประกอบการ ที่เหมาะสมตามหลักสูตร 4. วิทยากรประเมินพื้นฐานความรขู องผูเรียนกอ นจัดกระบวนการเรียนรู 5. ผูเรียนกับวิทยากรรว มกันจัดทําแผนการเรียนรู 6. ดาํ เนินการจัดการเรียนการสอน 7. วิทยากรประเมินผลการเรียนระหวางเรียนและหลังจบหลักสูตร รวมทง้ั ประเมินความ พึงพอใจของผูเรียน การวดั ผลประเมนิ ผลและรายงานผลการเรียน การวัดผลประเมินผลใหดาํ เนินการตามที่หลักสูตรกาํ หนด ดวยวิธีการหลากหลาย เชน 1. ประเมินความรู ความสามารถ ทักษะ ดวยการซักถาม ทดสอบและปฏิบัติ 2. ประเมินดานคุณธรรม ดวยแบบประเมินคุณธรรม 3. ประเมินชิ้นงาน ดว ยผลงานที่ปฏิบัติ 4. ประเมินความพึงพอใจของผูเรียนดวยแบบสอบถาม การออกหลกั ฐานการศึกษา ใหผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผูลงนามในหลักฐานการศึกษา ตามหลักสูตรกาํ หนด โดยระบชุ ่ือวิชา/ กจิ กรรม ระยะเวลา ในกรณีภาคีเครอื ขา ยท่ีไมใชสถานศกึ ษาเปนผูจัดใหสง หลกั ฐานการจบการศึกษาใหกับผูอํานวยการ กศน. อําเภอเปนผูออกวุฒิบัตร แหลง เรียนร/ู สถานประกอบการ แหลง เรียนรู/สถานประกอบการ ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. อยูในทําเลท่ีตั้งที่ผูเรียนสามารถเดินทางไดสะดวก ปลอดภัย

2126 2. มีสง่ิ แวดลอ มที่เอื้ออํานวยตอการเรียนรู และฝกปฏิบัติ 3. เปนแหลงการเรียนรู/สถานประกอบการ ท่ีมกี ารดําเนินงานม่ันคง นาเช่ือถือเปนท่ียอมรับในสังคม 4. มคี วามพรอม มีวิทยากร หรอื ผูใหความรูประจํา สามารถจัดการเรียนรู หรือจัดการ เรียนการสอนจนจบหลักสูตรหรือจบกระบวนการได รวมทั้งสามารถใหการฝกปฏิบัตแิ กผูเรียนจนสามารถปฏิบัติในเรื่องนั้น ๆ ได 5. สามารถจัดบุคลากรเขารวมประชุม อบรม พัฒนากับสถานศกึ ษาได 6. มีทัศนคติ เจตคติที่ดีตอการถา ยทอดความรู ประสบการณใหกับผูอื่น 7. สามารถดูแล ใหคาํ ปรึกษา แนะนาํ และรับผิดชอบผูเรียนจนจบหลักสูตร หลักเกณฑก ารจา ยเงนิ งบประมาณ 1. อาชีพ ในแตละ กศน. ตําบล ใหเปดสอนอาชีพ 40 ช่ัวโมงข้ึนไป จํานวน 1 หอง ผูเรียนไมนอยกวา 15 คน โดยใหเบิกคา ใชจายดังน้ี 1.1 คา ตอบแทน จา ยคาตอบแทนวิทยากรช่ัวโมงละไมเกิน 200 บาท ตาม จํานวนผูเรียน 3 ระดับ ดังน้ี (1) ผูเรียนท่ีมีตาํ่ กวา 6 คน ช่ัวโมงละไมเกิน 50 บาท (2) ผูเรียนที่มีตั้งแต 6 – 10 คน ช่ัวโมงละไมเกิน 100 บาท (3) ผูเรียนท่ีมีตั้งแต 11 คนข้ึนไป ชัว่ โมงละไมเกิน 200 บาท 1.2 คา ใชส อย จายเปนคาเชา สถานท่ี เครอื่ งมอื อุปกรณ และคาใชจายในการ เดินทางไปราชการของวิทยากรท่ีเปนบุคคลภายนอก (จายเปนคาพาหนะ และคาเชาท่ีพัก ในอัตราตํ่าสุด กรณีเปน ขาราชการบาํ นาญเบิกจา ยตามยศ ตาํ แหนงครงั้ สุดทา ย) 1.3 คา วัสดุ จายเปนคาวัสดุฝก เทาท่ีจา ยจริงตามความจําเปนและเหมาะสม ประหยัด และเพื่อ ประโยชนข องทางราชการ ภายในวงเงินงบประมาณที่ไดรับจัดสรร หลักสูตรละไมเกิน 2000 บาทตอผูเรียน 1 คน 1.4 คา สาธารณูปโภค จา ยใหแ กหนวยงานภาครัฐหรือเอกชน จายไดเทาท่ีจายจริง ถัวจายจากวงเงินที่ไดรับในแตละหลักสูตร (ใชใบเสร็จรับเงินหรือใบสําคัญรับเงิน)

2227 3.1 ความหมายของหลกั สูตรและการพัฒนาหลกั สูตร ความหมายของหลกั สูตร ททททททททวิชัย วงษใหญ (2525:2-3) กลาววา หลักสูตร หมายถงึ ประสบการณท้ังหลายที่สถานศกึ ษาจัดใหแกผูเรียน เพือ่ ใหเกิดการเรียนรแู ละการพัฒนาตนเอง และหลกั สูตรที่ดีน้ันตองเปนหลกั สูตรที่ตอบสนองความตองการ ความสนใจ ของผูเรียน และสอดคลองกับความตอ งการของชีวิต ท่ีเหมาะสมท่ีสุด ไดแก สภาพทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมดานการศึกษา การเปล่ียนแปลงทางสังคม สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาที่เอื้ออาํ นวยตอการเรียนรู สภาพทาง การเมืองการปกครอง สภาพดานขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม คานิยม และคุณธรรม สํานกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน (2549:2) กลา ววา หลกั สูตรระยะสั้น หมายถงึ หลักสูตรที่สถานศึกษาจัด การศึกษาใหกับผูเรียนนอกเหนือจาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อมุง พัฒนาคุณภาพชวี ิต โดยใหม ีความยืดหยุน เน้อื หา ระยะเวลาเรียน และสถานท่ีตามความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ สรุปไดวา หลกั สูตรคือประสบการณท่ีผูเรียนไดรับ จะเปนประสบการณใดๆ ก็ไดเมื่อผา นเขาไปในการรับรูของ ผูเรียนแลว ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และเกิดการพัฒนาตนเองใหมีคุณภาพชวี ิตท่ีดีขึ้น ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร สํานกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน (2547:17) กลา ววา การพัฒนาหลักสูตรนั้น สถาบันหรือสถานศึกษา จะตอ งสํารวจศึกษาวิเคราะหความตองการของกลุม เปา หมายโดยตรง จึงจะสามารถพัฒนาหลักสูตรไดสอดคลอ งกับความ ตองการของกลมุ เปาหมาย บรรพต สุวรรณประเสริฐ (2544:12) กลา ววา การพัฒนาหลักสูตรตางๆ ในสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและ เปนไปในทิศทางท่ีชาติตองการ 3.2 ขั้นตอนในการพัฒนาหลักสูตร Taba (อางถงึ ใน วิชัย วงษใหญ ,2525:10) ไดกลาวถึงข้ันตอนของการพัฒนาหลกั สูตรและการสอนที่เต็มรูปแบบ และสมบรู ณไว 7 ประการ ดังนี้ 1. การศกึ ษาวิเคราะหความตองการของผูเรียน ของสังคมและวัฒนธรรม 2. การกาํ หนดจุดมุงหมาย 3. การเลือกเนื้อหาสาระ 4. การจัดรวบรวมพินิจเน้ือหาสาระ

2328 5. การเลือกประสบการณเรียน 6. การจัดประสบการณเรียน 7. การประเมินผล เพ่ือตรวจสอบดูวากิจกรรมและประสบการณเรียนที่จัดข้ึนนั้นไดบรรลุจุดมงุ หมายที่ กําหนดไวหรือไม สํานกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน (2549:5) กลาววาในการจัดทําหลักสูตรจะตองมอี งคประกอบ อยางนอย 5 ข้ันตอน คอื 1. สํารวจ / รวบรวมความตองการของกลุมเปาหมาย 2. วิเคราะห / จัดลําดับขอ มลู ความตอ งการของกลมุ เปา หมาย 3. กาํ หนดหลักสูตรระยะสั้น 4. การอนมุ ัติหลกั สูตร 5. คลังหลักสูตรระยะสั้น ททททททททและตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (กรมการศึกษานอกโรงเรียนม.ป.ป.:9) ยงั ไดกลาว การศึกษานอกระบบเปนการศกึ ษาท่ีมีความยืดหยุนในการกาํ หนดจุดมุงหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ การศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเปนเง่ือนไขสาํ คัญของการสําเร็จการศกึ ษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตองมีความ เหมาะสม สอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม ทททททททททสรุปไดวา การพฒั นาหลักสูตรจะตองมกี ารสาํ รวจ ศกึ ษา วิเคราะหความตองการของกลมุ เปาหมายกอน แลวจึงนาํ ขอมูลที่สาํ รวจ ศึกษา วิเคราะห มากําหนดทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองความตองการความสนใจ ความถนัด และความแตกตา งของกลุมเปา หมาย 3.3 หลกั สูตรระยะสั้น ททททททททหหมายถึง หลักสูตรท่ีสถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาใหกับผูเรียนนอกเหนือจากการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต โดยใหมีความยืดหยุนดา นเนื้อหา ระยะเวลาเรยี น และสถานท่ีตามความตองการของกลมุ เปา หมายและชมุ ชน หรือตามนโยบายของทางราชการ หมายถงึ บุคคลที่สถานศกึ ษาหรือหนวยงานที่คัดเลือกใหทําหนา ท่ีจัดการศึกษาหลักสูตร ระยะสั้น ซึง่ ไดรับความไววางใจจากสถานศึกษาใหเปนผูแทนในการถายทอดความรูใหกับผูเรียนโดยจะตองเปนผูท่ีมีความรู ทักษะและประสบการณมีความเขาใจในปรัชญาการศึกษาผูใหญและจิตวิทยาการศึกษาผูใหญเปนตน 3.4 วิทยากรผูสอน

2429 ททททททททวิทยากรหรือผูส อน จะตองโนมนาวและสามารถควบคมุ ผูเรียนในการดาํ เนินกิจกรรมการเรียนรูใหบรรลุตาม เปา หมาย โดยวิทยากร/ผสู อน จะตองมีศิลปะเทคนิคตางๆ ที่จะตองสรางทัศนคติท่ีดีใหแกผูเรียน เพอ่ื มุง ไปสูความรว มมอื ในการเรียนรู เพื่อใหบรรลุเปา หมายของกิจกรรมนั้น พรอมทั้งจะตองใหคําปรึกษาแกผ ูเรียนได และ วิทยากร/ผูสอน จะตอ งมีความรูเชิงวิชาการและทกั ษะในกิจกรรมตางๆ เปนอยา งดี พรอมท่ีจะรวมลงมือปฏิบัติ สาธิต และแกปญหาใหกับ ผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อสรา งความศรัทธาเชื่อม่ันใหกับผูเรียน ททททททททวิทยากร หรือผูสอน จะตองดําเนินการ ดังน้ี 1) ศึกษารายละเอียดและวัตถุประสงคข องหลกั สูตรนั้นใหเขาใจ 2) จัดทําหรอื เตรียมแผนการสอนของหลักสูตรระยะส้ัน 3) คิดกิจกรรมใหสอดคลองกับหลักสูตรระยะส้ัน และเตรียมอุปกรณ วัสดุสื่อการเรียนการสอนที่เก่ียวของ 4) จัดทําบัญชีลงเวลา 5) ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียน 6) ทําการวัดผล ประเมินผล การเรียนของผูเรียนแตละคน และรายวิชา 7) รับผิดชอบและควบคุม ดแู ลวัสดุอุปกรณใหใชอยางคุมคาและประหยัด 8) เปนผูใหคาํ แนะนํา และเปนท่ีปรึกษาเกี่ยวกับหลกั สูตรและการเรียนรูใหกับผูเรียน 9) รายงานผล 10) จัดทาํ อกสาร/หลกั ฐานการจบ 3.5 สถานศึกษา ททททททททหมายถงึ สถานศึกษาท่ีสังกัดสาํ นักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ หรือหนวยงานอื่นท่ีสถานศึกษาเห็นชอบใหจัดการศกึ ษาหลักสูตรระยะสั้นได สถานศึกษามีบทบาท หนา ที่ คอื 1) จัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น ดังน้ี ททท 1.1 สํารวจและสืบคนขอมูล ความตอ งการของกลุมเปา หมายผูร ับการอบรม โดยคํานงึ ถึงความ แตกตา งระหวางบุคคล

2530 1.2 จัดหา/รวบรวมหลักสูตรระยะสั้น หรอื จัดทํา/พัฒนาขึ้นใหม จากหลกั สูตรที่มอี ยูแลวจาก หนวยงานอ่ืนทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยคํานึงถงึ รูปแบบ วิธีการ และมาตรฐาน ทั้งนี้ใหเปนไปตามคําสง่ั และหลักเกณฑท่ี เกี่ยวของ 1.3 ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหบรรลุจุดประสงคข องหลักสูตร 1.4 ฝก อบรมและพัฒนาและพัฒนาวิทยากรผูสอน ใหจัดการเรียนการสอนได 1.5 กําหนดแผนงาน/โครงการ 1.6 ดําเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ 1.7 สงเสรมิ สนับสนุนหนวยงานอ่ืนจัด 1.8 วัดผลประเมินผล สรุปรายงาน 1.9 ออกหลักฐานวุฒิบัตร / ใบสาํ คัญการจบหลักสูตร 2) ผูอํานวยการสถานศึกษา มีอํานาจหนาที่ ททท2.1 อนมุ ัติหลักสูตร 2.2 แตงตั้งคณะกรรมการการพิจารณาหลักสูตร 3.3 อนุมัติเกณฑการพิจารณาหลักสูตร 2.4 อนุญาตใหจัดการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น 2.5 บริหาร ประสานงาน สถานศกึ ษา เครือขายอื่น 2.6 กํากับ ตรวจสอบ ติดตาม สนับสนุนกิจกรรม 2.7 จัดตงั้ ขยาย เปลี่ยนแปลง ยุบ หยุดทําการสอนช่ัวคราว กลุมสนใจ/กลุม 3.6 ผูเรียน ททททททททหมายถงึ ผูที่สมัครเขา รับการศกึ ษา และไดขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาของสถานศึกษา หรือหนวยงานน้ัน โดยมี พื้นฐานความรู ประสบการณ และอายุของผูเรียนใหเปนไปตามหลักสูตรนั้นๆ กําหนด

2361 4. กรอบการจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนใหม ปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายเรียนฟรี เรยี นดี 15 ป อยา งมีคุณภาพ ของสถานศกึ ษา สงั กัดสํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1. หลกั การ ททททททททตามที่รัฐบาลไดกาํ หนดนโยบายเรียนฟรี เรียนดี 15 ปอยางมคี ุณภาพ และใหความสาํ คัญ กับนโยบายนี้เปนอยา งมาก โดยมอบหมายใหก ระทรวงศึกษาธิการดําเนินงานและรัฐบาลใหการสนับสนุนงบประมาณเปน คาจัดการเรียนการสอน คา หนงั สือเรียน คา อุปกรณการเรียน คาเครอ่ื งแบบนักเรียน และ คา จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยพัฒนาพ้ืนฐาน การเรียนรูใหผ ูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขึ้น มคี ุณธรรมจริยธรรม และสามารถใชชวี ิตแบบพอเพียง ไดอยางมีความสุขนั้น ทททททททททสํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ไดกาํ หนดกรอบการจัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาคุณภาพผูเรียนใหม ีประสิทธิภาพ สําหรับนักศึกษา กศน. ในหลักสูตรการศึกษานอกระบบข้ันพ้ืนฐาน เพื่อสนอง นโยบายดังกลาว จํานวน 8 กจิ กรรม โดยเปนกิจกรรมที่ใหสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติ ดังนี้ 1.1กิจกรรมเรียนปรับพื้นฐาน เพือ่ พัฒนาผูเรียนใหมคี วามรูความสามารถขั้นพ้ืนฐานโดยเฉพาะวิชาหลักให เพียงพอท่ีจะเรียนตอไปไดและเรียนทันกับผูเรียนคนอ่ืนๆ 1.2กิจกรรมพัฒนาวชิ าการ เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือใหผูเรียนไดเพิ่มพูนความรูค วามสามารถ ตอยอดจากการเรียนปรับพื้นฐาน และในวิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร การ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม (Decency) การปองกันยาเสพติด (Drug-Free) และการพัฒนาอาชพี 1.3กิจกรรมพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่ือใหผูเรียน มีความสามารถดาน ICT อยางทัว่ ถึง 1.4 กิจกรรมท่ีแสดงความจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียนให มีความรกั ชาติ ศาสนา ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย 1.5 กิจกรรมสง เสรมิ ประชาธิปไตย (Democracy) เปนการจัดกิจกรรมเพอื่ สรา งความเปนพลเมืองและ ประชาธิปไตยใหกับผูเรียน เพ่ือใหสอดคลองกับการปฎิรูปการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) ของ กระทรวงศึกษาธิการ

2732 1.6 กิจกรรมการเรียนรูดานเศรษฐกิจพอเพียง เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหสามารถนาํ ความรูจากหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 1.7 กิจกรรมกีฬา เปนการจัดกจิ กรรมเพ่อื พัฒนาผูเรียนใหมีความสามัคคี มีน้าํ ใจนักกีฬา มีสุขภาพพลานามัยที่ดี และการสรางสัมพันธอ ันดีระหวา งนกั ศกึ ษา กศน. ครู บุคลากรทางการศึกษาและผูบริหารหนวยงาน/สถานศึกษา 1.8 กิจกรรมจัดหาสื่ออุปกรณการสอนของครูหรือหนงั สือท่ีนอกเหนือจากแบบเรียน เพ่ือใหบริการในหองสมุดและ กศน.ตําบล/แขวง 2. เง่ือนไขของการดาํ เนินงาน ทททททททท2.1ผูรับบริการตองเปนบคุ คลท่ขี ึ้นทะเบียนเปนนกั ศึกษา กศน. ในหลกั สูตรการศกึ ษา นอกระบบขั้นพื้นฐาน 2.2ใหสถานศกึ ษา สังกัดสาํ นักงาน กศน. จัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เปนรายภาคเรียน โดยมงุ ใหเกิดประโยชนสงู สุดในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยา งมีคุณภาพและประสิทธิภาพเพอื่ ขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแ ทนครูและผูบรหิ ารสถานศึกษา 2.3ใหสถานศกึ ษา สงั กัดสาํ นักงาน กศน. เสนอแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เปนรายภาคเรียน ตอสํานกั งาน กศน. จงั หวัด กอ นเปดภาคเรียน 2.4ใหการเบกิ จายในการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เปนไปตามคําสัง่ สํานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ ท่ี 895/2551 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2551 เร่อื ง หลักเกณฑการเบิกจายเงินอุดหนุนของสาํ นักงาน กศน. และระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวขอ ง โดยยึดหลักประหยัด โปรงใส ถูกตอ ง และซื่อสัตยพรอมรับการตรวจสอบ และไมให สถานศกึ ษาเรียกเก็บเงินคาใชจายเพ่มิ เติมจากผูเรียน 3. งบประมาณ ททททททททงบประมาณในแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน 15 ป โครงการสนับสนุน การจัดการศกึ ษาโดยไมเสียคาใชจาย 15 ป หมวดเงินอุดหนุน เปนคา ใชจายในการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมี คุณภาพและประสิทธิภาพ มีรายละเอียด ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา คนละ 140 บาทตอภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คนละ 290 บาทตอภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คนละ 290 บาทตอภาคเรียน

2833 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี คนละ 530 บาทตอภาคเรียน 4. วธิ ีการดําเนินงาน ททททททททเพื่อใหการดาํ เนินงานจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเปาหมาย จึงได กาํ หนดวิธกี ารดาํ เนินงานการจัดกจิ กรรมตางๆ ไวดังนี้ ทททททททททททท4.1กิจกรรมการเรียนปรับพื้นฐาน เปนกิจกรรมท่ีจัดใหกับผูเรียนที่มีพื้นฐานความรู โดยเฉพาะรายวิชาหลัก ท่ียังไมเพียงพอกับการศึกษาตอในแตละระดับ โดยมแี นวทางการดําเนินงานดงั นี้ 4.1.1 ใหสถานศกึ ษาทดสอบความรูพ้ืนฐานของผูเรียน โดยเฉพาะรายวิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และแบงกลุมผูเรียนท่ีมีความรูพื้นฐานต่ําในวชิ าหลัก ใหไดรับการเรียนปรับพ้ืนฐาน ใหผูบริหารสถานศึกษา และ ครู กศน. รวมประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการ ปรับพ้ืนฐานในแตละรายวิชาใหสอดคลอ งกับความตอ งการกลุมผูเรียน 4.1.3 วิทยากรหรือผูสอน ตองเปนผูทมี่ ีความรแู ละประสบการณในสาขาวิชาน้ันๆ กรณี ครู กศน. เปนผูสอนเอง จะตองไมสงผลกระทบตอการทาํ งาน 4.1.4 จํานวนนกั ศึกษา กศน. ท่ีรวมกิจกรรม ใหอ ยูในดุลยพินิจของผูบริหารสถานศึกษา 4.1.5 การเบิกจายงบประมาณ ใหเปนไปตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด ททททททททททท4.2กิจกรรมพัฒนาวชิ าการ เปนการจัดกิจกรรมเพื่อใหผูเรียนไดเพ่ิมพูนความรคู วามสามารถทางดา นวิชาการ เพอ่ื ตอยอดจากการเรียนปรับพ้ืนฐานใน 4 วิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร การ พัฒนาทักษะชีวิตและการพัฒนาอาชพี โดยแบงประเภทและรูปแบบการดําเนินงาน ดังน้ี 4.2.1 ประเภทของกิจกรรม 1)วิชาการ เปนรายวิชาการที่ตอยอดจากการเรียนปรับพื้นฐานใน 4 วชิ าหลัก ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) ทักษะชีวิต เพ่ือเสรมิ สรางคุณธรรมจริยธรรม (Decency) การปองกันยาเสพติด (Drug-Free) เพศศกึ ษา ส่ิงแวดลอ ม และกิจกรรมอื่นๆ เชน ลูกเสือ อาสายุวกาชาด 3) อาชีพ เนนการพัฒนาอาชีพอยา งครบวงจร

2934 4.2.2 รูปแบบของกิจกรรม 1) แบบการจัดคายวชิ าการ ท้ังคายไป – กลับ และคายคางคืน 2) แบบกลมุ สนใจ โดยครู กศน. เปนผูจัดกิจกรรมหรือรวมกับเครือขาย 3) แบบศึกษาดูงาน ในพ้ืนที่ใกลเคียงหรอื ภายในจังหวัด/ภาคเดียวกัน กรณี ออกนอกพ้ืนที่ ใหขอความเห็นชอบจากผอู ํานวยการสํานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. 4) กิจกรรมท่ีจัดโดยองคกรนักศึกษา กศน. 5) อ่ืนๆ โดยใหพิจารณารูปแบบของกิจกรรมขอ ท่ี1– 4 กอน แลวจึงดาํ เนินการในขอ 5 4.2.3 วิทยากรหรือผูสอน ควรเปนผูท่ีมีความรูหรือประสบการณในการสอนวิชาน้ันๆ ซึ่งอาจจะเปนบุคคลภายนอก หรอื ครู กศน. ตามความเหมาะสม 4.2.4 ระยะเวลาการจัดกิจกรรม ใหดําเนินการนอกเวลาการพบกลุมปกติ 4.2.5 การเบกิ จา ยงบประมาณ ใหเปนไปตามระเบียบที่กระทรวงการคลงั กําหนด ทททททททท4.3 กจิ กรรมเพื่อพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เปนกิจกรรมเพ่อื ใหผูเรียนมีความรูค วามสามารถและทักษะในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) ในการเรียนรูหรือ แสวงหาขาวสารขอ มูลตางๆ ไดตลอดไป โดยกําหนดแนวทางการดาํ เนินงาน ดังนี้ จัดการเรียนการสอนใหกับกลุมเปาหมายที่จะจบหลกั สูตร กศน. ขั้นพื้นฐาน ทุกระดับ ท่ียังไมม ีความรูตามหลักสูตรคอมพิวเตอรพ ้ืนฐาน 4.3.2 จัดการเรียนการสอนโดยใชหลกั สูตรคอมพิวเตอรพื้นฐาน 4.3.3 การจัดการเรียนการสอนสามารถดําเนินการได ดังนี้ 1) สถานศึกษา กศน. จัดทดสอบเพอื่ ประเมินและเทียบโอนความรู สําหรับ ผูทีม่ ีความรูตามหลักสูตรคอมพวิ เตอรพื้นฐานอยูแลว 2) สถานศกึ ษา กศน.จัดการเรียนการสอนเอง 3) สถานศกึ ษา กศน.จัดการเรียนการสอนรวมกับเครือขา ย 4.3.4 ระยะเวลาจัดการเรียนการสอน ไมนอยกวา 40 ชั่วโมง หรอื เทียบเทา 4.3.5 การเบกิ จายงบประมาณ คา ตอบแทน คาวัสดุและคาบํารุงรกั ษา ใหเปนไป ตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลังกําหนด (วาดวยการจัดวิชาชพี หลักสูตรระยะส้ัน)

3035 ทททททททท4.4 กจิ กรรมสง เสริมประชาธิปไตย (Democracy) เพอื่ สรา งความเปนพลเมืองและประชาธิปไตยในชุมชน ที่สอดคลองกับการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561) เปนกิจกรรมเพอ่ื ใหผูเรียนไดมคี วามรูในเรื่องรัฐธรรมนูญ นิติรัฐ สิทธแิ ละเสรีภาพของประชาชน การเมอื งภาคพลเมือง ระบบการเลือกต้ัง เพ่อื ฝกฝนการเปนพลเมืองท่ีเคารพผอู ื่น เคารพกติกา สามารถรวมวิเคราะหแ ละแกปญหาของทองถิ่น และชุมชนดวยวถิ ีทางประชาธิปไตย เพ่อื สรา งความเปนพลเมือง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) ของกระทรวงศึกษาธิการ 4.5 กิจกรรมการจัดหาสือ่ อุปกรณก ารสอนของครูหรือหนงั สอื ท่ีนอกเหนอื จากแบบเรียน เพ่อื ใหบริการในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เปนการจัดหาส่ืออุปกรณการเรยี นการสอนหรือหนังสือที่นอกเหนือจากแบบเรียน เพอ่ื ใหบริการในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เพื่อใหค รูและนักศกึ ษามีส่ืออุปกรณหรือหนังสือ เพ่ือใชประกอบการเรียนรูหรือศึกษาคนควาเพิ่มเติม โดยใหดาํ เนินการไดในกรณีท่ีมีเงินเหลือจากการจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเรียน ขอ 4.1 - 4.4 แลว 5. ขนั้ ตอนการดําเนินงานของสถานศกึ ษา 5.1 ใหสถานศึกษา จัดทําแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีประสิทธิภาพ เปน รายภาคเรียนทุกภาคเรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหม ีประสิทธิภาพ ของสถานศึกษาสังกัด สาํ นกั งาน กศน. และตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี 15 ป อยา งมีคุณภาพของรัฐบาล เพือ่ ขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคก รนักศึกษา กศน. ผูแทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (ในขอ 5.2) 5.2 ใหสถานศกึ ษา จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแทนครูและ ผูบริหารสถานศกึ ษา เพอ่ื พิจารณาและเห็นชอบแผนการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน (ตามขอ 5.1) 5.3 ใหสถานศกึ ษา จัดสงแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีไดรับความเห็นชอบจากการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (จากขอ 5.2) ใหสํานกั งาน กศน. จงั หวัด/กทม. กอนเปดภาคเรียนของทกุ ภาคเรียน 5.4 ใหสถานศึกษา ดาํ เนินการตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน ท่ีไดรับความเห็นชอบแลว พรอมเบิกจา ยเงินตามระเบียบที่กาํ หนด ใหแ ลวเสรจ็ ภายในแตละภาคเรียน

3316 5.5 ใหสํานักงาน กศน. จังหวัด/กทม. แตงต้ังคณะกรรมการประสานงาน ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการ จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และรายงานใหสาํ นกั งาน กศน. ภายใน 30 วัน หลังปดภาคเรียน ทุกภาคเรียน 5.6 ใหสาํ นักงาน กศน. แตงต้งั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนจากสว นกลาง และสรุปรายงานผลทุกส้ินปงบประมาณ 4. อาชีพกลุม สนใจและอาชพี ระยะส้นั การจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี เปนการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนใหผูเรียนมีความรู เจตคติ และมีทักษะ ใน อาชีพ ตามวัตถุประสงคของหลกั สูตร ประกอบดวย ทักษะเกย่ี วกับการปฏิบัติงาน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน การ คิดแกปญหา การส่ือสาร และทักษะเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาชพี มีคุณลักษณะที่ สําคัญในเรอ่ื งความซื่อสัตยสุจริต ความคิดเชิงบวก ความมุงม่นั ในการทํางาน การทํางานรวมกับผูอื่น การรักษาส่ิงแวดลอม และการคาํ นึงถึงประโยชนสวนรวม มากกวา สวนตน การจัดกระบวนการเรียนรูเนนการปฏิบัติจรงิ และการเรียนรูจาก วิทยากรหรือผรู ูท่ีประกอบอาชพี น้ัน ๆ กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาตอเน่ือง จะเห็นวา การเตรียมความพรอมกอ นดําเนินการจัดกจิ กรรมการศึกษา ตอเนอ่ื งใหแกผูเรียน จะตองคํานึงถงึ ความตองการ ความจําเปน และความแตกตางของผูเรยี นแตละคน สถานศึกษา จึงควร ตองศึกษาขอ มลู และดําเนินการตามกระบวนการ โดยฝกกระบวนการคิดวิเคราะหตนเองใหแกผูเรียน เพ่ือใหผูเรียน สามารถคนหาสภาพปญหาและความตองการที่แทจริงของตนเอง อันจะนําไปสูการเลือกเรียนกิจกรรม กศน. ไดอยาง เหมาะสมเปนประโยชนตอตนเองมากท่ีสุด ในการฝก กระบวนการคิด วิเคราะหตนเอง เปนการบรู ณาการ “หลกั ปรัชญา คิดเปน” และ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในกระบวนการเลือกและการตัดสินใจของผูเรียน ซ่งึ สามารถประมวลได เปน 2 ดา น คือ 1. ปญหาดา นเศรษฐกิจ ผูเรียนที่มีปญหาดา นเศรษฐกิจ สามารถท่ีจะหาทางชวยตนเองเปนเบื้องตน โดยการ จัดทําบัญชีครวั เรือน เพ่อื นาํ ไปสูการจัดการชีวิตดานการลดรายจา ย และการเพ่ิมรายได 2. ปญหาท่ัวไปในชีวิตประจาํ วัน ผูเรียนสามารถนาํ ผลจากการวิเคราะหสูกจิ กรรมการศึกษาที่เหมาะสม กับ ผูเรียนแตละคน เปนรายบุคคล ซึง่ สถานศกึ ษา กศน. จะไดจัดเปนกิจกรรมการศึกษาใน 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบกลุมสนใจ เปนการจัดการศึกษาหลักสูตรที่สถานศกึ ษาจัดขึ้น เพ่ือมุงพัฒนาคุณภาพชีวิต และสงเสริมการเรยี นรู ของประชาชน โดยหลักสูตรมีความยืดหยุนดา นเนื้อหา สาระ ระยะเวลาเรียน และสถานท่ี ตามความตองการและความ จําเปนของกลมุ เปา หมาย หรือชุมชน หรือนโยบายของทางราชการ 2. รูปแบบกลุมสนใจ เปนการจัดการศึกษาหลักสูตรวชิ าชีพท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน เพื่อมงุ พัฒนา ใหผูเรียนสามารถนาํ ความรู ดงั กลา วไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ และพัฒนาตอยอด อันจะนาํ ไปสูการพัฒนา คุณภาพชีวิต แกปญหาของผูเรียน ไดอยา งเปนรูปธรรม การพ่ึงพาตนเองอยา งยง่ั ยืน และชุมชนเขมแข็งตอ ไปตอไป การศึกษาตอเนอ่ื งรปู แบบกลุมสนใจ การทําน้าํ ยาบว นปาก การจัดการศึกษาอาชีพในปจจุบันมีความสําคัญมาก เพราะจะเปนการพัฒนาประชากรของประเทศใหมคี วามรู ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เปนการแกปญหาการวางงานและสงเสริมความเขมแข็งใหแกเศรษฐกิจ ซง่ึ กระทรวงศกึ ษาธิการไดกําหนดยุทธศาสตร ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุมอาชพี ใหม คือ กลมุ อุตสาหกรรม กลุมพาณิชกรรมกลุมเกษตรกรรม กลุมความคิดสรา งสรรค กลุมอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ใหสามารถแขงขันไดใน 5 ภมู ิภาคหลักของโลก “รูเขา รูเรา เทา ทัน เพื่อแขง ขันไดในเวทีโลก” ตลอดจนกําหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษา

3237 เพื่อเพิม่ ศักยภาพและขีดความสามารถใหกับประชาชนไดมีอาชีพท่ีสรา งรายไดที่มั่นคง โดยเนนการบูรณาการใหสอดคลอง กับศักยภาพดานตา งๆ มุง พัฒนาคนไทยใหไดรับการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชีพและการมีงานทาํ อยางมคี ุณภาพทั่วถึงและเทา เทียมกัน ประชาชนมีรายไดมั่นคง และมีงานทาํ ที่ยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแขง ขันท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและ ระดับสากล ซ่ึงจะเปนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหมท่ีสรางความมั่นคงใหแ กประชาชนและประเทศชาติ การเลือกประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยุคปจจุบันจาํ เปนตองมีขอ มูลพื้นฐานในหลกั สูตรในหลายๆดานท้ังดา น การผลิตลความตองการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพตางๆกลุมอาชีพหลกั สูตร การทาํ น้าํ ยาบวนปาก ก็เปนทางเลือก หนึ่งในการเลือกประกบอาชีพ เพ่ือใหประชาชนผูที่สนใจในการฝกปฏิบัติและนําไปประกอบอาชีพสรางรายไดมีความม่ันใจ ในการนําความรูและทักษะไปประกอบอาชีพ การกาํ หนดเน้ือหาและช่ัวโมงการเรียนหลักสูตรจะประกอบไปดวยจํานวน ชั่วโมงของเน้ือหาความรูแ ละการปฏิบัติเม่อื ผูเรียนๆจบหลักสูตรแลวสามารถนําความรแู ละทักษะไปประกอบอาชีพสราง รายไดหรือเปนรายไดเสริมอ่ืนที่อกเหนือจากการประกอบอาชีพของตนเองมาสนับสนุนครอบครัวเปนระบบ กระบวนการพัฒนาความคิดสรา งสรรคประยุกตพัฒนางานตลอดจนนาํ ภูมิปญญาทองถิ่นแหลง เรียนรูผูเก่ียวของมีสว นรว ม จัดเน้ือหาประสบการณใหเกิดผลกับผูเรียนเปนคนดมี ีปญญามรี ายไดเสริมแกครอบครวั เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความ เปนอยูที่ดีขึ้นรวมถึงเพื่อเปนการสนับสนุนการรวมกลุมกอใหเกิดรายไดในชุมชนเกิดความเขม แขง็ ตอไปซ่งึ เปนการศึกษา ตอเนอื่ งเพื่อการพัฒนายงั่ ยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

38 บทท่ี 3 วิธีดาํ เนนิ งาน โครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรียนรู วิชาการการทํานา้ํ ยาบวนปาก (หลักสูตร 3 ช่ัวโมง) มีขั้นตอนดงั นี้ 1. สํารวจความตองการของกลมุ เปา หมาย 2. ดําเนินการจัดกิจกรรมโครงการรวมกับกลมุ ประชาชนทั่วไปของตําบลหนองปรือ (โดยการอบรมใหความรูและฝกทักษะอาชีพ) 3. การวิเคราะหขอ มูล 1. สํารวจความตองการของกลุมเปาหมาย กลมุ ภารกิจการจัดการศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายให ครู กศน.ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี สาํ รวจความตองการของผูเรียนของกลุมเปา หมายและแจงใหกลุมเปาหมายฯ ทราบถงึ กาํ หนดการจัดกิจกรรม 2. ดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม โครงการฝกอาชีพและสงเสริมการเรียนรู วิชาการการทาํ น้าํ ยาบวนปาก (หลักสูตร 3 ช่ัวโมง) ระหวางวันท่ี 24 กมุ ภาพันธ 2563จัดอบรมใหความรูและฝกทักษะอาชีพ ณ อาคารอเนกประสงค หมู 3 ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีผูเขารวมกิจกรรม 8 คน 3. การวเิ คราะหข อมูล การวิเคราะหขอมูล ใชคาสถิติรอยละในการประมวลผลขอมูลสวนตัวและตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการตาม แบบสอบถามคิดเปนรายขอ โดยแปลความหมายคา สถิติรอ ยละออกมา ไดด งั นี้ คาสถติ ิรอ ยละ 90 ข้นึ ไป ดีมาก คา สถิติรอยละ 75 – 89.99 ดี คา สถติ ิรอ ยละ 60 – 74.99 พอใช คาสถติ ริ อ ยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรงุ คา สถติ ริ อ ยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรงุ เรงดวน สวนการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอซึ่งมีลักษณะเปนคาน้ําหนักคะแนน และนํามา เปรียบเทียบ ไดร ะดับคุณภาพตามเกณฑการประเมิน ดังน้ี เกณฑก ารประเมิน คาน้าํ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ คือ ดมี าก คาน้ําหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ คอื ดี คา นา้ํ หนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คุณภาพ คือ พอใช คาน้าํ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คุณภาพ คอื ตอ งปรบั ปรุง คา น้ําหนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คุณภาพ คือ ตองปรบั ปรงุ เรง ดวน

39 บทท่ี 4 สรปุ ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหขอมลู การจัดกิจกรรมการศึกษาอาชีพกลุม สนใจ วชิ าการการทําน้ํายาบวนปาก (หลกั สูตร 3 ช่ัวโมง) ซึ่งไดสรุปรายงาน ผลจากแบบสอบถามความคิดเห็น ขอมูลท่ีไดสามารถวิเคราะหและแสดงคาสถิติ ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอมลู สว นตัวของผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รว มกจิ กรรมวิชาชพี รูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการ การทาํ น้าํ ยาบว นปาก (หลกั สตู ร 10 ช่วั โมง) ตารางท่ี 1 ผูเ ขารว มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ เพศ รายละเอยี ด ชาย หญิง จาํ นวน (คน) 1 8 รอ ยละ 11.1 88.89 จากตารางที่ 1 พบวาผูตอบแบบสอบถามท่ีเขา รวมกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วิชาการการทาํ น้าํ ยาบวน ปาก (หลักสูตร 3 ชั่วโมง) เปนหญงิ จํานวน 8 คน คิดเปนรอ ยละ 88.89 และเปนชาย จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 11.1 ตารางท่ี 2 ผูเขา รวมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดนาํ มาจาํ แนกตามอายุ รายละเอียด อายุ (ป) อายุ ต่ํากวา 15 ป 16 - 39 40 - 49 50-59 60 ขึ้นไป จาํ นวน (คน) 0 14 3 1 รอยละ 0.00 11.1 44.44 11.1 33.33 จากตารางที่ 2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามท่ีเขารวมกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการทาํ นํา้ ยาบวน ปาก (หลกั สูตร 3 ชั่วโมง) พบวาผูเขา รวมโครงการฯ มี อายุ 16 – 39 ป จาํ นวน 1 คน คิดเปนรอยละ 11.1 อายุ 40 – 49 ป จาํ นวน 4 คน คิดเปนรอยละ 44.4 อายุ 50 – 59 ป จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 33.33 และอายุ 60 ปข ึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 11.1 ตารางที่ 3 ผูเขา รว มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน าํ มาจําแนกตามอาชีพ อาชีพ รายละเอียด เกษตรกรรม รับจาง รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ คาขาย อ่ืนๆ จํานวน (คน) 3 3 0 2 1 รอยละ 33.33 33.33 0.00 11.1 22.22 จากตารางที่ 3 พบวาผูตอบแบบสอบถามท่ีเขา รวมกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วิชาการการทํานาํ้ ยาบวน ปาก (หลักสูตร 3 ชั่วโมง) มีอาชีพเกษตรกรรม จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 33.33 อาชีพรับจา ง จาํ นวน 3 คน คิดเปน รอยละ 33.33 อาชีพคาขาย จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 22.22 และอาชีพอ่ืนๆ จํานวน 1 คน คิดเปนรอ ยละ 11.1

40 ตารางท่ี 4 ผูเขารว มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนาํ มาจําแนกตามระดบั การศกึ ษา รายละเอยี ด ระดับการศกึ ษา การศึกษา ประถม ม.ตน ม.ปลาย/ปวช. ปวส.ข้ึนไป จาํ นวน (คน) 7 1 1 0 รอยละ 77.78 11.1 11.1 0.00 จากตารางที่ 4 พบวาผูตอบแบบสอบถามที่เขารวมกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการทาํ น้าํ ยาบวน ปาก (หลกั สูตร 3 ช่ัวโมง) ระดับประถมศึกษา จํานวน 7 คน คิดเปนรอ ยละ 77.78 ระดับม.ตน จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอยละ 11.1 และระดับม.ปลาย จาํ นวน 1 คน คิดเปนรอยละ 11.1 ตารางท่ี 5 แสดงคารอยละเฉล่ียความสําเร็จของตัวชี้วดั ผลผลติ ประชาชนท่ัวไปตาํ บลหนองปรือ เขา รว มโครงการจํานวน 9 คน ผลสําเร็จของโครงการ เปาหมาย ผูเขารวมโครงการ คิดเปนรอยละ 89 100 จากตารางที่ 5 พบวา ผลสําเร็จของตัวชว้ี ัดผลผลิตกิจกรรมวชิ าชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการทําน้าํ ยาบวนปาก (หลักสูตร 3 ชั่วโมง) มีผูเขารว มโครงการ จาํ นวน 9 คน คิดเปนรอยละ 100 ซึง่ บรรลุเปาหมายดานตัวช้ีวัด ผลผลิต ประชาชนท่ัวไปตําบลหนองปรือ เขารวมโครงการจาํ นวน 9 คน

41 ตอนที่ 2 ขอมลู เกี่ยวกับความคดิ เหน็ ของผูเขารับอบรมวิชาชีพรปู แบบกลมุ สนใจ วิชาการการทํานํ้ายา บว นปาก ความคิดเห็นของผูเขา รับรว มกิจกรรม จํานวน 9 คน จากแบบสอบถามทั้งหมดท่ีมีตอการอบรมวชิ าชีพรูปแบบกลุมสนใจ ตารางท่ี 6 ผลการประเมินการอบรมวชิ าชีพรูปแบบกลุมสนใจ รายการทป่ี ระเมนิ n=9 ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดานเนือ้ หา 1. เนื้อหาตรงตามความตองการ µ σ อนั ดบั ระดับผล 2. เน้ือหาเพียงพอตอความตองการ ที่ การประเมิน 3. เน้ือหาปจจุบันทันสมัย 4.44 4. เนื้อหามีประโยชนตอการนําไปใชในการพัฒนา 4.56 0.53 10 4.44 0.53 8 คุณภาพชีวิต 4.78 0.53 10 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจดั กจิ กรรม 0.44 3 5 การเตรียมความพรอมกอ นจัดกิจกรรม 4.33 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค 4.56 0.71 12 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.89 0.53 8 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย 4.89 0.33 1 9 วธิ ีวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค 4.67 0.33 1 ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ วิทยากร 4.78 0.50 6 10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองท่ีถายทอด 4.67 0.44 3 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถา ยทอดใชสือ่ เหมาะสม 4.78 0.50 6 12 วิทยากรเปดโอกาสใหมีสว นรวมและซักถาม 4.11 0.44 3 ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา นการอํานวยความสะดวก 4.33 0.93 15 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและสง่ิ อาํ นวยความสะดวก 4.33 0.50 12 14 การส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการ 4.57 0.50 12 0.52 เรียนรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลือและการแกปญหา คา เฉลี่ย ททททททททจากตารางที่ 4 แสดงใหเห็นวา ผูเขารว มการอบรมวิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการทํานํา้ ยาบวนปาก พบวา อยูในระดับ ดีมาก เม่ือวิเคราะหเปนรายขอพบวาอันดับที่ 1 คอื การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,การจัดกิจกรรม เหมาะสมกับกลมุ เปาหมาย(µ= 4.89) อันดับท่ี 3 คือ เน้ือหามีประโยชนตอการนาํ ไปใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิต,วิทยากร มคี วามรูค วามสามารถในเร่ืองที่ถา ยทอด,วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรว มและซกั ถาม,(µ= 4.78) อันดับท่ี 6 คือ วธิ ีวัดผล/ ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค,วิทยากรมีเทคนิคการถา ยทอดใชส่ือเหมาะสม (µ= 4.67) อันดับท่ี 8 คือการ

42 ออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค(µ= 4.56) และอันดับที่ 10 คือเน้ือหาตรงตามความตองการ,เนื้อหาปจจุบัน ทันสมัย,(µ= 4.44 )อันดับที่ 12 คือการเตรียมความพรอมกอ นจัดกิจกรรม,การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการ เรียนรู,การสอ่ื สาร การสรางบรรยากาศเพื่อใหเกิดการเรียนร,ู การบริการ การชวยเหลือและการแกปญหา(µ= 4.33 )อันดับ ที่ 15 คอื สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก(µ= 4.11 )ตามลําดับ ตารางที่ 7 ผลการประเมินผเู ขารว มกิจกรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชา การการทําน้าํ ยาบว นปาก เน้ือหาผูเขา รวมกิจกรรมการอบรมวิชาชีพรูปแบบ N=9 กลุมสนใจ การการทําน้าํ ยาบวนปาก µ σ อันดับที่ ระดับผลการประเมิน 1. การมีสว นรวมในกิจกรรมกลมุ 050 1 ดมี าก 2. ความพึงพอใจในการเขารว มโครงการ 4.53 0.50 1 ดมี าก 3. การคิดอยา งมีเหตุผล 4.53 4. การเขาใจ และรับฟงความคิดเห็นจากผูอื่น 4.52 0.50 3 ดมี าก 5. การรูจัก และเขาใจตนเอง 4.48 0.50 5 ดี คาเฉล่ีย 4.50 0.50 4 ดี 4.51 0.50 ดีมาก รรรรรรรรจากตารางที่ 5 พบวา โดยเฉล่ียแลวผูเขา รว มผูเขารว มกิจกรรมการอบรมวิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการทํา นํ้ายาบวนปาก อยูในระดับ ดีมาก เมื่อวิเคราะหเปนรายขอพบวา การมีสวนรว มในกิจกรรมกลุม และ. ความพงึ พอใจในการ เขารวมโครงการมีคา ทากัน คือ (µ=4.53) เปนอันดับท่ี 1 และรองลงมาคือ การมีการคิดอยา งมีเหตุผล (µ= 4.52) และการรูจักและเขา ใจตนเอง (µ= 4.50) การเขาใจและรับฟง ความคิดเห็นจากผูอื่น (µ= 4.48) ตามลําดับ

43 บทท่ี 5 สรุป อภปิ ราย ขอเสนอแนะ การจัดกิจกรรมโครงการฝกอาชีพและสง เสริมการเรียนรู วิชาการการทําน้าํ ยาบวนปาก (หลักสูตร 3 ชั่วโมง) มี วัตถุประสงคเพอ่ื ไดรับความรูและฝกทักษะเก่ียวกับการการทําน้ํายาบว นปากและสามารถนําความรูไปใชในการประกอบ อาชีพไดจริงและเปนการเพ่ิมรายไดใหกับครอบครัว วิธีดาํ เนินการกลุมภารกิจการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ สํารวจความตองการเรียนรูของกลมุ เปาหมาย กลุมประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรือ และแจง ใหกลุมเปา หมายฯ ทราบถึงกําหนดการจัดกิจกรรมวิชาชีพรปู แบบกลุมสนใจ วิชาการการทาํ นํ้ายาบวนปาก (หลักสูตร 3 ชว่ั โมง) เปนการอบรมใหความรแู ละฝกทักษะอาชีพ และปฏิบัติจรงิ ในหองเรียน จัดข้ึนในวันที่ 24 กมุ ภาพันธ 2563 โดย เปนการจัดอบรมใหความรูฝกทักษะอาชีพ ณ อาคารอเนกประสงค หมู 3 ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี งบประมาณดําเนินการโดย กศน.อําเภอพนัสนิคม มีผูเขา รวมโครงการ จํานวน 9 คน สรุปผลการดําเนนิ งาน สรุปไดวา กลุมประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรือ เขารวมโครงการฝกอาชีพและสงเสริมการเรียนรู วิชาการทํา น้าํ ยาบวนปาก (หลกั สูตร 3 ชั่วโมง) ที่จัดข้ึนในวันท่ี 24 กุมภาพันธ 2563 โดยเปนการจัดอบรมใหความรฝู กทักษะอาชีพ คอื ความรูความเขา ใจเกี่ยวกับการการการทําน้ํายาบวนปาก ณ อาคารอเนกประสงค หมู 3 ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนัส นคิ ม จังหวัดชลบุรี งบประมาณดําเนินการโดย กศน.อําเภอพนสั นิคม มีผูเขารวมโครงการ จํานวน 9 คน (รอยละ 100 ของเปา หมายโครงการ) โครงการฝกอาชีพอาชีพชุมชนรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการทาํ น้ํายาบวนปาก (หลักสูตร 3 ช่ัวโมง) ผูเขารวมมีระดับความคิดเห็น / ความพึงพอใจ ตอโครงการ อยูในระดับ 4.57 “ดมี าก” อภปิ รายผล จากการจัดโครงการฝกอาชีพและสงเสริมการเรียนรู วิชาการการทําน้ํายาบวนปาก (หลักสูตร 3 ช่ัวโมง) เน่ืองจาก กลุมประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรอื สวนใหญมีระดับความคิดเห็น/ความพงึ พอใจตอโครงการอยูในระดับ “ดมี าก” และ บรรลคุ วามสาํ เร็จตามเปาหมายตัวชี้วัดผลลัพธที่ต้ังไว ขอ เสนอแนะ อยากใหมกี ารจัดกิจกรรมอีก จะไดนําความรูไปปฏิบัติ

44 บรรณานกุ รม กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บุญชม ศรีสะอาด และ บุญสง นิลแกว (2535 หนา 22-25) http://www.krukorsornor.com/knowledge-id803.html https://xn--l3cblozbg9i6a5h.com/archives/861

45

46 รายงานผลการจัดกจิ กรรม วชิ า การทํานํา้ ยาบว นปาก จาํ นวน 3 ชั่วโมง วนั ท่ี 24 กมุ ภาพันธ 2563 ณ อาคารอเนกประสงค ม.3 ตาํ บลหนองปรอื วิทยากร คอื นายวชิ ยั กานบัว ผเู ขารว มกิจกรรมจํานวน 9 คน ..................................................ผรู ายงาน (...............................................)

47 เลขท่ี………………. ใบสมัครผเู รียนหลกั สูตรการจดั การศกึ ษาตอเนอ่ื ง สถานศกึ ษา ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอ/เขต....พนัสนิคม........ สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ หลกั สูตร/กิจกรรม……………………………………………………………………….....จํานวน...........ชั่วโมง  ๑. ขอ มูลสวนตัว (กรุณากรอกขอมูลดว ยตัวบรรจง) ชื่อ-นามสกุล นาย/นาง/นางสาว....................................................เลขบัตรประจาํ ตัวประชาชน.......................... เกิดวันท่ี/เดือน/พ.ศ............................อายุ..........ป สัญชาติ..................ศาสนา.....................อาชีพ..................... ความรูส ูงสุดจบระดับ.................................จากสถานศึกษา.......................................จังหวัด.............................. ท่ีอยูตามทะเบียนบานเลขที่............หมูท่ี..............ถนน/หมูบาน.........................................ตําบล/แขวง.............. อําเภอ.............................จังหวัด...............................รหัสไปรษณีย.........................โทรศัพท............................... ๒. สนใจเขารวมกิจกรรม เน่ืองจาก...........................................................................................................................  เปนพื้นฐานในการศกึ ษาตอในระดับ/สาขา………………………………………………………………………………..  ตองการเปล่ียนอาชีพ  ตองการใชเวลาวางใหเปนประโยชน  ตองการมีอาชีพเสริม/อาชีพหลัก  อื่นๆ ระบุ.................................................................... ๓. สถานภาพของผูสมัคร  เปนผูวางงาน  สมาชกิ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี  สมาชิกกองทุนสตรีเทศบาล  ผูถ ือบัตรสวัสดิการของรัฐ  อสม./อสส. รบั จา ง  เกษตรกร  สมาชิกกองทุนหมูบาน  อื่นๆ.................................. ๔. ทานไดร ับขา วสารการรับสมัครจาก...................................................................................................................... สาํ หรบั เจาหนา ที่ ลงชื่อ.............................................ผูสมคั ร ตรวจสอบรายละเอียด/ความเห็น (.......................................................) .................................................... ลงช่ือ............................................ผรู ับสมัคร วันท่ี/เดือน/ป............................................... (..............................................) วันที่/เดือน/ป............................................... หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปล่ียนไดตามความเหมาะสม ในกรณีตางดา ว ตองมี Work Permit จึงจะสามารถสมัครเรียนได

48 แบบ กศ.ตน. 10 แบบประเมินความพงึ พอใจ หลักสูตร..................................................................ระหวางวันท่ี....................เดือน….....................พ.ศ…............... สถานท่ีจัด........................................................................................อําเภอ………...............................จงั หวัดชลบรุ ี ขอมูลพ้ืนฐานของผูประเมินความพงึ พอใจ เพศ ชาย หญิง อายุ...........ป วุฒกิ ารศกึ ษา.............................อาชีพ.......................................... คาํ ช้แี จง 1. แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครอื่ งหมาย √ ในชองวางระดับความพงึ พอใจตามความคิดเห็นของทา น ระดับความพึงพอใจ หมาย ขอ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ ย นอย เหตุ ที่สดุ กลาง ที่สุด ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดานเนือ้ หา 1 เน้ือหาตรงตามความตอ งการ 2 เน้ือหาเพียงพอตอ ความตอ งการ 3 เนอ้ื หาปจ จบุ ันทนั สมยั 4 เน้อื หามีประโยชนตอ การนําไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรม 5 การเตรยี มความพรอมกอ นจดั กจิ กรรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุม เปา หมาย 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ วิทยากร 10 วิทยากรมคี วามรูค วามสามารถในเรือ่ งทถ่ี ายทอด 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส อ่ื เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหมสี วนรวมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจดานการอาํ นวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณและสิ่งอาํ นวยความสะดวก 14 การสื่อสาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการเรยี นรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกปญ หา ผูผา นการฝกอบรมไดนําความรูไปใชจริง เพ่ิมรายได ลดรายจาย นําไปประกอบอาชีพ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชน อ่นื ๆ ระบ…ุ ……………………. ความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................

49 ทป่ี รึกษา ผูจดั ทํา นางณัชธกัญ หม่ืนสา นางสาวมุทิกา การงานดี ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม ครู ผูจัดทาํ ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ นางสาวสรุ ภา เชาวันดี ครู กศน.ตาํ บลหนองปรอื ผูร วบรวม เรียบเรียง และจัดพิมพ นางสาวสุรภา เชาวันดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook