Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5 บทหาบเพชร

5 บทหาบเพชร

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-25 15:11:11

Description: 5 บทหาบเพชร

Search

Read the Text Version

1 สรุปผลการจดั กจิ กรรม การจดั กจิ กรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ วิชา การจักสานหาบไมไ ผจ๋ิว หลกั สตู ร 10 ชัว่ โมง ระหวางวนั ที่ วันท่ี 6-7 กมุ ภาพันธ 63 เวลา 9.00 – 15.00 น. ณ ศูนยฝก อาชพี OTOP ม.2 ตําบลหนองปรือ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี กศน.ตําบลหนองปรอื ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนัสนิคม สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี

2 บทสรุปผบู รหิ าร โครงการอบรมอาชีพระยะส้นั เพอื่ การมีงานทาํ หลักสตู ร วิชาชีพรปู แบบกลุม สนใจ วชิ า การสานหาบไมไผจ๋ิว (หลักสตู ร 10 ช่ัวโมง ) จัดขน้ึ ในครั้งนี้มวี ัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาการงานและอาชีพ โดยใหค วามสาํ คัญกับการจัดการศึกษา เพอ่ื พัฒนางานและอาชพี ระดับพน้ื ฐาน ระดบั ก่งึ ฝม ือ และระดบั ฝมือ ท่ีสอดคลองกบั สภาพและความตองการของ กลมุ เปาหมาย โดยมุงเนน ใหผ ูเรยี นสามารถนาความรูไปใชในการประกอบอาชีพ หรือเพ่ิมพนู รายได ทงั้ นี้ใหมกี ารพัฒนา หลักสตู รและวิธีการท่ีหลากหลายและทันสมัย สามารถใหบ รกิ ารไดอยา งทั่วถึง อีกทง้ั มุงจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ ใหกับทุกกลุม เปา หมาย โดยจดั กิจกรรมการศึกษาทีม่ งุ เนน ใหท ุกลุม เปาหมายมคี วามรูความสามารถในการจัดการชีวิตของ ตนเองใหอยใู นสงั คมไดอยา งมีความสขุ รวมท้งั การใชเวลาวางใหเปน ประโยชนตอตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน โดยมี กลุมเปาหมายคอื ประชาชนในตําบลหนองปรือ จํานวน 8 คน โดยจะใชกลุม เปา หมายทั้งหมดในการคํานวณโดยใช โปรแกรมสาํ เรจ็ รูปคอมพวิ เตอร (โปรแกรมตารางคํานวณ) เพอื่ สรปุ ผลการดําเนนิ งานในครัง้ นี้ วิธกี ารดาํ เนินงาน โดยการสํารวจความตองการของประชาชนในพ้นื ทต่ี ําบลหนองปรอื และนําผลจากการสํารวจมา จัดทํากจิ กรรมโครงการอบรมอาชพี ระยะสั้นเพื่อการมงี านทํา หลกั สูตร วิชาชีพรูปแบบกลุม สนใจ วชิ า การสานหาบไมไผ จ๋วิ จาํ นวน 8 คน ในวันที่ 6-7 กมุ ภาพนั ธ 2563 ณ ศนู ฝก อาชพี OTOP หมู 2 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนัสนคิ ม จ.ชลบรุ ี โดยมี นางสาวสราญเนตร รอดทอง เปน วทิ ยากรใหความรู หลังจากการจดั กิจกรรมโครงการแลวมีการแจกแจงแบบ ประเมินความพึงพอใจ สาํ หรบั ผูเขา รว มโครงการทั้งหมด จํานวน 8 ชดุ แลว นาํ ขอมลู ที่ไดม าคํานวณทางสถิติ หาคา รอยละ คา เฉลย่ี การแจกแจงความถ่ี และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดําเนนิ งาน จากการนาํ ขอมลู ทีไ่ ดมาทาํ การคํานวณหาคา สถติ ติ างๆ สรุปวา ผเู ขารวมกิจกรรม มีความพงึ พอใจอยูใน ระดบั 4.39 (ดี)

3 คาํ นาํ ตามท่ี กศน.ตาํ บลหนองปรือ สังกัดศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนสั นคิ ม ได ดาํ เนนิ งานตามนโยบายของสํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดว ยการเห็นความสําคัญใน การจดั การศกึ ษาพฒั นาอาชพี เพื่อการมีงานทําอยา งยง่ั ยนื จึงไดจ ดั การฝก อาชีพระยะสนั้ รูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี วชิ าการ สานหาบไมไ ผจว๋ิ ข้ึน เพือ่ สามารถนาํ ไปประกอบอาชพี ไดแ ละยงั สรางมลู คา เพิ่มใหกับอาชพี ในปจ จุบนั ระหวางวนั ที่ 6-7 กมุ ภาพนั ธ 2563 ณ ศูนยฝกอาชีพ OTOP หมู 2 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี โดยมี นางสาวสราญเนตร รอดทอง เปนวทิ ยากรใหความรู เพอ่ื ใหไ ดขอ มูลสําหรับเปน แนวทางในการพัฒนากจิ กรรมดานพัฒนาอาชีพใหดยี ิ่งขึน้ ตอไป กศน. ตําบลหนองปรือ สังกัดศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอพนัสนคิ ม จงึ ไดจดั ทําสรุปผลการจัด กิจกรรมการดาํ เนนิ งานเพื่อใหประชาชนในตําบลหนองปรือ มอี าชีพเสริมที่สามารถสรา งรายไดใ หกบั ครอบครัวเพ่ิมขึ้น กศน.ตาํ บลหนองปรือ กมุ ภาพันธ 2563

4 สารบัญ หัวเรื่อง หนา คาํ นาํ บทที่ 1 บทนาํ 1- หลกั การและเหตผุ ล 1 - วัตถปุ ระสงค 1 - เปาหมาย 1 - วิธีดําเนินการ 2 - วงเงนิ งบประมาณทง้ั โครงการ 2 - แผนการใชจ ายงบประมาณ 2 - ผรู ับผดิ ชอบ 3 - เครอื ขาย 3 - โครงการทเ่ี ก่ียวของ 3 - ผลลพั ธ 3 - ตัวชี้วดั ความสําเร็จของโครงการ 3 - การตดิ ตามและประเมินผลของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเี่ ก่ยี วของ 4 - ยทุ ธศาสตรและจดุ เนน การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ 2562 4 - แนวทาง/กลยทุ ธการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตาํ บลหนองปรอื 10 - หลักการจดั การศึกษาตอเน่อื ง 17 - อาชพี ชนั้ เรียนและอาชพี ระยะสั้น 31 บทที่ 3 วธิ ดี าํ เนนิ งาน 33 - สํารวจความตอ งการของกลุมเปาหมาย 33 - ดําเนนิ การจดั กรรม 33 - การวิเคราะหขอ มลู 33 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล 34 - ตอนท่ี 1 ขอมูลสว นตวั ของผูตอบแบบสอบถามของผูเขา รวมกจิ กรรมวชิ าชพี รูปแบบช้ันเรียนวชิ าชีพ วชิ าการสานหาบไมไผจว๋ิ ( 10 ชวั่ โมง) 34 - ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกบั ความคิดเหน็ ของผูเ ขา รบั อบรมวชิ าชพี รปู แบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ วิชาการสาน หาบไมไผจิ๋ว( 10 ชวั่ โมง) 36 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล ขอ เสนอแนะ 38 - สรุปผลการดาํ เนนิ งาน 38 - อภปิ รายผล 38 - ขอ เสนอแนะ 38 บรรณานุกรม ภาคผนวก

5 สารบญั ตาราง หนา 34 หัวเรื่อง 34 ตารางที่ 1 ผูเขา รวมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ 34 ตารางท่ี 2 ผเู ขา รวมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน าํ มาจําแนกตามอายุ 35 ตารางท่ี 3 ผูเ ขา รว มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอาชีพ 35 ตารางที่ 4 ผเู ขารว มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน าํ มาจําแนกตามระดับการศึกษา 36 ตารางที่ 5 แสดงคารอ ยละเฉลี่ยความสําเรจ็ ของตัวช้วี ดั ผลผลติ ประชาชนทว่ั ไปตาํ บลหนองปรอื 37 ตารางที่ 6 ผลการประเมนิ การอบรมวชิ าชีพรปู แบบกลุม สนใจ วิชาการสานหาบไมไผจ ๋ิว ตารางท่ี 7 ผลการประเมนิ ผูเขารวมกิจกรรมการอบรมรูปแบบกลุม สนใจวิชาการสานหาบไมไผจิ๋ว

6 บทท่ี 1 บทนํา หลกั การและเหตผุ ล ตามนโยบายของสาํ นักงาน กศน.ทีม่ ุงเนน ใหม ีการพัฒนาและจดั ทาํ หลักสตู รการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมีงานทําที่ สอดคลอ งกบั ความตอ งการของผูเรยี น ความตองการของตลาด และศักยภาพของพน้ื ทโี่ ดยมเี ปา หมายเพอ่ื ใหการจดั การศกึ ษาอาชีพแนวใหม เปน การจัดการศกึ ษาท่ีสามารถสรางอาชีพหลักทีม่ นั่ คงใหกบั ผูเรียนโดยสามารถสรางรายไดไดจริง ทั้งในระหวางเรยี นและสาํ เร็จการศึกษาไปแลว และสามารถใชประโยชนจ ากเทคโนโลยใี นการสรางมลู คาเพ่มิ ใหก บั อาชีพ เพอื่ พัฒนาใหเ ปน ผปู ระกอบการท่ีมคี วามสามารถเชงิ การแขงขันอยางยั่งยนื จากการสาํ รวจความตองการของประชาชนตาํ บลหนองปรือ พบวา ประชาชนสว นใหญป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจา งท่ัวไปคา ขาย ธุรกจิ สวนตวั แมบา น และเวลาวา งหลังจากการประกอบอาชีพ จงึ มกี ารรว มกลุม กนั เพื่อเรียนรูวิชาชีพ ตางๆเพ่ิมเตมิ โดยมคี วามคิดเหน็ ตรงกนั ที่จะเรียนวิชา การจกั สานหาบไมไผจวิ๋ เพือ่ ใหผเู รียนนําไปใชใ นชวี ิตประจําวนั และ เปน แนวทางในการประกอบอาชพี เสรมิ สรางรายได ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นคิ ม และ กศน.ตําบลหนองปรอื ไดเล็งเห็นความสําคญั ของกระบวนการเรยี นรูในชุมชนดา นการพฒั นาอาชีพ จึงไดจ ดั กิจกรรม สงเสริมศูนยฝ กอาชีพชุมชน หลักสตู รระยะส้ันรูปแบบกลมุ สนใจ วชิ า การการจกั สานหาบไมไผจ วิ๋ หลักสตู รละ 10 ชั่วโมง สําหรับประชาชนตาํ บลหนองปรือขนึ้ วัตถปุ ระสงค 1. เพ่ือใหผูเรยี นมีความรู เกีย่ วกบั วสั ดุ อุปกรณใ นการการจักสานหาบไมไผจิ๋ว 2. เพ่อื ใหผ ูเรยี นมีทกั ษะในการการจกั สานหาบไมไ ผจ๋ิวได 3. เพื่อใหผูเรียนสามารถนาํ ความรไู ปปรับใชในชวี ิตประจาํ วนั และการประกอบอาชีพได เปาหมาย เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรือ จํานวน 8 คน เชงิ คุณภาพ - ผูเขารวมกิจกรรมสามารถนําความรูไปใชใ นการประกอบอาชีพและสรางรายไดไ ดจ ริงเพ่ือเปนการเพมิ่ รายไดใหกับครอบครัว

72 วิธดี าํ เนินการ วตั ถปุ ระสงค กลุมเปาหมาย เปา หมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ 1. เพอ่ื ใหผเู รยี นมี ประชาชนทว่ั ไป 8 คน ดาํ เนินการ 6-7 3,000..- กิจกรรมหลัก ความรู เก่ยี วกับ ในตําบลหนอง ศูนยฝ กอาชีพ บาท 1.ดาํ เนนิ การขอรปู แบบ วสั ดุ อุปกรณใน OTOP กุมภาพนั ธ กลุมสนใจ การการจกั สาน ปรือ หมู 2 2563 2.ดําเนนิ งานและติดตอ หาบไมไผจ ๋วิ ตาํ บลหนองปรือ ประสานงาน 2. เพอื่ ใหผ เู รียนมี อาํ เภอพนัสนิคม 3.ดําเนินกจิ กรรมตาม ทักษะในการการ จังหวัดชลบรุ ี โครงการฝก ทักษะอาชีพ จักสานหาบไมไผ “การจักสานหาบไมไผ จว๋ิ ได จิ๋ว” 3. เพอื่ ใหผ เู รียน 4.สรุปผลและรายงานผล สามารถนาํ ความรู ไปปรบั ใชใ น ชวี ติ ประจําวนั และ การประกอบอาชีพ ได วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ เงนิ งบประมาณดาํ เนินงาน การศึกษาตอ เนื่อง (กิจกรรมสงเสริมศูนยฝกอาชพี ชุมชน) รปู แบบกลุมสนใจ จาํ นวน 3,000.- (สามพนั บาทถวน-) จํานวนเงนิ กิจกรรมการศกึ ษา ไตรมาส 1 รายละเอยี ดคาใชจายในการดําเนนิ งาน บาท สต. 1.การอบรมใหความรู 3,000.-บาท 1.คาวิทยากร จํานวน 10 ชั่วโมงๆ ละ 200 บาท 2,000 - 2.การฝกทกั ษะ 2.คาวสั ดฝุ กทักษะอาชีพ 1,000 - รวมเปน เงนิ ทัง้ สิ้น 3,000 - หมายเหตุ ทัง้ นขี้ อถัวจา ยตามจริงทกุ ประการ แผนการใชจ ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการศูนยฝ กอาชพี ชมุ ชนรูปแบบกลุมสนใจ - 3,000.- - - วิชาการการการจักสานหาบไมไ ผจิว๋ (จาํ นวน 10 ชัว่ โมง)

38 ผรู ับผิดชอบ นางสาวสุรภา เชาวนั ดี หวั หนา กศน.ตาํ บลหนองปรือ เครือขาย 1. องคการบรหิ ารสว นตําบลหนองปรอื 2. สมาชกิ บทบาทสตรตี ําบลหนองปรอื โครงการท่เี กยี่ วขอ ง โครงการจดั การศึกษาตอเน่ืองเพื่อพฒั นาอาชพี ผลลพั ธ ผเู ขารวมกิจกรรมสามารถนําความรไู ปใชในการประกอบอาชพี และสรางรายไดไดจรงิ เพื่อเปน การเพ่ิมรายไดใหกับ ครอบครัว ตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็ ของโครงการ ตวั ชีว้ ัดเชงิ ปรมิ าณ ผเู ขา รว มกจิ กรรมไมนอยกวา รอ ยละ 80 ของเปา หมาย ตวั ชี้วัดคุณภาพ ผูเขา รว มกจิ กรรมไดร บั ความรูเกยี่ วกับการการจกั สานหาบไมไผจ ิว๋ รอ ยละ 80 1. ผูรับการฝกทักษะอาชพี ไดรบั ความรูเกี่ยวกบั การการจักสานหาบไมไผจ ๋วิ ไมน อ ยกวารอ ยละ 80 2. หลงั จากจบกิจกรรมการฝก ทักษะอาชพี “การการจกั สานหาบไมไผจ ิ๋ว” ผูเ ขา รวมกิจกรรมไมน อยกวา รอ ยละ 80 สามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได การตดิ ตามและประเมนิ ผลของโครงการ 1. รายงานผลการจดั กจิ กรรม 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. การสังเกตผูเขารว มกิจกรรม

9 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานท่ีเกย่ี วขอ ง ททททททททในการจดั ทาํ รายงานครัง้ นี้ ไดทาํ การศกึ ษาคนควา เน้อื หาจากเอกสารการศึกษาและรายงานทเี่ ก่ียวของ ดงั ตอ ไปน้ี 1. ยุทธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2563 ทททททททท2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาํ บลหนองปรือ 3. หลกั การจัดการศึกษาตอเนอื่ ง 4. อาชพี รปู แบบกลมุ สนใจ (ราง) นโยบายและจดุ เนนการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 วิสัยทัศน คนไทยไดร บั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชวี ติ อยา งมีคณุ ภาพ สามารถดํารงชวี ติ ทเ่ี หมาะสม กบั ชว งวัย สอดคลองกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะท่ีจาํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จดั และสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ คี ุณภาพ เพอ่ื ยกระดบั การศึกษา พัฒนา ทักษะการเรียนรูของประชาชนทกุ กลุมเปาหมายใหเ หมาะสมทุกชวงวัย พรอมรับการเปล่ียนแปลงบริบททางสงั คม และ สรางสังคมแหงการเรียนรูต ลอดชวี ิต 2 สง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครือขา ย ในการมสี ว นรว มจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั และการเรียนรูต ลอดชวี ิต รวมทัง้ การดําเนนิ กจิ กรรมของศูนยการเรยี นและแหลง การเรียนรูอ่นื ใน รูปแบบตา ง ๆ 3. สง เสรมิ และพัฒนาการนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชใหเ กิดประสทิ ธิภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหกับประชาชนอยา งทวั่ ถงึ 4. พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู ส่อื และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผลในทุกรปู แบบให สอดคลอ งกับบรบิ ทในปจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ มุงจดั การศกึ ษาและการเรยี นรทู ่ีมคี ุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล เปาประสงค 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้งั ประชาชนทัว่ ไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาใน รปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัย ทมี่ ีคุณภาพอยาง เทาเทียมและทวั่ ถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะ กลุมเปา หมาย

510 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรา งเสริมและปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมือง อนั นาํ ไปสูการยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเสริมสรา งความเขม แข็งใหชุมชน เพอื่ พัฒนาไปสูความม่ันคงและย่ังยนื ทางดาน เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอ ม 3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรยี นรู และมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน รวมทง้ั แกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางสรา งสรรค 4. ประชาชนไดร ับการสรา งและสง เสรมิ ใหมนี ิสัยรกั การอานเพื่อการแสวงหาความรูดวยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครอื ขา ยทุกภาคสว น รวมจัด สงเสรมิ และสนบั สนนุ การดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งการขับเคลอื่ นกจิ กรรมการเรียนรขู องชมุ ชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใ นการยกระดบั คุณภาพใน การจดั การเรียนรูและเพ่ิมโอกาสการเรยี นรูใ หกับประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรยี นรู เพื่อแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่ี ตอบสนองกบั การเปลีย่ นแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตรและส่งิ แวดลอม รวมท้งั ตาม ความตองการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการทีเ่ ปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร บั การพัฒนาเพอื่ เพมิ่ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา งมีประสิทธภิ าพ ตวั ชวี้ ัด ตวั ช้ีวัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาชัน้ พื้นฐานท่ไี ดรับการสนบั สนนุ คาใชจา ยตามสิทธทิ ีก่ ําหนด ไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปา หมายตาง ๆ ท่เี ขารว มกจิ กรรมการเรียนรู/เขารับบรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตอเนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่สอดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอ ยละของกําลังแรงงานท่ีสาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ข้นึ ไป 4. จาํ นวนภาคีเครือขายทเ่ี ขามามสี วนรวมในการจดั /พัฒนา/สงเสรมิ การศึกษา (ภาคีเครือขา ย : สถานประกอบการ องคก ร หนวยงานทม่ี ารว มจดั /พัฒนา/สง เสรมิ การศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพนื้ ทีส่ ูง และชาวไทยมอแกน ในพน้ื ท่ี 5 จังหวดั 11 อําเภอ ไดรบั บรกิ ารการศึกษาตลอดชีวติ จากศนู ยการเรียนชุมชนสงั กดั สํานักงาน กศน. 6. จํานวนผูรบั บรกิ ารในพืน้ ทเ่ี ปาหมายไดร บั การสง เสรมิ ดา นการรูหนงั สอื และการพฒั นาทักษะชวี ิต 7. จํานวนนักเรยี นนกั ศกึ ษาท่ีไดรับบรกิ ารตวิ เขมเตม็ ความรู 8. จาํ นวนประชาชนทไ่ี ดร ับการฝกอาชีพระยะสั้น สามารถสรางอาชพี เพื่อสรางรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพื้นที่ กศน.ภาค ไดรับการพฒั นาศักยภาพดานการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จาํ นวนประชาชนที่ไดร ับการฝก อบรมภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดา นอาชีพ 11. จาํ นวนผสู งู อายภุ าวะพงึ่ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผดู ูแลทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จาํ นวนประชาชนทผี่ า นการอบรมจากศูนยด ิจทิ ัลชุมชน 13. จาํ นวนศนู ยก ารเรียนชุมชน กศน. บนพืน้ ทีส่ งู ในพน้ื ท่ี 5 จังหวดั ท่สี ง เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการฟง พดู ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สาร รวมกนั ในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน.

611 14. จํานวนบุคลากร กศน. ตําบลท่ีสามารถจัดทาํ คลังความรไู ด 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรียนรตู ลอดชวี ติ ในระดับตาํ บลในหัวขอตา ง ๆ 16. จํานวนหลักสูตรและสื่อออนไลนท ี่ใหบ รกิ ารกบั ประชาชน ทัง้ การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั ชวี้ ัดเชิงคุณภาพ 1. รอยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทกุ ระดบั 2. รอยละของผเู รยี นที่ไดรบั การสนับสนุนการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเทยี บกับคาเปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายทลี่ งทะเบียนเรียนในทกุ หลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เน่ืองเทียบกับ เปาหมาย 4. รอ ยละของผูผ านการฝก อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะส้นั สามารถนาํ ความรูไปใชในการประกอบอาชพี หรือ พัฒนางานได 5. รอ ยละของผูเ รยี นในเขตพื้นท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใตท ่ีไดร ับการพัฒนาศักยภาพ หรอื ทกั ษะดานอาชีพ สามารถ มงี านทาํ หรือนาํ ไปประกอบอาชพี ได 6. รอ ยละของผูจบหลักสูตร/กิจกรรมทสี่ ามารถนาํ ความรคู วามเขา ใจไปใชไดต ามจุดมุงหมายของหลักสูตรกิจกรรม การศกึ ษาตอเน่ือง 7. รอ ยละของประชาชนที่ไดร ับบริการมีความพงึ พอใจตอ การบรกิ าร/เขารวมกจิ กรรมการเรยี นรูก ารศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ไี ดร บั บรกิ าร/ขา รวมกิจกรรมทม่ี ีความรคู วามเขาใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจุดมุงหมายของกิจกรรมท่ีกําหนด ของการศึกษาตามอัธยาศยั 9. รอ ยละของนักเรยี น/นักศึกษาท่มี ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าที่ไดรบั บรกิ ารติวเขม เต็มความรู เพิม่ สงู ขึ้น 10. รอ ยละของผสู งู อายทุ ่เี ปน กลมุ เปาหมาย มีโอกาสมาเขารว มกิจกรรมการศึกษาตลอดชวี ติ นโยบายเรง ดว นเพอื่ รวมขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรดานความมันคง 1.1 พฒั นาและเสริมสรา งความจงรกั ภักดีตอสถาบนั หลักของชาติ โดยปลูกฝง และสรางความตระหนักรถู ึง ความสําคญั ของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรา งความรักและความภาคภมู ใิ จในความเปน คนไทยและชาตไิ ทย นอม นําและเผยแพรศาสตรพระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดํารติ า ง ๆ 1.2 เสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจท่ีถูกตอ ง และการมสี วนรวมอยา งถูกตองกบั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ในบริบทของไทย มีความเปน พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอดุ มการณ 1.3 สง เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาเพ่อื ปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรปู แบบใหม ทง้ั ยาเสพตดิ การคามนุษย ภัยจากไซเบอร ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม ฯลฯ

712 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสรางเสริมโอกาสในการเขา ถึงบริการการศึกษา การพฒั นาทกั ษะ การ สรางอาชีพ และการใชชวี ติ ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต และพ้ืนท่ีชายแดน อน่ื ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรับและเคารพใน ประเพณี วัฒนธรรมของกลมุ ชาตพิ ันธุ และชาวตางชาติทีม่ ีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ ังคมทีอ่ ยรู วมกนั 2 ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงปรบั หลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดบั ทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเปนอาชพี ท่ีรองรับอตุ สาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรว มมือในการพฒั นาและเสรมิ ทักษะใหมด านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนนสรางโอกาส ในการสรา งงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตอ งการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพนื้ ทเ่ี ขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพัฒนาพเิ ศษตามภูมภิ าคตาง ๆ ของประเทศสําหรบั พน้ื ทป่ี กติใหพ ฒั นา อาชีพท่เี นน การตอยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้ืนท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาพ้ืนทภ่ี าคตะวนั ออก ยกระดับการศึกษาใหกับประชาชนใหจ บการศกึ ษาอยา งนอย การศกึ ษาภาคบังคบั สามารถนําคุณวฒุ ทิ ไี่ ดรับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้ังพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชีพ ตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบรบิ ทของสงั คมและชมุ ชน รวมทั้งรองรับการ พัฒนาเขตพ้นื ท่รี ะเบียบเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสง เสรมิ ประชาชนเพ่อื ตอยอดการผลิตและจําหนายสินคและผลิตภณั ฑออนไลน 1) เรง จดั ต้ังศูนยใหคาํ ปรึกษาและพฒั นาผลิตภณั ฑ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพของสินคและผลติ ภัณฑ การบริหารจดั การทค่ี รบวงจร (การผลติ การตลาด การสงออก และสรา งชองทางจาํ หนาย) รวมทง้ั สงเสรมิ การใชป ระโยชน จากเทคโนโลยีดิจิทลั ในการเผยแพรแ ละจําหนายผลติ ภัณฑ 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสินคาและลิตภณั ฑ กศน. ในแตล ะจังหวดั พรอมทงั้ ประสานความรว มมอื กับสถานี บรกิ ารนํ้ามนั ในการเปนซองทางการจาํ หนา ยสุดยอดสินคาและผลิตภณั ฑ กศน.ใหกวา งขวางยิง่ ขนึ้ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 พฒั นาครูและบุคลากรท่ีเก่ยี วของกบั การจัดกจิ กรรมและการเรียนรู เปนผูเชอื่ มโยงความรกู บั ผูเ รียนและผรู ับบริการ มคี วามเปน \"ครูมืออาชพี \" มีจิตบรกิ าร มีความรอบรูและทันตอการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและเปน \"ผูอาํ นวยการการเรยี นรู\" ทสี่ ามารถบริหารจดั การความรู กิจกรรม และการเรียนรูทีด่ ี 1) เพม่ิ อัตราขา ราชการครูใหกับ กศน. อาํ เภอทุกแหง โดยเรงดาํ เนินการเร่ืองการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ต้ัง ขา ราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรทเ่ี ช่อื มโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตําบลใหสามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ โดยเนนเร่อื งการพัฒนาทักษะการจัดการ เรยี นการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏิบัตกิ ารนเิ ทศไดอยางมีประสิทธภิ าพ 5) พฒั นาบุคลากร กศน.ทกุ ระดบั ทุกประเภทใหมีทักษะความรเู รอื่ งการใชป ระโยชนจากดิจทิ ัลและ ภาษาตางประเทศที่จําเปน 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรใู หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอการเรียนรู มคี วามพรอมในการใหบ ริการ กจิ กรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปน แหลงสารสนเทศสาธารณะท่ีงยตอการเขา ถงึ มีบรรยากาศทีเ่ อื้อตอการเรยี นรู เปน

813 คาเพพนื้ ที่การเรียนรูสําหรบั คนทกุ ชว งวยั มสี ิง่ อํานวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมชี ีวิต ทีด่ งึ ดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยสาํ หรบั ผูใชบ รกิ าร 1) เรงยกระดบั กศน.ตําบลนํารอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง) ใหเ ปน กศน.ตาํ บล 5 ดี พรีเมี่ยม ทป่ี ระกอบดว ย ครูดี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพ้นื ที่) กิจกรรมดี เครอื ขายดี และมีนวตั กรรมการเรียนรูที่ดีมปี ระโยชน 2) จัดใหม ีศูนยการเรียนรูตน แบบ กศน. เพื่อยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภูมภิ าค เปน พนื้ ที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ทที่ ันสมยั สําหรับทกุ คน มีความพรอ มในการใหบรกิ ารตาง ๆ อาทิ พ้ืนทส่ี าํ หรบั การทาํ งาน/การ เรียนรู พ้นื ท่ีสาํ หรับกจิ กรรมตาง ๆ มีหองประชุมขนาดเลก็ รวมท้ังทํางานรวมกบั หองสมุดประชาชนในการใหบริการใน รปู แบบหอ งสมุดดจิ ทิ ลั บรกิ ารอินเทอรเ นต็ สอื่ มัลติมีเดีย เพื่อรองรับการเรียนรูแบบ Active Learning 3) พฒั นาหองสมุดประชชน \"เฉลิมราชกมุ ารี\" ใหเ ปน Digital Library โดยใหม บี รกิ ารหนงั สือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอนิ เทอรเ น็ตความเร็วสูง รวมทงั้ Free Wifi เพ่ือการสบื คนขอมูล 3.3 สงเสรมิ การจัดการเรยี นรูที่ทันสมัยและมปี ระสิทธิภาพ เออ้ื ตอการเรียนรูสําหรับทุกคน สามารถ เรียนไดทุกที่ทุกเวลา มีกจิ กรรมทหี่ ลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพ่อื พัฒนาศักยภาพ การเรยี นรูของประชาชน รวมท้งั ใชป ระโยชนจ ากประชาชนในชมุ ชนในการรวมจัดกิจกรรมการเรยี นรูเพื่อเชือ่ มโยง ความสัมพนั ธของคนในชมุ ชนไปสกู ารจัดการความรูของชมุ ชนอยา งยง่ั ยนื 1) สง เสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท ี่ปลูกฝง คณุ ธรรม สรางวินัย จติ สาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอ สว นรวม และการมจี ิตอาสา ผา นกจิ กรรมรูปแบบตา ง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนับสนนุ ใหม กี ารจดั กิจกรรมเพื่อปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหกับบุคลากรในองคกร 2) จดั ใหมหี ลักสตู รลูกเสือมัคคเุ ทศก โดยใหสํานักงาน กศน.จงั หวดั ทกุ แหป กทม. จดั ต้ังกองลูกเสือ ทล่ี กู เสอื มีความพรอมดานทักษะภาษาตางประเทศ เปน ลกู เสอื มคั คุเทศกจ งั หวดั ละ 1 กอง เพื่อสง เสรมิ ลูกเสอื จิตอาสา พัฒนาการทองเทยี่ วในแตล ะจงั หวดั 3.4 เสริมสรางความรว มมือกับภาคเี ครอื ขา ย ประสาน สงเสรมิ ความรว มมือภาคเี ครือขา ย ท้งั ภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองคก รปกครองสว นทองถิน่ รวมทัง้ สงเสริมและสนับสนนุ การมสี ว นรว มของชุมชนเพอื่ สรา งความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการสงเสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรใู หกบั ประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 1) เรง จดั ทาํ ทําเนียบภูมิปญ ญาทองถิ่นในแตละตําบล เพื่อใชป ระโยชนจากภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ในการสรางการเรยี นรู จากองคค วามรใู นตัวบุคคลใหเกิดการถายทอดภูมิปญ ญา สรางคณุ คาทางวฒั นธรรมอยางยง่ั ยนื 2) สงเสริมภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ สูการจัดการเรยี นรูชมุ ชน 3) ประสานความรว มมือกับภาคีเครือขายเพอื่ การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหเขา ถงึ กลมุ เปา หมายทุกกลุมอยา งกวางขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลุมผูสูงอายุ กลุม อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชนต อ การจดั การศกึ ษาและกลุม เปาหมาย 1) พฒั นาการจดั การศกึ ษาออนไลน กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน การพัฒนาทกั ษะ ชีวิตและทักษะอาชีพ การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทัง้ การพัฒนาชองทางการคา ออนไลน 2) สง เสริมการใชเทคโนโลยีในการปฏบิ ัตงิ าน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู 3) สง เสริมใหม ีการใชก ารวจิ ัยอยา งงา ยเพ่ือสรา งนวตั กรรมใหม 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดานทักษะและความเขา ใจในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทกั ษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจดั การเรียนการสอน 2) สงเสรมิ การจดั การเรียนรดู านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพอื่ ใหประชาชนมที ักษะความเขาใจและ

914 ใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั ท่ีสามารถนําไปใชประโยชนในชวี ติ ประจาํ วัน รวมท้ังสรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ อยา งเปน รปู ธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ท้ังในภาคธรุ กจิ การบรกิ าร และการทองเท่ียว รวมท้งั พัฒนาสื่อการเรยี นการสอนเพอ่ื สงเสรมิ การใชภ าษาเพอื่ การส่อื สารและการพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอมการเขาสูส ังคมผสู ูงอายุทเ่ี หมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสรมิ การจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรา งความตระหนักถึงการเตรยี มพรอมเขาสู สังคมผสู ูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขาใจในพฒั นาการของชว งวยั รวมทั้งเรยี นรูและมีสว นรวมในการดูแล รบั ผดิ ชอบผูสงู อายใุ นครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรสู าํ หรบั ประชาชนในการเตรยี มความพรอ ม เขา สวู ยั สงู อายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ สําหรบั ผสู ูงอายภุ ายใตแ นวคดิ \"Active Aging\" การศกึ ษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิต และพฒั นาทักษะชีวิต ใหสามารถดแู ลตนเองทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิต และรจู ักใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรา งความตระหนักถงึ คุณคา และศกั ด์ิศรีของผูส งู อายุ เปดโอกาสใหม ีการเผยแพรภูมิปญ ญา ของผสู ูงอายุ และใหม สี ว นรวมในกิจกรรมดา นตาง ๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผสู ูงอายุ โดยบูรณาการความรว มมือกบั หนวยงานทีเ่ ก่ยี วของ ในทุกระดบั 3.9 การสงเสรมิ วิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา 1) จดั กจิ กรรมวิทยาศาสตรเชิงรกุ และเนน ใหความรูว ทิ ยาศาสตรอ ยา งงายกบั ประชาชนในชุมชน ทง้ั วทิ ยาศาสตรในวิถชี ีวติ และวิทยาศาสตรในชีวิตประจําวนั 2) พฒั นาสือ่ นิทรรศการเละรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตรใ หมีความทันสมัย 3.10 สงเสริมการรภู าษาไทยใหก ับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ทสี่ ูง ใหสามารถฟง พดู อา น และเขยี นภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชชีวิตประจาํ วันได 4 ยทุ ธศาสตรตนการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จัดตงั้ ศนู ยก ารเรียนรสู าํ หรบั ทุกชวงวยั ท่เี ปนศูนยการเรยี นรตู ลอดชีวติ ทีส่ ามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดทุกคน ทุกชวงวัย ทีม่ ีกิจกรรมทห่ี ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตล ะวัย และเปน ศนู ยบ ริการความรู ศูนยก ารจัดกจิ กรรมท่คี รอบคลุมทุกชวงวัย เพอ่ื ใหม ีพัฒนาการเรยี นรทู ่เี หมาะสม และมีความสขุ กับการเรียนรูต ามความสนใจ 1) เรง ประสานกบั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่อื จดั ทาํ ฐานขอมูลโรงเรยี นท่ถี ูกยบุ รวม หรอื คาดวา นาจะถกู ยบุ รวม 2) ใหสาํ นักงาน กศน.จังหวดั ทกุ แหง ทีอ่ ยใู นจังหวดั ท่ีมโี รงเรียนที่ถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ ้นื ท่เี พื่อจดั ตั้งศนู ยการ เรยี นรูส ําหรบั ทกุ ชวงวัย กศน. 4.2 สงเสรมิ และสนับสนุนการจดั การศึกษาและการเรยี นรูสําหรับกลมุ เปาหมายผูพิการ 1) จดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิตและทกั ษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานักงาน กศน.จังหวัดทกุ แหง/กทม. ทาํ ความรว มมือกับศนู ยการศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวัด ในการใช สถานท่ี วัสดอุ ุปกรณ และครุภณั ฑดานการศกึ ษา เพ่ือสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรยี นรสู าํ หรบั กลุมเปาหมายผู พิการ

1105 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลมุ เปา หมายทหารกองประจาํ การ รวมทั้งกลุมเปา หมายพเิ ศษอืน่ ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคนั ประชากรวัยเรยี นทอี่ ยูนอกระบบการศึกษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สามารถนําความรทู ่ีไดรับไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอเนอ่ื ง 4.4 พฒั นาหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพระะสั้น ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพืน้ ที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผูรับบรกิ าร 5. ยุทธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน มติ รตอส่งิ แวดลอม 5.1 สงเสรมิ ใหมกี ารใหความรูกบั ประชาชนในการรับมอื และปรับตวั เพื่อลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่ีเก่ียวของกบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสาํ คัญของการสรางสังคมสเี ขยี ว สงเสรมิ ความรูใ หก บั ประชาชนเกยี่ วกบั การคดั แยกตงั้ แตตน ทาง การกาํ จดั ขยะ และการนํากลับมาใชช าํ้ เพื่อลดปริมาณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลับมาใชป ระโยชนไ ดโ ดยงาย รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสริมใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานที่เปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม รวมทงั้ ลดการใชท รัพยากรท่สี ง ผล กระทบตอส่ิงแวดลอม เชน รณรงคเ ร่ืองการลดการใชถ งุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบหารบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏบิ ตั ิราชการใหทนั สมยั มคี วามโปรงใส ปลอดการทุจริต บริหารจดั การบน ขอ มูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธิม์ ีความโปรงใส 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานทเ่ี ปน ดจิ ิทัลมาใชในการบริหารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กับระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลนทีส่ ามารถเช่อื มโยงขอ มลู ตาง ๆ ท่ีทาํ ใหก ารบรหิ ารจดั การเปนไปอยางตอเน่ืองกนั ตั้งแตตน จนจบกระบวนการและใหประชาชนกลมุ เปา หมายสามารถเขา ถึง บริการไดอยางทันที ทุกทแ่ี ละทุกเวลา 6.3 สงเสริมการพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อยางตอเนอ่ื ง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกบั สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากร 2. แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตําบลหนอง ปรือ สังกดั กศน.อาํ เภอพนัสนิคม วสิ ัยทัศน “กศน.อาํ เภอพนสั นิคม จัดและสงเสรมิ สนบั สนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชน กลมุ เปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยางมีคุณภาพดว ยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ 1. ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรูใหส อดคลองกับหลักสตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพื่อการเรยี นรูแ ละการบริหารการศึกษา 3. พัฒนาบุคลากรดานการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/สื่อ/การประเมนิ ผล 4. สง เสริมและสนับสนนุ การมสี ว นรวมของภาคีเครอื ขา ยและชมุ ชนในการจดั กิจกรรมการศกึ ษา

1116 เปา ประสงค ประชาชนผดู อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทงั้ ประชาชนทว่ั ไปไดร บั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบ การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน การศึกษาตอเน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ทม่ี คี ุณภาพอยางเทา เทยี ม และท่ัวถงึ เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะ กลมุ เปา หมาย 1. ประชาชนไดร ับการยกระดับการศกึ ษา สรางเสรมิ และปลกู ฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน พลเมือง อัน นําไปสกู ารยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและเสรมิ สรา งความเขมแข็งใหช ุมชน เพือ่ พัฒนาไปสูความมั่นคงและย่ังยืนทางดา น เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร และสงิ่ แวดลอ ม 2. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรียนรู และมีเจตคติทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชใ นชวี ติ ประจําวัน รวมทง้ั แกป ญ หาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ ยางสรางสรรค 3. ประชาชนไดรบั การสรางและสงเสรมิ ใหมีนสิ ยั รกั การอานเพ่อื การแสวงหาความรดู ว ยตนเอง 4. ชมุ ชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รวมจัด สงเสรมิ และสนบั สนุนการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการขบั เคล่อื นกจิ กรรมการเรียนรูของชุมชน 5. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใชในการยกระดบั คุณภาพใน การจดั การเรียนรูและเพ่ิมโอกาสการเรยี นรใู หกับประชาชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสื่อและการจดั กระบวนการเรยี นรู เพ่ือแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่ี ตอบสนองกับการเปล่ยี นแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรแ ละสิ่งแวดลอม รวมทง้ั ตาม ความตองการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทห่ี ลากหลาย 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การที่เปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 8. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร ับการพฒั นาเพือ่ เพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยางมีประสิทธภิ าพ ตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ัดเชิงปริมาณ 1. จาํ นวนผูเ รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาช้นั พนื้ ฐานทไี่ ดร บั การสนบั สนุนคา ใชจายตามสทิ ธทิ ก่ี าํ หนด ไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปา หมายตาง ๆ ทเี่ ขารวมกจิ กรรมการเรียนรู/เขา รบั บรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตอ เนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ที่สอดคลองกบั สภาพ ปญ หา และความตองการ 3. รอยละของกาํ ลงั แรงงานที่สําเร็จการศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตนขน้ึ ไป 4. จํานวนภาคีเครอื ขายท่ีเขา มามสี วนรวมในการจดั /พฒั นา/สงเสริมการศึกษา (ภาคีเครือขา ย : สถานประกอบการ องคกร หนว ยงานที่มารว มจดั /พฒั นา/สงเสริมการศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพน้ื ทส่ี งู และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนท่ี 5 จังหวดั 11 อําเภอ ไดรบั บรกิ ารการศึกษาตลอดชีวติ จากศนู ยการเรียนชุมชนสังกัดสํานักงาน กศน. 6. จํานวนผูร ับบริการในพนื้ ที่เปา หมายไดรบั การสงเสริมดานการรูหนงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชีวติ 7. จาํ นวนนักเรยี นนกั ศึกษาที่ไดร บั บรกิ ารติวเขมเตม็ ความรู 8. จาํ นวนประชาชนท่ไี ดร บั การฝกอาชพี ระยะส้ัน สามารถสรา งอาชีพเพ่ือสรา งรายได

1217 9. จาํ นวน ครู กศน. ตําบล จากพน้ื ที่ กศน.ภาค ไดรับการพฒั นาศักยภาพดา นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 10. จํานวนประชาชนท่ไี ดรบั การฝก อบรมภาษาตา งประเทศเพ่ือการส่ือสารดานอาชีพ 11. จาํ นวนผสู งู อายุภาวะพง่ึ พงิ ในระบบ Long Term Care มผี ูดแู ลที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จํานวนประชาชนท่ีผานการอบรมจากศนู ยด ิจิทัลชมุ ชน 13. จํานวนศูนยก ารเรยี นชมุ ชน กศน. บนพนื้ ทีส่ ูง ในพืน้ ท่ี 5 จังหวัด ทีส่ งเสริมการพฒั นาทักษะการฟง พดู ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร รว มกนั ในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จํานวนบคุ ลากร กศน. ตําบลที่สามารถจัดทําคลงั ความรูได 15. จาํ นวนบทความเพ่ือการเรยี นรตู ลอดชีวิตในระดบั ตาํ บลในหวั ขอ ตา ง ๆ 16. จาํ นวนหลักสูตรและสือ่ ออนไลนท ี่ใหบ ริการกบั ประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัย ตัวช้วี ดั เชิงคณุ ภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวิชาทกุ ระดับ 2. รอยละของผเู รยี นท่ีไดร ับการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเทยี บกบั คาเปาหมาย 3. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายทลี่ งทะเบียนเรียนในทุกหลกั สตู ร/กิจกรรมการศกึ ษาตอ เนื่องเทยี บกับ เปาหมาย 4. รอ ยละของผผู านการฝก อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะสั้นสามารถนาํ ความรไู ปใชใ นการประกอบอาชพี หรือ พฒั นางานได 5. รอยละของผูเรยี นในเขตพ้ืนที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตที่ไดรับการพัฒนาศักยภาพ หรอื ทักษะดานอาชพี สามารถ มีงานทาํ หรือนําไปประกอบอาชพี ได 6. รอยละของผูจ บหลกั สูตร/กิจกรรมทีส่ ามารถนําความรูความเขาใจไปใชไดต ามจุดมงุ หมายของหลักสูตรกิจกรรม การศกึ ษาตอเนื่อง 7. รอยละของประชาชนท่ีไดร ับบริการมีความพึงพอใจตอ การบริการ/เขารวมกิจกรรมการเรยี นรูก ารศึกษาตาม อัธยาศัย 8. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายทีไ่ ดรับบรกิ าร/ขา รว มกจิ กรรมทม่ี คี วามรคู วามเขาใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจุดมงุ หมายของกิจกรรมทกี่ ําหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. รอ ยละของนักเรยี น/นักศึกษาที่มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าท่ีไดร ับบรกิ ารตวิ เขมเต็มความรเู พิ่มสูงขนึ้ 10. รอยละของผูสงู อายทุ เี่ ปน กลมุ เปา หมาย มโี อกาสมาเขา รว มกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรงดวนเพือ่ รวมขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด า นความมน่ั คง 1.1 พฒั นาและเสริมสรางความจงรกั ภกั ดีตอสถาบนั หลักของชาติ โดยปลกู ฝงและสรางความตระหนักรูถึง ความสาํ คญั ของสถาบันหลกั ของชาติ รณรงคเสริมสรา งความรักและความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาตไิ ทย นอม นําและเผยแพรศาสตรพระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริตาง ๆ

1318 1.2 เสริมสรา งความรคู วามเขาใจท่ถี ูกตอง และการมีสว นรวมอยางถูกตองกบั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข ในบริบทของไทย มคี วามเปน พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทาง ความคดิ และอดุ มการณ 1.3 สงเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาเพือ่ ปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรปู แบบใหม ท้งั ยา เสพตดิ การคามนุษย ภยั จากไซเบอร ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัตใิ หม ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและสรางเสรมิ โอกาสในการเขาถงึ บริการการศกึ ษา การพัฒนาทกั ษะ การ สรางอาชพี และการใชช ีวติ ในสงั คมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต และพน้ื ที่ชายแดน อนื่ ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรบั และเคารพใน ประเพณี วัฒนธรรมของกลมุ ชาตพิ ันธุ และชาวตางชาตทิ ม่ี ีความหลากหลาย ในลักษณะพหุสงั คมท่อี ยูร วมกนั 2 ยุทธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงปรบั หลักสูตรการจดั การศึกษาอาชพี กศน. เพื่อยกระดับทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเปน อาชพี ทีร่ องรบั อตุ สาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณา การความรว มมือในการพฒั นาและเสริมทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนนสรา งโอกาส ในการสรางงาน สรา งรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพนื้ ท่ีเขตระเบียงเศรษฐกจิ และเขคพัฒนาพเิ ศษตามภมู ภิ าคตาง ๆ ของประเทศ สําหรับพ้ืนทีป่ กติใหพ ฒั นาอาชพี ที่เนน การตอยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพื้นที่ 2.2 จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาพ้ืนท่ีภาคตะวนั ออก ยกระดบั การศกึ ษาใหกับประชาชนใหจบการศกึ ษาอยา งนอย การศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนาํ คุณวุฒทิ ่ีไดรับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมทั้งพัฒนาทักษะในการประกอบอาชพี ตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรา งรายได ตอบสนองตอบรบิ ทของสงั คมและชมุ ชน รวมทงั้ รองรับการ พฒั นาเขตพ้นื ที่ระเบียบเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง เสรมิ ประชาชนเพือ่ ตอยอดการผลิตและจําหนายสนิ คแ ละผลิตภณั ฑออนไลน 1) เรง จัดต้งั ศูนยใหคําปรึกษาและพัฒนาผลติ ภณั ฑ Brand กศน. เพ่ือยกระดบั คุณภาพของสินคและผลิตภัณฑ การบริหารจดั การทค่ี รบวงจร (การผลิต การตลาด การสง ออก และสรา งชองทางจําหนาย) รวมทงั้ สง เสริมการใชประโยชน จากเทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการเผยแพรแ ละจําหนา ยผลติ ภัณฑ 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสินคาและลติ ภณั ฑ กศน. ในแตละจงั หวดั พรอมท้งั ประสานความรวมมอื กบั สถานี บริการนํ้ามันในการเปนซองทางการจาํ หนา ยสุดยอดสินคา และผลติ ภณั ฑ กศน.ใหกวางขวางย่งิ ข้นึ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 พัฒนาครแู ละบุคลากรทเี่ กยี่ วขอ งกบั การจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผเู ช่ือมโยงความรกู บั ผูเ รียนและผรู ับบรกิ าร มีความเปน \"ครูมืออาชีพ\" มจี ิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและเปน \"ผอู าํ นวยการการเรยี นรู\" ทส่ี ามารถบรหิ ารจดั การความรู กิจกรรม และการเรยี นรูทีด่ ี 1) เพิม่ อตั ราขาราชการครูใหกับ กศน. อําเภอทุกแหง โดยเรง ดาํ เนนิ การเรื่องการหาอตั ราตาํ แหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ตัง้ ขาราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่ีเช่อื มโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตําบลใหสามารถปฏิบตั ิงานไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ โดยเนน เร่อื งการพัฒนาทกั ษะการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู 4) พฒั นาศึกษานิเทศก ใหสามารถปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีประสิทธภิ าพ

1419 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทใหม ีทักษะความรูเรอ่ื งการใชประโยชนจากดิจทิ ัลและ ภาษาตา งประเทศท่ีจาํ เปน 3.2 พฒั นาแหลง เรยี นรใู หม บี รรยากาศและสภาพแวดลอมทเ่ี อื้อตอ การเรยี นรู มคี วามพรอมในการใหบรกิ าร กจิ กรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปน แหลงสารสนเทศสาธารณะท่งี ยตอการเขาถึง มีบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอการเรยี นรู เปน คาเพพน้ื ท่ีการเรยี นรสู ําหรับคนทกุ ชว งวัย มีสงิ่ อาํ นวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมีชวี ิต ทด่ี ึงดดู ความสนใจ และมี ความปลอดภยั สําหรบั ผใู ชบริการ 1) เรง ยกระดบั กศน.ตําบลนาํ รอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง ) ใหเปน กศน.ตาํ บล 5 ดี พรเี ม่ียม ทป่ี ระกอบดว ย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพน้ื ที่) กจิ กรรมดี เครอื ขา ยดี และมีนวตั กรรมการเรียนรทู ่ีดีมปี ระโยชน 2) จดั ใหมีศนู ยการเรยี นรตู นแบบ กศน. เพือ่ ยกระดับการเรียนรู ใน 6 ภมู ภิ าค เปน พืน้ ที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ทีท่ ันสมยั สาํ หรับทกุ คน มีความพรอ มในการใหบริการตา ง ๆ อาทิ พน้ื ทส่ี าํ หรบั การทาํ งาน/การ เรยี นรู พื้นทสี่ ําหรับกจิ กรรมตาง ๆ มหี อ งประชุมขนาดเลก็ รวมท้งั ทํางานรว มกับหอ งสมุดประชาชนในการใหบ ริการใน รปู แบบหอ งสมุดดจิ ิทลั บริการอนิ เทอรเนต็ ส่ือมลั ติมีเดยี เพอ่ื รองรับการเรียนรแู บบ Active Learning 3) พฒั นาหองสมดุ ประชชน \"เฉลิมราชกุมารี\" ใหเปน Digital Library โดยใหมบี รกิ ารหนังสือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพวิ เตอร และอนิ เทอรเน็ตความเรว็ สูง รวมท้งั Free Wifi เพื่อการสืบคน ขอมูล 3.3 สงเสริมการจดั การเรยี นรูที่ทันสมยั และมีประสิทธิภาพ เออ้ื ตอการเรียนรสู าํ หรับทุกคน สามารถ เรยี นไดทุกทที่ ุกเวลา มกี จิ กรรมที่หลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพือ่ พฒั นาศักยภาพ การเรยี นรขู องประชาชน รวมทั้งใชป ระโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรว มจัดกจิ กรรมการเรยี นรูเพ่ือเช่อื มโยง ความสมั พนั ธข องคนในชุมชนไปสูการจัดการความรขู องชุมชนอยางยัง่ ยืน 1) สง เสริมการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู ่ีปลกู ฝงคณุ ธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสว นรวม และการมจี ติ อาสา ผานกจิ กรรมรปู แบบตา ง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนนุ ใหมกี ารจดั กจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝง คณุ ธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรในองคกร 2) จัดใหมีหลกั สตู รลกู เสือมัคคเุ ทศก โดยใหส ํานักงาน กศน.จังหวัดทกุ แหปกทม. จัดตงั้ กองลูกเสือ ที่ลกู เสอื มีความพรอมดา นทักษะภาษาตางประเทศ เปน ลูกเสือมัคคเุ ทศกจ งั หวดั ละ 1 กอง เพอ่ื สง เสริมลูกเสอื จติ อาสา พัฒนาการทอ งเท่ียวในแตละจังหวัด 3.4 เสริมสรา งความรวมมือกับภาคเี ครือขา ย ประสาน สง เสริมความรวมมือภาคีเครือขาย ท้งั ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสว นทอ งถิ่น รวมทั้งสง เสริมและสนับสนนุ การมสี ว นรวมของชุมชนเพ่อื สรา งความเขาใจ และใหเ กิดความรวมมือในการสง เสริม สนับสนุน และจดั การศึกษาและการเรียนรใู หก ับประชาชนอยางมีคณุ ภาพ 1) เรงจัดทาํ ทําเนียบภูมิปญญาทอ งถิน่ ในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจ ากภูมปิ ญญาทองถนิ่ ในการสรางการเรยี นรู จากองคค วามรใู นตัวบุคคลใหเกดิ การถายทอดภมู ิปญ ญา สรา งคุณคาทางวฒั นธรรมอยางยงั่ ยนื 2) สง เสริมภูมิปญ ญาทองถิน่ สูการจดั การเรียนรชู มุ ชน 3) ประสานความรวมมอื กับภาคีเครือขา ยเพือ่ การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหเ ขา ถึงกลุม เปาหมายทุกกลุมอยา งกวางขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลมุ ผสู ูงอายุ กลมุ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชนตอ การจัดการศึกษาและกลมุ เปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. ทัง้ ในรูปแบบของการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การพัฒนาทักษะ ชวี ิตและทกั ษะอาชีพ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังการพัฒนาชอ งทางการคา ออนไลน 2) สงเสริมการใชเทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรู 3) สง เสริมใหมีการใชก ารวิจยั อยางงา ยเพื่อสรางนวัตกรรมใหม

1520 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเ ทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู ละทักษะเทคโนโลยีดิจิทลั ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) สง เสริมการจัดการเรียนรดู านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพอ่ื ใหป ระชาชนมีทกั ษะความเขา ใจและ ใชเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีสามารถนําไปใชป ระโยชนใ นชวี ิตประจาํ วัน รวมท้งั สรางรายไดใ หกับตนเองได 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตาง ๆ อยางเปน รปู ธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ทงั้ ในภาคธรุ กจิ การบริการ และการทองเที่ยว รวมท้งั พัฒนาส่ือการเรียนการสอนเพ่อื สง เสรมิ การใชภ าษาเพ่ือการสอ่ื สารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอ มการเขาสูสังคมผูสูงอายุท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สง เสรมิ การจัดกจิ กรรมใหก บั ประชาชนเพ่ือสรา งความตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขา ใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมท้งั เรยี นรูและมสี ว นรว มในการดูแล รับผิดชอบผูสูงอายุในครอบครัวและชุมชน 2) พฒั นาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรูส าํ หรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขาสูว ยั สูงอายทุ ่เี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตสาํ หรบั ผสู งู อายุภายใตแ นวคดิ \"Active Aging\"การศกึ ษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพชวี ติ และพฒั นาทักษะชวี ติ ใหส ามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจติ และรจู ักใชป ระโยชนจาก เทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถงึ คุณคา และศักด์ิศรีของผสู งู อายุ เปดโอกาสใหม ีการเผยแพรภ มู ิปญ ญาของผสู งู อายุ และ ใหม ีสว นรว มในกิจกรรมดานตาง ๆ ในชุมชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชพี เพื่อรองรบั สังคมผูสงู อายุ โดยบรู ณาการความรวมมือกบั หนวยงานทเี่ กย่ี วของ ในทุกระดบั 3.9 การสง เสรมิ วิทยาศาสตรเพอื่ การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรเ ชิงรุก และเนน ใหความรูวทิ ยาศาสตรอ ยา งงายกับประชาชนในชมุ ชน ท้ังวิทยาศาสตรใ นวถิ ีชวี ติ และวทิ ยาศาสตรในชีวติ ประจาํ วนั 2) พัฒนาส่อื นิทรรศการเละรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใ หมีความทนั สมัย 3.10 สง เสรมิ การรภู าษาไทยใหก บั ประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ท่สี ูง ใหสามารถฟง พดู อาน และเขยี นภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชช วี ิตประจําวนั ได 4 ยทุ ธศาสตรต นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จดั ต้ังศนู ยก ารเรยี นรสู ําหรับทกุ ชว งวยั ที่เปน ศนู ยการเรยี นรตู ลอดชีวติ ทสี่ ามารถใหบริการ ประชาชนไดท ุกคน ทุกชว งวัย ทม่ี ีกิจกรรมทหี่ ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตล ะวยั และเปนศนู ยบริการความรู ศูนยการจัดกจิ กรรมท่ีครอบคลุมทกุ ชว งวยั เพอื่ ใหม ีพฒั นาการเรยี นรูที่เหมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรียนรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกับสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน เพ่อื จดั ทําฐานขอมลู โรงเรยี นท่ีถูกยุบรวม หรอื คาดวา นา จะถกู ยุบรวม 2) ใหส ํานักงาน กศน.จงั หวดั ทุกแหง ทอี่ ยูในจังหวดั ที่มโี รงเรยี นท่ีถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ้ืนท่เี พ่ือจดั ตั้งศูนยการ เรยี นรูสาํ หรบั ทุกชวงวัย กศน. 4.2 สง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรสู ําหรบั กลุม เปา หมายผูพิการ

1621 1) จดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 2) ใหส าํ นักงาน กศน.จงั หวดั ทุกแหง /กทม. ทําความรว มมือกบั ศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวัด ในการใช สถานท่ี วัสดอุ ปุ กรณ และครุภณั ฑดา นการศกึ ษา เพ่ือสนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรียนรูส าํ หรบั กลมุ เปาหมายผู พกิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกบั กลุม เปาหมายทหารกองประจําการ รวมทัง้ กลุมเปาหมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ ผตู องขัง คนพกิ าร เดก็ ออกกลางคนั ประชากรวยั เรยี นท่อี ยนู อกระบบการศึกษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สามารถนาํ ความรูที่ไดรับไปพฒั นาตนเองไดอยา งตอเนอื่ ง 4.4 พัฒนาหลักสตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี ระะส้นั ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบริการ 5. ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทเ่ี ปน มิตรตอ สง่ิ แวดลอม 5.1 สง เสริมใหมีการใหความรูกับประชาชนในการรับมอื และปรับตวั เพื่อลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่เี กย่ี วของกบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.2 สรา งความตระหนักถงึ ความสําคญั ของการสรา งสงั คมสีเขียว สงเสริมความรูใ หก บั ประชาชนเก่ียวกับการคัด แยกตัง้ แตตน ทาง การกาํ จัดขยะ และการนํากลับมาใชช ้ํา เพอื่ ลดปรมิ าณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลบั มาใชป ระโยชนไดโ ดยงาย รวมทั้งการจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สง เสรมิ ใหห นว ยงานและสถานศึกษาใชพลังงานทเี่ ปนมติ รกับสิง่ แวดลอม รวมทัง้ ลดการใชท รพั ยากรที่สงผล กระทบตอ ส่งิ แวดลอม เชน รณรงคเ รื่องการลดการใชถ ุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบหารบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธกี ารปฏบิ ตั ริ าชการใหท นั สมยั มคี วามโปรง ใส ปลอดการทจุ ริต บรหิ ารจดั การบน ขอมูลและหลกั ฐานเชิงประจักษ มุง ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง ใส 6.2 นํานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทํางานท่เี ปน ดิจิทลั มาใชใ นการบริหารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กับระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอมทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนท ีส่ ามารถเช่ือมโยงขอ มูลตาง ๆ ท่ที าํ ใหก ารบริหารจัดการเปน ไปอยางตอ เน่ืองกนั ต้ังแตต น จนจบกระบวนการและใหประชาชนกลุมเปาหมายสามารถเขา ถึง บรกิ ารไดอยา งทันที ทุกท่ีและทกุ เวลา 6.3 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดบั อยา งตอเน่ือง ใหมคี วามรแู ละทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับ สายงาน ความชํานาญ และความตอ งการของบุคลากร

1272 3. หลักการจัดการศึกษาตอ เนอื่ ง เพื่อใหก ารดําเนินงานการจัดการศกึ ษาตอเน่ือง เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สํานักงาน กศน. จึงไดกาํ หนดหลักการ ในการจดั ไว ดงั น้ี 1. หลักสูตรไดรับการพฒั นาใหม ีความสอดคลอ งกับสภาพสงั คมชุมชนและความตองการของกลุม เปา หมาย (เปน หลักสตู รท่ไี ดรบั อนุมัติโดยสถานศกึ ษา ผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผูอนมุ ตั ิ ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา และหรือเปนหลักสูตรที่หนวยงานภาครัฐไดอนุมตั ิและอนญุ าตใหใ ชแ ลว ) 2. ส่อื และแหลงคน ควา ตลอดจนวสั ดุ อุปกรณ เครื่องมือ ตองไดรับการพฒั นาใหมคี วามสอดคลองกับหลักสูตร และ กิจกรรมการเรียนรขู องผูเรียน 3. วิทยากร ตอ งสรรหาวิทยากรท่ีมีความรูความสามารถหรอื มีความเชีย่ วชาญในสาขาท่จี ะสอนอยา งแทจ ริง และ วิทยากรควรผา นการอบรมการเปน วิทยากรจากหนว ยงานสถานศกึ ษาของ กศน. 4. การจัดการเรยี นรู จะตองจัดการศึกษาใหส อดคลองกบั ศักยภาพของผเู รียนและความพรอมของผูเรียน และ สอดคลอ งกับความตองการและบูรณาการวธิ กี ารจดั การเรียนรู 5. การจัดกระบวนการเรียนรู จะตองเนน ใหม ีการจัดกระบวนการเรียนรูทห่ี ลากหลายและสอดคลอ ง กับความ ตอ งการของกลุมเปาหมาย 6. กลมุ เปา หมายสามารถนําความรูที่ไดรับจากการศึกษาไปใชใ นการประกอบอาชีพ การพฒั นาอาชีพ พัฒนา คณุ ภาพชีวิต และสามารถอยูใ นสงั คมไดอ ยางมีความสขุ การจดั การศึกษาตอเนื่อง อาจจดั ได ดงั ตอไปน้ี 1. จดั โดยสถานศกึ ษาในสังกดั สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. จดั โดยสถานศกึ ษาในสังกัด สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รว มกับภาคี เครือขาย 3. จัดโดยภาคีเครอื ขาย

1823 ความหมาย การศกึ ษาตอเน่อื ง หมายความวา เปนการจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบทเ่ี ปน หลักสูตร ระยะสนั้ การศกึ ษาสายอาชีพ กลุม สนใจ ท่จี ดั ตามความตองการของกลุมเปา หมายท่ีมีเนื้อหาเก่ยี วกบั อาชีพ ทักษะชีวติ การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน การจดั กระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซึ่งนาํ ไปสกู ารพฒั นาคุณภาพ ชีวิต อาชีพ เปนการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาความรคู วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให บุคคลสามารถประกอบอาชีพหรอื พัฒนาอาชีพของตนเองได โดยพิจารณาถึงความตองการในการเรยี นของแตล ะบคุ คล ทักษะชีวติ เปน การศึกษาทใี่ หความสาํ คัญกบั การพัฒนาคนเพื่อใหมคี วามรู เจตคตแิ ละทักษะท่ีจําเปน สําหรับการดํารงชีวิตในสงั คมปจจุบนั เพื่อใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณต าง ๆ ในชีวิตประจาํ วันไดอ ยางมี ประสทิ ธิภาพ และเตรียมความพรอมกบั การปรับตวั ในอนาคต เชน ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส นิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมท่ีดี เปนตน การพฒั นาสังคมและชมุ ชน เปน การศกึ ษาท่ีบูรณาการความรูและทักษะจากการศึกษาท่ีผเู รยี นมอี ยหู รือ ไดร ับจากการเขารวมกิจกรรมการศึกษานอกระบบ แลวนาํ ไปใชใ หเปน ประโยชนตอการพัฒนาสังคมและชมุ ชนโดยมี รูปแบบการเรียนรูท่หี ลากหลาย และใชชมุ ชนเปนฐานในการพัฒนาการเรียนรูของคนในชุมชน เชน ประชาธปิ ไตย สง่ิ แวดลอม วิสาหกิจชุมชน เปน ตน วิธีการจัดการเรยี นรู วิธกี ารจดั การศึกษาตอเนอื่ ง เปน การจดั ประสบการณการเรียนรูจากวิทยากร สอื่ หรือการปฏบิ ตั ิ โดย วธิ กี ารเรยี นรูท่หี ลากหลาย ดงั นี้ 1. การเรยี นรรู ายบุคคล เปน การเรียนรูของผูเรียนบุคคลใดบุคคลหนงึ่ ท่ตี องการจะ เรียนรใู นเนือ้ หาใด เนื้อหาหน่ึง ซึ่งเปนความสนใจเฉพาะตัว ตามหลกั สูตรการศึกษาตอ เน่ืองในสถานศึกษาหรอื ภาคี เครือขาย โดยผเู รียนและวทิ ยากรรวมกันวางแผน และออกแบบการเรียนรทู ตี่ อบสนองความตองการของผเู รียนแตล ะ บคุ คล 2. การเรียนรรู ายกลุม เปน การเรยี นรขู องผูเรียนตง้ั แคสองคนขึ้นไป แตไมควรเกิน สบิ หา คน ซง่ึ มีความสนใจตรงกันตามหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง 3. การเรยี นรูจากแหลง เรยี นรู เปน การจดั การเรยี นรใู หผเู รียนในแหลง เรียนรู เชน

1924 ศนู ยข ยายเพาะพนั ธปุ ลา ศูนยสาธิตการทาํ ไรน าสวนผสม ศูนยการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพียง กลมุ ออมทรัพยเ พ่ือการผลิต องคการชุมชน กลมุ วิสาหกิจชุมชน เปน ตน โดยมีการประสานความรว มมือกับเครือขา ยแหลง เรียนรูใ นการจัดการศึกษา ใหก ับผเู รียน 4. การเรยี นรูในสถานประกอบการ เปน การจัดใหผ เู รียนไดเรียนรูใ นสถาน ประกอบการ เชน อูซอมรถยนต หา งสรรพสินคา หรือแหลง ประกอบการ SMEs ที่มีสวนรว มหรือมีวตั ถุประสงคใ นการจัด การศึกษาตอเนื่อง 5. การเรียนรจู ากฐานการเรยี นรู เปนการเรยี นรูท มี่ ีเปา หมายเฉพาะเจาะจง เชน ฐาน การเรียนรูเกษตรธรรมชาติ ฐานการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรียนรอู นุรักษส่งิ แวดลอ ม ฐานการเรยี นรสู ขุ ภาพ อนามยั ฐานการเรียนรูคุณธรรม จรยิ ธรรม ฐานการเรียนรูวฒั นธรรมไทย เปน ตน ซงึ่ เปนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูที่เนนให ผูเ รียนไดเรียนรูจากวิทยากร สถานการณจริง หรือเรียนรดู วยตนเอง 6. การศกึ ษาทางไกล เปนวธิ ีการจัดการศึกษาที่เปดกวางในเรื่องของเวลา สถานท่ี เนน การเรยี นรูดวยตนเองจากส่ือประสมทีห่ ลากหลาย มีการจัดกจิ กรรมเสรมิ ความรู ทกั ษะ ประสบการณ ท่จี าํ เปน เหมาะสม กบั เนอ้ื หา ตามหลกั สูตร รวมทัง้ มกี ารศกึ ษาคน ควา เพิม่ เตมิ หรอื ปฏบิ ัตกิ ารจากแหลงการเรยี นรูต าง ๆ เปน การเรยี นรแู บบ พึ่งพาตนเอง ผเู รยี นจึงตอ งวางแผนและสรา งวินยั ในการเรยี นรดู ว ยตนเอง การสรรหาและแตง ตงั้ วิทยากร การสรรหาวทิ ยากร ใหส ถานศึกษาสรรหาวทิ ยากรโดยพจิ ารณาจากคณุ สมบัตดิ งั นี้ 1. เปนผูท ่ีมีคุณวฒุ ิหรอื เกียรติบัตรรบั รอง หรอื หลักฐานอน่ื ๆ ทแี่ สดงวาเปนผูมีความรู ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวิชาหรอื หลักสตู รน้ัน ๆ 2. เปน ผูมคี วามรู ความชํานาญ ประสบการณในการประกอบอาชีพสาขาวิชาหรอื หลักสตู รนน้ั ๆ หรือ 3. เปน ผทู ม่ี คี วามสามารถและประสบการณในการถายทอดความรูใ หแกผูเรยี น การแตง ตง้ั วิทยากร ใหผ ูอํานวยการสถานศกึ ษาในสังกัด สํานักงาน กศน. เปนผูอ นมุ ตั ิแตงต้ัง โดยจัดทาํ เปนคําสง่ั

2025 ขัน้ ตอนการดําเนินงาน 1. สถานศึกษาและภาคีเครอื ขาย เตรยี มความพรอมในเร่อื งหลักสูตร วทิ ยากร สถานที่ วสั ดอุ ปุ กรณท่เี อ้ือตอการจดั การศึกษา 2. ผเู รียนสมคั รและลงทะเบียนเรยี นตอ สถานศึกษาหรอื ภาคเี ครอื ขา ย 3. สถานศกึ ษาพจิ ารณาอนญุ าตและจดั สงผูเรียนไดเรยี นกับวิทยากรในแหลง การเรียนรู สถานประกอบการ ทเ่ี หมาะสมตามหลักสตู ร 4. วิทยากรประเมนิ พ้ืนฐานความรขู องผูเ รยี นกอ นจัดกระบวนการเรยี นรู 5. ผเู รียนกับวิทยากรรวมกนั จัดทําแผนการเรียนรู 6. ดาํ เนินการจัดการเรยี นการสอน 7. วิทยากรประเมินผลการเรียนระหวางเรยี นและหลังจบหลกั สตู ร รวมทงั้ ประเมนิ ความ พงึ พอใจของผเู รียน การวัดผลประเมินผลและรายงานผลการเรียน การวดั ผลประเมนิ ผลใหด าํ เนินการตามทหี่ ลักสตู รกําหนด ดว ยวิธกี ารหลากหลาย เชน 1. ประเมินความรู ความสามารถ ทักษะ ดว ยการซักถาม ทดสอบและปฏิบัติ 2. ประเมินดานคุณธรรม ดว ยแบบประเมนิ คุณธรรม 3. ประเมนิ ช้ินงาน ดวยผลงานที่ปฏบิ ตั ิ 4. ประเมินความพงึ พอใจของผเู รยี นดว ยแบบสอบถาม การออกหลักฐานการศึกษา ใหผูอํานวยการสถานศึกษาเปนผลู งนามในหลกั ฐานการศึกษา ตามหลักสูตรกาํ หนด โดยระบชุ อื่ วชิ า/ กจิ กรรม ระยะเวลา ในกรณภี าคเี ครือขายท่ีไมใ ชสถานศกึ ษาเปน ผจู ัดใหส งหลกั ฐานการจบการศึกษาใหกับผูอํานวยการ กศน. อาํ เภอเปน ผูออกวฒุ บิ ตั ร แหลง เรียนรู/ สถานประกอบการ แหลงเรยี นร/ู สถานประกอบการ ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. อยูใ นทาํ เลที่ต้ังทีผ่ ูเ รยี นสามารถเดินทางไดสะดวก ปลอดภัย

2126 2. มสี ่ิงแวดลอ มที่เออื้ อํานวยตอ การเรยี นรู และฝกปฏิบัติ 3. เปน แหลงการเรยี นรู/สถานประกอบการ ท่ีมกี ารดําเนินงานมนั่ คง นาเช่ือถือเปนท่ียอมรบั ในสงั คม 4. มคี วามพรอม มีวทิ ยากร หรอื ผใู หค วามรูประจํา สามารถจดั การเรยี นรู หรอื จดั การ เรยี นการสอนจนจบหลักสูตรหรอื จบกระบวนการได รวมท้ังสามารถใหการฝกปฏบิ ัตแิ กผเู รียนจนสามารถปฏบิ ตั ิในเรื่องนั้น ๆ ได 5. สามารถจดั บุคลากรเขารวมประชุม อบรม พฒั นากับสถานศึกษาได 6. มีทัศนคติ เจตคตทิ ีด่ ีตอการถายทอดความรู ประสบการณใ หกบั ผูอนื่ 7. สามารถดูแล ใหคําปรึกษา แนะนาํ และรับผดิ ชอบผเู รยี นจนจบหลักสตู ร หลกั เกณฑก ารจายเงนิ งบประมาณ 1. อาชีพ ในแตละ กศน. ตําบล ใหเ ปด สอนอาชีพ 40 ช่วั โมงข้นึ ไป จํานวน 1 หอ ง ผเู รยี นไมนอ ยกวา 15 คน โดยใหเ บกิ คา ใชจ า ยดังน้ี 1.1 คา ตอบแทน จา ยคา ตอบแทนวิทยากรชว่ั โมงละไมเกนิ 200 บาท ตาม จาํ นวนผูเ รียน 3 ระดบั ดังน้ี (1) ผูเรียนที่มีตํา่ กวา 6 คน ชั่วโมงละไมเ กนิ 50 บาท (2) ผูเรยี นที่มตี ัง้ แต 6 – 10 คน ช่วั โมงละไมเกิน 100 บาท (3) ผเู รยี นทม่ี ีตั้งแต 11 คนขน้ึ ไป ช่วั โมงละไมเกิน 200 บาท 1.2 คาใชส อย จายเปนคาเชา สถานท่ี เครื่องมอื อปุ กรณ และคา ใชจายในการ เดินทางไปราชการของวทิ ยากรท่เี ปน บุคคลภายนอก (จา ยเปน คา พาหนะ และคาเชาท่ีพัก ในอัตราตํ่าสดุ กรณีเปน ขาราชการบาํ นาญเบกิ จายตามยศ ตําแหนง ครงั้ สดุ ทาย) 1.3 คา วัสดุ จายเปนคา วสั ดฝุ ก เทาท่ีจา ยจรงิ ตามความจําเปนและเหมาะสม ประหยดั และเพื่อ ประโยชนข องทางราชการ ภายในวงเงนิ งบประมาณท่ีไดรับจดั สรร หลกั สตู รละไมเ กิน 2000 บาทตอผูเรยี น 1 คน 1.4 คา สาธารณูปโภค จา ยใหแ กหนวยงานภาครัฐหรอื เอกชน จายไดเ ทา ทจ่ี ายจริง ถวั จายจากวงเงินที่ไดร ับในแตละหลักสตู ร (ใชใบเสรจ็ รับเงนิ หรือใบสําคญั รับเงนิ )

2227 3.1 ความหมายของหลกั สูตรและการพัฒนาหลักสตู ร ความหมายของหลักสูตร ททททททททวชิ ยั วงษใหญ (2525:2-3) กลาววา หลกั สูตร หมายถงึ ประสบการณทงั้ หลายท่ีสถานศกึ ษาจดั ใหแกผ ูเรียน เพอื่ ใหเ กิดการเรียนรแู ละการพัฒนาตนเอง และหลกั สตู รที่ดีนน้ั ตอ งเปนหลกั สตู รท่ีตอบสนองความตองการ ความสนใจ ของผเู รยี น และสอดคลองกับความตองการของชีวิต ทีเ่ หมาะสมท่ีสดุ ไดแ ก สภาพทางเศรษฐกจิ การเปลีย่ นแปลงทาง วัฒนธรรมดา นการศึกษา การเปลยี่ นแปลงทางสังคม สภาพแวดลอมทางจติ วทิ ยาที่เอ้ืออาํ นวยตอการเรยี นรู สภาพทาง การเมืองการปกครอง สภาพดานขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรม คานยิ ม และคณุ ธรรม สํานกั บริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน (2549:2) กลาววา หลักสูตรระยะส้นั หมายถงึ หลกั สตู รทสี่ ถานศึกษาจัด การศึกษาใหกับผเู รยี นนอกเหนอื จาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เพื่อมุงพัฒนาคุณภาพชวี ิต โดยใหม คี วามยดื หยุน เน้ือหา ระยะเวลาเรียน และสถานท่ีตามความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ สรุปไดวา หลักสตู รคอื ประสบการณท ่ผี ูเ รยี นไดรบั จะเปนประสบการณใดๆ ก็ไดเ ม่ือผานเขา ไปในการรับรขู อง ผเู รียนแลว ทาํ ใหผ เู รียนเกิดการเรียนรู และเกิดการพฒั นาตนเองใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ความหมายของการพัฒนาหลักสตู ร สํานกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน (2547:17) กลา ววา การพัฒนาหลกั สตู รนน้ั สถาบนั หรือสถานศึกษา จะตองสาํ รวจศึกษาวิเคราะหความตองการของกลุมเปา หมายโดยตรง จงึ จะสามารถพฒั นาหลกั สตู รไดสอดคลองกับความ ตอ งการของกลุมเปาหมาย บรรพต สุวรรณประเสรฐิ (2544:12) กลาววา การพัฒนาหลกั สตู รตา งๆ ในสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพและ เปนไปในทิศทางที่ชาตติ อ งการ 3.2 ข้ันตอนในการพฒั นาหลักสตู ร Taba (อางถึงใน วชิ ัย วงษใ หญ ,2525:10) ไดกลา วถงึ ข้ันตอนของการพัฒนาหลักสตู รและการสอนทเี่ ต็มรูปแบบ และสมบรู ณไว 7 ประการ ดังนี้ 1. การศกึ ษาวเิ คราะหความตองการของผเู รียน ของสังคมและวัฒนธรรม 2. การกาํ หนดจดุ มุงหมาย 3. การเลอื กเน้ือหาสาระ 4. การจดั รวบรวมพินิจเนอื้ หาสาระ

2328 5. การเลือกประสบการณเรียน 6. การจัดประสบการณเ รียน 7. การประเมนิ ผล เพ่ือตรวจสอบดูวากจิ กรรมและประสบการณเ รียนทจ่ี ดั ข้ึนนน้ั ไดบรรลุจุดมงุ หมายที่ กําหนดไวหรอื ไม สาํ นกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2549:5) กลาววาในการจัดทําหลักสูตรจะตองมีองคประกอบ อยางนอย 5 ขัน้ ตอน คอื 1. สํารวจ / รวบรวมความตอ งการของกลุมเปา หมาย 2. วเิ คราะห / จดั ลาํ ดบั ขอมลู ความตองการของกลุมเปาหมาย 3. กําหนดหลกั สตู รระยะสั้น 4. การอนุมัตหิ ลักสูตร 5. คลังหลกั สูตรระยะส้ัน ททททททททและตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 (กรมการศึกษานอกโรงเรยี นม.ป.ป.:9) ยงั ไดก ลาว การศึกษานอกระบบเปน การศกึ ษาท่ีมคี วามยืดหยนุ ในการกําหนดจดุ มงุ หมาย รปู แบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ การศกึ ษา การวดั และประเมินผล ซง่ึ เปนเงื่อนไขสําคญั ของการสาํ เรจ็ การศึกษา โดยเนือ้ หาและหลักสูตรจะตองมีความ เหมาะสม สอดคลองกบั สภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม ทททททททททสรปุ ไดวา การพัฒนาหลักสูตรจะตองมีการสํารวจ ศึกษา วิเคราะหความตอ งการของกลุม เปาหมายกอน แลวจงึ นําขอ มูลท่ีสํารวจ ศกึ ษา วิเคราะห มากําหนดทศิ ทางในการพัฒนาหลักสูตรใหต อบสนองความตองการความสนใจ ความถนดั และความแตกตางของกลมุ เปา หมาย 3.3 หลักสูตรระยะสัน้ ททททททททหหมายถึง หลักสูตรทสี่ ถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาใหกับผเู รียนนอกเหนือจากการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อพฒั นา คุณภาพชีวติ โดยใหม ีความยืดหยุน ดานเน้อื หา ระยะเวลาเรยี น และสถานทต่ี ามความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ หมายถงึ บคุ คลทีส่ ถานศกึ ษาหรอื หนวยงานทคี่ ัดเลือกใหท าํ หนาท่ีจัดการศึกษาหลักสูตร ระยะสน้ั ซง่ึ ไดร ับความไววางใจจากสถานศึกษาใหเ ปน ผูแ ทนในการถายทอดความรูใหกับผูเรียนโดยจะตองเปนผทู ี่มีความรู ทักษะและประสบการณมีความเขา ใจในปรชั ญาการศึกษาผูใหญและจติ วทิ ยาการศึกษาผูใหญเ ปนตน 3.4 วิทยากรผสู อน

2429 ททททททททวทิ ยากรหรือผูส อน จะตองโนมนา วและสามารถควบคมุ ผเู รียนในการดําเนินกจิ กรรมการเรยี นรใู หบ รรลุตาม เปาหมาย โดยวิทยากร/ผสู อน จะตองมีศิลปะเทคนิคตา งๆ ที่จะตอ งสรา งทศั นคติท่ีดีใหแกผ เู รียน เพื่อมงุ ไปสูความรวมมือ ในการเรยี นรู เพ่ือใหบรรลเุ ปา หมายของกจิ กรรมนัน้ พรอมทั้งจะตองใหคาํ ปรกึ ษาแกผ ูเ รยี นได และ วิทยากร/ผสู อน จะตอ งมีความรูเชงิ วชิ าการและทักษะในกิจกรรมตา งๆ เปนอยา งดี พรอมที่จะรวมลงมอื ปฏิบัติ สาธติ และแกปญ หาใหกบั ผเู รยี นไดอยา งมีประสิทธิภาพ เพ่อื สรา งความศรัทธาเชื่อมั่นใหกับผเู รยี น ททททททททวทิ ยากร หรือผูส อน จะตอ งดาํ เนินการ ดังน้ี 1) ศกึ ษารายละเอียดและวัตถุประสงคของหลักสตู รนน้ั ใหเขาใจ 2) จดั ทําหรอื เตรียมแผนการสอนของหลักสตู รระยะส้นั 3) คิดกิจกรรมใหส อดคลองกับหลกั สตู รระยะสัน้ และเตรียมอปุ กรณ วัสดุสื่อการเรยี นการสอนท่เี กย่ี วของ 4) จดั ทําบญั ชีลงเวลา 5) ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผ ูเรยี น 6) ทําการวดั ผล ประเมนิ ผล การเรียนของผูเรยี นแตละคน และรายวชิ า 7) รบั ผิดชอบและควบคมุ ดูแลวัสดุอุปกรณใหใ ชอยา งคุมคาและประหยัด 8) เปน ผใู หค ําแนะนาํ และเปนทีป่ รึกษาเก่ยี วกบั หลกั สูตรและการเรียนรูใหกับผูเรียน 9) รายงานผล 10) จัดทําอกสาร/หลักฐานการจบ 3.5 สถานศึกษา ททททททททหมายถึง สถานศกึ ษาทส่ี ังกดั สาํ นักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรือหนว ยงานอื่นทส่ี ถานศึกษาเหน็ ชอบใหจ ดั การศึกษาหลักสูตรระยะสั้นได สถานศกึ ษามีบทบาท หนาที่ คือ 1) จัดการศึกษาหลักสตู รระยะส้ัน ดงั นี้ ททท 1.1 สาํ รวจและสืบคน ขอ มลู ความตองการของกลมุ เปาหมายผรู ับการอบรม โดยคํานงึ ถึงความ แตกตางระหวา งบุคคล

2530 1.2 จดั หา/รวบรวมหลกั สูตรระยะสั้น หรอื จดั ทาํ /พัฒนาขนึ้ ใหม จากหลกั สตู รที่มอี ยูแลว จาก หนวยงานอ่ืนทั้งภาครัฐและเอกชน โดยคาํ นงึ ถงึ รูปแบบ วธิ ีการ และมาตรฐาน ทัง้ นีใ้ หเปนไปตามคําสง่ั และหลักเกณฑท่ี เกี่ยวของ 1.3 ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หบ รรลุจุดประสงคของหลักสูตร 1.4 ฝกอบรมและพฒั นาและพัฒนาวิทยากรผูสอน ใหจ ัดการเรียนการสอนได 1.5 กําหนดแผนงาน/โครงการ 1.6 ดาํ เนนิ กจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ 1.7 สงเสริมสนบั สนุนหนว ยงานอื่นจัด 1.8 วดั ผลประเมนิ ผล สรุปรายงาน 1.9 ออกหลกั ฐานวฒุ ิบตั ร / ใบสาํ คัญการจบหลกั สตู ร 2) ผอู ํานวยการสถานศึกษา มีอาํ นาจหนา ท่ี ททท2.1 อนมุ ตั ิหลกั สูตร 2.2 แตงต้ังคณะกรรมการการพจิ ารณาหลักสตู ร 3.3 อนมุ ัติเกณฑการพจิ ารณาหลักสตู ร 2.4 อนญุ าตใหจ ัดการศึกษาหลักสตู รระยะสนั้ 2.5 บริหาร ประสานงาน สถานศึกษา เครอื ขายอืน่ 2.6 กาํ กบั ตรวจสอบ ตดิ ตาม สนบั สนนุ กจิ กรรม 2.7 จัดตัง้ ขยาย เปลี่ยนแปลง ยบุ หยดุ ทาํ การสอนชว่ั คราว กลุมสนใจ/กลุม 3.6 ผเู รยี น ททททททททหมายถึง ผูท ่สี มัครเขารับการศกึ ษา และไดข ึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาของสถานศกึ ษา หรือหนวยงานนน้ั โดยมี พื้นฐานความรู ประสบการณ และอายุของผเู รียนใหเ ปน ไปตามหลักสูตรนน้ั ๆ กาํ หนด

2361 4. กรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี นใหม ปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ป อยางมีคณุ ภาพ ของสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 1. หลักการ ททททททททตามทรี่ ัฐบาลไดกาํ หนดนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ปอยา งมีคุณภาพ และใหความสาํ คัญ กับนโยบายน้ีเปน อยางมาก โดยมอบหมายใหกระทรวงศึกษาธกิ ารดาํ เนินงานและรฐั บาลใหการสนบั สนนุ งบประมาณเปน คาจดั การเรียนการสอน คาหนงั สือเรียน คา อุปกรณการเรียน คาเครอื่ งแบบนกั เรยี น และ คา จัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รยี น เพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเรยี นใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน โดยพฒั นาพน้ื ฐาน การเรียนรใู หผ เู รียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขนึ้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และสามารถใชช ีวติ แบบพอเพียง ไดอยา งมีความสุขนั้น ทททททททททสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ไดกําหนดกรอบการจัดกจิ กรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผเู รยี นใหมปี ระสิทธิภาพ สาํ หรับนกั ศึกษา กศน. ในหลกั สูตรการศึกษานอกระบบขัน้ พืน้ ฐาน เพ่ือสนอง นโยบายดังกลา ว จํานวน 8 กจิ กรรม โดยเปนกิจกรรมที่ใหส ถานศึกษาจดั เพ่ิมเตมิ จากการเรยี นปกติ ดังนี้ 1.1กิจกรรมเรยี นปรับพืน้ ฐาน เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหม คี วามรูค วามสามารถขั้นพื้นฐานโดยเฉพาะวิชาหลักให เพยี งพอทจ่ี ะเรียนตอไปไดและเรียนทนั กับผูเรยี นคนอื่นๆ 1.2กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เปน การจดั กจิ กรรมเพ่ือใหผเู รียนไดเ พ่ิมพนู ความรคู วามสามารถ ตอยอดจากการเรียนปรบั พ้ืนฐาน และในวิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร การ พัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปองกนั ยาเสพตดิ (Drug-Free) และการพฒั นาอาชีพ 1.3กิจกรรมพัฒนาความรูค วามสามารถดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เพอื่ ใหผเู รียน มีความสามารถดา น ICT อยางทวั่ ถึง 1.4 กจิ กรรมทแ่ี สดงความจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ  เปนการจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาผูเรยี นให มีความรกั ชาติ ศาสนา ปกปองและเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตรยิ  1.5 กจิ กรรมสง เสรมิ ประชาธิปไตย (Democracy) เปน การจัดกจิ กรรมเพ่อื สรา งความเปน พลเมืองและ ประชาธิปไตยใหกบั ผูเรียน เพ่ือใหส อดคลองกับการปฎิรปู การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง(พ.ศ.2552-2561) ของ กระทรวงศกึ ษาธิการ

2732 1.6 กจิ กรรมการเรียนรดู านเศรษฐกิจพอเพียง เปน การจัดกิจกรรมเพ่ือพฒั นาผูเรยี นใหสามารถนาํ ความรจู ากหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วนั 1.7 กจิ กรรมกีฬา เปนการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาผเู รียนใหมีความสามัคคี มนี าํ้ ใจนักกีฬา มีสุขภาพพลานามัยทีด่ ี และการสรา งสมั พนั ธอันดรี ะหวางนกั ศกึ ษา กศน. ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผูบริหารหนว ยงาน/สถานศึกษา 1.8 กิจกรรมจดั หาส่ืออุปกรณการสอนของครหู รือหนงั สือที่นอกเหนือจากแบบเรียน เพื่อใหบรกิ ารในหองสมดุ และ กศน.ตาํ บล/แขวง 2. เงอื่ นไขของการดําเนินงาน ทททททททท2.1ผรู ับบรกิ ารตองเปนบุคคลท่ขี ้นึ ทะเบียนเปนนกั ศึกษา กศน. ในหลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบขน้ั พื้นฐาน 2.2ใหสถานศกึ ษา สังกัดสํานักงาน กศน. จัดทาํ แผนการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รยี น เปนรายภาคเรียน โดยมุงใหเ กิดประโยชนส งู สดุ ในการพัฒนาคุณภาพผเู รียนอยา งมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพเพอื่ ขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแ ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา 2.3ใหส ถานศกึ ษา สงั กัดสาํ นกั งาน กศน. เสนอแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน เปนรายภาคเรยี น ตอ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัด กอ นเปด ภาคเรยี น 2.4ใหก ารเบิกจายในการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน เปน ไปตามคาํ ส่ังสํานักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธิการ ที่ 895/2551 ลงวนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2551 เรือ่ ง หลกั เกณฑก ารเบิกจายเงินอดุ หนุนของสาํ นักงาน กศน. และระเบยี บตางๆ ที่เก่ียวของ โดยยดึ หลกั ประหยดั โปรง ใส ถกู ตอง และซื่อสตั ยพรอมรบั การตรวจสอบ และไมใ ห สถานศึกษาเรยี กเกบ็ เงนิ คา ใชจา ยเพ่มิ เติมจากผูเรียน 3. งบประมาณ ททททททททงบประมาณในแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 15 ป โครงการสนบั สนุน การจดั การศกึ ษาโดยไมเสยี คาใชจ าย 15 ป หมวดเงนิ อดุ หนุน เปนคาใชจ ายในการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียนใหม ี คุณภาพและประสทิ ธิภาพ มีรายละเอยี ด ดังนี้ ระดบั ประถมศึกษา คนละ 140 บาทตอ ภาคเรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน คนละ 290 บาทตอภาคเรยี น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คนละ 290 บาทตอ ภาคเรียน

2833 ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี คนละ 530 บาทตอ ภาคเรียน 4. วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน ททททททททเพ่ือใหการดาํ เนินงานจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ รียนใหม ปี ระสิทธิภาพ เปน ไปตามเปาหมาย จงึ ได กาํ หนดวธิ กี ารดําเนนิ งานการจัดกิจกรรมตางๆ ไวด งั น้ี ทททททททททททท4.1กิจกรรมการเรยี นปรับพ้นื ฐาน เปน กจิ กรรมที่จดั ใหก ับผูเ รียนทม่ี ีพ้นื ฐานความรู โดยเฉพาะรายวิชาหลกั ทย่ี ังไมเพียงพอกบั การศึกษาตอในแตล ะระดบั โดยมแี นวทางการดําเนินงานดงั นี้ 4.1.1 ใหสถานศกึ ษาทดสอบความรูพื้นฐานของผเู รยี น โดยเฉพาะรายวิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และแบง กลุมผเู รยี นทม่ี คี วามรูพนื้ ฐานต่าํ ในวิชาหลัก ใหไ ดรับการเรียนปรับพ้ืนฐาน ใหผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา และ ครู กศน. รวมประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการ ปรบั พน้ื ฐานในแตล ะรายวิชาใหส อดคลอ งกับความตองการกลมุ ผเู รยี น 4.1.3 วทิ ยากรหรือผูส อน ตองเปนผูท ่ีมคี วามรูและประสบการณในสาขาวิชานนั้ ๆ กรณี ครู กศน. เปน ผูสอนเอง จะตองไมสง ผลกระทบตอ การทํางาน 4.1.4 จํานวนนกั ศกึ ษา กศน. ท่ีรว มกิจกรรม ใหอยูในดุลยพินิจของผูบรหิ ารสถานศึกษา 4.1.5 การเบิกจายงบประมาณ ใหเปนไปตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด ททททททททททท4.2กจิ กรรมพัฒนาวิชาการ เปน การจัดกิจกรรมเพอ่ื ใหผ ูเ รียนไดเ พิ่มพนู ความรูความสามารถทางดานวิชาการ เพอ่ื ตอยอดจากการเรียนปรับพ้นื ฐานใน 4 วชิ าหลกั ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร การ พฒั นาทกั ษะชวี ติ และการพัฒนาอาชพี โดยแบง ประเภทและรูปแบบการดําเนินงาน ดงั น้ี 4.2.1 ประเภทของกจิ กรรม 1)วิชาการ เปน รายวชิ าการท่ตี อยอดจากการเรียนปรับพื้นฐานใน 4 วชิ าหลกั ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร ใหม ปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ 2) ทักษะชวี ิต เพื่อเสริมสรางคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปองกนั ยาเสพติด (Drug-Free) เพศศึกษา ส่ิงแวดลอม และกจิ กรรมอื่นๆ เชน ลูกเสอื อาสายุวกาชาด 3) อาชพี เนนการพฒั นาอาชีพอยางครบวงจร

2934 4.2.2 รูปแบบของกิจกรรม 1) แบบการจัดคายวิชาการ ท้งั คา ยไป – กลบั และคายคางคืน 2) แบบกลุมสนใจ โดยครู กศน. เปน ผจู ัดกจิ กรรมหรือรว มกับเครือขา ย 3) แบบศึกษาดูงาน ในพ้ืนทใ่ี กลเ คยี งหรอื ภายในจังหวัด/ภาคเดียวกนั กรณี ออกนอกพืน้ ที่ ใหข อความเห็นชอบจากผอู ํานวยการสาํ นักงาน กศน.จังหวัด/กทม. 4) กิจกรรมทีจ่ ดั โดยองคก รนักศึกษา กศน. 5) อนื่ ๆ โดยใหพ จิ ารณารูปแบบของกิจกรรมขอท1่ี – 4 กอน แลวจึงดาํ เนนิ การในขอ 5 4.2.3 วทิ ยากรหรือผสู อน ควรเปน ผทู ่ีมคี วามรหู รอื ประสบการณในการสอนวิชานั้นๆ ซึง่ อาจจะเปน บุคคลภายนอก หรือ ครู กศน. ตามความเหมาะสม 4.2.4 ระยะเวลาการจดั กจิ กรรม ใหด าํ เนนิ การนอกเวลาการพบกลมุ ปกติ 4.2.5 การเบกิ จา ยงบประมาณ ใหเ ปนไปตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ทททททททท4.3 กิจกรรมเพ่ือพฒั นาความรูความสามารถดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปนกจิ กรรมเพ่ือใหผูเ รียนมคี วามรคู วามสามารถและทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ในการเรยี นรูหรอื แสวงหาขาวสารขอมูลตางๆ ไดต ลอดไป โดยกําหนดแนวทางการดาํ เนนิ งาน ดงั นี้ จัดการเรยี นการสอนใหกบั กลุมเปาหมายท่ีจะจบหลักสูตร กศน. ขัน้ พ้ืนฐาน ทกุ ระดับ ท่ียงั ไมมคี วามรูตามหลกั สูตรคอมพิวเตอรพ ้นื ฐาน 4.3.2 จัดการเรียนการสอนโดยใชห ลักสตู รคอมพิวเตอรพืน้ ฐาน 4.3.3 การจัดการเรียนการสอนสามารถดําเนนิ การได ดงั นี้ 1) สถานศึกษา กศน. จัดทดสอบเพอื่ ประเมินและเทียบโอนความรู สําหรับ ผูท ีม่ คี วามรตู ามหลกั สตู รคอมพวิ เตอรพนื้ ฐานอยูแลว 2) สถานศึกษา กศน.จัดการเรยี นการสอนเอง 3) สถานศกึ ษา กศน.จัดการเรียนการสอนรว มกบั เครือขา ย 4.3.4 ระยะเวลาจัดการเรยี นการสอน ไมนอ ยกวา 40 ชัว่ โมง หรือเทยี บเทา 4.3.5 การเบกิ จา ยงบประมาณ คาตอบแทน คาวสั ดแุ ละคาบํารุงรกั ษา ใหเปนไป ตามระเบยี บทกี่ ระทรวงการคลงั กําหนด (วาดวยการจดั วิชาชพี หลักสูตรระยะส้ัน)

3035 ทททททททท4.4 กจิ กรรมสง เสรมิ ประชาธปิ ไตย (Democracy) เพอื่ สรางความเปนพลเมอื งและประชาธปิ ไตยในชุมชน ท่สี อดคลองกบั การปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561) เปนกิจกรรมเพื่อใหผูเรยี นไดมีความรใู นเร่ืองรฐั ธรรมนญู นติ ริ ฐั สทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน การเมอื งภาคพลเมอื ง ระบบการเลือกต้ัง เพ่อื ฝกฝนการเปน พลเมืองทเี่ คารพผอู ืน่ เคารพกติกา สามารถรวมวิเคราะหแ ละแกปญหาของทองถิ่น และชุมชนดวยวิถีทางประชาธปิ ไตย เพ่อื สรางความเปนพลเมือง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ. 2552 - 2561) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4.5 กิจกรรมการจดั หาสื่ออุปกรณก ารสอนของครหู รือหนงั สอื ทน่ี อกเหนือจากแบบเรียน เพอื่ ใหบ รกิ ารในหองสมดุ ประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เปนการจัดหาส่ืออปุ กรณก ารเรียนการสอนหรือหนังสอื ท่นี อกเหนือจากแบบเรยี น เพ่อื ใหบ รกิ ารในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เพือ่ ใหครูและนักศึกษามสี ื่ออุปกรณห รือหนงั สือ เพอ่ื ใชป ระกอบการเรยี นรูหรือศกึ ษาคน ควา เพิ่มเติม โดยใหดาํ เนินการไดในกรณีทีม่ ีเงนิ เหลือจากการจัดกจิ กรรมพฒั นา คุณภาพผเู รยี น ขอ 4.1 - 4.4 แลว 5. ขั้นตอนการดําเนนิ งานของสถานศกึ ษา 5.1 ใหสถานศกึ ษา จดั ทําแผนการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนใหมีประสทิ ธิภาพ เปน รายภาคเรยี นทกุ ภาคเรียน ตามกรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผเู รียนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ของสถานศึกษาสังกดั สาํ นกั งาน กศน. และตามนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ป อยางมคี ุณภาพของรฐั บาล เพ่ือขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคก รนักศึกษา กศน. ผแู ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (ในขอ 5.2) 5.2 ใหส ถานศกึ ษา จดั ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผแู ทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแทนครแู ละ ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา เพื่อพิจารณาและเห็นชอบแผนการกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน (ตามขอ 5.1) 5.3 ใหส ถานศกึ ษา จดั สง แผนการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนทไี่ ดร บั ความเห็นชอบจากการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแ ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (จากขอ 5.2) ใหส าํ นักงาน กศน. จังหวัด/กทม. กอนเปดภาคเรียนของทกุ ภาคเรียน 5.4 ใหส ถานศึกษา ดําเนนิ การตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี น ที่ไดรับความเหน็ ชอบแลว พรอมเบกิ จา ยเงนิ ตามระเบยี บทกี่ าํ หนด ใหแลวเสรจ็ ภายในแตล ะภาคเรยี น

3316 5.5 ใหสํานักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. แตงตงั้ คณะกรรมการประสานงาน ตดิ ตาม ตรวจสอบประเมนิ ผลการ จัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี น และรายงานใหส ํานกั งาน กศน. ภายใน 30 วัน หลงั ปด ภาคเรียน ทกุ ภาคเรยี น 5.6 ใหส าํ นกั งาน กศน. แตง ตงั้ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนจากสวนกลาง และสรุปรายงานผลทกุ ส้ินปงบประมาณ 4. อาชพี กลุมสนใจและอาชีพระยะสัน้ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี เปน การจดั การศึกษาท่ีมุงเนน ใหผเู รียนมคี วามรู เจตคติ และมที ักษะ ใน อาชีพ ตามวัตถปุ ระสงคข องหลักสตู ร ประกอบดวย ทักษะเกย่ี วกับการปฏิบัติงาน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐาน การ คดิ แกปญหา การส่อื สาร และทักษะเก่ยี วกับความปลอดภัยในอาชพี มีคุณลักษณะท่ี สาํ คญั ในเร่อื งความซื่อสตั ยส ุจริต ความคิดเชิงบวก ความมุงมั่นในการทํางาน การทาํ งานรวมกับผูอื่น การรักษาสงิ่ แวดลอม และการคาํ นึงถึงประโยชนสวนรวม มากกวาสว นตน การจัดกระบวนการเรียนรูเ นน การปฏบิ ตั จิ รงิ และการเรียนรูจาก วิทยากรหรือผรู ทู ่ปี ระกอบอาชีพน้ัน ๆ กรอบแนวคิดการจดั การศึกษาตอเนื่อง จะเหน็ วา การเตรียมความพรอมกอนดําเนินการจดั กจิ กรรมการศึกษา ตอ เน่ืองใหแกผ ูเ รยี น จะตอ งคํานงึ ถงึ ความตอ งการ ความจาํ เปน และความแตกตา งของผูเรียนแตละคน สถานศึกษา จึงควร ตอ งศึกษาขอมูลและดาํ เนนิ การตามกระบวนการ โดยฝกกระบวนการคดิ วิเคราะหต นเองใหแ กผ เู รยี น เพื่อใหผูเรียน สามารถคน หาสภาพปญ หาและความตองการทแ่ี ทจรงิ ของตนเอง อนั จะนําไปสูการเลือกเรียนกจิ กรรม กศน. ไดอยาง เหมาะสมเปนประโยชนตอ ตนเองมากท่ีสดุ ในการฝก กระบวนการคดิ วเิ คราะหต นเอง เปนการบรู ณาการ “หลักปรัชญา คิดเปน” และ “หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในกระบวนการเลือกและการตดั สินใจของผเู รยี น ซ่ึงสามารถประมวลได เปน 2 ดาน คอื 1. ปญ หาดา นเศรษฐกิจ ผเู รียนทม่ี ีปญ หาดานเศรษฐกิจ สามารถที่จะหาทางชวยตนเองเปน เบื้องตน โดยการ จัดทาํ บญั ชคี รัวเรอื น เพื่อนาํ ไปสูการจัดการชวี ิตดานการลดรายจาย และการเพิม่ รายได 2. ปญ หาทั่วไปในชีวติ ประจําวนั ผูเรยี นสามารถนําผลจากการวิเคราะหสูกิจกรรมการศึกษาทเ่ี หมาะสม กับ ผูเรียนแตล ะคน เปน รายบุคคล ซง่ึ สถานศกึ ษา กศน. จะไดจัดเปน กจิ กรรมการศึกษาใน 2 รปู แบบ คอื 1. รปู แบบกลมุ สนใจ เปนการจัดการศกึ ษาหลกั สตู รท่สี ถานศกึ ษาจดั ขึน้ เพื่อมุงพฒั นาคุณภาพชีวติ และสงเสริมการเรยี นรู ของประชาชน โดยหลักสตู รมคี วามยืดหยุนดานเนื้อหา สาระ ระยะเวลาเรยี น และสถานท่ี ตามความตองการและความ จําเปนของกลุมเปา หมาย หรือชุมชน หรือนโยบายของทางราชการ 2. รูปแบบกลุมสนใจ เปน การจดั การศึกษาหลักสตู รวิชาชพี ท่สี ถานศึกษาจดั ขึ้น เพื่อมงุ พัฒนา ใหผเู รยี นสามารถนาํ ความรู ดงั กลา วไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ และพัฒนาตอยอด อันจะนําไปสูการพัฒนา คณุ ภาพชีวิต แกปญหาของผูเ รียน ไดอยางเปนรปู ธรรม การพึ่งพาตนเองอยา งย่งั ยืน และชุมชนเขมแข็งตอ ไปตอไป การศกึ ษาตอ เนื่องรปู แบบกลุมสนใจ การสานหาบไมไผจิ๋ว การจัดการศึกษาอาชีพในปจ จุบนั มีความสําคญั มาก เพราะจะเปนการพฒั นาประชากรของประเทศใหมคี วามรู ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เปน การแกปญหาการวา งงานและสงเสรมิ ความเขมแขง็ ใหแกเศรษฐกิจ ซง่ึ กระทรวงศึกษาธกิ ารไดกําหนดยทุ ธศาสตร ท่จี ะพฒั นา 5 ศักยภาพของพนื้ ทใี่ น 5 กลุมอาชพี ใหม คือ กลมุ อตุ สาหกรรม กลุมพาณิชกรรมกลุมเกษตรกรรม กลมุ ความคดิ สรา งสรรค กลุม อาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง ใหส ามารถแขงขันไดใน 5 ภูมภิ าคหลกั ของโลก “รเู ขา รูเรา เทาทัน เพ่ือแขง ขันไดใ นเวทีโลก” ตลอดจนกาํ หนดภารกิจทจ่ี ะยกระดบั การจดั การศกึ ษา

3237 เพอื่ เพ่มิ ศักยภาพและขดี ความสามารถใหกับประชาชนไดม ีอาชีพทส่ี รา งรายไดท่มี นั่ คง โดยเนนการบรู ณาการใหส อดคลอ ง กบั ศกั ยภาพดานตา งๆ มุงพัฒนาคนไทยใหไ ดร ับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทาํ อยา งมคี ุณภาพทัว่ ถึงและเทา เทยี มกนั ประชาชนมรี ายไดม่ันคง และมีงานทําท่ียง่ั ยนื มคี วามสามารถเชิงการแขง ขนั ทัง้ ในระดับภูมิภาคอาเซยี นและ ระดบั สากล ซง่ึ จะเปน การจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ ในรปู แบบใหมทส่ี รางความม่นั คงใหแ กประชาชนและประเทศชาติ การเลอื กประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยุคปจ จุบันจําเปน ตองมีขอมูลพ้ืนฐานในหลักสตู รในหลายๆดา นทง้ั ดาน การผลิตลความตองการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพตางๆกลมุ อาชพี หลกั สูตร การจกั สานหาบไมไผจิว๋ ก็เปน ทางเลือก หนง่ึ ในการเลือกประกบอาชีพ เพือ่ ใหประชาชนผูท ่สี นใจในการฝกปฏบิ ัติและนําไปประกอบอาชีพสรางรายไดม คี วามม่ันใจ ในการนาํ ความรูและทักษะไปประกอบอาชีพ การกาํ หนดเน้ือหาและช่วั โมงการเรียนหลักสตู รจะประกอบไปดวยจาํ นวน ชว่ั โมงของเนอื้ หาความรูแ ละการปฏิบัตเิ มือ่ ผเู รยี นๆจบหลักสูตรแลวสามารถนําความรแู ละทักษะไปประกอบอาชีพสรา ง รายไดห รอื เปนรายไดเสริมอ่ืนท่อี กเหนือจากการประกอบอาชพี ของตนเองมาสนับสนุนครอบครัวเปน ระบบ กระบวนการพฒั นาความคดิ สรางสรรคป ระยกุ ตพฒั นางานตลอดจนนําภูมปิ ญญาทอ งถนิ่ แหลง เรียนรูผูเกี่ยวขอ งมสี วนรว ม จัดเนอ้ื หาประสบการณใหเ กิดผลกับผเู รยี นเปนคนดมี ปี ญญามีรายไดเ สรมิ แกครอบครัวเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ิตและความ เปนอยูท่ดี ีขนึ้ รวมถึงเพือ่ เปนการสนบั สนนุ การรวมกลมุ กอใหเ กดิ รายไดในชมุ ชนเกดิ ความเขม แขง็ ตอไปซึง่ เปน การศึกษา ตอ เนือ่ งเพ่ือการพัฒนายง่ั ยืนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

38 บทท่ี 3 วิธดี ําเนินงาน โครงการฝก อาชีพและสง เสรมิ การเรียนรู วิชาการการจักสานหาบไมไผจ๋ิว (หลักสูตร 10 ชัว่ โมง) มีขั้นตอนดังน้ี 1. สาํ รวจความตอ งการของกลุมเปาหมาย 2. ดาํ เนินการจัดกจิ กรรมโครงการรวมกับกลมุ ประชาชนทวั่ ไปของตาํ บลหนองปรือ (โดยการอบรมใหความรูและฝก ทักษะอาชพี ) 3. การวเิ คราะหขอ มลู 1. สาํ รวจความตอ งการของกลมุ เปา หมาย กลมุ ภารกจิ การจดั การศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี สํารวจความตอ งการของผูเรยี นของกลุมเปา หมายและแจงใหก ลุมเปา หมายฯ ทราบถงึ กําหนดการจดั กจิ กรรม 2. ดาํ เนินการจดั กิจกรรม โครงการฝกอาชพี และสง เสริมการเรยี นรู วิชาการการจกั สานหาบไมไผจิ๋ว (หลักสูตร 10 ช่วั โมง) ระหวา งวนั ท่ี 6-7 กุมภาพันธ 2563จัดอบรมใหความรแู ละฝก ทักษะอาชพี ณ ศนู ยฝก อาชพี OTOP หมู 2 ตาํ บลหนองปรอื อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี มผี เู ขา รว มกจิ กรรม 8 คน 3. การวิเคราะหขอ มลู การวิเคราะหขอมูล ใชคาสถิติรอยละในการประมวลผลขอมูลสวนตัวและตัวช้ีวัดความสําเร็จของโครงการตาม แบบสอบถามคดิ เปนรายขอ โดยแปลความหมายคาสถติ ริ อยละออกมา ไดดงั นี้ คาสถิตริ อยละ 90 ข้นึ ไป ดมี าก คาสถิติรอยละ 75 – 89.99 ดี คาสถติ ิรอ ยละ 60 – 74.99 พอใช คาสถิติรอยละ 50 – 59.99 ปรับปรงุ คาสถติ ริ อยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรุงเรงดวน สวนการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอซ่ึงมีลักษณะเปนคานํ้าหนักคะแนน และนํามา เปรยี บเทียบ ไดระดบั คุณภาพตามเกณฑการประเมนิ ดังนี้ เกณฑก ารประเมิน คาน้ําหนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ คือ ดมี าก คา น้ําหนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ดี คา นาํ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดับคุณภาพ คือ พอใช คา นา้ํ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคณุ ภาพ คอื ตอ งปรบั ปรงุ คา นํา้ หนักคะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ตองปรับปรงุ เรง ดว น

39 บทที่ 4 สรปุ ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อมลู การจดั กิจกรรมการศกึ ษาอาชีพกลมุ สนใจ วชิ าการการจกั สานหาบไมไผจ ๋ิว (หลกั สูตร 10 ชวั่ โมง) ซงึ่ ไดสรุป รายงานผลจากแบบสอบถามความคิดเห็น ขอ มูลที่ไดสามารถวิเคราะหและแสดงคาสถิติ ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอมูลสว นตัวของผตู อบแบบสอบถามของผูเขา รว มกิจกรรมวชิ าชพี รูปแบบกลมุ สนใจ วิชาการ การจักสานหาบไมไ ผจ ิว๋ (หลกั สตู ร 10 ชั่วโมง) ตารางท่ี 1 ผูเขา รว มโครงการทีต่ อบแบบสอบถามไดนาํ มาจําแนกตามเพศ เพศ รายละเอยี ด ชาย หญิง จาํ นวน (คน) 0 8 รอยละ 0.00 100.00 จากตารางที่ 1 พบวา ผตู อบแบบสอบถามทีเ่ ขา รวมกจิ กรรมวิชาชพี รูปแบบกลุม สนใจ วิชาการการจกั สานหาบไมไผ จิ๋ว (หลกั สูตร 10 ชว่ั โมง) เปนหญงิ จํานวน 8 คน คิดเปน รอ ยละ 100.00 ตารางที่ 2 ผูเ ขา รว มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป) อายุ ต่าํ กวา 15 ป 16 - 39 40 - 49 50-59 60 ขน้ึ ไป จํานวน (คน) 0 00 1 7 รอ ยละ 0.00 0.00 0.00 12.5 87.5 จากตารางที่ 2 พบวาผูตอบแบบสอบถามทีเ่ ขา รว มกจิ กรรมวชิ าชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการการจักสานหาบไมไผ จิว๋ (หลกั สูตร 10 ชว่ั โมง) พบวา ผเู ขา รว มโครงการฯ มี อายุ 50 – 59 ป จาํ นวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 12.5 และอายุ 60 ป ข้ึนไป จาํ นวน 7 คน คดิ เปนรอ ยละ 87.5 ตารางท่ี 3 ผูเขารว มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอาชพี อาชพี รายละเอยี ด เกษตรกรรม รบั จาง รับราชการ/รฐั วิสาหกิจ คา ขาย อน่ื ๆ จํานวน (คน) 8 รอ ยละ 100.00 จากตารางท่ี 3 พบวา ผูต อบแบบสอบถามทเ่ี ขารวมกิจกรรมวชิ าชีพรูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการจกั สานหาบไมไผ จิ๋ว (หลักสูตร 10 ชัว่ โมง) มอี าชีพเกษตรกรรม จํานวน 8 คน คดิ เปนรอ ยละ 100.00

3450 ตารางท่ี 4 ผูเขา รวมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน าํ มาจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา รายละเอยี ด ระดบั การศึกษา การศกึ ษา ประถม ม.ตน ม.ปลาย/ปวช. ปวส.ขึ้นไป จํานวน (คน) 8 0 0 0 รอยละ 100.00 0.00 0.00 0.00 จากตารางท่ี 4 พบวาผูตอบแบบสอบถามทเ่ี ขารวมกจิ กรรมวชิ าชีพรปู แบบกลุม สนใจ วิชาการการจกั สานหาบไมไผ จิ๋ว (หลักสูตร 10 ชว่ั โมง) ระดับประถมศกึ ษา จํานวน 8 คน คดิ เปนรอยละ 100 ตารางท่ี 5 แสดงคารอยละเฉลี่ยความสาํ เร็จของตัวช้ีวดั ผลผลิต ประชาชนทั่วไปตําบลหนองปรอื เขา รว มโครงการจาํ นวน 8 คน ผลสําเรจ็ ของโครงการ เปาหมาย ผูเขารว มโครงการ คดิ เปน รอ ยละ 88 100 จากตารางท่ี 5 พบวาผลสาํ เรจ็ ของตวั ชว้ี ดั ผลผลิตกิจกรรมวิชาชีพรปู แบบกลุม สนใจ วิชาการการจักสานหาบไมไผ จิ๋ว (หลักสูตร 10 ชั่วโมง) มีผูเขารว มโครงการ จํานวน 8 คน คดิ เปนรอยละ 100 ซงึ่ บรรลเุ ปา หมายดา นตัวช้วี ดั ผลผลิต ประชาชนท่วั ไปตาํ บลหนองปรอื เขา รวมโครงการจํานวน 8 คน

3641 ตอนท่ี 2 ขอ มูลเกี่ยวกับความคิดเหน็ ของผูเขารับอบรมวิชาชพี รูปแบบกลมุ สนใจ วิชาการการจกั สาน หาบไมไผจว๋ิ ความคดิ เห็นของผเู ขารบั รว มกิจกรรม จาํ นวน 8 คน จากแบบสอบถามทง้ั หมดท่มี ีตอการอบรมวิชาชีพรปู แบบกลุมสนใจ ตารางท่ี 6 ผลการประเมนิ การอบรมวชิ าชีพรปู แบบกลุม สนใจ รายการทป่ี ระเมิน n=8 ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดานเนอื้ หา 1. เนื้อหาตรงตามความตองการ µ σ อนั ดบั ระดบั ผล 2. เนือ้ หาเพยี งพอตอความตองการ ท่ี การประเมนิ 3. เนอ้ื หาปจ จุบันทนั สมยั 4.63 4. เนอื้ หามีประโยชนตอการนาํ ไปใชใ นการพฒั นา 4.25 0.52 1 4.13 0.71 11 คณุ ภาพชีวิต 4.50 0.64 15 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจัดกิจกรรม 0.53 3 5 การเตรยี มความพรอมกอ นจัดกิจกรรม 4.25 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค 4.50 0.46 11 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.38 0.53 3 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย 4.38 0.74 7 9 วิธีวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.25 0.74 7 ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอวิทยากร 4.38 0.46 11 10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเรือ่ งทถ่ี ายทอด 4.25 0.74 7 11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถา ยทอดใชส ื่อเหมาะสม 4.50 0.46 11 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหม สี วนรวมและซักถาม 4.63 0.76 3 ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก 4.38 0.52 1 13 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณและสง่ิ อาํ นวยความสะดวก 4.50 0.74 7 14 การส่ือสาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเกดิ การ 4.39 0.53 3 0.61 เรยี นรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกปญหา คาเฉลีย่ ททททททททจากตารางท่ี 4 แสดงใหเห็นวา ผูเขารว มการอบรมวิชาชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการการจักสานหาบไมไผจ ิว๋ พบวา อยูในระดับ ดีมาก เมื่อวเิ คราะหเปน รายขอพบวาอันดับท่ี 1 คือเนื้อหาตรงตามความตองการ,สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ และสง่ิ อาํ นวยความสะดวก(µ= 4.63) อนั ดบั ท่ี 3 คือ เน้ือหามปี ระโยชนต อ การนาํ ไปใชใ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ,การ ออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค,วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรวมและซักถาม,การบรกิ าร การชว ยเหลอื และการ แกปญ หา(µ= 4.50) อันดับท่ี 7 คอื การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ เปา หมาย,วิทยากร

3472 มีความรคู วามสามารถในเรื่องทถ่ี ายทอด,การส่ือสาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการเรียนรู, (µ= 4.38) อนั ดับที่ 11 คือ เน้ือหาเพยี งพอตอความตองการ,การเตรียมความพรอ มกอนจัดกจิ กรรม,วธิ วี ดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค, วิทยากรมีเทคนคิ การถา ยทอดใชส่อื เหมาะสม(µ= 4.25) และอันดับที่ 15 คือเน้ือหาปจ จบุ ันทันสมัย(µ= 4.13 )ตามลําดบั ตารางที่ 7 ผลการประเมนิ ผเู ขารวมกจิ กรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชา การการจักสานหาบไมไผจ๋ิว เนอื้ หาผเู ขารวมกจิ กรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบ N = 12 กลมุ สนใจ การการจกั สานหาบไมไผจ ว๋ิ µ σ อันดบั ท่ี ระดบั ผลการประเมิน 1. การมสี ว นรวมในกิจกรรมกลุม 050 1 ดมี าก 2. ความพงึ พอใจในการเขารวมโครงการ 4.53 0.50 1 ดมี าก 3. การคิดอยา งมีเหตผุ ล 4.53 0.50 3 ดมี าก 4. การเขาใจ และรับฟงความคดิ เหน็ จากผูอื่น 4.52 0.50 5 ดี 5. การรจู ัก และเขา ใจตนเอง 4.48 0.50 4 ดี คา เฉลี่ย 4.50 0.50 ดีมาก 4.51 รรรรรรรรจากตารางท่ี 5 พบวา โดยเฉล่ียแลวผเู ขา รว มผูเขา รว มกจิ กรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการจกั สานหาบไมไ ผจ ๋วิ อยูในระดับ ดมี าก เมื่อวเิ คราะหเปน รายขอพบวา การมสี ว นรว มในกิจกรรมกลมุ และ. ความพงึ พอใจใน การเขารวมโครงการมีคาทา กัน คือ (µ=4.53) เปนอันดบั ท่ี 1 และรองลงมาคือ การมีการคิดอยางมเี หตุผล (µ= 4.52) และการรจู ักและเขาใจตนเอง (µ= 4.50) การเขา ใจและรบั ฟงความคิดเห็นจากผอู ืน่ (µ= 4.48) ตามลาํ ดบั

43 บทที่ 5 สรปุ อภปิ ราย ขอเสนอแนะ การจัดกิจกรรมโครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรียนรู วิชาการการจกั สานหาบไมไผจ ิ๋ว (หลกั สูตร 10 ชว่ั โมง) มี วตั ถุประสงคเ พื่อไดร ับความรูและฝก ทักษะเกี่ยวกับการการจักสานหาบไมไผจ ๋ิวและสามารถนาํ ความรไู ปใชในการประกอบ อาชีพไดจริงและเปนการเพ่มิ รายไดใ หก ับครอบครวั วิธดี ําเนินการกลุมภารกจิ การจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ สํารวจความตอ งการเรยี นรขู องกลุมเปาหมาย กลุมประชาชนท่ัวไปในตาํ บลหนองปรือ และแจง ใหกลุมเปาหมายฯ ทราบถึงกําหนดการจดั กจิ กรรมวชิ าชพี รูปแบบกลุมสนใจ วิชาการการจักสานหาบไมไผจ ๋วิ (หลักสูตร 10 ช่ัวโมง) เปน การอบรมใหความรูและฝก ทักษะอาชีพ และปฏบิ ตั จิ รงิ ในหองเรยี น จัดข้ึนในวันท่ี 6-7 กมุ ภาพนั ธ 2563 โดยเปน การจัดอบรมใหค วามรูฝก ทกั ษะอาชพี ณ ศูนยฝกอาชพี OTOP หมู 2 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัด ชลบรุ ี งบประมาณดาํ เนนิ การโดย กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม มีผเู ขา รวมโครงการ จํานวน 8 คน สรปุ ผลการดาํ เนินงาน สรุปไดวา กลมุ ประชาชนทวั่ ไปในตําบลหนองปรือ เขา รวมโครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรียนรู วิชาการจกั สานหาบไมไ ผจ ิ๋ว (หลกั สูตร 10 ช่ัวโมง) ท่จี ดั ขึ้นในวันที่ 6-7 กมุ ภาพนั ธ 2563 โดยเปน การจดั อบรมใหความรฝู กทักษะ อาชีพ คือ ความรคู วามเขา ใจเกี่ยวกบั การการการจักสานหาบไมไผจว๋ิ ณ ศูนยฝกอาชีพ OTOP หมู 2 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี งบประมาณดาํ เนนิ การโดย กศน.อําเภอพนัสนิคม มีผเู ขา รว มโครงการ จาํ นวน 8 คน (รอ ย ละ 100 ของเปาหมายโครงการ) โครงการฝก อาชพี อาชีพชุมชนรปู แบบกลมุ สนใจ วิชาการจักสานหาบไมไผจิ๋ว (หลักสูตร 10 ช่ัวโมง) ผูเ ขา รวมมีระดับความคิดเหน็ / ความพงึ พอใจ ตอ โครงการ อยูในระดับ 4.39 “ด”ี อภิปรายผล จากการจัดโครงการฝก อาชีพและสง เสรมิ การเรียนรู วิชาการการจกั สานหาบไมไผจ ิ๋ว (หลกั สตู ร 10 ชวั่ โมง) เนือ่ งจากกลุมประชาชนทวั่ ไปในตําบลหนองปรือสว นใหญม ีระดบั ความคิดเหน็ /ความพงึ พอใจตอโครงการอยูในระดบั “ด”ี และบรรลคุ วามสาํ เรจ็ ตามเปา หมายตวั ชี้วัดผลลพั ธทีต่ งั้ ไว ขอ เสนอแนะ อยากใหมกี ารจัดกจิ กรรมอีก จะไดน ําความรไู ปปฏบิ ตั ิ

44

45 รายงานผลการจัดกจิ กรรม วิชา........การจักสานหาบไมไผจ ว๋ิ ........จํานวน..........10.......ช่วั โมง รหวา งวันท.่ี .........6-7 กุมภาพันธ. ...2563 ณ.......ศนู ยส ง เสริมอาชพี OTOP ม.2 วทิ ยากร คือ...........นางสาวสราญเนตร........รอดทอง.................. ………………………………………..ผรู ายงาน ( นางสาวสุรภา เชาวนั ด)ี

46 เลขท่ี………………. ใบสมัครผเู รียนหลักสูตรการจัดการศกึ ษาตอเน่ือง สถานศึกษา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอ/เขต....พนัสนิคม........ สํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั สตู ร/กิจกรรม……………………………………………………………………….....จํานวน...........ชว่ั โมง  ๑. ขอมลู สวนตวั (กรณุ ากรอกขอ มลู ดว ยตัวบรรจง) ชอื่ -นามสกลุ นาย/นาง/นางสาว....................................................เลขบัตรประจาํ ตัวประชาชน.......................... เกิดวนั ท/ี่ เดือน/พ.ศ............................อายุ..........ป สัญชาต.ิ .................ศาสนา.....................อาชีพ..................... ความรูส งู สุดจบระดบั .................................จากสถานศกึ ษา.......................................จงั หวัด.............................. ทอ่ี ยตู ามทะเบียนบานเลขท.ี่ ...........หมทู .ี่ .............ถนน/หมบู า น.........................................ตาํ บล/แขวง.............. อาํ เภอ.............................จงั หวัด...............................รหสั ไปรษณยี . ........................โทรศัพท. .............................. ๒. สนใจเขา รวมกจิ กรรม เน่อื งจาก...........................................................................................................................  เปน พ้ืนฐานในการศึกษาตอในระดบั /สาขา………………………………………………………………………………..  ตองการเปลย่ี นอาชพี  ตอ งการใชเ วลาวางใหเปนประโยชน  ตองการมอี าชพี เสริม/อาชีพหลกั  อ่ืนๆ ระบุ.................................................................... ๓. สถานภาพของผสู มัคร  เปน ผูว างงาน  สมาชกิ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี  สมาชิกกองทนุ สตรีเทศบาล  ผูถอื บัตรสวัสดิการของรฐั  อสม./อสส. รับจาง  เกษตรกร  สมาชกิ กองทนุ หมบู าน  อ่ืนๆ.................................. ๔. ทานไดร บั ขา วสารการรับสมัครจาก...................................................................................................................... สําหรบั เจาหนาที่ ลงช่อื .............................................ผสู มัคร ตรวจสอบรายละเอียด/ความเหน็ (.......................................................) .................................................... ลงชื่อ............................................ผรู บั สมคั ร วันที่/เดือน/ป............................................... (..............................................) วันที/่ เดือน/ป............................................... หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลย่ี นไดต ามความเหมาะสม แบบ กศ.ตน. 10 ในกรณีตา งดาว ตอ งมี Work Permit จึงจะสามารถสมัครเรียนได แบบประเมินความพึงพอใจ หลักสูตร..................................................................ระหวา งวนั ที.่ ...................เดอื น….....................พ.ศ…............... สถานที่จัด........................................................................................อาํ เภอ………...............................จงั หวัดชลบรุ ี ขอ มูลพน้ื ฐานของผปู ระเมนิ ความพงึ พอใจ

47 เพศ ชาย หญงิ อายุ...........ป วฒุ กิ ารศกึ ษา.............................อาชีพ.......................................... คําชี้แจง 1. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเคร่ืองหมาย √ ในชอ งวางระดบั ความพึงพอใจตามความคิดเห็นของทา น ระดบั ความพงึ พอใจ หมาย ขอ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอย นอ ย เหตุ ท่ีสุด กลาง ท่สี ดุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา นเนอ้ื หา 1 เนอ้ื หาตรงตามความตองการ 2 เน้ือหาเพียงพอตอ ความตองการ 3 เนื้อหาปจจบุ ันทนั สมัย 4 เนือ้ หามปี ระโยชนตอ การนําไปใชในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา นกระบวนการจัดกิจกรรม 5 การเตรียมความพรอมกอ นจดั กิจกรรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค 7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุม เปาหมาย 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ วทิ ยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรคู วามสามารถในเร่อื งที่ถา ยทอด 11 วิทยากรมีเทคนิคการถา ยทอดใชสอ่ื เหมาะสม 12 วิทยากรเปด โอกาสใหมสี ว นรวมและซกั ถาม ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา นการอาํ นวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณและสง่ิ อํานวยความสะดวก 14 การสือ่ สาร การสรางบรรยากาศเพ่อื ใหเ กดิ การเรยี นรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลือและการแกปญ หา ผผู า นการฝกอบรมไดน าํ ความรไู ปใชจรงิ เพ่มิ รายได ลดรายจาย นาํ ไปประกอบอาชีพ พฒั นาคุณภาพชวี ิต ใชเ วลาวา งใหเกิดประโยชน อน่ื ๆ ระบ…ุ ……………………. ความคิดเหน็ และขอเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................

48 ทป่ี รึกษา ผูจดั ทํา นางณชั ธกัญ หมนื่ สา นางสาวมุทกิ า การงานดี ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม ครู ผูจัดทาํ ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ นางสาวสรุ ภา เชาวันดี ครู กศน.ตาํ บลหนองปรอื ผูร วบรวม เรียบเรียง และจัดพิมพ นางสาวสุรภา เชาวนั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook