Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5 บทสาคูไส้หมู

5 บทสาคูไส้หมู

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-25 14:35:06

Description: 5 บทสาคูไส้หมู

Search

Read the Text Version

1 สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม การจัดกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ วชิ า การทําสาคูไสหมู หลกั สูตร 5 ชว่ั โมง ระหวางวนั ที่ วันที่ 25 กมุ ภาพันธ 63 เวลา 9.00 – 15.00 น. ณ บา นเลขท่ี 16/1 ม.7ตําบลหนองปรอื อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี กศน.ตาํ บลหนองปรอื ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนัสนคิ ม สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบรุ ี

2 บทสรุปผบู ริหาร โครงการอบรมอาชีพระยะสนั้ เพอ่ื การมีงานทาํ หลักสตู ร วิชาชพี รูปแบบกลุมสนใจ วชิ า การทาํ สาคูไสห มู (หลักสูตร 5 ช่วั โมง ) จดั ข้นึ ในครงั้ นีม้ วี ัตถปุ ระสงคเพื่อพัฒนาการงานและอาชีพ โดยใหความสาํ คัญกับการจดั การศึกษาเพื่อ พฒั นางานและอาชีพระดับพื้นฐาน ระดบั ก่ึงฝม ือ และระดับฝม ือ ทีส่ อดคลองกบั สภาพและความตองการของกลุม เปาหมาย โดยมุง เนน ใหผ ูเรียนสามารถนาความรไู ปใชใ นการประกอบอาชีพ หรอื เพม่ิ พูนรายได ทงั้ น้ีใหม ีการพัฒนาหลักสตู รและ วิธกี ารทหี่ ลากหลายและทนั สมัย สามารถใหบ ริการไดอยา งทั่วถงึ อีกทั้งมุงจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิตใหก บั ทุก กลุมเปา หมาย โดยจดั กจิ กรรมการศึกษาท่ีมุงเนนใหทกุ ลมุ เปา หมายมคี วามรูความสามารถในการจดั การชีวติ ของตนเองให อยใู นสงั คมไดอยา งมีความสขุ รวมท้งั การใชเวลาวางใหเ ปนประโยชนตอ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยมีกลมุ เปาหมาย คอื ประชาชนในตําบลหนองปรอื จาํ นวน 8 คน โดยจะใชก ลุมเปาหมายทงั้ หมดในการคํานวณโดยใชโ ปรแกรมสําเรจ็ รูป คอมพวิ เตอร (โปรแกรมตารางคาํ นวณ) เพอื่ สรุปผลการดาํ เนินงานในคร้ังน้ี วิธกี ารดาํ เนินงาน โดยการสาํ รวจความตอ งการของประชาชนในพืน้ ทีต่ ําบลหนองปรอื และนําผลจากการสาํ รวจมา จัดทาํ กจิ กรรมโครงการอบรมอาชีพระยะสั้นเพ่อื การมงี านทํา หลักสูตร วชิ าชพี รูปแบบกลุมสนใจ วิชา การทําสาคไู สห มู จาํ นวน 8 คน ในวนั ที่ 25 กมุ ภาพันธ 2563 ณ บานเลขท่ี 16/1 หมู 7 ตาํ บลหนองปรอื อาํ เภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี โดยมี นายวิชัย กานบวั เปน วทิ ยากรใหความรู หลังจากการจดั กจิ กรรมโครงการแลวมกี ารแจกแจงแบบ ประเมินความพงึ พอใจ สาํ หรบั ผูเขารว มโครงการท้ังหมด จํานวน 8 ชุด แลวนาํ ขอมูลทไ่ี ดม าคาํ นวณทางสถิติ หาคา รอยละ คา เฉลี่ย การแจกแจงความถี่ และคาเบยี่ งเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาํ เนินงาน จากการนาํ ขอ มูลที่ไดมาทาํ การคาํ นวณหาคาสถติ ิตางๆ สรปุ วา ผเู ขา รวมกจิ กรรม มคี วามพึง พอใจอยใู น ระดบั 4.48 (ดี)

3 คํานาํ ตามท่ี กศน.ตาํ บลหนองปรอื สงั กัดศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอพนสั นิคม ได ดาํ เนนิ งานตามนโยบายของสํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดวยการเห็นความสาํ คัญใน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาํ อยา งย่งั ยนื จึงไดจ ัดการฝก อาชีพระยะสั้นรูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการทาํ สาคู ไสห มู ขึน้ เพ่ือสามารถนําไปประกอบอาชพี ไดแ ละยังสรางมลู คา เพ่มิ ใหกบั อาชีพในปจ จบุ ัน ระหวา งวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ 2563 ณ บา นเลขที่ 16/1 ม. 7 ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี โดยมี นางสาวเสาวลักษณ ปลนี อย เปนวทิ ยากรใหค วามรู เพอื่ ใหไดขอ มูลสาํ หรับเปนแนวทางในการพัฒนากิจกรรมดา นพฒั นาอาชีพใหดีย่งิ ขึน้ ตอไป กศน.ตําบลหนองปรอื สงั กัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม จงึ ไดจัดทาํ สรุปผลการจัดกิจกรรมการดําเนินงาน เพือ่ ใหป ระชาชนในตาํ บลหนองปรือ มีอาชีพเสริมที่สามารถสรา งรายไดใ หกับครอบครัวเพิ่มขนึ้ กศน.ตาํ บลหนองปรือ กุมภาพันธ 2563

4 สารบญั หัวเรอ่ื ง หนา คาํ นํา บทท่ี 1 บทนาํ 1- หลกั การและเหตผุ ล 1 - วตั ถปุ ระสงค 1 - เปาหมาย 1 - วิธีดาํ เนนิ การ 2 - วงเงนิ งบประมาณท้งั โครงการ 2 - แผนการใชจา ยงบประมาณ 2 - ผรู บั ผิดชอบ 3 - เครอื ขาย 3 - โครงการทเี่ กยี่ วขอ ง 3 - ผลลัพธ 3 - ตวั ชวี้ ดั ความสําเรจ็ ของโครงการ 3 - การตดิ ตามและประเมนิ ผลของโครงการ 3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทีเ่ ก่ียวของ 4 - ยุทธศาสตรแ ละจดุ เนน การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ 2562 4 - แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตําบลหนองปรือ 10 - หลักการจดั การศึกษาตอเนื่อง 17 - อาชีพช้ันเรียนและอาชีพระยะส้นั 31 บทที่ 3 วธิ ีดาํ เนินงาน 33 - สํารวจความตอ งการของกลุมเปาหมาย 33 - ดําเนนิ การจัดกรรม 33 - การวเิ คราะหขอมูล 33 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอ มูล 34 - ตอนที่ 1 ขอมูลสว นตวั ของผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รวมกิจกรรมวชิ าชีพ รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการทําสาคูไสห มู ( 5 ชั่วโมง) 34 - ตอนท่ี 2 ขอ มลู เก่ียวกบั ความคิดเห็นของผเู ขา รับอบรมวชิ าชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการทําสาคูไส หม(ู 5 ชว่ั โมง) 36 บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล ขอเสนอแนะ 38 - สรปุ ผลการดําเนนิ งาน 38 - อภิปรายผล 38 - ขอ เสนอแนะ 38 บรรณานกุ รม ภาคผนวก

5 สารบัญตาราง หนา 34 หวั เรื่อง 34 ตารางที่ 1 ผเู ขา รวมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนาํ มาจําแนกตามเพศ 34 ตารางท่ี 2 ผเู ขารว มโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอายุ 35 ตารางที่ 3 ผเู ขารวมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน าํ มาจําแนกตามอาชีพ 35 ตารางที่ 4 ผเู ขา รวมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน ํามาจําแนกตามระดับการศึกษา 36 ตารางท่ี 5 แสดงคารอยละเฉลี่ยความสาํ เร็จของตัวชว้ี ดั ผลผลิต ประชาชนท่วั ไปตาํ บลหนองปรอื 37 ตารางที่ 6 ผลการประเมนิ การอบรมวชิ าชีพรูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการทําสาคูไสห มู ตารางท่ี 7 ผลการประเมินผเู ขา รวมกจิ กรรมการอบรมรูปแบบกลุมสนใจวิชาการทาํ สาคไู สห มู

6 บทท่ี 1 บทนํา หลักการและเหตผุ ล ตามนโยบายของสํานกั งาน กศน.ที่มุงเนนใหมีการพัฒนาและจดั ทําหลกั สูตรการศึกษาอาชีพเพ่ือการมงี านทําท่ี สอดคลองกบั ความตองการของผูเรียน ความตองการของตลาด และศักยภาพของพืน้ ทีโ่ ดยมีเปา หมายเพอ่ื ใหก ารจัด การศกึ ษาอาชพี แนวใหม เปนการจดั การศกึ ษาที่สามารถสรางอาชพี หลักท่ีมั่นคงใหกับผเู รยี นโดยสามารถสรางรายไดไดจรงิ ท้งั ในระหวา งเรยี นและสาํ เรจ็ การศกึ ษาไปแลว และสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีในการสรางมูลคา เพม่ิ ใหก บั อาชพี เพื่อพฒั นาใหเปน ผปู ระกอบการทีม่ ีความสามารถเชิงการแขง ขนั อยางย่งั ยืน จากการสาํ รวจความตองการของประชาชนตําบลหนองปรือ พบวา ประชาชนสวนใหญป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจา งทวั่ ไปคา ขาย ธรุ กิจสวนตวั แมบ า น และเวลาวา งหลงั จากการประกอบอาชพี จงึ มกี ารรว มกลมุ กันเพ่อื เรียนรวู ิชาชีพ ตางๆเพ่ิมเติม โดยมีความคิดเห็นตรงกนั ทจ่ี ะเรยี นวิชา การทําสาคูไสหมู เพือ่ ใหผูเรียนนาํ ไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั และเปน แนวทางในการประกอบอาชีพเสรมิ สรา งรายได ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอพนสั นิคม และ กศน.ตาํ บลหนองปรือ ไดเลง็ เหน็ ความสาํ คญั ของกระบวนการเรยี นรูในชมุ ชนดานการพฒั นาอาชพี จงึ ไดจ ดั กิจกรรมสงเสริม ศูนยฝก อาชีพชมุ ชน หลักสตู รระยะสั้นรูปแบบกลุม สนใจ วิชา การการทําสาคูไสหมู หลกั สตู รละ 5 ช่ัวโมง สําหรบั ประชาชนตําบลหนองปรือข้นึ วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ ใหผ เู รยี นมีความรู เกีย่ วกบั วัสดุ อปุ กรณใ นการการทาํ สาคูไสห มู 2. เพือ่ ใหผ เู รียนมีทักษะในการการทําสาคูไสหมไู ด 3. เพือ่ ใหผ เู รียนสามารถนําความรูไปปรบั ใชในชีวิตประจาํ วนั และการประกอบอาชีพได เปาหมาย เชงิ ปรมิ าณ - ประชาชนทวั่ ไปในตาํ บลหนองปรือ จํานวน 8 คน เชิงคณุ ภาพ - ผเู ขา รวมกจิ กรรมสามารถนําความรไู ปใชในการประกอบอาชพี และสรางรายไดไ ดจริงเพือ่ เปน การเพิ่ม รายไดใ หก ับครอบครัว

72 วธิ ดี ําเนินการ วตั ถปุ ระสงค กลมุ เปาหมาย เปาหมาย พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 1. เพือ่ ใหผ ูเ รียนมี ประชาชนท่วั ไป 8 คน ดําเนนิ การ 25 2,000..- กิจกรรมหลัก ความรู เกยี่ วกับ ในตาํ บลหนอง บานเลขที่ 16/1 บาท 1.ดาํ เนนิ การขอรปู แบบ วัสดุ อปุ กรณใน หมู 7 กุมภาพันธ กลมุ สนใจ การการทําสาคไู ส ปรือ ตําบลหนองปรือ 2563 2.ดาํ เนนิ งานและติดตอ หมู อาํ เภอพนัสนคิ ม ประสานงาน 2. เพ่อื ใหผเู รยี นมี จังหวัดชลบรุ ี 3.ดําเนนิ กจิ กรรมตาม ทักษะในการการ โครงการฝกทักษะอาชพี ทาํ สาคูไสหมูได “การทําสาคไู สห มู” 3. เพอ่ื ใหผ เู รียน 4.สรุปผลและรายงานผล สามารถนาํ ความรู ไปปรับใชใ น ชวี ติ ประจาํ วนั และ การประกอบอาชีพ ได วงเงินงบประมาณทัง้ โครงการ เงนิ งบประมาณดําเนินงาน การศึกษาตอเน่ือง (กิจกรรมสงเสรมิ ศูนยฝ กอาชีพชุมชน) รปู แบบกลุมสนใจ จาํ นวน 2,000.- (สองพันบาทถวน-) จาํ นวนเงิน กิจกรรมการศกึ ษา ไตรมาส 1 รายละเอียดคาใชจ ายในการดําเนินงาน บาท สต. 1.การอบรมใหความรู 2,000.-บาท 1.คาวทิ ยากร จํานวน 5 ชว่ั โมงๆ ละ 200 บาท 1,000. - 2.การฝกทักษะ 2.คา วสั ดฝุ กทกั ษะอาชีพ 1,000. - รวมเปน เงินท้ังสนิ้ 2,000. - หมายเหตุ ทง้ั นข้ี อถวั จา ยตามจริงทุกประการ แผนการใชจ ายงบประมาณ กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการศนู ยฝก อาชีพชมุ ชนรูปแบบกลมุ สนใจ - 2,000.- - - วชิ าการการการทําสาคูไสหมู (จํานวน 5 ชั่วโมง)

38 ผรู บั ผดิ ชอบ นางสาวสรุ ภา เชาวันดี หวั หนา กศน.ตาํ บลหนองปรือ เครอื ขา ย 1. องคการบรหิ ารสวนตาํ บลหนองปรอื 2. สมาชิกบทบาทสตรตี ําบลหนองปรอื โครงการที่เกีย่ วของ โครงการจัดการศกึ ษาตอเน่อื งเพอ่ื พฒั นาอาชพี ผลลัพธ ผเู ขา รวมกิจกรรมสามารถนําความรไู ปใชในการประกอบอาชีพและสรา งรายไดไดจริงเพ่ือเปน การเพม่ิ รายไดใหกับ ครอบครวั ตวั ชี้วดั ความสําเร็จของโครงการ ตัวช้ีวัดเชงิ ปริมาณ ผเู ขา รว มกิจกรรมไมน อยกวา รอยละ 80 ของเปาหมาย ตัวชว้ี ัดคุณภาพ ผูเ ขารวมกจิ กรรมไดรับความรูเกีย่ วกบั การการทําสาคไู สห มู รอยละ 80 1. ผูรับการฝก ทกั ษะอาชีพไดร ับความรูเ ก่ยี วกบั การการทาํ สาคไู สห มู ไมน อยกวา รอยละ 80 2. หลังจากจบกจิ กรรมการฝก ทักษะอาชพี “การการทาํ สาคูไสห มู” ผเู ขารวมกิจกรรมไมนอยกวา รอยละ 80 สามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได การติดตามและประเมนิ ผลของโครงการ 1. รายงานผลการจัดกจิ กรรม 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. การสงั เกตผูเขารว มกิจกรรม

9 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานท่ีเกย่ี วขอ ง ททททททททในการจดั ทาํ รายงานครัง้ นี้ ไดทาํ การศกึ ษาคนควา เน้อื หาจากเอกสารการศึกษาและรายงานทเี่ ก่ียวของ ดงั ตอไปนี้ 1. ยุทธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน สํานกั งาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2563 ทททททททท2. แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาํ บลหนองปรือ 3. หลักการจัดการศึกษาตอเนอื่ ง 4. อาชพี รปู แบบกลมุ สนใจ (ราง) นโยบายและจดุ เนนการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 วิสยั ทศั น คนไทยไดร บั โอกาสการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวติ อยา งมีคณุ ภาพ สามารถดํารงชวี ติ ทเ่ี หมาะสม กับชว งวัย สอดคลองกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะท่ีจาํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จดั และสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทีม่ คี ุณภาพ เพอ่ื ยกระดบั การศึกษา พัฒนา ทกั ษะการเรยี นรูของประชาชนทกุ กลุมเปาหมายใหเ หมาะสมทุกชวงวัย พรอมรับการเปล่ียนแปลงบริบททางสงั คม และ สรางสังคมแหงการเรียนรูต ลอดชวี ิต 2 สง เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคเี ครือขา ย ในการมสี ว นรว มจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัย และการเรียนรูต ลอดชวี ิต รวมทัง้ การดําเนนิ กจิ กรรมของศูนยการเรยี นและแหลง การเรียนรูอ่นื ใน รูปแบบตา ง ๆ 3. สงเสรมิ และพัฒนาการนาํ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชใหเ กิดประสทิ ธิภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหกับประชาชนอยา งทวั่ ถงึ 4. พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู ส่อื และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผลในทุกรปู แบบให สอดคลองกบั บรบิ ทในปจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ เพือ่ มุงจดั การศกึ ษาและการเรยี นรทู ่ีมคี ุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปาประสงค 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้งั ประชาชนทั่วไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน การศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัย ทมี่ ีคุณภาพอยาง เทา เทียมและทวั่ ถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตล ะ กลุมเปา หมาย

510 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรา งเสริมและปลกู ฝง คุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมือง อนั นาํ ไปสูการยกระดบั คุณภาพชวี ิตและเสริมสรา งความเขม แข็งใหชุมชน เพอื่ พัฒนาไปสูความม่นั คงและย่ังยนื ทางดาน เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอ ม 3. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรยี นรู และมเี จตคตทิ างวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยุกตใชใ นชีวติ ประจาํ วัน รวมทง้ั แกปญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยา งสรางสรรค 4. ประชาชนไดร ับการสรา งและสง เสรมิ ใหมนี ิสัยรกั การอานเพื่อการแสวงหาความรูดวยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครอื ขา ยทุกภาคสว น รวมจัด สงเสรมิ และสนับสนนุ การดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลอื่ นกจิ กรรมการเรียนรขู องชุมชน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ นการยกระดบั คุณภาพใน การจัดการเรยี นรูและเพ่ิมโอกาสการเรยี นรูใ หกับประชาชน 7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรยี นรู เพื่อแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่ี ตอบสนองกับการเปลีย่ นแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตรแ ละส่งิ แวดลอม รวมท้งั ตาม ความตอ งการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย 8. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการทีเ่ ปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร บั การพัฒนาเพอื่ เพมิ่ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา งมีประสิทธภิ าพ ตวั ชวี้ ดั ตวั ชวี้ ดั เชิงปริมาณ 1. จาํ นวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาชัน้ พื้นฐานท่ไี ดรับการสนบั สนนุ คา ใชจา ยตามสิทธทิ ีก่ ําหนด ไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปา หมายตาง ๆ ท่เี ขารว มกจิ กรรมการเรียนรู/เขา รบั บรกิ ารกจิ กรรมการศึกษาตอเนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่สอดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอ ยละของกําลังแรงงานท่ีสําเรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ข้นึ ไป 4. จํานวนภาคีเครือขายทเ่ี ขามามสี วนรวมในการจดั /พัฒนา/สงเสรมิ การศึกษา (ภาคเี ครือขา ย : สถานประกอบการ องคก ร หนวยงานทมี่ ารว มจดั /พัฒนา/สง เสรมิ การศึกษา) 5. จํานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพนื้ ทีส่ ูง และชาวไทยมอแกน ในพน้ื ท่ี 5 จังหวัด 11 อําเภอ ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยการเรียนชุมชนสงั กดั สํานักงาน กศน. 6. จาํ นวนผรู บั บรกิ ารในพืน้ ทเ่ี ปาหมายไดร บั การสง เสรมิ ดานการรูหนงั สอื และการพฒั นาทักษะชวี ิต 7. จาํ นวนนกั เรยี นนกั ศึกษาท่ีไดรับบรกิ ารตวิ เขมเตม็ ความรู 8. จาํ นวนประชาชนทไ่ี ดร ับการฝกอาชีพระยะสน้ั สามารถสรางอาชพี เพื่อสรางรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตําบล จากพื้นที่ กศน.ภาค ไดรับการพฒั นาศักยภาพดานการจดั การเรยี นการสอน ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จาํ นวนประชาชนที่ไดร ับการฝก อบรมภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารดานอาชพี 11. จาํ นวนผูสงู อายภุ าวะพงึ่ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผดู ูแลทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จํานวนประชาชนทผี่ า นการอบรมจากศูนยด ิจทิ ัลชุมชน 13. จํานวนศนู ยการเรียนชุมชน กศน. บนพืน้ ทีส่ งู ในพน้ื ท่ี 5 จังหวดั ท่สี ง เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการฟง พดู ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร รวมกนั ในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน.

611 14. จาํ นวนบคุ ลากร กศน. ตําบลท่ีสามารถจัดทาํ คลังความรไู ด 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรียนรตู ลอดชวี ิตในระดับตาํ บลในหัวขอตา ง ๆ 16. จาํ นวนหลักสูตรและสื่อออนไลนท ี่ใหบ รกิ ารกบั ประชาชน ทัง้ การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน การศึกษาตอเนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ตวั ชวี้ ัดเชิงคุณภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทกุ ระดับ 2. รอ ยละของผูเ รยี นที่ไดรบั การสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเทยี บกับคาเปา หมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายทลี่ งทะเบียนเรียนในทกุ หลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เน่ืองเทียบกับ เปาหมาย 4. รอ ยละของผผู านการฝก อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะสน้ั สามารถนาํ ความรูไปใชในการประกอบอาชพี หรือ พัฒนางานได 5. รอยละของผูเ รยี นในเขตพื้นทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตท ่ีไดร ับการพัฒนาศักยภาพ หรอื ทกั ษะดานอาชีพ สามารถ มงี านทาํ หรือนาํ ไปประกอบอาชพี ได 6. รอ ยละของผูจบหลักสูตร/กิจกรรมทสี่ ามารถนาํ ความรคู วามเขา ใจไปใชไดต ามจุดมุงหมายของหลักสูตรกิจกรรม การศกึ ษาตอเน่ือง 7. รอยละของประชาชนที่ไดร ับบริการมีความพงึ พอใจตอ การบรกิ าร/เขารวมกจิ กรรมการเรยี นรูก ารศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ไี ดร บั บรกิ าร/ขา รวมกิจกรรมทม่ี ีความรคู วามเขาใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจุดมุงหมายของกิจกรรมที่กําหนด ของการศึกษาตามอัธยาศยั 9. รอยละของนกั เรยี น/นักศึกษาท่มี ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าที่ไดรบั บรกิ ารติวเขม เต็มความรู เพิม่ สงู ขึ้น 10. รอ ยละของผูสงู อายทุ ่เี ปน กลมุ เปาหมาย มีโอกาสมาเขารว มกิจกรรมการศึกษาตลอดชวี ติ นโยบายเรง ดวนเพอื่ รวมขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรดานความมันคง 1.1 พฒั นาและเสริมสรา งความจงรกั ภักดีตอสถาบนั หลักของชาติ โดยปลูกฝง และสรางความตระหนักรถู งึ ความสําคัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเสริมสรา งความรักและความภาคภมู ใิ จในความเปน คนไทยและชาตไิ ทย นอม นําและเผยแพรศาสตรพระราชา หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดาํ รติ า ง ๆ 1.2 เสริมสรา งความรคู วามเขาใจท่ีถูกตอ ง และการมสี วนรวมอยา งถูกตองกบั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ในบริบทของไทย มคี วามเปน พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอดุ มการณ 1.3 สง เสริมและสนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพ่อื ปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรปู แบบใหม ทง้ั ยาเสพตดิ การคามนุษย ภัยจากไซเบอร ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม ฯลฯ

712 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสรา งเสริมโอกาสในการเขา ถงึ บริการการศึกษา การพัฒนาทกั ษะ การ สรา งอาชีพ และการใชชีวิตในสังคมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต และพน้ื ทชี่ ายแดน อ่นื ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรับและเคารพใน ประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ ชาตพิ นั ธุ และชาวตางชาติทีม่ ีความหลากหลาย ในลักษณะพหสุ ังคมทีอ่ ยรู วมกัน 2 ยทุ ธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขัน 2.1 เรง ปรบั หลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดบั ทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเปนอาชพี ที่รองรับอตุ สาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรวมมือในการพัฒนาและเสรมิ ทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนนสรางโอกาส ในการสรา งงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตอ งการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพ้ืนทเี่ ขตระเบียงเศรษฐกจิ และเขคพฒั นาพเิ ศษตามภูมภิ าคตาง ๆ ของประเทศสําหรบั พน้ื ทป่ี กติใหพัฒนา อาชพี ท่เี นน การตอยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้ืนท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาพื้นท่ีภาคตะวนั ออก ยกระดับการศกึ ษาใหกบั ประชาชนใหจ บการศึกษาอยางนอย การศกึ ษาภาคบงั คบั สามารถนําคุณวฒุ ิทไี่ ดร บั ไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้ังพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชีพ ตามความตองการของประชาชน สรา งอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบรบิ ทของสงั คมและชมุ ชน รวมทั้งรองรับการ พัฒนาเขตพ้ืนท่รี ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพือ่ ตอยอดการผลิตและจําหนา ยสินคและผลิตภณั ฑออนไลน 1) เรงจัดต้ังศนู ยใหค าํ ปรึกษาและพฒั นาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพของสินคและผลิตภัณฑ การบริหารจดั การทค่ี รบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรา งชองทางจําหนาย) รวมทง้ั สงเสรมิ การใชประโยชน จากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการเผยแพรแ ละจําหนา ยผลติ ภัณฑ 2) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสินคาและลติ ภณั ฑ กศน. ในแตล ะจังหวดั พรอ มทัง้ ประสานความรว มมอื กบั สถานี บรกิ ารนํ้ามนั ในการเปนซองทางการจําหนา ยสุดยอดสินคาและผลติ ภณั ฑ กศน.ใหกวางขวางยิง่ ขนึ้ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 พฒั นาครูและบุคลากรท่ีเกีย่ วขอ งกบั การจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู เปนผูเชอื่ มโยงความรกู บั ผเู รียนและผรู ับบริการ มีความเปน \"ครมู ืออาชพี \" มจี ิตบรกิ าร มีความรอบรูและทนั ตอการเปลย่ี นแปลงของสังคมและเปน \"ผูอาํ นวยการการเรยี นรู\" ทีส่ ามารถบรหิ ารจัดการความรู กิจกรรม และการเรียนรูทีด่ ี 1) เพ่ิมอัตราขาราชการครูใหกบั กศน. อาํ เภอทุกแหง โดยเรงดาํ เนินการเรื่องการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตงต้งั ขาราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลักสูตรทเ่ี ช่อื มโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาํ บลใหส ามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ โดยเนนเร่อื งการพัฒนาทักษะการจัดการ เรยี นการสอนออนไลน ทกั ษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู 4) พฒั นาศึกษานิเทศก ใหสามารถปฏิบัติการนเิ ทศไดอยางมีประสิทธภิ าพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดบั ทุกประเภทใหมีทักษะความรเู รอื่ งการใชป ระโยชนจากดจิ ิทัลและ ภาษาตางประเทศที่จําเปน 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรใู หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู มคี วามพรอมในการใหบรกิ าร กจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู เปน แหลงสารสนเทศสาธารณะท่ีงยตอการเขา ถึง มีบรรยากาศทีเ่ อื้อตอการเรยี นรู เปน

813 คาเพพ้นื ท่ีการเรียนรูสําหรบั คนทุกชว งวยั มสี ิง่ อํานวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมีชวี ิต ทีด่ ึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยสําหรับผูใ ชบ ริการ 1) เรงยกระดับ กศน.ตําบลนํารอง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง) ใหเ ปน กศน.ตําบล 5 ดี พรเี มย่ี ม ทีป่ ระกอบดว ย ครูดี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี) กจิ กรรมดี เครือขายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรูที่ดีมปี ระโยชน 2) จัดใหมศี ูนยการเรยี นรูต น แบบ กศน. เพอ่ื ยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภูมิภาค เปน พื้นที่การเรยี นรู (Co - Learning Space) ที่ทันสมยั สําหรับทุกคน มีความพรอ มในการใหบรกิ ารตา ง ๆ อาทิ พื้นท่สี าํ หรบั การทํางาน/การ เรยี นรู พ้ืนทีส่ ําหรบั กิจกรรมตาง ๆ มหี อ งประชมุ ขนาดเลก็ รวมท้ังทํางานรวมกบั หองสมุดประชาชนในการใหบ ริการใน รูปแบบหอ งสมดุ ดจิ ทิ ัล บรกิ ารอนิ เทอรเ นต็ สือ่ มัลติมีเดีย เพ่ือรองรบั การเรยี นรแู บบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมดุ ประชชน \"เฉลมิ ราชกมุ ารี\" ใหเ ปน Digital Library โดยใหม บี ริการหนังสือ ในรูปแบบ e - Book บรกิ ารคอมพวิ เตอร และอินเทอรเน็ตความเรว็ สูง รวมท้งั Free Wifi เพอ่ื การสบื คน ขอมลู 3.3 สงเสริมการจดั การเรยี นรูท่ที นั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพ เอื้อตอการเรยี นรสู ําหรบั ทุกคน สามารถ เรยี นไดท กุ ท่ที ุกเวลา มีกิจกรรมทีห่ ลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพอ่ื พฒั นาศักยภาพ การเรยี นรูของประชาชน รวมทง้ั ใชประโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรวมจดั กิจกรรมการเรียนรูเพื่อเชอ่ื มโยง ความสัมพนั ธของคนในชมุ ชนไปสูการจัดการความรขู องชุมชนอยา งยง่ั ยืน 1) สง เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู ่ปี ลกู ฝงคณุ ธรรม สรางวนิ ัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสวนรวม และการมจี ติ อาสา ผานกจิ กรรมรปู แบบตา ง ๆ อาทิ กจิ กรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจติ อาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ใหม กี ารจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรมใหก ับบุคลากรในองคกร 2) จัดใหม ีหลกั สตู รลกู เสือมัคคเุ ทศก โดยใหสํานักงาน กศน.จังหวัดทุกแหปกทม. จัดต้ังกองลูกเสือ ท่ลี ูกเสอื มีความพรอมดา นทักษะภาษาตางประเทศ เปน ลกู เสอื มคั คเุ ทศกจ ังหวัดละ 1 กอง เพื่อสง เสรมิ ลูกเสอื จติ อาสา พัฒนาการทองเทยี่ วในแตล ะจงั หวัด 3.4 เสรมิ สรา งความรวมมือกับภาคีเครอื ขา ย ประสาน สงเสริมความรว มมือภาคีเครือขา ย ทัง้ ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองคก รปกครองสว นทองถน่ิ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพ่ือสรางความเขา ใจ และใหเ กิดความรวมมือในการสงเสริม สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 1) เรง จัดทาํ ทําเนียบภมู ปิ ญ ญาทองถิ่นในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจ ากภูมิปญ ญาทองถนิ่ ในการสรา งการเรยี นรู จากองคค วามรูใ นตวั บุคคลใหเกดิ การถายทอดภมู ิปญญา สรางคณุ คาทางวฒั นธรรมอยางย่งั ยนื 2) สง เสริมภมู ิปญญาทองถนิ่ สูการจดั การเรียนรชู ุมชน 3) ประสานความรว มมอื กบั ภาคเี ครือขายเพอื่ การขยายและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหเ ขาถึงกลุมเปาหมายทุกกลุมอยา งกวา งขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลุมผสู งู อายุ กลมุ อสม. 3.5 พฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชนตอ การจดั การศกึ ษาและกลมุ เปาหมาย 1) พัฒนาการจดั การศึกษาออนไลน กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การพัฒนาทักษะ ชวี ติ และทกั ษะอาชพี การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทัง้ การพัฒนาชองทางการคา ออนไลน 2) สงเสรมิ การใชเทคโนโลยีในการปฏิบตั ิงาน การบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู 3) สงเสริมใหมีการใชก ารวจิ ัยอยา งงายเพ่ือสรา งนวัตกรรมใหม 3.6 พัฒนาศักยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู ละทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน 2) สง เสริมการจัดการเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือใหป ระชาชนมีทักษะความเขาใจและ

914 ใชเทคโนโลยีดจิ ิทลั ท่ีสามารถนําไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจําวัน รวมท้ังสรา งรายไดใหกับตนเองได 3.7 พัฒนาทกั ษะภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพ่ืออาชีพ ท้ังในภาคธุรกจิ การบรกิ าร และการทองเท่ียว รวมท้งั พัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอนเพอ่ื สงเสรมิ การใชภ าษาเพอื่ การส่อื สารและการพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรยี มความพรอมการเขาสูสงั คมผูส ูงอายุท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 1) สง เสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรา งความตระหนกั ถึงการเตรียมพรอมเขาสู สังคมผสู งู อายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพฒั นาการของชว งวัย รวมทั้งเรยี นรูและมีสว นรวมในการดูแล รบั ผดิ ชอบผสู งู อายุในครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรสู าํ หรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขา สวู ยั สูงอายุทีเ่ หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวติ สาํ หรบั ผสู งู อายภุ ายใตแนวคิด \"Active Aging\" การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ และพฒั นาทักษะชีวติ ใหส ามารถดูแลตนเองทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิต และรจู ักใชประโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคา และศกั ด์ิศรีของผูสงู อายุ เปดโอกาสใหม ีการเผยแพรภูมิปญ ญา ของผสู ูงอายุ และใหมีสว นรวมในกจิ กรรมดา นตาง ๆ ในชุมชน เชน ดา นอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือรองรับสังคมผูส ูงอายุ โดยบูรณาการความรว มมือกบั หนวยงานทีเ่ ก่ยี วของ ในทุกระดบั 3.9 การสง เสริมวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวิทยาศาสตรเชิงรกุ และเนนใหความรูว ิทยาศาสตรอ ยา งงายกับประชาชนในชุมชน ท้งั วทิ ยาศาสตรในวถิ ีชีวติ และวทิ ยาศาสตรใ นชีวติ ประจําวนั 2) พฒั นาสือ่ นิทรรศการเละรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใหมีความทันสมัย 3.10 สงเสริมการรภู าษาไทยใหก บั ประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพน้ื ทสี่ ูง ใหสามารถฟง พูด อาน และเขยี นภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชช วี ิตประจาํ วันได 4 ยทุ ธศาสตรตนการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 4.1 จดั ตงั้ ศนู ยก ารเรียนรสู าํ หรบั ทุกชว งวัย ท่ีเปน ศูนยการเรียนรูตลอดชีวติ ทีส่ ามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดท ุกคน ทุกชวงวัย ทม่ี กี ิจกรรมทห่ี ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตล ะวัย และเปน ศนู ยบ ริการความรู ศูนยการจัดกจิ กรรมทคี่ รอบคลุมทุกชว งวัย เพอ่ื ใหม ีพัฒนาการเรยี นรทู ่เี หมาะสม และมีความสุขกับการเรียนรตู ามความสนใจ 1) เรง ประสานกบั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน เพ่อื จดั ทาํ ฐานขอมูลโรงเรยี นทีถ่ ูกยบุ รวม หรอื คาดวา นาจะถกู ยบุ รวม 2) ใหสาํ นักงาน กศน.จังหวดั ทกุ แหงท่ีอยใู นจังหวัดท่ีมโี รงเรียนที่ถกู ยุบรวม ประสานขอใชพ ้นื ท่เี พื่อจดั ตั้งศนู ยการ เรยี นรูส าํ หรับทกุ ชวงวัย กศน. 4.2 สง เสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรยี นรสู ําหรับกลมุ เปาหมายผูพิการ 1) จดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ และทกั ษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยเนน รูปแบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานกั งาน กศน.จังหวัดทกุ แหง/กทม. ทําความรว มมือกบั ศนู ยการศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวัด ในการใช สถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ และครุภณั ฑด านการศกึ ษา เพื่อสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรยี นรสู าํ หรบั กลุมเปาหมายผู พกิ าร

1105 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลมุ เปา หมายทหารกองประจาํ การ รวมทั้งกลุมเปา หมายพเิ ศษอืน่ ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคนั ประชากรวัยเรยี นทอี่ ยนู อกระบบการศึกษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สามารถนําความรทู ่ีไดร ับไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอเนอ่ื ง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพระะส้ัน ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพืน้ ที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผูรับบรกิ าร 5. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปนมติ รตอส่งิ แวดลอม 5.1 สงเสรมิ ใหมกี ารใหความรูกบั ประชาชนในการรับมอื และปรับตวั เพื่อลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบท่ีเก่ียวของกบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสาํ คัญของการสรา งสังคมสเี ขยี ว สงเสรมิ ความรูใ หก บั ประชาชนเกยี่ วกบั การคดั แยกตงั้ แตตน ทาง การกาํ จดั ขยะ และการนํากลับมาใชช าํ้ เพื่อลดปริมาณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลบั มาใชป ระโยชนไ ดโ ดยงาย รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสรมิ ใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานที่เปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม รวมทงั้ ลดการใชท รัพยากรท่สี ง ผล กระทบตอส่ิงแวดลอม เชน รณรงคเ ร่ืองการลดการใชถ งุ พลาสติก การประหยดั ไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดานการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบหารบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏบิ ตั ิราชการใหทนั สมัย มคี วามโปรงใส ปลอดการทุจรติ บริหารจดั การบน ขอ มลู และหลักฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธิม์ ีความโปรงใส 6.2 นาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานทเ่ี ปน ดจิ ิทัลมาใชในการบริหารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กบั ระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอมทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนท ีส่ ามารถเช่อื มโยงขอ มลู ตาง ๆ ท่ีทาํ ใหก ารบรหิ ารจดั การเปนไปอยางตอเน่ืองกนั ตั้งแตตน จนจบกระบวนการและใหประชาชนกลมุ เปา หมายสามารถเขา ถึง บริการไดอยางทันที ทุกทแ่ี ละทกุ เวลา 6.3 สงเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อยางตอเนอ่ื ง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ใหตรงกบั สายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากร 2. แนวทาง/กลยุทธก ารดาํ เนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตําบลหนอง ปรือ สังกดั กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม วิสัยทัศน “กศน.อําเภอพนสั นิคม จัดและสงเสรมิ สนบั สนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชน กลมุ เปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยางมีคุณภาพดวยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ 1. ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรใู หส อดคลองกับหลักสตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพื่อการเรยี นรูแ ละการบรหิ ารการศึกษา 3. พัฒนาบุคลากรดานการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/สื่อ/การประเมนิ ผล 4. สง เสริมและสนับสนนุ การมสี ว นรวมของภาคีเครอื ขา ยและชมุ ชนในการจดั กิจกรรมการศกึ ษา

1116 เปาประสงค ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทว่ั ไปไดร ับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาตอ เนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ทม่ี คี ุณภาพอยางเทา เทยี ม และท่วั ถงึ เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตอ งการของแตละ กลมุ เปา หมาย 1. ประชาชนไดร ับการยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน พลเมือง อัน นําไปสกู ารยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสรมิ สรา งความเขมแข็งใหช ุมชน เพือ่ พัฒนาไปสูความมั่นคงและย่ังยืนทางดาน เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และสงิ่ แวดลอ ม 2. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรู และมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตรและเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจําวนั รวมทงั้ แกป ญหาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ ยา งสรางสรรค 3. ประชาชนไดรับการสรางและสง เสริมใหม ีนสิ ยั รกั การอานเพื่อการแสวงหาความรดู ว ยตนเอง 4. ชมุ ชนและภาคีเครือขา ยทุกภาคสวน รวมจัด สงเสริม และสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขบั เคลอื่ นกจิ กรรมการเรียนรขู องชมุ ชน 5. หนวยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใชในการยกระดบั คุณภาพใน การจัดการเรยี นรแู ละเพิ่มโอกาสการเรยี นรูใหกบั ประชาชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสื่อและการจดั กระบวนการเรยี นรู เพ่ือแกปญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ท่ี ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดา นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตรแ ละสิ่งแวดลอม รวมทงั้ ตาม ความตองการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบท่ีหลากหลาย 7. หนวยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่เี ปนไปตามหลักธรรมาภิบาล 8. บคุ ลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดร ับการพัฒนาเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาชนั้ พน้ื ฐานที่ไดรบั การสนบั สนุนคา ใชจายตามสทิ ธทิ ก่ี าํ หนด ไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปาหมายตาง ๆ ทเี่ ขารว มกจิ กรรมการเรียนรู/เขา รบั บรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตอ เนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีสอดคลอ งกบั สภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอยละของกําลงั แรงงานที่สําเร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตนขน้ึ ไป 4. จํานวนภาคเี ครอื ขายทีเ่ ขามามสี วนรวมในการจดั /พัฒนา/สง เสริมการศึกษา (ภาคีเครือขา ย : สถานประกอบการ องคกร หนวยงานท่ีมารวมจัด/พฒั นา/สงเสรมิ การศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพ้ืนท่ีสงู และชาวไทยมอแกน ในพื้นท่ี 5 จังหวดั 11 อําเภอ ไดรบั บรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยการเรียนชมุ ชนสังกดั สํานักงาน กศน. 6. จาํ นวนผูร บั บรกิ ารในพนื้ ท่เี ปา หมายไดรบั การสง เสรมิ ดานการรูหนงั สอื และการพัฒนาทกั ษะชีวติ 7. จาํ นวนนกั เรยี นนักศกึ ษาที่ไดร บั บรกิ ารติวเขมเต็มความรู 8. จํานวนประชาชนท่ีไดร ับการฝกอาชพี ระยะส้ัน สามารถสรางอาชีพเพ่ือสรา งรายได

1217 9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพน้ื ที่ กศน.ภาค ไดรับการพฒั นาศักยภาพดา นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 10. จาํ นวนประชาชนท่ีไดรบั การฝก อบรมภาษาตา งประเทศเพ่ือการสื่อสารดานอาชีพ 11. จาํ นวนผสู งู อายภุ าวะพงึ่ พิงในระบบ Long Term Care มผี ูด ูแลทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จาํ นวนประชาชนท่ผี า นการอบรมจากศูนยด ิจิทัลชมุ ชน 13. จาํ นวนศูนยการเรยี นชมุ ชน กศน. บนพื้นทีส่ ูง ในพืน้ ท่ี 5 จังหวัด ท่สี งเสริมการพฒั นาทักษะการฟง พดู ภาษาไทยเพอื่ การสอื่ สาร รว มกนั ในสถานศึกษาสังกดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จํานวนบุคลากร กศน. ตําบลที่สามารถจัดทําคลงั ความรูได 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรียนรตู ลอดชีวิตในระดบั ตาํ บลในหวั ขอ ตา ง ๆ 16. จํานวนหลักสูตรและส่ือออนไลนท ่ีใหบ รกิ ารกบั ประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวช้วี ดั เชิงคณุ ภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวิชาทกุ ระดับ 2. รอยละของผเู รยี นท่ีไดรับการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานเทียบกับคา เปาหมาย 3. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ เนื่องเทยี บกับ เปาหมาย 4. รอ ยละของผูผา นการฝก อบรม/พฒั นาทักษะอาชพี ระยะสั้นสามารถนําความรไู ปใชใ นการประกอบอาชพี หรือ พฒั นางานได 5. รอ ยละของผูเรยี นในเขตพ้ืนที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตที่ไดรับการพฒั นาศักยภาพ หรอื ทักษะดานอาชพี สามารถ มีงานทาํ หรือนําไปประกอบอาชพี ได 6. รอยละของผูจบหลกั สูตร/กจิ กรรมท่ีสามารถนําความรูความเขา ใจไปใชไดตามจุดมงุ หมายของหลักสูตรกิจกรรม การศกึ ษาตอเนื่อง 7. รอยละของประชาชนท่ีไดร ับบริการมีความพึงพอใจตอ การบริการ/เขารวมกจิ กรรมการเรยี นรูก ารศึกษาตาม อธั ยาศัย 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายทไ่ี ดร ับบรกิ าร/ขา รว มกจิ กรรมทม่ี คี วามรูความเขาใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจุดมงุ หมายของกิจกรรมที่กําหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. รอ ยละของนกั เรียน/นักศึกษาที่มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าท่ไี ดร บั บรกิ ารตวิ เขมเต็มความรเู พิ่มสูงขนึ้ 10. รอ ยละของผสู งู อายทุ เ่ี ปนกลมุ เปาหมาย มโี อกาสมาเขา รว มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรงดวนเพื่อรวมขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด า นความม่นั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรา งความจงรกั ภกั ดีตอสถาบนั หลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรางความตระหนักรูถึง ความสาํ คัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเ สริมสรา งความรักและความภาคภูมใิ จในความเปนคนไทยและชาตไิ ทย นอม นําและเผยแพรศ าสตรพระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งรวมถึงแนวทางพระราชดาํ ริตาง ๆ

1318 1.2 เสริมสรา งความรคู วามเขาใจท่ถี ูกตอง และการมีสว นรวมอยางถูกตองกบั การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข ในบริบทของไทย มคี วามเปน พลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอดุ มการณ 1.3 สงเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาเพือ่ ปองกนั และแกไขปญ หาภยั คุกคามในรูปแบบใหม ทั้งยา เสพติด การคามนุษย ภยั จากไซเบอร ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัตใิ หม ฯลฯ 1.4 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและสรา งเสรมิ โอกาสในการเขา ถงึ บริการการศึกษา การพฒั นาทกั ษะ การ สรา งอาชพี และการใชช ีวติ ในสงั คมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต และพ้ืนท่ีชายแดน อ่นื ๆ 1.5 สรา งความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรบั และเคารพใน ประเพณี วฒั นธรรมของกลมุ ชาตพิ ันธุ และชาวตา งชาติทีม่ ีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหุสงั คมที่อยรู ว มกัน 2 ยุทธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงปรบั หลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดบั ทักษะดา นอาชพี ของประชาชน ใหเ ปน อาชีพทีร่ องรบั อตุ สาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณา การความรว มมือในการพฒั นาและเสริมทักษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนน สรา งโอกาส ในการสรางงาน สรา งรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพืน้ ท่ีเขตระเบียงเศรษฐกจิ และเขคพฒั นาพิเศษตามภมู ิภาคตาง ๆ ของประเทศ สําหรบั พื้นทป่ี กติใหพ ฒั นาอาชพี ที่เนน การตอยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นท่ี 2.2 จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาพ้ืนท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาใหก ับประชาชนใหจบการศึกษาอยา งนอย การศกึ ษาภาคบังคับ สามารถนาํ คุณวุฒทิ ่ีไดรับไปตอยอดในการประกอบอาชีพ รวมทั้งพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชีพ ตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรา งรายได ตอบสนองตอบรบิ ทของสงั คมและชมุ ชน รวมทัง้ รองรับการ พฒั นาเขตพน้ื ที่ระเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสง เสรมิ ประชาชนเพือ่ ตอยอดการผลติ และจาํ หนายสนิ คและผลิตภัณฑออนไลน 1) เรงจัดต้งั ศูนยใหคําปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพของสนิ คแ ละผลติ ภณั ฑ การบรหิ ารจดั การท่คี รบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรางชองทางจําหนาย) รวมทั้งสง เสริมการใชป ระโยชน จากเทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการเผยแพรแ ละจําหนายผลิตภัณฑ 2) พฒั นาและคัดเลือกสุดยอดสนิ คาและลิตภณั ฑ กศน. ในแตล ะจังหวดั พรอ มท้ังประสานความรว มมอื กับสถานี บริการนาํ้ มนั ในการเปนซองทางการจาํ หนา ยสดุ ยอดสนิ คา และผลิตภณั ฑ กศน.ใหกวา งขวางยิ่งขึ้น 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย 3.1 พัฒนาครแู ละบุคลากรทเี่ กยี่ วขอ งกบั การจัดกจิ กรรมและการเรียนรู เปนผูเชื่อมโยงความรูกับ ผูเรียนและผูรับบรกิ าร มีความเปน \"ครูมืออาชีพ\" มจี ติ บรกิ าร มีความรอบรูและทนั ตอการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและเปน \"ผูอาํ นวยการการเรยี นรู\" ทส่ี ามารถบรหิ ารจดั การความรู กิจกรรม และการเรียนรทู ด่ี ี 1) เพิม่ อตั ราขาราชการครูใหกับ กศน. อาํ เภอทุกแหง โดยเรง ดําเนนิ การเรื่องการหาอตั ราตาํ แหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ต้ัง ขาราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลักสตู รท่เี ชื่อมโยงกบั วิทยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน.ตําบลใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน เรอื่ งการพัฒนาทกั ษะการจัดการ เรยี นการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏิบตั กิ ารนิเทศไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

1419 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดับทุกประเภทใหมที ักษะความรูเรอื่ งการใชประโยชนจากดิจิทัลและ ภาษาตา งประเทศท่จี ําเปน 3.2 พัฒนาแหลงเรียนรใู หม ีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเี่ อ้ือตอการเรียนรู มคี วามพรอมในการใหบรกิ าร กจิ กรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปนแหลงสารสนเทศสาธารณะทง่ี ยตอการเขา ถึง มีบรรยากาศทเ่ี อื้อตอการเรยี นรู เปน คาเพพ้นื ท่ีการเรียนรูส ําหรบั คนทกุ ชว งวยั มสี ิ่งอาํ นวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชวี ิต ทด่ี งึ ดดู ความสนใจ และมี ความปลอดภัยสําหรบั ผใู ชบ รกิ าร 1) เรง ยกระดบั กศน.ตาํ บลนาํ รอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง ) ใหเปน กศน.ตาํ บล 5 ดี พรีเม่ียม ท่ปี ระกอบดวย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี) กิจกรรมดี เครอื ขา ยดี และมนี วัตกรรมการเรียนรทู ่ีดีมปี ระโยชน 2) จดั ใหมีศูนยการเรียนรตู น แบบ กศน. เพอ่ื ยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภูมภิ าค เปน พืน้ ที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ที่ทันสมัยสําหรบั ทกุ คน มีความพรอมในการใหบริการตา ง ๆ อาทิ พน้ื ทส่ี าํ หรบั การทาํ งาน/การ เรยี นรู พื้นทส่ี ําหรับกจิ กรรมตาง ๆ มหี อ งประชุมขนาดเลก็ รวมท้งั ทาํ งานรว มกบั หอ งสมุดประชาชนในการใหบริการใน รูปแบบหองสมดุ ดจิ ทิ ลั บรกิ ารอนิ เทอรเ น็ต สื่อมัลติมีเดีย เพอื่ รองรบั การเรียนรูแ บบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมุดประชชน \"เฉลมิ ราชกมุ ารี\" ใหเปน Digital Library โดยใหมบี ริการหนังสอื ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพวิ เตอร และอินเทอรเ น็ตความเร็วสูง รวมท้งั Free Wifi เพื่อการสบื คน ขอมูล 3.3 สงเสริมการจัดการเรียนรูท่ที ันสมัยและมีประสิทธิภาพ เออ้ื ตอการเรยี นรูสาํ หรบั ทุกคน สามารถ เรียนไดทกุ ที่ทุกเวลา มีกจิ กรรมที่หลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพือ่ พฒั นาศักยภาพ การเรยี นรูข องประชาชน รวมทงั้ ใชป ระโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรว มจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู พ่ือเช่อื มโยง ความสัมพันธข องคนในชมุ ชนไปสกู ารจัดการความรูของชมุ ชนอยางยัง่ ยืน 1) สง เสรมิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู ป่ี ลูกฝง คุณธรรม สรางวนิ ัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสว นรวม และการมจี ิตอาสา ผานกิจกรรมรปู แบบตาง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนนุ ใหม ีการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหกับบุคลากรในองคกร 2) จัดใหม ีหลักสตู รลกู เสือมัคคเุ ทศก โดยใหส าํ นักงาน กศน.จังหวัดทกุ แหปกทม. จดั ตงั้ กองลกู เสือ ท่ีลูกเสอื มีความพรอ มดานทักษะภาษาตางประเทศ เปน ลกู เสือมัคคเุ ทศกจ งั หวัดละ 1 กอง เพอ่ื สง เสริมลูกเสอื จติ อาสา พัฒนาการทอ งเที่ยวในแตละจังหวดั 3.4 เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครอื ขาย ประสาน สง เสริมความรวมมือภาคีเครือขาย ทัง้ ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ รวมทัง้ สง เสริมและสนับสนนุ การมสี วนรวมของชุมชนเพ่อื สรา งความเขาใจ และใหเ กิดความรว มมือในการสง เสริม สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรียนรูใหก ับประชาชนอยา งมีคณุ ภาพ 1) เรง จัดทําทําเนยี บภูมิปญญาทองถ่ินในแตละตําบล เพื่อใชประโยชนจากภูมปิ ญญาทองถนิ่ ในการสรางการเรยี นรู จากองคค วามรใู นตัวบุคคลใหเกดิ การถา ยทอดภมู ปิ ญญา สรางคุณคาทางวฒั นธรรมอยางยัง่ ยนื 2) สง เสริมภมู ิปญญาทอ งถิ่นสูการจัดการเรยี นรชู มุ ชน 3) ประสานความรวมมอื กับภาคเี ครือขายเพ่ือการขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหเขา ถึงกลุม เปา หมายทุกกลุมอยางกวางขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลมุ ผสู ูงอายุ กลมุ อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพื่อประโยชนต อ การจดั การศึกษาและกลมุ เปาหมาย 1) พฒั นาการจัดการศกึ ษาออนไลน กศน. ทัง้ ในรูปแบบของการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน การพัฒนาทักษะ ชวี ติ และทักษะอาชีพ การศึกษาตามอัธยาศยั รวมทงั้ การพัฒนาชอ งทางการคา ออนไลน 2) สง เสริมการใชเทคโนโลยใี นการปฏิบัตงิ าน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู 3) สงเสรมิ ใหมีการใชการวิจัยอยา งงา ยเพื่อสรา งนวตั กรรมใหม

1520 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเ ทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรูแ ละทกั ษะเทคโนโลยีดิจทิ ลั ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจดั การเรียนการสอน 2) สงเสรมิ การจัดการเรยี นรดู านเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพือ่ ใหประชาชนมีทกั ษะความเขาใจและ ใชเ ทคโนโลยีดิจิทัลท่สี ามารถนําไปใชประโยชนในชวี ติ ประจําวัน รวมท้งั สรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตา งประเทศเพื่อการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตาง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดยเนนทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ท้งั ในภาคธุรกจิ การบริการ และการทองเที่ยว รวมท้งั พัฒนาส่ือการเรยี นการสอนเพ่อื สง เสรมิ การใชภาษาเพ่อื การสอ่ื สารและการพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอ มการเขาสูสงั คมผสู ูงอายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สง เสรมิ การจัดกจิ กรรมใหก บั ประชาชนเพื่อสรา งความตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขา ใจในพัฒนาการของชว งวยั รวมทง้ั เรียนรูแ ละมสี วนรว มในการดูแล รับผดิ ชอบผสู งู อายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 2) พฒั นาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรสู ําหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขาสูวยั สงู อายทุ เี่ หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตสาํ หรับผสู งู อายุภายใตแ นวคดิ \"Active Aging\"การศกึ ษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพชีวติ และพัฒนาทักษะชวี ิต ใหส ามารถดูแลตนเองท้ังสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตและรจู กั ใชป ระโยชนจาก เทคโนโลยี 4) สรางความตระหนกั ถงึ คุณคาและศกั ด์ิศรีของผสู งู อายุ เปด โอกาสใหม ีการเผยแพรภ มู ิปญ ญาของผสู งู อายุ และ ใหม ีสวนรว มในกจิ กรรมดานตาง ๆ ในชุมชน เชน ดานอาชพี กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จดั การศึกษาอาชพี เพ่ือรองรบั สงั คมผสู ูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมือกับหนว ยงานทเี่ กย่ี วของ ในทุกระดบั 3.9 การสง เสรมิ วิทยาศาสตรเพอื่ การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรเ ชิงรุก และเนนใหความรูว ิทยาศาสตรอ ยา งงายกับประชาชนในชมุ ชน ทัง้ วิทยาศาสตรใ นวิถีชวี ติ และวทิ ยาศาสตรใ นชวี ิตประจาํ วนั 2) พัฒนาส่อื นิทรรศการเละรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใ หมีความทันสมัย 3.10 สง เสรมิ การรภู าษาไทยใหก ับประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ท่สี ูง ใหส ามารถฟง พดู อาน และเขยี นภาษาไทย เพื่อประโยชในการใชช ีวติ ประจําวนั ได 4 ยทุ ธศาสตรต นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตง้ั ศนู ยก ารเรยี นรูสําหรับทกุ ชว งวยั ที่เปน ศูนยก ารเรียนรตู ลอดชีวติ ทส่ี ามารถใหบริการ ประชาชนไดทุกคน ทุกชว งวยั ท่ีมีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตล ะวยั และเปน ศูนยบริการความรู ศูนยก ารจัดกจิ กรรมทีค่ รอบคลุมทุกชวงวัย เพอื่ ใหม ีพฒั นาการเรยี นรูที่เหมาะสม และมคี วามสุขกับการเรียนรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เพ่อื จดั ทําฐานขอมูลโรงเรยี นท่ีถูกยุบรวม หรอื คาดวา นา จะถกู ยุบรวม 2) ใหสํานกั งาน กศน.จงั หวดั ทุกแหง ท่อี ยูใ นจังหวดั ทมี่ ีโรงเรยี นท่ถี กู ยุบรวม ประสานขอใชพ้ืนท่เี พ่ือจดั ตั้งศูนยการ เรียนรูสาํ หรบั ทุกชวงวัย กศน. 4.2 สง เสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรยี นรสู ําหรบั กลุม เปา หมายผูพิการ

1621 1) จดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานกั งาน กศน.จงั หวดั ทุกแหง /กทม. ทําความรว มมือกบั ศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวัด ในการใช สถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ และครุภณั ฑดา นการศกึ ษา เพื่อสนบั สนนุ การจดั การศึกษาและการเรยี นรูส าํ หรบั กลมุ เปาหมายผู พกิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกบั กลุม เปาหมายทหารกองประจําการ รวมทัง้ กลุมเปาหมายพิเศษอื่น ๆ อาทิ ผูต องขัง คนพกิ าร เด็กออกกลางคนั ประชากรวยั เรยี นท่อี ยนู อกระบบการศึกษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สามารถนาํ ความรูที่ไดรบั ไปพฒั นาตนเองไดอยา งตอเนอื่ ง 4.4 พัฒนาหลกั สตู รการจัดการศกึ ษาอาชพี ระะส้นั ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผรู ับบรกิ าร 5. ยทุ ธศาสตรดานการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน มิตรตอ สง่ิ แวดลอม 5.1 สงเสรมิ ใหม กี ารใหความรูกับประชาชนในการรับมอื และปรับตวั เพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบทเี่ กย่ี วของกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5.2 สรางความตระหนักถงึ ความสําคญั ของการสรางสงั คมสีเขียว สงเสริมความรูใ หกบั ประชาชนเก่ียวกับการคัด แยกตัง้ แตตน ทาง การกาํ จัดขยะ และการนํากลับมาใชช ้ํา เพอื่ ลดปรมิ าณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลับมาใชป ระโยชนไดโ ดยงาย รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสรมิ ใหหนว ยงานและสถานศึกษาใชพลังงานทเี่ ปนมติ รกับสิง่ แวดลอม รวมท้ังลดการใชท รพั ยากรที่สงผล กระทบตอสิ่งแวดลอม เชน รณรงคเ รื่องการลดการใชถ ุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบหารบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พฒั นาและปรับระบบวิธกี ารปฏบิ ตั ริ าชการใหท นั สมยั มคี วามโปรง ใส ปลอดการทจุ ริต บรหิ ารจดั การบน ขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง ใส 6.2 นํานวตั กรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทํางานท่เี ปน ดิจิทลั มาใชใ นการบริหารและพัฒนางานสามารถเช่ือมโยง กับระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พรอมทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนท ีส่ ามารถเช่ือมโยงขอ มูลตาง ๆ ท่ที าํ ใหก ารบรหิ ารจดั การเปนไปอยางตอ เน่ืองกนั ต้ังแตต น จนจบกระบวนการและใหประชาชนกลมุ เปาหมายสามารถเขา ถึง บรกิ ารไดอยางทันที ทุกท่ีและทกุ เวลา 6.3 สง เสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดบั อยา งตอเน่ือง ใหมคี วามรแู ละทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับ สายงาน ความชาํ นาญ และความตอ งการของบุคลากร

1272 3. หลกั การจดั การศึกษาตอเน่ือง เพอื่ ใหการดําเนนิ งานการจัดการศกึ ษาตอเน่ือง เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สํานักงาน กศน. จึงไดกาํ หนดหลักการ ในการจัดไว ดงั นี้ 1. หลกั สูตรไดร บั การพฒั นาใหม ีความสอดคลอ งกับสภาพสงั คมชุมชนและความตองการของกลุม เปา หมาย (เปน หลักสตู รท่ีไดรบั อนุมัติโดยสถานศึกษา ผอู ํานวยการสถานศึกษาเปนผูอนมุ ตั ิ ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษา และหรือเปนหลักสูตรท่หี นว ยงานภาครัฐไดอนุมตั ิและอนญุ าตใหใ ชแ ลว ) 2. สอ่ื และแหลง คนควา ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ตองไดรับการพฒั นาใหมคี วามสอดคลองกับหลักสูตร และ กจิ กรรมการเรยี นรขู องผเู รียน 3. วทิ ยากร ตองสรรหาวทิ ยากรทม่ี ีความรูความสามารถหรอื มีความเชีย่ วชาญในสาขาท่จี ะสอนอยา งแทจ ริง และ วิทยากรควรผานการอบรมการเปนวทิ ยากรจากหนว ยงานสถานศกึ ษาของ กศน. 4. การจัดการเรยี นรู จะตอ งจัดการศึกษาใหส อดคลองกบั ศักยภาพของผเู รียนและความพรอมของผเู รียน และ สอดคลองกับความตอ งการและบรู ณาการวธิ กี ารจดั การเรียนรู 5. การจัดกระบวนการเรยี นรู จะตองเนน ใหม ีการจัดกระบวนการเรียนรูทห่ี ลากหลายและสอดคลอ ง กับความ ตอ งการของกลุมเปาหมาย 6. กลมุ เปาหมายสามารถนําความรูที่ไดรับจากการศึกษาไปใชใ นการประกอบอาชีพ การพฒั นาอาชีพ พัฒนา คุณภาพชีวิต และสามารถอยใู นสงั คมไดอ ยางมีความสขุ การจัดการศึกษาตอเนื่อง อาจจัดได ดังตอไปน้ี 1. จดั โดยสถานศกึ ษาในสังกัด สาํ นักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. จัดโดยสถานศกึ ษาในสังกดั สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รว มกับภาคี เครอื ขาย 3. จัดโดยภาคเี ครือขาย

1823 ความหมาย การศกึ ษาตอเน่อื ง หมายความวา เปนการจัดการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบทเ่ี ปน หลักสูตร ระยะสนั้ การศกึ ษาสายอาชีพ กลุม สนใจ ที่จัดตามความตองการของกลุมเปา หมายท่ีมีเนื้อหาเก่ยี วกบั อาชีพ ทักษะชีวติ การพฒั นาสงั คมและชมุ ชน การจดั กระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซึ่งนาํ ไปสกู ารพฒั นาคุณภาพ ชีวิต อาชีพ เปนการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาความรคู วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล เพ่ือให บุคคลสามารถประกอบอาชีพหรอื พัฒนาอาชีพของตนเองได โดยพจิ ารณาถึงความตองการในการเรยี นของแตล ะบคุ คล ทักษะชีวติ เปน การศึกษาทใี่ หความสาํ คัญกบั การพัฒนาคนเพอ่ื ใหมคี วามรู เจตคตแิ ละทักษะท่ีจําเปน สําหรับการดํารงชีวิตในสงั คมปจจุบัน เพื่อใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณต าง ๆ ในชีวิตประจาํ วนั ไดอ ยางมี ประสทิ ธิภาพ และเตรียมความพรอมกบั การปรับตวั ในอนาคต เชน ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส นิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมที่ดี เปนตน การพฒั นาสังคมและชมุ ชน เปน การศกึ ษาท่ีบูรณาการความรูและทักษะจากการศึกษาท่ีผเู รยี นมอี ยหู รือ ไดร ับจากการเขารวมกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ แลวนาํ ไปใชใ หเ ปน ประโยชนตอการพัฒนาสังคมและชมุ ชนโดยมี รปู แบบการเรียนรูท่หี ลากหลาย และใชชมุ ชนเปนฐานในการพัฒนาการเรยี นรูของคนในชมุ ชน เชน ประชาธปิ ไตย สิ่งแวดลอม วิสาหกิจชุมชน เปน ตน วธิ ีการจัดการเรยี นรู วิธกี ารจดั การศึกษาตอเนอื่ ง เปน การจดั ประสบการณการเรียนรูจากวิทยากร สอื่ หรือการปฏบิ ตั ิ โดย วิธกี ารเรยี นรูท่หี ลากหลาย ดงั นี้ 1. การเรยี นรูร ายบุคคล เปน การเรียนรูของผเู รียนบุคคลใดบุคคลหนงึ่ ท่ตี องการจะ เรียนรใู นเนือ้ หาใด เนื้อหาหน่ึง ซึ่งเปนความสนใจเฉพาะตัว ตามหลักสูตรการศึกษาตอ เน่ืองในสถานศึกษาหรอื ภาคี เครือขาย โดยผเู รียนและวทิ ยากรรว มกันวางแผน และออกแบบการเรียนรทู ตี่ อบสนองความตองการของผเู รียนแตล ะ บคุ คล 2. การเรยี นรรู ายกลุม เปน การเรยี นรขู องผูเรียนตง้ั แคสองคนขึ้นไป แตไมควรเกิน สิบหา คน ซง่ึ มีความสนใจตรงกันตามหลักสตู รการศึกษาตอเนื่อง 3. การเรยี นรูจากแหลง เรยี นรู เปนการจัดการเรยี นรใู หผเู รียนในแหลง เรียนรู เชน

1924 ศูนยข ยายเพาะพนั ธปุ ลา ศูนยสาธิตการทาํ ไรนาสวนผสม ศูนยการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพียง กลมุ ออมทรัพยเ พื่อการผลิต องคการชุมชน กลมุ วิสาหกิจชุมชน เปน ตน โดยมีการประสานความรว มมือกับเครือขา ยแหลง เรียนรูใ นการจัดการศึกษา ใหก ับผเู รียน 4. การเรียนรใู นสถานประกอบการ เปน การจดั ใหผ เู รียนไดเรียนรใู นสถาน ประกอบการ เชน อูซอมรถยนต หา งสรรพสินคาหรือแหลง ประกอบการ SMEs ที่มีสวนรว มหรือมีวตั ถุประสงคใ นการจัด การศึกษาตอเนื่อง 5. การเรยี นรจู ากฐานการเรยี นรู เปนการเรยี นรูท มี่ ีเปา หมายเฉพาะเจาะจง เชน ฐาน การเรียนรูเกษตรธรรมชาติ ฐานการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพียง ฐานการเรียนรอู นุรักษส่งิ แวดลอ ม ฐานการเรยี นรสู ขุ ภาพ อนามยั ฐานการเรียนรูคุณธรรม จรยิ ธรรม ฐานการเรียนรูวฒั นธรรมไทย เปน ตน ซงึ่ เปนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูที่เนนให ผเู รียนไดเรยี นรูจากวิทยากร สถานการณจรงิ หรือเรยี นรดู วยตนเอง 6. การศกึ ษาทางไกล เปนวธิ ีการจัดการศึกษาทเ่ี ปดกวางในเรื่องของเวลา สถานท่ี เนน การเรยี นรูดวยตนเองจากส่ือประสมทีห่ ลากหลาย มีการจัดกจิ กรรมเสรมิ ความรู ทกั ษะ ประสบการณ ท่จี าํ เปน เหมาะสม กบั เนอ้ื หา ตามหลกั สูตร รวมทัง้ มกี ารศกึ ษาคน ควา เพิม่ เตมิ หรอื ปฏบิ ัตกิ ารจากแหลงการเรยี นรูต าง ๆ เปน การเรยี นรแู บบ พึง่ พาตนเอง ผเู รยี นจึงตอ งวางแผนและสรา งวนิ ัยในการเรยี นรดู ว ยตนเอง การสรรหาและแตง ตงั้ วิทยากร การสรรหาวทิ ยากร ใหส ถานศึกษาสรรหาวทิ ยากรโดยพจิ ารณาจากคณุ สมบัตดิ งั นี้ 1. เปนผูทม่ี ีคุณวฒุ ิหรอื เกียรติบัตรรบั รอง หรอื หลักฐานอน่ื ๆ ทแี่ สดงวาเปนผูมีความรู ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวิชาหรอื หลักสตู รน้ัน ๆ 2. เปนผูมคี วามรู ความชํานาญ ประสบการณในการประกอบอาชีพสาขาวิชาหรอื หลักสตู รนน้ั ๆ หรือ 3. เปนผทู ่มี คี วามสามารถและประสบการณในการถายทอดความรูใ หแกผูเรยี น การแตง ตงั้ วิทยากร ใหผ ูอํานวยการสถานศกึ ษาในสังกัด สํานักงาน กศน. เปนผูอ นมุ ตั ิแตงต้ัง โดยจัดทาํ เปนคําสง่ั

2025 ข้นั ตอนการดําเนินงาน 1. สถานศึกษาและภาคเี ครอื ขา ย เตรียมความพรอมในเร่อื งหลักสูตร วทิ ยากร สถานที่ วสั ดอุ ุปกรณท ี่เอื้อตอการจัดการศึกษา 2. ผเู รียนสมัครและลงทะเบียนเรียนตอสถานศึกษาหรอื ภาคเี ครอื ขา ย 3. สถานศกึ ษาพิจารณาอนญุ าตและจัดสง ผเู รียนไดเรยี นกับวิทยากรในแหลง การเรียนรู สถานประกอบการ ทเ่ี หมาะสมตามหลักสตู ร 4. วิทยากรประเมนิ พื้นฐานความรูของผเู รยี นกอ นจัดกระบวนการเรยี นรู 5. ผูเรยี นกับวทิ ยากรรวมกนั จัดทาํ แผนการเรียนรู 6. ดําเนนิ การจัดการเรียนการสอน 7. วิทยากรประเมินผลการเรียนระหวา งเรียนและหลังจบหลกั สตู ร รวมทงั้ ประเมนิ ความ พึงพอใจของผเู รียน การวดั ผลประเมินผลและรายงานผลการเรยี น การวัดผลประเมินผลใหด าํ เนินการตามทหี่ ลักสตู รกําหนด ดว ยวิธกี ารหลากหลาย เชน 1. ประเมินความรู ความสามารถ ทกั ษะ ดวยการซักถาม ทดสอบและปฏิบัติ 2. ประเมินดานคุณธรรม ดวยแบบประเมนิ คุณธรรม 3. ประเมินชน้ิ งาน ดวยผลงานที่ปฏิบัติ 4. ประเมินความพงึ พอใจของผูเ รยี นดว ยแบบสอบถาม การออกหลกั ฐานการศึกษา ใหผูอาํ นวยการสถานศึกษาเปนผลู งนามในหลกั ฐานการศึกษา ตามหลักสูตรกาํ หนด โดยระบชุ อื่ วชิ า/ กจิ กรรม ระยะเวลา ในกรณีภาคเี ครือขายท่ีไมใ ชส ถานศกึ ษาเปน ผจู ัดใหส งหลกั ฐานการจบการศึกษาใหกับผูอํานวยการ กศน. อําเภอเปนผูออกวุฒิบตั ร แหลงเรียนรู/สถานประกอบการ แหลง เรยี นรู/ สถานประกอบการ ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. อยใู นทาํ เลทีต่ ั้งทผ่ี ูเ รยี นสามารถเดินทางไดส ะดวก ปลอดภัย

2126 2. มสี ่ิงแวดลอ มที่เออื้ อํานวยตอ การเรยี นรู และฝกปฏิบัติ 3. เปน แหลง การเรียนร/ู สถานประกอบการ ท่ีมกี ารดําเนินงานมัน่ คง นาเช่ือถือเปนท่ียอมรบั ในสงั คม 4. มคี วามพรอม มวี ทิ ยากร หรอื ผใู หค วามรูประจํา สามารถจัดการเรยี นรู หรอื จดั การ เรยี นการสอนจนจบหลักสูตรหรอื จบกระบวนการได รวมทั้งสามารถใหการฝกปฏบิ ัตแิ กผเู รียนจนสามารถปฏบิ ัติในเรื่องนั้น ๆ ได 5. สามารถจัดบคุ ลากรเขารวมประชุม อบรม พฒั นากับสถานศึกษาได 6. มีทัศนคติ เจตคตทิ ่ดี ีตอการถายทอดความรู ประสบการณใหกับผูอ่ืน 7. สามารถดูแล ใหคําปรึกษา แนะนาํ และรบั ผดิ ชอบผูเ รยี นจนจบหลกั สูตร หลกั เกณฑการจา ยเงินงบประมาณ 1. อาชีพ ในแตละ กศน. ตําบล ใหเ ปดสอนอาชีพ 40 ชัว่ โมงขึ้นไป จํานวน 1 หอ ง ผเู รยี นไมน อ ยกวา 15 คน โดยใหเ บกิ คาใชจา ยดังน้ี 1.1 คา ตอบแทน จายคา ตอบแทนวทิ ยากรชว่ั โมงละไมเกนิ 200 บาท ตาม จํานวนผูเ รียน 3 ระดบั ดังนี้ (1) ผูเรยี นท่มี ตี าํ่ กวา 6 คน ช่ัวโมงละไมเกนิ 50 บาท (2) ผูเรียนที่มตี ง้ั แต 6 – 10 คน ชัว่ โมงละไมเกิน 100 บาท (3) ผูเรยี นทีม่ ีตัง้ แต 11 คนขน้ึ ไป ชว่ั โมงละไมเกิน 200 บาท 1.2 คา ใชส อย จายเปนคาเชา สถานท่ี เครอื่ งมืออุปกรณ และคา ใชจายในการ เดินทางไปราชการของวทิ ยากรท่เี ปนบุคคลภายนอก (จายเปน คา พาหนะ และคาเชาท่ีพัก ในอัตราตํ่าสดุ กรณเี ปน ขาราชการบาํ นาญเบกิ จายตามยศ ตําแหนงครงั้ สดุ ทาย) 1.3 คา วัสดุ จา ยเปนคา วัสดฝุ ก เทาที่จายจริงตามความจําเปนและเหมาะสม ประหยดั และเพื่อ ประโยชนของทางราชการ ภายในวงเงนิ งบประมาณท่ไี ดรับจัดสรร หลักสูตรละไมเ กิน 2000 บาทตอผูเรยี น 1 คน 1.4 คาสาธารณูปโภค จา ยใหแ กหนวยงานภาครัฐหรอื เอกชน จายไดเ ทา ทจ่ี ายจริง ถวั จายจากวงเงินท่ีไดร ับในแตละหลักสตู ร (ใชใบเสรจ็ รับเงนิ หรอื ใบสาํ คญั รับเงนิ )

2227 3.1 ความหมายของหลักสูตรและการพฒั นาหลกั สูตร ความหมายของหลักสตู ร ททททททททวิชยั วงษใหญ (2525:2-3) กลาววา หลักสูตร หมายถงึ ประสบการณทั้งหลายทสี่ ถานศึกษาจดั ใหแกผูเรียน เพอื่ ใหเ กิดการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง และหลักสูตรท่ีดีนน้ั ตอ งเปน หลกั สูตรทตี่ อบสนองความตองการ ความสนใจ ของผเู รยี น และสอดคลองกบั ความตองการของชวี ติ ทเ่ี หมาะสมที่สดุ ไดแก สภาพทางเศรษฐกิจ การเปลีย่ นแปลงทาง วัฒนธรรมดานการศึกษา การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม สภาพแวดลอมทางจิตวิทยาทเี่ อื้ออํานวยตอ การเรยี นรู สภาพทาง การเมืองการปกครอง สภาพดานขนบธรรมเนยี มประเพณีวฒั นธรรม คานิยม และคณุ ธรรม สํานกั บรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรยี น (2549:2) กลาววา หลักสูตรระยะส้ัน หมายถงึ หลกั สูตรท่ีสถานศึกษาจดั การศึกษาใหกบั ผูเรยี นนอกเหนอื จาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพ่ือมุงพฒั นาคุณภาพชวี ิต โดยใหม ีความยดื หยุน เนอ้ื หา ระยะเวลาเรียน และสถานทตี่ ามความตองการของกลมุ เปาหมายและชุมชน หรือตามนโยบายของทางราชการ สรุปไดว า หลกั สตู รคือประสบการณท่ผี ูเรยี นไดร บั จะเปนประสบการณใดๆ ก็ไดเ มื่อผานเขาไปในการรับรขู อง ผเู รียนแลว ทาํ ใหผเู รยี นเกดิ การเรียนรู และเกิดการพัฒนาตนเองใหมคี ุณภาพชีวิตทด่ี ีขึ้น ความหมายของการพฒั นาหลักสูตร สํานกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2547:17) กลา ววา การพฒั นาหลกั สตู รนัน้ สถาบันหรอื สถานศึกษา จะตอ งสาํ รวจศึกษาวิเคราะหความตอ งการของกลมุ เปา หมายโดยตรง จงึ จะสามารถพัฒนาหลกั สตู รไดส อดคลอ งกับความ ตอ งการของกลุมเปาหมาย บรรพต สวุ รรณประเสริฐ (2544:12) กลา ววา การพัฒนาหลกั สตู รตา งๆ ในสถานศกึ ษาใหม ปี ระสทิ ธภิ าพและ เปนไปในทิศทางท่ีชาตติ องการ 3.2 ข้ันตอนในการพัฒนาหลกั สูตร Taba (อางถึงใน วิชัย วงษใ หญ ,2525:10) ไดก ลาวถงึ ข้ันตอนของการพฒั นาหลกั สูตรและการสอนทเี่ ตม็ รปู แบบ และสมบรู ณไว 7 ประการ ดังนี้ 1. การศกึ ษาวเิ คราะหความตองการของผูเรยี น ของสังคมและวฒั นธรรม 2. การกําหนดจดุ มุงหมาย 3. การเลอื กเนื้อหาสาระ 4. การจดั รวบรวมพนิ จิ เน้ือหาสาระ

2328 5. การเลือกประสบการณเรียน 6. การจัดประสบการณเ รียน 7. การประเมนิ ผล เพ่ือตรวจสอบดูวากจิ กรรมและประสบการณเ รียนทจ่ี ดั ข้ึนนน้ั ไดบรรลุจุดมงุ หมายที่ กาํ หนดไวหรอื ไม สํานกั บริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2549:5) กลาววาในการจัดทําหลักสูตรจะตองมีองคประกอบ อยางนอย 5 ขนั้ ตอน คอื 1. สํารวจ / รวบรวมความตอ งการของกลุมเปา หมาย 2. วเิ คราะห / จดั ลาํ ดบั ขอมลู ความตองการของกลุมเปาหมาย 3. กําหนดหลกั สตู รระยะสั้น 4. การอนุมัตหิ ลักสูตร 5. คลังหลกั สูตรระยะส้ัน ททททททททและตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 (กรมการศึกษานอกโรงเรยี นม.ป.ป.:9) ยงั ไดก ลาว การศึกษานอกระบบเปน การศกึ ษาท่ีมคี วามยืดหยนุ ในการกําหนดจดุ มงุ หมาย รปู แบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ การศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซ่งึ เปนเงื่อนไขสําคญั ของการสาํ เรจ็ การศึกษา โดยเนือ้ หาและหลักสูตรจะตองมีความ เหมาะสม สอดคลอ งกบั สภาพปญหาและความตองการของบุคคลแตละกลุม ทททททททททสรปุ ไดวา การพัฒนาหลักสูตรจะตองมีการสํารวจ ศึกษา วิเคราะหความตอ งการของกลุม เปาหมายกอน แลวจงึ นําขอ มูลท่ีสาํ รวจ ศกึ ษา วิเคราะห มากําหนดทศิ ทางในการพัฒนาหลักสูตรใหต อบสนองความตองการความสนใจ ความถนดั และความแตกตางของกลมุ เปา หมาย 3.3 หลักสูตรระยะส้ัน ททททททททหหมายถึง หลักสูตรที่สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาใหกับผเู รียนนอกเหนือจากการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อพฒั นา คณุ ภาพชีวติ โดยใหมีความยืดหยุน ดานเน้อื หา ระยะเวลาเรยี น และสถานทต่ี ามความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ หมายถงึ บคุ คลทีส่ ถานศกึ ษาหรอื หนวยงานทคี่ ัดเลือกใหท าํ หนาท่ีจัดการศึกษาหลักสูตร ระยะสน้ั ซง่ึ ไดรับความไววางใจจากสถานศึกษาใหเ ปน ผูแ ทนในการถายทอดความรูใหกับผูเรียนโดยจะตองเปนผทู ี่มีความรู ทักษะและประสบการณมีความเขา ใจในปรชั ญาการศึกษาผูใหญและจติ วทิ ยาการศึกษาผูใหญเ ปนตน 3.4 วิทยากรผสู อน

2429 ททททททททวทิ ยากรหรือผูส อน จะตองโนม นา วและสามารถควบคมุ ผเู รียนในการดําเนินกจิ กรรมการเรยี นรใู หบ รรลุตาม เปาหมาย โดยวิทยากร/ผสู อน จะตองมศี ลิ ปะเทคนิคตา งๆ ที่จะตอ งสรา งทศั นคติท่ีดีใหแกผ เู รียน เพื่อมงุ ไปสูความรวมมือ ในการเรยี นรู เพ่ือใหบรรลเุ ปา หมายของกจิ กรรมน้ัน พรอมทั้งจะตองใหคาํ ปรกึ ษาแกผ ูเ รยี นได และ วิทยากร/ผสู อน จะตองมีความรูเชงิ วชิ าการและทักษะในกิจกรรมตางๆ เปนอยา งดี พรอมที่จะรวมลงมอื ปฏิบัติ สาธติ และแกปญ หาใหกบั ผเู รยี นไดอยา งมีประสิทธิภาพ เพ่อื สรา งความศรัทธาเชื่อมั่นใหกบั ผูเ รยี น ททททททททวทิ ยากร หรือผูส อน จะตอ งดําเนินการ ดังน้ี 1) ศกึ ษารายละเอียดและวตั ถุประสงคของหลักสูตรนน้ั ใหเขาใจ 2) จดั ทําหรอื เตรียมแผนการสอนของหลักสตู รระยะส้นั 3) คิดกิจกรรมใหส อดคลองกับหลกั สตู รระยะสั้น และเตรียมอปุ กรณ วัสดุสื่อการเรยี นการสอนท่เี กย่ี วของ 4) จดั ทําบญั ชีลงเวลา 5) ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หผ ูเรยี น 6) ทําการวดั ผล ประเมนิ ผล การเรยี นของผูเรียนแตละคน และรายวชิ า 7) รบั ผิดชอบและควบคุม ดูแลวัสดอุ ปุ กรณใหใชอยา งคุมคาและประหยัด 8) เปน ผใู หค ําแนะนาํ และเปนทป่ี รกึ ษาเก่ยี วกบั หลกั สูตรและการเรียนรูใหกับผูเรียน 9) รายงานผล 10) จัดทําอกสาร/หลักฐานการจบ 3.5 สถานศึกษา ททททททททหมายถงึ สถานศกึ ษาทส่ี ังกดั สาํ นักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรือหนว ยงานอื่นทส่ี ถานศึกษาเหน็ ชอบใหจดั การศึกษาหลักสูตรระยะสั้นได สถานศกึ ษามีบทบาท หนาท่ี คอื 1) จัดการศึกษาหลักสูตรระยะสัน้ ดังนี้ ททท 1.1 สาํ รวจและสืบคน ขอมูล ความตอ งการของกลมุ เปาหมายผรู ับการอบรม โดยคํานงึ ถึงความ แตกตา งระหวา งบุคคล

2530 1.2 จดั หา/รวบรวมหลกั สูตรระยะสั้น หรือจดั ทาํ /พัฒนาขนึ้ ใหม จากหลกั สตู รที่มอี ยูแลว จาก หนวยงานอ่ืนทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยคาํ นงึ ถงึ รูปแบบ วธิ ีการ และมาตรฐาน ทัง้ นีใ้ หเปนไปตามคําสง่ั และหลักเกณฑท่ี เกี่ยวของ 1.3 ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู หบ รรลุจุดประสงคของหลักสูตร 1.4 ฝกอบรมและพฒั นาและพัฒนาวิทยากรผูสอน ใหจ ัดการเรียนการสอนได 1.5 กําหนดแผนงาน/โครงการ 1.6 ดาํ เนนิ กจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ 1.7 สงเสริมสนบั สนนุ หนว ยงานอื่นจัด 1.8 วดั ผลประเมนิ ผล สรุปรายงาน 1.9 ออกหลกั ฐานวฒุ ิบตั ร / ใบสาํ คัญการจบหลกั สตู ร 2) ผอู ํานวยการสถานศึกษา มีอาํ นาจหนา ท่ี ททท2.1 อนมุ ตั ิหลกั สูตร 2.2 แตงต้ังคณะกรรมการการพจิ ารณาหลักสูตร 3.3 อนมุ ัติเกณฑการพจิ ารณาหลักสตู ร 2.4 อนญุ าตใหจ ัดการศึกษาหลักสตู รระยะสนั้ 2.5 บริหาร ประสานงาน สถานศึกษา เครอื ขา ยอืน่ 2.6 กํากับ ตรวจสอบ ตดิ ตาม สนบั สนนุ กจิ กรรม 2.7 จดั ตัง้ ขยาย เปลี่ยนแปลง ยบุ หยดุ ทาํ การสอนชว่ั คราว กลุมสนใจ/กลุม 3.6 ผเู รยี น ททททททททหมายถงึ ผทู ี่สมัครเขารับการศกึ ษา และไดข ึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาของสถานศกึ ษา หรือหนวยงานนน้ั โดยมี พื้นฐานความรู ประสบการณ และอายุของผเู รียนใหเ ปน ไปตามหลักสูตรนน้ั ๆ กาํ หนด

2361 4. กรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียนใหมปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายเรียนฟรี เรยี นดี 15 ป อยางมีคณุ ภาพ ของสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1. หลักการ ททททททททตามท่รี ัฐบาลไดกาํ หนดนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ปอยางมีคุณภาพ และใหความสําคัญ กับนโยบายน้ีเปน อยางมาก โดยมอบหมายใหก ระทรวงศึกษาธิการดาํ เนินงานและรัฐบาลใหก ารสนบั สนุนงบประมาณเปน คา จดั การเรียนการสอน คาหนงั สือเรยี น คา อุปกรณการเรียน คา เคร่ืองแบบนกั เรยี น และ คา จัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น เพ่ือพฒั นาคุณภาพผูเรยี นใหมปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น โดยพัฒนาพ้ืนฐาน การเรยี นรูใหผ เู รยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขึน้ มีคณุ ธรรมจริยธรรม และสามารถใชช วี ติ แบบพอเพยี ง ไดอยา งมคี วามสุขนัน้ ทททททททททสาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดกําหนดกรอบการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผเู รียนใหมปี ระสิทธิภาพ สาํ หรับนกั ศึกษา กศน. ในหลกั สตู รการศึกษานอกระบบข้ันพืน้ ฐาน เพ่ือสนอง นโยบายดงั กลา ว จํานวน 8 กจิ กรรม โดยเปนกิจกรรมที่ใหสถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติ ดังนี้ 1.1กจิ กรรมเรยี นปรับพน้ื ฐาน เพ่ือพัฒนาผูเรียนใหม ีความรูความสามารถขั้นพน้ื ฐานโดยเฉพาะวิชาหลักให เพยี งพอทจี่ ะเรยี นตอไปไดและเรียนทนั กับผูเรยี นคนอืน่ ๆ 1.2กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เปนการจดั กจิ กรรมเพื่อใหผูเรียนไดเ พ่ิมพนู ความรคู วามสามารถ ตอ ยอดจากการเรยี นปรบั พ้ืนฐาน และในวิชาหลกั ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร การ พัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปองกันยาเสพติด (Drug-Free) และการพัฒนาอาชีพ 1.3กิจกรรมพัฒนาความรูค วามสามารถดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพอ่ื ใหผเู รียน มีความสามารถดา น ICT อยางทวั่ ถึง 1.4 กจิ กรรมทแ่ี สดงความจงรกั ภกั ดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ  เปน การจดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาผเู รยี นให มีความรกั ชาติ ศาสนา ปกปองและเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั ริย 1.5 กิจกรรมสง เสรมิ ประชาธิปไตย (Democracy) เปน การจดั กิจกรรมเพ่อื สรางความเปนพลเมอื งและ ประชาธปิ ไตยใหกับผเู รียน เพ่ือใหส อดคลองกับการปฎิรปู การศึกษาในทศวรรษทส่ี อง(พ.ศ.2552-2561) ของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2732 1.6 กจิ กรรมการเรียนรดู านเศรษฐกิจพอเพียง เปน การจัดกิจกรรมเพ่ือพฒั นาผูเรยี นใหสามารถนาํ ความรจู ากหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในชีวิตประจาํ วนั 1.7 กจิ กรรมกีฬา เปน การจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผเู รียนใหมีความสามัคคี มนี าํ้ ใจนักกีฬา มีสุขภาพพลานามัยทีด่ ี และการสรา งสมั พนั ธอันดีระหวา งนักศกึ ษา กศน. ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและผูบริหารหนว ยงาน/สถานศึกษา 1.8 กิจกรรมจดั หาส่ืออุปกรณการสอนของครหู รือหนงั สือที่นอกเหนือจากแบบเรียน เพื่อใหบรกิ ารในหองสมดุ และ กศน.ตาํ บล/แขวง 2. เงอื่ นไขของการดาํ เนินงาน ทททททททท2.1ผรู ับบริการตองเปน บุคคลท่ขี ึ้นทะเบียนเปนนกั ศึกษา กศน. ในหลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบขน้ั พื้นฐาน 2.2ใหสถานศึกษา สงั กัดสํานักงาน กศน. จัดทาํ แผนการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รยี น เปนรายภาคเรยี น โดยมงุ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ในการพัฒนาคุณภาพผเู รียนอยา งมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพเพอื่ ขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแ ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา 2.3ใหส ถานศกึ ษา สังกดั สํานกั งาน กศน. เสนอแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน เปนรายภาคเรยี น ตอ สาํ นกั งาน กศน. จังหวัด กอ นเปด ภาคเรยี น 2.4ใหก ารเบิกจายในการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียน เปน ไปตามคาํ ส่ังสํานักงานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ ที่ 895/2551 ลงวนั ที่ 14 กรกฎาคม 2551 เรือ่ ง หลกั เกณฑก ารเบิกจายเงินอดุ หนุนของสาํ นักงาน กศน. และระเบยี บตางๆ ที่เก่ียวของ โดยยดึ หลกั ประหยดั โปรง ใส ถกู ตอง และซื่อสตั ยพรอมรบั การตรวจสอบ และไมใ ห สถานศึกษาเรยี กเกบ็ เงนิ คาใชจายเพ่ิมเติมจากผูเรียน 3. งบประมาณ ททททททททงบประมาณในแผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 15 ป โครงการสนบั สนุน การจดั การศกึ ษาโดยไมเสียคาใชจา ย 15 ป หมวดเงินอดุ หนุน เปนคาใชจ ายในการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียนใหม ี คุณภาพและประสทิ ธิภาพ มีรายละเอยี ด ดังนี้ ระดบั ประถมศึกษา คนละ 140 บาทตอภาคเรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน คนละ 290 บาทตอภาคเรยี น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คนละ 290 บาทตอ ภาคเรียน

2833 ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี คนละ 530 บาทตอ ภาคเรียน 4. วธิ กี ารดาํ เนนิ งาน ททททททททเพ่ือใหการดาํ เนินงานจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ รียนใหม ปี ระสิทธิภาพ เปน ไปตามเปาหมาย จงึ ได กาํ หนดวธิ กี ารดําเนนิ งานการจัดกิจกรรมตางๆ ไวด งั นี้ ทททททททททททท4.1กิจกรรมการเรยี นปรับพ้นื ฐาน เปน กจิ กรรมที่จดั ใหก ับผเู รียนทม่ี ีพ้นื ฐานความรู โดยเฉพาะรายวิชาหลกั ทย่ี ังไมเพียงพอกบั การศึกษาตอในแตล ะระดบั โดยมแี นวทางการดําเนินงานดงั นี้ 4.1.1 ใหสถานศกึ ษาทดสอบความรูพื้นฐานของผเู รียน โดยเฉพาะรายวิชาหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และแบง กลุมผเู รยี นทม่ี คี วามรูพนื้ ฐานต่าํ ในวิชาหลัก ใหไ ดรับการเรียนปรับพ้ืนฐาน ใหผ ูบรหิ ารสถานศกึ ษา และ ครู กศน. รวมประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการ ปรบั พน้ื ฐานในแตล ะรายวิชาใหส อดคลอ งกับความตอ งการกลมุ ผเู รยี น 4.1.3 วทิ ยากรหรือผูส อน ตองเปนผูท ่ีมคี วามรูและประสบการณในสาขาวิชานนั้ ๆ กรณี ครู กศน. เปน ผูสอนเอง จะตองไมสงผลกระทบตอ การทํางาน 4.1.4 จํานวนนกั ศกึ ษา กศน. ท่ีรว มกิจกรรม ใหอ ยูในดุลยพินิจของผูบรหิ ารสถานศึกษา 4.1.5 การเบิกจายงบประมาณ ใหเปนไปตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด ททททททททททท4.2กจิ กรรมพัฒนาวิชาการ เปน การจัดกิจกรรมเพอ่ื ใหผ ูเ รียนไดเพิ่มพนู ความรูความสามารถทางดานวิชาการ เพอ่ื ตอยอดจากการเรียนปรับพ้นื ฐานใน 4 วชิ าหลกั ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร การ พฒั นาทกั ษะชวี ติ และการพัฒนาอาชพี โดยแบง ประเภทและรูปแบบการดําเนินงาน ดงั น้ี 4.2.1 ประเภทของกจิ กรรม 1)วชิ าการ เปน รายวชิ าการท่ตี อยอดจากการเรียนปรับพื้นฐานใน 4 วชิ าหลกั ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร ใหม ปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ 2) ทักษะชีวิต เพ่อื เสริมสรางคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปองกนั ยาเสพติด (Drug-Free) เพศศึกษา สง่ิ แวดลอม และกจิ กรรมอื่นๆ เชน ลูกเสอื อาสายุวกาชาด 3) อาชพี เนนการพฒั นาอาชีพอยางครบวงจร

2934 4.2.2 รูปแบบของกิจกรรม 1) แบบการจัดคายวิชาการ ทงั้ คา ยไป – กลบั และคายคางคืน 2) แบบกลุมสนใจ โดยครู กศน. เปน ผจู ดั กจิ กรรมหรือรว มกบั เครือขา ย 3) แบบศึกษาดูงาน ในพ้ืนทใ่ี กลเคียงหรอื ภายในจังหวัด/ภาคเดียวกัน กรณี ออกนอกพืน้ ท่ี ใหข อความเห็นชอบจากผอู ํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. 4) กิจกรรมทีจ่ ัดโดยองคก รนักศึกษา กศน. 5) อนื่ ๆ โดยใหพจิ ารณารปู แบบของกิจกรรมขอ ที1่ – 4 กอน แลวจงึ ดาํ เนนิ การในขอ 5 4.2.3 วทิ ยากรหรือผูสอน ควรเปนผทู มี่ คี วามรูหรอื ประสบการณในการสอนวิชานั้นๆ ซึ่งอาจจะเปนบคุ คลภายนอก หรือ ครู กศน. ตามความเหมาะสม 4.2.4 ระยะเวลาการจดั กจิ กรรม ใหด ําเนนิ การนอกเวลาการพบกลุมปกติ 4.2.5 การเบิกจา ยงบประมาณ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ทททททททท4.3 กิจกรรมเพ่ือพฒั นาความรูความสามารถดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปนกจิ กรรมเพือ่ ใหผูเ รียนมคี วามรูค วามสามารถและทักษะในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) ในการเรยี นรูหรอื แสวงหาขา วสารขอมูลตางๆ ไดต ลอดไป โดยกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดงั นี้ จัดการเรียนการสอนใหกบั กลุมเปา หมายท่ีจะจบหลกั สูตร กศน. ขน้ั พ้ืนฐาน ทกุ ระดับ ทยี่ งั ไมม คี วามรูตามหลกั สตู รคอมพวิ เตอรพนื้ ฐาน 4.3.2 จัดการเรียนการสอนโดยใชห ลักสตู รคอมพิวเตอรพ ้ืนฐาน 4.3.3 การจดั การเรียนการสอนสามารถดําเนนิ การได ดังนี้ 1) สถานศกึ ษา กศน. จัดทดสอบเพอื่ ประเมินและเทียบโอนความรู สําหรับ ผูทีม่ คี วามรตู ามหลกั สูตรคอมพวิ เตอรพน้ื ฐานอยูแลว 2) สถานศึกษา กศน.จัดการเรยี นการสอนเอง 3) สถานศึกษา กศน.จัดการเรียนการสอนรว มกบั เครอื ขา ย 4.3.4 ระยะเวลาจัดการเรยี นการสอน ไมนอ ยกวา 40 ช่ัวโมง หรอื เทยี บเทา 4.3.5 การเบกิ จายงบประมาณ คา ตอบแทน คาวสั ดแุ ละคาบํารุงรกั ษา ใหเ ปนไป ตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด (วาดวยการจัดวิชาชพี หลกั สูตรระยะสน้ั )

3035 ทททททททท4.4 กิจกรรมสงเสรมิ ประชาธปิ ไตย (Democracy) เพอื่ สรางความเปน พลเมอื งและประชาธปิ ไตยในชุมชน ทส่ี อดคลองกบั การปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. 2552 – 2561) เปนกิจกรรมเพื่อใหผ เู รียนไดมคี วามรใู นเร่ืองรัฐธรรมนญู นติ ริ ฐั สทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน การเมอื งภาคพลเมอื ง ระบบการเลือกต้ัง เพือ่ ฝกฝนการเปน พลเมืองที่เคารพผอู ืน่ เคารพกติกา สามารถรวมวิเคราะหแ ละแกปญหาของทองถิ่น และชุมชนดวยวิถที างประชาธปิ ไตย เพ่อื สรางความเปนพลเมือง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข ตามแนวทางปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 4.5 กจิ กรรมการจัดหาสอ่ื อปุ กรณก ารสอนของครหู รือหนงั สอื ทน่ี อกเหนือจากแบบเรยี น เพ่อื ใหบ รกิ ารในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตาํ บล/แขวง เปนการจัดหาสอ่ื อุปกรณก ารเรียนการสอนหรือหนังสอื ท่นี อกเหนือจากแบบเรยี น เพ่ือใหบ รกิ ารในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตาํ บล/แขวง เพือ่ ใหครูและนักศึกษามสี ื่ออุปกรณห รือหนังสือ เพ่ือใชป ระกอบการเรยี นรหู รอื ศึกษาคน ควาเพ่ิมเติม โดยใหดาํ เนินการไดในกรณีทีม่ เี งนิ เหลอื จากการจัดกจิ กรรมพฒั นา คณุ ภาพผเู รียน ขอ 4.1 - 4.4 แลว 5. ข้ันตอนการดําเนนิ งานของสถานศกึ ษา 5.1 ใหสถานศึกษา จดั ทาํ แผนการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนใหม ีประสทิ ธิภาพ เปน รายภาคเรยี นทกุ ภาคเรียน ตามกรอบการจัดกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผเู รียนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ของสถานศึกษาสังกดั สาํ นักงาน กศน. และตามนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ป อยางมีคุณภาพของรฐั บาล เพ่ือขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคก รนักศึกษา กศน. ผแู ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (ในขอ 5.2) 5.2 ใหส ถานศกึ ษา จดั ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ผแู ทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแทนครแู ละ ผูบ ริหารสถานศกึ ษา เพอ่ื พิจารณาและเหน็ ชอบแผนการกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี น (ตามขอ 5.1) 5.3 ใหสถานศกึ ษา จัดสงแผนการจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนทไี่ ดรบั ความเห็นชอบจากการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคก รนักศึกษา กศน. ผูแ ทนครแู ละผูบริหารสถานศึกษา (จากขอ 5.2) ใหส าํ นักงาน กศน. จังหวัด/กทม. กอนเปดภาคเรียนของทกุ ภาคเรียน 5.4 ใหส ถานศึกษา ดําเนนิ การตามแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี น ที่ไดรับความเหน็ ชอบแลว พรอมเบกิ จายเงนิ ตามระเบียบท่ีกาํ หนด ใหแ ลว เสรจ็ ภายในแตล ะภาคเรยี น

3316 5.5 ใหสาํ นักงาน กศน. จงั หวดั /กทม. แตงต้ังคณะกรรมการประสานงาน ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการ จัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน และรายงานใหส าํ นกั งาน กศน. ภายใน 30 วนั หลงั ปด ภาคเรียน ทุกภาคเรยี น 5.6 ใหส ํานักงาน กศน. แตงต้งั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี นจากสวนกลาง และสรุปรายงานผลทกุ ส้ินปง บประมาณ 4. อาชีพกลมุ สนใจและอาชีพระยะสัน้ การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ เปนการจัดการศึกษาท่ีมุงเนนใหผูเรยี นมคี วามรู เจตคติ และมีทักษะ ใน อาชีพ ตามวัตถุประสงคข องหลกั สตู ร ประกอบดว ย ทกั ษะเก่ียวกบั การปฏบิ ัติงาน การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศพ้ืนฐาน การ คิดแกปญหา การส่ือสาร และทกั ษะเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาชีพ มีคุณลักษณะท่ี สําคัญในเรื่องความซื่อสัตยสจุ ริต ความคิดเชิงบวก ความมงุ ม่ันในการทํางาน การทาํ งานรวมกบั ผอู ่ืน การรักษาส่ิงแวดลอ ม และการคาํ นึงถึงประโยชนส ว นรวม มากกวา สว นตน การจัดกระบวนการเรียนรเู นนการปฏบิ ัติจรงิ และการเรียนรจู าก วทิ ยากรหรอื ผรู ทู ป่ี ระกอบอาชีพนน้ั ๆ กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาตอ เนื่อง จะเห็นวา การเตรียมความพรอมกอนดาํ เนินการจดั กิจกรรมการศึกษา ตอเนอ่ื งใหแ กผ ูเรยี น จะตองคํานึงถงึ ความตอ งการ ความจําเปน และความแตกตางของผเู รยี นแตละคน สถานศึกษา จงึ ควร ตอ งศึกษาขอมลู และดําเนนิ การตามกระบวนการ โดยฝก กระบวนการคดิ วเิ คราะหตนเองใหแกผ เู รียน เพ่ือใหผ ูเรียน สามารถคนหาสภาพปญ หาและความตองการทแี่ ทจริงของตนเอง อนั จะนําไปสกู ารเลือกเรยี นกิจกรรม กศน. ไดอ ยาง เหมาะสมเปน ประโยชนตอ ตนเองมากทสี่ ดุ ในการฝก กระบวนการคดิ วิเคราะหต นเอง เปนการบรู ณาการ “หลักปรชั ญา คดิ เปน” และ “หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในกระบวนการเลือกและการตัดสนิ ใจของผเู รยี น ซ่ึงสามารถประมวลได เปน 2 ดาน คอื 1. ปญหาดานเศรษฐกิจ ผูเรยี นท่ีมีปญหาดา นเศรษฐกิจ สามารถทจี่ ะหาทางชวยตนเองเปนเบอื้ งตน โดยการ จดั ทาํ บัญชคี รวั เรอื น เพ่อื นําไปสกู ารจัดการชีวิตดา นการลดรายจา ย และการเพิ่มรายได 2. ปญ หาทัว่ ไปในชีวิตประจาํ วนั ผูเ รยี นสามารถนาํ ผลจากการวิเคราะหส ูกิจกรรมการศึกษาท่เี หมาะสม กบั ผเู รยี นแตละคน เปนรายบุคคล ซงึ่ สถานศกึ ษา กศน. จะไดจดั เปน กิจกรรมการศึกษาใน 2 รปู แบบ คือ 1. รปู แบบกลุมสนใจ เปน การจดั การศกึ ษาหลกั สูตรที่สถานศึกษาจดั ขน้ึ เพื่อมุงพฒั นาคุณภาพชวี ิต และสงเสริมการเรยี นรู ของประชาชน โดยหลักสตู รมีความยดื หยุน ดา นเนื้อหา สาระ ระยะเวลาเรียน และสถานที่ ตามความตองการและความ จําเปน ของกลมุ เปาหมาย หรือชมุ ชน หรอื นโยบายของทางราชการ 2. รูปแบบกลมุ สนใจ เปน การจัดการศกึ ษาหลักสูตรวชิ าชพี ท่ีสถานศึกษาจดั ขึน้ เพื่อมงุ พัฒนา ใหผูเรียนสามารถนาํ ความรู ดงั กลา วไปประยุกตใชใ นการประกอบอาชีพ และพัฒนาตอยอด อนั จะนาํ ไปสูการพฒั นา คณุ ภาพชวี ิต แกปญหาของผูเ รียน ไดอ ยา งเปน รูปธรรม การพงึ่ พาตนเองอยา งย่ังยนื และชุมชนเขม แข็งตอไปตอไป การศกึ ษาตอ เนื่องรูปแบบกลุมสนใจ การทาํ สาคไู สหมู การจัดการศึกษาอาชีพในปจจุบนั มคี วามสําคญั มาก เพราะจะเปน การพฒั นาประชากรของประเทศใหมคี วามรู ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เปน การแกป ญหาการวา งงานและสงเสรมิ ความเขมแข็งใหแกเศรษฐกิจ ซึง่ กระทรวงศกึ ษาธิการไดกําหนดยุทธศาสตร ท่จี ะพฒั นา 5 ศักยภาพของพื้นทใี่ น 5 กลุม อาชีพใหม คือ กลุม อุตสาหกรรม กลมุ พาณชิ กรรมกลมุ เกษตรกรรม กลุม ความคิดสรางสรรค กลมุ อาํ นวยการและอาชีพเฉพาะทาง ใหส ามารถแขงขันไดใน 5 ภูมภิ าคหลกั ของโลก “รูเขา รูเรา เทา ทัน เพ่ือแขงขันไดใ นเวทโี ลก” ตลอดจนกําหนดภารกิจทีจ่ ะยกระดบั การจัดการศึกษา

3237 เพ่อื เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถใหกบั ประชาชนไดม ีอาชพี ที่สรา งรายไดทีม่ ่ันคง โดยเนนการบรู ณาการใหส อดคลอง กับศักยภาพดานตางๆ มุงพฒั นาคนไทยใหไดร ับการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพและการมีงานทาํ อยา งมีคุณภาพท่ัวถึงและเทา เทียมกัน ประชาชนมรี ายไดม่ันคง และมีงานทําที่ยงั่ ยืน มคี วามสามารถเชิงการแขง ขนั ทงั้ ในระดับภูมภิ าคอาเซียนและ ระดบั สากล ซ่ึงจะเปนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหมท ่ีสรางความมั่นคงใหแ กประชาชนและประเทศชาติ การเลอื กประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกจิ ยุคปจจบุ นั จาํ เปนตองมีขอ มูลพื้นฐานในหลกั สตู รในหลายๆดานท้งั ดา น การผลิตลความตอ งการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพตา งๆกลุมอาชพี หลกั สูตร การทําสาคไู สหมู ก็เปน ทางเลือกหน่ึงใน การเลอื กประกบอาชีพ เพ่ือใหป ระชาชนผูที่สนใจในการฝกปฏบิ ัติและนาํ ไปประกอบอาชพี สรา งรายไดม ีความม่ันใจในการ นําความรูแ ละทักษะไปประกอบอาชีพ การกําหนดเนอื้ หาและช่ัวโมงการเรยี นหลกั สูตรจะประกอบไปดว ยจาํ นวนชัว่ โมงของ เนอ้ื หาความรูแ ละการปฏิบัติเมอื่ ผูเรยี นๆจบหลักสตู รแลวสามารถนําความรแู ละทักษะไปประกอบอาชีพสรา งรายไดห รือ เปนรายไดเ สริมอ่นื ท่ีอกเหนือจากการประกอบอาชีพของตนเองมาสนับสนนุ ครอบครัวเปน ระบบกระบวนการพัฒนา ความคิดสรา งสรรคประยกุ ตพัฒนางานตลอดจนนําภูมิปญ ญาทอ งถ่ินแหลง เรยี นรผู เู กย่ี วของมีสวนรว มจดั เนือ้ หา ประสบการณใหเ กดิ ผลกบั ผูเ รียนเปนคนดีมีปญญามีรายไดเสรมิ แกค รอบครวั เพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ และความเปน อยูที่ดี ข้นึ รวมถงึ เพื่อเปน การสนบั สนุนการรวมกลมุ กอ ใหเ กิดรายไดใ นชุมชนเกิดความเขมแข็งตอไปซ่ึงเปน การศึกษาตอ เนอื่ งเพอ่ื การพัฒนาย่งั ยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

38 บทท่ี 3 วธิ ีดําเนินงาน โครงการฝกอาชพี และสงเสริมการเรียนรู วชิ าการการทําสาคูไสห มู (หลกั สตู ร 5 ชว่ั โมง) มีข้นั ตอนดังน้ี 1. สํารวจความตอ งการของกลมุ เปาหมาย 2. ดาํ เนินการจดั กิจกรรมโครงการรวมกบั กลมุ ประชาชนทัว่ ไปของตาํ บลหนองปรือ (โดยการอบรมใหค วามรูและฝกทกั ษะอาชพี ) 3. การวิเคราะหขอ มูล 1. สํารวจความตองการของกลุมเปา หมาย กลมุ ภารกิจการจดั การศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี สํารวจความตอ งการของผเู รยี นของกลมุ เปาหมายและแจงใหกลุมเปาหมายฯ ทราบถงึ กําหนดการจัดกิจกรรม 2. ดาํ เนินการจัดกจิ กรรม โครงการฝกอาชพี และสงเสริมการเรียนรู วิชาการการทําสาคูไสหมู (หลักสูตร 5 ช่วั โมง) ระหวา งวนั ท่ี 25 กมุ ภาพันธ 2563จดั อบรมใหความรูและฝกทักษะอาชีพ ณ บา นเลขท่ี 16/1 หมู 7 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี มีผเู ขา รว มกิจกรรม 8 คน 3. การวิเคราะหข อมลู การวิเคราะหขอมูล ใชคาสถิติรอยละในการประมวลผลขอมูลสวนตัวและตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการตาม แบบสอบถามคิดเปน รายขอ โดยแปลความหมายคาสถติ ริ อ ยละออกมา ไดด ังนี้ คาสถิติรอยละ 90 ขนึ้ ไป ดีมาก คา สถติ ิรอยละ 75 – 89.99 ดี คาสถติ ริ อยละ 60 – 74.99 พอใช คา สถติ ิรอยละ 50 – 59.99 ปรบั ปรุง คาสถติ ริ อยละ 0 – 49.99 ปรับปรงุ เรงดว น สวนการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอซึ่งมีลักษณะเปนคาน้ําหนักคะแนน และนํามา เปรียบเทยี บ ไดระดับคณุ ภาพตามเกณฑการประเมิน ดังน้ี เกณฑก ารประเมนิ คา น้าํ หนกั คะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คือ ดีมาก คา น้าํ หนกั คะแนน 3.75 – 4.49 ระดบั คุณภาพ คอื ดี คานํ้าหนกั คะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คณุ ภาพ คอื พอใช คา นา้ํ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดับคุณภาพ คอื ตองปรับปรงุ คานํา้ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดบั คณุ ภาพ คือ ตอ งปรบั ปรงุ เรง ดวน

39 บทที่ 4 สรปุ ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อมลู การจดั กิจกรรมการศกึ ษาอาชีพกลุม สนใจ วชิ าการการทาํ สาคูไสหมู (หลักสตู ร 5 ช่ัวโมง) ซ่งึ ไดสรุปรายงานผล จากแบบสอบถามความคิดเห็น ขอ มลู ท่ีไดส ามารถวิเคราะหแ ละแสดงคาสถิติ ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ขอมลู สว นตวั ของผตู อบแบบสอบถามของผเู ขา รวมกจิ กรรมวชิ าชพี รูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการ การทําสาคไู สหมู (หลกั สตู ร 10 ชวั่ โมง) ตารางที่ 1 ผเู ขา รว มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน าํ มาจาํ แนกตามเพศ เพศ รายละเอียด ชาย หญิง จาํ นวน (คน) 0 8 รอ ยละ 0.00 100.00 จากตารางที่ 1 พบวา ผูต อบแบบสอบถามที่เขารว มกจิ กรรมวิชาชพี รูปแบบกลุม สนใจ วิชาการการทําสาคูไสหมู (หลกั สตู ร 5 ชว่ั โมง) เปนหญงิ จํานวน 8 คน คดิ เปน รอยละ 100 ตารางที่ 2 ผูเขา รวมโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดนาํ มาจาํ แนกตามอายุ รายละเอียด อายุ (ป) อายุ ตํ่ากวา 15 ป 16 - 39 40 - 49 50-59 60 ขึน้ ไป จํานวน (คน) 0 02 4 2 รอ ยละ 0.00 0.00 25.00 50.00 25.00 จากตารางท่ี 2 พบวาผูตอบแบบสอบถามท่เี ขารวมกิจกรรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการการทาํ สาคไู สหมู (หลักสูตร 5 ชวั่ โมง) พบวาผูเ ขารว มโครงการฯ มี อายุ 40 – 49 ป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 25.00 อายุ 50 – 59 ป จาํ นวน 4 คน คิดเปนรอยละ 50.00 และอายุ 60 ปข้ึนไป จํานวน 2 คน คดิ เปน รอยละ 25.00 ตารางที่ 3 ผูเ ขา รว มโครงการท่ีตอบแบบสอบถามไดน าํ มาจาํ แนกตามอาชพี อาชพี รายละเอียด เกษตรกรรม รบั จา ง รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ คาขาย อน่ื ๆ จาํ นวน (คน) 0 4 0 4 0 รอยละ 0.00 50.00 0.00 0.00 50.00 จากตารางที่ 3 พบวา ผูต อบแบบสอบถามที่เขา รวมกิจกรรมวิชาชพี รูปแบบกลุม สนใจ วิชาการการทําสาคไู สห มู (หลกั สตู ร 5 ชัว่ โมง) มี อาชพี รบั จาง จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 50.00 อาชีพคา ขาย จาํ นวน 4 คน คดิ เปน รอ ยละ 50.00

40 ตารางท่ี 4 ผูเขา รวมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดน ํามาจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา รายละเอียด ระดบั การศกึ ษา การศึกษา ประถม ม.ตน ม.ปลาย/ปวช. ปวส.ข้ึนไป จาํ นวน (คน) 6 1 1 0 รอ ยละ 75.00 12.5 12.5 0.00 จากตารางที่ 4 พบวาผตู อบแบบสอบถามทเี่ ขารว มกิจกรรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วิชาการการทําสาคูไสหมู (หลักสตู ร 5 ช่ัวโมง) ระดับประถมศึกษา จาํ นวน 6 คน คิดเปนรอยละ 75 ระดับม.ตน จํานวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 12.5 และระดบั ม.ปลาย/ปวช จํานวน 1 คน คดิ เปนรอ ยละ 12.5 ตารางที่ 5 แสดงคา รอ ยละเฉลย่ี ความสําเรจ็ ของตัวช้ีวดั ผลผลิต ประชาชนทั่วไปตาํ บลหนองปรือ เขารว มโครงการจํานวน 9 คน ผลสําเร็จของโครงการ เปาหมาย ผเู ขา รวมโครงการ คิดเปน รอยละ 88 100 จากตารางท่ี 5 พบวาผลสาํ เรจ็ ของตัวชวี้ ดั ผลผลติ กจิ กรรมวชิ าชีพรปู แบบกลุมสนใจ วิชาการการทําสาคูไสห มู (หลักสูตร 5 ช่วั โมง) มีผเู ขา รว มโครงการ จาํ นวน 8 คน คดิ เปน รอยละ 100 ซึ่งบรรลเุ ปา หมายดานตัวชวี้ ัด ผลผลิต ประชาชนทวั่ ไปตาํ บลหนองปรือ เขา รว มโครงการจาํ นวน 8 คน

41 ตอนที่ 2 ขอ มลู เกยี่ วกับความคิดเหน็ ของผเู ขารบั อบรมวิชาชพี รูปแบบกลมุ สนใจ วชิ าการการทาํ สาคูไส หมู ความคิดเหน็ ของผูเ ขา รบั รวมกจิ กรรม จํานวน 9 คน จากแบบสอบถามทัง้ หมดท่มี ีตอการอบรมวิชาชพี รูปแบบกลุมสนใจ ตารางที่ 6 ผลการประเมนิ การอบรมวิชาชีพรูปแบบกลุมสนใจ รายการที่ประเมิน µσ n=8 ระดับผล อนั ดบั การประเมนิ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา นเนื้อหา ท่ี 1. เนื้อหาตรงตามความตองการ 4.38 0.52 8 8 2. เนอื้ หาเพยี งพอตอความตองการ 4.38 0.52 8 1 3. เน้ือหาปจ จบุ ันทันสมัย 4.38 0.52 12 4. เนื้อหามปี ระโยชนต อการนาํ ไปใชใ นการพัฒนา 4.75 0.46 8 คุณภาพชวี ติ 1 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจดั กจิ กรรม 1 5 การเตรียมความพรอมกอ นจดั กจิ กรรม 4.25 0.71 7 1 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 4.38 0.52 6 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 1 4.75 0.46 15 12 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุมเปาหมาย 4.75 0.46 12 9 วิธีวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.50 0.53 ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ วิทยากร 10 วทิ ยากรมคี วามรูความสามารถในเร่อื งท่ีถายทอด 4.75 0.46 11 วิทยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส อ่ื เหมาะสม 4.63 0.52 12 วทิ ยากรเปด โอกาสใหมสี วนรว มและซักถาม 4.75 0.46 ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณและสง่ิ อาํ นวยความสะดวก 4.13 0.99 14 การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการ 4.25 0.46 เรียนรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกปญหา 4.25 0.46 คาเฉลี่ย 4.48 0.54 ททททททททจากตารางที่ 4 แสดงใหเห็นวา ผูเขา รวมการอบรมวิชาชพี รปู แบบกลมุ สนใจ วิชาการการทาํ สาคไู สห มู พบวา อยูใ นระดบั ดี เม่อื วเิ คราะหเปน รายขอ พบวา อันดบั ที่ 1 คือเนอ้ื หามปี ระโยชนต อ การนําไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชีวิต, การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา,การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ เปาหมาย,วิทยากรมีความรูค วามสามารถในเร่อื งที่ ถายทอด,วิทยากรเปดโอกาสใหมสี วนรว มและซักถาม(µ= 4.75) อนั ดับท่ี 6 คือ วิทยากรมีเทคนิคการถายทอดใชสื่อ เหมาะสม (µ= 4.63) อันดบั ท่ี 7 คอื วิธวี ดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค (µ= 4.50) อนั ดบั ท่ี 8 คอื เนื้อหาตรง

42 ตามความตองการ,เนือ้ หาเพยี งพอตอความตองการ,เนอื้ หาปจ จุบนั ทันสมยั ,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค (µ= 4.38) และอันดับท่ี 12 คือการเตรยี มความพรอมกอนจัดกิจกรรม,การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพ่อื ใหเ กิดการ เรยี นรู,(µ= 4.44 )อนั ดบั ที่ 12 คือการเตรยี มความพรอมกอนจดั กจิ กรรม,การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพอื่ ใหเ กิดการ เรยี นรู,การบรกิ าร การชวยเหลอื และการแกปญหา(µ= 4.25 )อันดับท่ี 15 คือสถานที่ วัสดุ อปุ กรณและส่งิ อาํ นวยความ สะดวก(µ= 4.13 )ตามลําดับ ตารางท่ี 7 ผลการประเมินผเู ขา รว มกิจกรรมการอบรมวิชาชีพรปู แบบกลุมสนใจ วิชา การการทาํ สาคไู สห มู เน้อื หาผเู ขารวมกิจกรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบ N=8 กลุมสนใจ การการทาํ สาคูไสหมู µ σ อนั ดบั ท่ี ระดบั ผลการประเมนิ 1. การมีสวนรวมในกจิ กรรมกลุม 050 1 ดมี าก 2. ความพงึ พอใจในการเขารวมโครงการ 4.53 0.50 1 ดมี าก 3. การคิดอยา งมีเหตุผล 4.53 4. การเขา ใจ และรับฟงความคิดเหน็ จากผูอื่น 4.52 0.50 3 ดมี าก 5. การรจู ัก และเขาใจตนเอง 4.48 0.50 5 ดี คา เฉลี่ย 4.50 0.50 4 ดี 4.51 0.50 ดีมาก รรรรรรรรจากตารางท่ี 5 พบวา โดยเฉลยี่ แลว ผเู ขา รว มผเู ขารวมกจิ กรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบกลุมสนใจ วชิ าการทํา สาคไู สห มู อยูในระดบั ดีมาก เมอ่ื วิเคราะหเ ปนรายขอพบวา การมสี วนรวมในกจิ กรรมกลมุ และ. ความพึงพอใจในการเขา รวมโครงการมคี า ทากนั คอื (µ=4.53) เปน อนั ดับที่ 1 และรองลงมาคือ การมีการคิดอยางมีเหตุผล (µ= 4.52) และการรูจักและเขาใจตนเอง (µ= 4.50) การเขา ใจและรับฟง ความคิดเห็นจากผูอื่น (µ= 4.48) ตามลาํ ดับ

43 บทที่ 5 สรุป อภิปราย ขอเสนอแนะ การจดั กจิ กรรมโครงการฝกอาชีพและสง เสริมการเรียนรู วชิ าการการทาํ สาคูไสหมู (หลักสตู ร 5 ชว่ั โมง) มี วตั ถุประสงคเ พ่ือไดรับความรูและฝกทักษะเกย่ี วกับการการทําสาคูไสหมูและสามารถนาํ ความรูไ ปใชใ นการประกอบอาชีพ ไดจรงิ และเปน การเพ่มิ รายไดใหกับครอบครัว วิธีดําเนินการกลุม ภารกจิ การจัดการศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายใหครู กศน.ตําบลหนองปรือ สํารวจความตอ งการเรยี นรขู องกลมุ เปาหมาย กลุม ประชาชนทั่วไปในตาํ บลหนองปรือ และแจง ให กลมุ เปาหมายฯ ทราบถึงกาํ หนดการจัดกิจกรรมวิชาชีพรปู แบบกลุม สนใจ วชิ าการการทําสาคูไสหมู (หลักสตู ร 5 ช่ัวโมง) เปนการอบรมใหค วามรูและฝกทกั ษะอาชพี และปฏิบัติจรงิ ในหองเรยี น จัดขึ้นในวันท่ี 25 กมุ ภาพันธ 2563 โดยเปน การจัด อบรมใหความรฝู กทักษะอาชีพ ณ บา นเลขที่ 16/1 หมู 7 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี งบประมาณ ดาํ เนนิ การโดย กศน.อาํ เภอพนสั นิคม มีผเู ขา รว มโครงการ จํานวน 8 คน สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน สรุปไดว า กลุมประชาชนท่ัวไปในตาํ บลหนองปรือ เขารวมโครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรยี นรู วิชาการทํา สาคูไสหมู (หลักสูตร 5 ชัว่ โมง) ทีจ่ ัดขน้ึ ในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2563 โดยเปนการจัดอบรมใหค วามรฝู กทกั ษะอาชพี คือ ความรูความเขาใจเก่ยี วกับการการการทําสาคไู สหมู ณ บานเลขที่ 16/1 หมู 7 ตําบลหนองปรอื อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัด ชลบุรี งบประมาณดาํ เนนิ การโดย กศน.อาํ เภอพนัสนิคม มีผเู ขา รวมโครงการ จํานวน 8 คน (รอยละ 100 ของเปา หมาย โครงการ) โครงการฝกอาชพี อาชีพชุมชนรปู แบบกลมุ สนใจ วชิ าการทําสาคูไสหมู (หลักสูตร 5 ชว่ั โมง) ผเู ขา รวมมีระดับ ความคิดเห็น / ความพงึ พอใจ ตอโครงการ อยูในระดบั 4.48 “ด”ี อภปิ รายผล จากการจดั โครงการฝก อาชพี และสงเสรมิ การเรียนรู วิชาการการทาํ สาคูไสห มู (หลกั สูตร 5 ชัว่ โมง) เนอ่ื งจากกลุม ประชาชนทัว่ ไปในตาํ บลหนองปรอื สวนใหญมีระดบั ความคิดเหน็ /ความพึงพอใจตอโครงการอยใู นระดบั “ดี” และบรรลุ ความสําเร็จตามเปาหมายตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธท ่ีตัง้ ไว ขอเสนอแนะ อยากใหมกี ารจดั กจิ กรรมอีก จะไดนาํ ความรไู ปปฏบิ ัติ

44 บรรณานุกรม กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญสง นลิ แกว (2535 หนา 22-25)

45 รายงานผลการจัดกจิ กรรม วชิ า การทําสาคไู สห มู จาํ นวน 5 ช่วั โมง

46 วัรายงานผลการจดั กิจกรรม วิชา การทาํ สาคไู สห มู จํานวน 5 ชั่วโมง วันที่ 25 กมุ ภาพันธ 2563 ณ บานเลขท่ี 16/1 ม.7 ตําบลหนองปรือ วทิ ยากร คือ นางสาวเสาวลกั ษณ ปลนี อ ย ผเู ขารวมกิจกรรมจํานวน 8 คน ..................................................ผูร ายงาน (...............................................)

47 ใบสมคั รผูเรยี นหลกั สูตรการจัดการศกึ ษาตอเน่อื ง สถานศกึ ษา ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอ/เขต....พนสั นคิ ม........ สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ หลักสตู ร/กิจกรรม……………………………………………………………………….....จํานวน...........ชวั่ โมง  ๑. ขอ มลู สวนตวั (กรณุ ากรอกขอ มลู ดว ยตัวบรรจง) ชอ่ื -นามสกุล นาย/นาง/นางสาว....................................................เลขบัตรประจําตวั ประชาชน.......................... เกดิ วันท/่ี เดอื น/พ.ศ............................อายุ..........ป สัญชาติ..................ศาสนา.....................อาชีพ..................... ความรสู ูงสดุ จบระดับ.................................จากสถานศกึ ษา.......................................จงั หวดั .............................. ท่อี ยูตามทะเบียนบานเลขที่............หมูท ่ี..............ถนน/หมูบา น.........................................ตําบล/แขวง.............. อําเภอ.............................จงั หวัด...............................รหัสไปรษณยี .........................โทรศัพท............................... ๒. สนใจเขารว มกจิ กรรม เน่ืองจาก...........................................................................................................................  เปน พืน้ ฐานในการศึกษาตอในระดับ/สาขา………………………………………………………………………………..  ตอ งการเปลยี่ นอาชพี  ตอ งการใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน  ตอ งการมอี าชีพเสริม/อาชีพหลัก  อนื่ ๆ ระบุ.................................................................... ๓. สถานภาพของผูส มัคร  เปนผูวา งงาน  สมาชกิ กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี  สมาชิกกองทุนสตรีเทศบาล  ผถู ือบัตรสวัสดิการของรฐั  อสม./อสส. รบั จา ง  เกษตรกร  สมาชิกกองทนุ หมูบ าน  อืน่ ๆ.................................. ๔. ทานไดร บั ขา วสารการรบั สมัครจาก...................................................................................................................... สาํ หรบั เจาหนาท่ี ลงชอ่ื .............................................ผสู มคั ร ตรวจสอบรายละเอยี ด/ความเห็น (.......................................................) .................................................... ลงชอ่ื ............................................ผรู บั สมคั ร วันท่ี/เดอื น/ป............................................... (..............................................) วันท่/ี เดอื น/ป. .............................................. หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลี่ยนไดต ามความเหมาะสม ในกรณีตา งดาว ตอ งมี Work Permit จงึ จะสามารถสมัครเรียนได

แบบ กศ.ตน. 10 48 แบบประเมินความพึงพอใจ หลกั สูตร..................................................................ระหวางวันท่ี....................เดอื น….....................พ.ศ…............... สถานทีจ่ ัด........................................................................................อาํ เภอ………...............................จงั หวดั ชลบรุ ี ขอ มูลพน้ื ฐานของผูประเมินความพงึ พอใจ เพศ ชาย หญงิ อาย.ุ ..........ป วุฒิการศกึ ษา.............................อาชพี .......................................... คาํ ชแี้ จง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครอื่ งหมาย √ ในชอ งวา งระดบั ความพึงพอใจตามความคิดเห็นของทาน ระดบั ความพึงพอใจ หมาย ขอ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอย นอย เหตุ ทส่ี ดุ กลาง ที่สดุ ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดานเนือ้ หา 1 เนอ้ื หาตรงตามความตองการ 2 เน้ือหาเพยี งพอตอ ความตอ งการ 3 เนอ้ื หาปจ จบุ ันทนั สมยั 4 เนือ้ หามีประโยชนตอ การนําไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจดั กิจกรรม 5 การเตรยี มความพรอมกอ นจดั กิจกรรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค 7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย 9 วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ วิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรูค วามสามารถในเรือ่ งทีถ่ ายทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถายทอดใชส อื่ เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหม สี วนรวมและซกั ถาม ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา นการอาํ นวยความสะดวก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและสงิ่ อาํ นวยความสะดวก 14 การสื่อสาร การสรา งบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการเรยี นรู 15 การบรกิ าร การชวยเหลือและการแกปญ หา ผผู านการฝก อบรมไดน ําความรูไ ปใชจริง เพ่ิมรายได ลดรายจาย นาํ ไปประกอบอาชีพ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใชเ วลาวางใหเ กดิ ประโยชน อื่นๆ ระบ…ุ ……………………. ความคิดเห็นและขอ เสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................

49 ทป่ี รึกษา ผูจดั ทํา นางณชั ธกัญ หมนื่ สา นางสาวมุทกิ า การงานดี ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม ครู ผูจัดทาํ ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ นางสาวสรุ ภา เชาวันดี ครู กศน.ตาํ บลหนองปรอื ผูร วบรวม เรียบเรียง และจัดพิมพ นางสาวสุรภา เชาวนั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook