Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผล 5 บทโครงการเพศวิถีศึกษา

สรุปผล 5 บทโครงการเพศวิถีศึกษา

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-22 14:26:25

Description: สรุปผล 5 บทโครงการเพศวิถีศึกษา

Search

Read the Text Version

โครงการสง เสรมิ การเรยี นรเู ร่อื งเพศวถิ ศี กึ ษา วนั พฤหสั บดที ี่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลหนองปรอื ม.7 จดั ทําโดย กศน.ตําบลหนองปรอื สังกัดศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นคิ ม

บทสรุปผบู ริหาร โครงการสง เสริมการเรียนรูเ รื่องเพศวถิ ศี ึกษา จดั ขนึ้ ในครั้งนี้มวี ตั ถุประสงคเพื่อใหผูเขาอบรมไดรับความรู เกี่ยวกับสง เสริมการเรียนรูเ รอ่ื งเพศวถิ ีศึกษา การปองกันและแนวทางการปองกันโรคตดิ ตอท่เี กิดจากการมเี พศสมั พันธ โดยมีกลมุ เปาหมายคอื ประชาชนในตาํ บลหนองปรอื จํานวน 20 คน โดยจะใชก ลุมเปา หมายทั้งหมดในการคาํ นวณ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรปู คอมพวิ เตอร (โปรแกรมตารางคาํ นวณ) เพื่อสรปุ ผลการดาํ เนินงานในคร้งั นี้ วธิ กี ารดําเนินงาน โดยการสํารวจความตองการของประชาชนในพ้ืนท่ีตําบลหนองปรือและนาํ ผลจากการ สํารวจมาจดั ทํากิจกรรมโครงการสงเสรมิ การเรยี นรูเรื่องเพศวถิ ศี กึ ษา จํานวน 20 คน ในวนั ท่ี 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองปรอื ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี โดยมี นางเสาวภา สวสั ดี เปนวทิ ยากรบรรยายใหความรูในครงั้ น้ี หลังจากการจดั กจิ กรรมโครงการแลวมกี ารแจกแจง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ สําหรบั ผเู ขา รว มโครงการทั้งหมด จาํ นวน 20 ชุด แลว นําขอ มลู ทไี่ ดมาคํานวณทางสถิติ หา คา รอ ยละ คา เฉลีย่ การแจกแจงความถ่ี และคา เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาํ เนนิ งาน จากการนําขอมูลท่ไี ดมาทาํ การคาํ นวณหาคาสถิตติ า งๆ สรปุ วา ผูเขา รว มกจิ กรรม มี ความพึงพอใจอยูใน ระดับ 4.23 (ดี)

คํานาํ การจัดกิจกรรมเก่ียวกับเร่ืองเพศวิถี การปองกันและแนวทางการปองกันโรคติดตอท่ีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคมไดใหความสําคัญ มอบให กศน.ตําบลหนองปรือ จัดโครงการสงเสริมการเรียนรูเร่ืองเพศวิถีศึกษา เพ่ือใหผูเขาอบรมสงเสริมการเรียนรูเร่ืองเพศวิถีศึกษา การปองกัน และแนวทางการปองกันโรคติดตอที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนท่ัวไปไดรับความรูในดาน การศึกษาเพ่ือทักษะชีวิต สงเสริมใหประชาชนเกิดความสนใจ ในดานเพศวิถีมากขึ้น เรื่องการปองกันและแนวทางการ ปองกันโรคติดตอที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ เปนกิจกรรมท่ีมีคุณคามากเปนวิธีการเรียนรูท่ีสอนควรคํานึงถึงเปนอันดับ แรกๆ เพราะชวยเสริมสรางใหผูเขาอบรมไดรับความรูเกี่ยวกับการการปองกันและแนวทางการปองกันโรคติดตอที่เกิด จากการมีเพศสมั พันธส ามารถนําความรูที่ไดไปใชใ นชวี ิตประจําวันและสามารถเผยแพรใ นกบั บุคลอน่ื เพื่อเปนประโยชน ดังนั้น กศน.ตําบลหนองปรอื ไดเลง็ เห็นความสาํ คัญเก่ียวกับการนาํ ความความรูดา นเพศวิถี ซึ่งถือวาเปน กิจกรรม ที่มุงเนน ใหประชาชนมีทักษะความรพู ื้นฐานเพยี งพอกับการศึกษาและประชาชนยังสามารถนําความรูท่ีไดรบั ไปปรับใชใน ชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม ในวันท่ี 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองปรือ ตําบล หนองปรือ อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี จํานวน 20 คน โครงการดังกลาวไดดําเนนิ เสร็จเรียบรอยแลว ซ่ึงรายละเอียดผลการดําเนินงานตา ง ตลอดจนปญหาอุปสรรค ในการดําเนินงาน เพื่อรวบรวมกระบวนการดําเนินงาน ผลท่ีไดนําไปใช ตลอดจนการพัฒนาเพ่ือใหสอดคลอ งกบั สภาพ วถิ ชี ีวติ และการตอบสนองความตอ งการของผูเขารับการอบรม ทา ยคือการนําไปใชประโยชนอยา งแทจริง และสามารถ แนะนาํ ผอู ืน่ ได ใหเ กดิ ทกั ษะคุณภาพชีวติ กศน.ตาํ บลหนองปรือ กุมภาพนั ธ 2563

สารบัญ หนา บทท่ี 1 บทนํา.................................................................................................................................................. 1 ความเปนมา............................................................................................................................... 1 วัตถปุ ระสงค .............................................................................................................................. 1 เปาหมาย................................................................................................................................... 1 การดําเนนิ งาน........................................................................................................................... 2 ผลลัพธ ...................................................................................................................................... 2 ดชั นวี ดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ.................................................................................................... 2 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทีเ่ กย่ี วของ............................................................................................ 3 ยทุ ธศาสตรและจุดเนน กศน.ปงบประมาณ พ.ศ.2562 ............................................................ 3 ยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดําเนนิ งาน กศน.ตําบลหนองปรือประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562 .. 11 การศกึ ษาเพ่ือทักษะชีวติ ........................................................................................................... 22 ความรเู รอื่ งเรื่องโรคตดิ ตอทเี่ กิดจากการมเี พศสัมพนั ธ .............................................................. 25 วิจยั ท่ีเกย่ี วขอ ง.......................................................................................................................... 31 3 วิธดี าํ เนนิ งาน ...................................................................................................................................... 33 สาํ รวจความตอ งการ ................................................................................................................. 33 ประสานงานกับหนว ยงานและบคุ คลทีเ่ กีย่ วของ........................................................................ 33 ดําเนินการโครงการ................................................................................................................... 33 วเิ คราะหข อมูล.......................................................................................................................... 33 ประเมนิ ผล................................................................................................................................ 34 4 ผลการดําเนนิ งานและการวิเคราะหขอมูล........................................................................................... 35 ตอนท่ี 1 ขอมลู สวนตัวผแู บบสอบถามของผเู ขารับการอบรมใน โครงการสงเสรมิ การเรยี นรเู ร่ืองเพศวิถีศึกษา……………...............................................................35 ตอนที่ 2 ขอมูลเก่ียวกบั ความคดิ เหน็ ทีม่ ีตอโครงการสงเสริมการเรยี นรเู ร่อื งเพศวิถีศึกษา.......... 40 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ.................................................................................................. 41 สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน............................................................................................................... 41 อภปิ รายผล............................................................................................................................... 41 ปญ หาและอปุ สรรค................................................................................................................... 41 ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................. 41 บรรณานุกรม ภาคผนวก

สารบญั ตาราง ตารางที่ หนา 1 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ .................................................. 38 2.แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ .................................................. 38 3 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชีพ ............................................... 39 4 ผลการประเมินโครงการสงเสรมิ การเรียนรูเ ร่ืองเพศวิถีศกึ ษา .................................................. 40

บทที่ 1 บทนํา โครงการสงเสรมิ การเรียนรเู รือ่ งเพศวิถศี กึ ษา 1. หลกั การและเหตุผล ในปจจุบันมีปญหาสังคมท่ีอยูในภาวะวิกฤติ มากมายและสงผลกระทบถึงเด็กและเยาวชน ท้ังในดาน ปญหาการเรียนรูและพฤติกรรมท่ีไมพึง ประสงคต าง ๆ ท่ีทุกภาคสวนกาํ ลังรว มมือกนั แกไขอยา งเรงดว น เพื่อใหเดก็ และ เยาวชนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค สามารถเรียนรูและดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขและปลอดภัย โดยเด็กและ เยาวชนจําเปนตองไดรับการเสริมสรางภูมิคุมกันทางสังคมและทักษะชีวิต เพ่ือเปนวัคซีนปองกันปญหาการพัฒนา คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนการเสริมสรางภูมิคุมกันทางสังคมและทักษะชีวิตซ่ึงจําเปนตองไดรับการปลูกฝงท้ังจาก ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ในการสั่งสอนใหนักเรียนคิดและแกไขปญหาท่ีเผชิญหนาอยูในทุกชวงวัย หากเด็กและ เยาวชน ไดรับการปลกู ฝงต้ังแตเดก็ เชื่อวาจะสามารถออกไปเผชิญชีวิต เปนอนาคตของชาติ และสามารถนําเอา ทักษะ การคิดวิเคราะห การแกไขปญหาไปชวยเหลือตัวเองและสังคมไดเปนอยางดี กศน.ตําบลหนองปรือ ไดสํารวจสภาพ ปญ หาสังคมทีอ่ าจจะสงผลกระทบสถาบันครอบครัวในพน้ื ท่ีรบั ผิดชอบ จงึ ไดค ิดหาแนวทางในการเฝาระวงั ปองกัน และ แกไขปญหารวมกัน ใน 5 กลุมเปาหมาย ไดแก เด็กและเยาวชน สตรี ผูสูงอายุ ผูพิการและผูดอยโอกาส พบวากลุมคน เหลา นเ้ี ปน พลังสาํ คัญยงิ่ ตอ การพัฒนา ควรจะไดรบั การพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทั้งทางดา นรางกายและจิตใจ รวมถงึ การเพิ่ม ทักษะการเรียนรูทางสังคม ซึ่งเปนการสรางภูมิคุมกันทางสังคมใหสมาชิกในชุมชนทุกกลุม/ทุกชวงวัยแนวทางหน่ึง ให สามารถรบั มอื กับปญ หาตางๆ ได กศน.ตําบลหนองปรือ จึงไดเล็งเห็นความสําคัญจากเหตุผลขางตนดังกลาว จึงไดดําเนินการจัดทํา โครงการสงเสรมิ การเรียนรูเร่ืองเพศวิถีศึกษาข้ึน เพ่ือใหประชาชนตําบลหนองปรือ มีความรู ความเขาใจ เร่ืองเพศวิถี และสามารถนาํ เร่อื งเพศวิถีไปใชใ นการดาํ รงชีวิตได 2. วตั ถปุ ระสงค 2.1 เพอ่ื ใหผเู ขารับการอบรมมีความรคู วามเขา ใจเรื่องเพศวถิ ี 2.2 เพือ่ ใหผ ูเ ขารบั การอบรมสามารถนาํ เร่ืองเพศวถิ ไี ปใชในการดาํ รงชีวิตได 3. เปาหมายการดาํ เนิน เชงิ ปรมิ าณ -ประชาชนตาํ บลหนองปรอื จํานวน 20 คน เชิงคุณภาพ -ประชาชนตาํ บลหนองปรือ มีความรู ความเขาใจ เรอื่ งเพศวิถีและสามารถนาํ เรอื่ งเพศวิถีไปใชใ นการ ดาํ รงชวี ิตได

2 6. กิจกรรมการดาํ เนนิ งาน พ้ืนทดี่ ําเนนิ การ ระยะเวลา กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย เปา หมาย กศน. อําเภอ 6-7 งบประมาณ 1.ข้ันวางแผน (Plan) เพอ่ื เตรียมความพรอมใน ครู กศน. พนัสนิคม - 1.1 ประชมุ วางแผนชแ้ี จงการ การดําเนนิ โครงการ ตําบลและ 2 คน มกราคม 2563 งบ ปฏิบตั งิ าน ครู ศรช.ตาํ บล 30 ดาํ เนินงาน 1.2 ประสานเครือขาย/จดั หา หนองปรอื มกราคม กจิ กรรม สถานที่ 2563 การศกึ ษา 1.3 เตรยี มส่อื เอกสารและวัสดุ เพอื่ พัฒนา 1.4 จดั ทาํ โครงการ/หลักสตู ร ทักษะชวี ิต และการอนมุ ัติหลกั สตู ร 2,300.- บาท 2. ขน้ั ดําเนินการ (Do) 2.1 เพือ่ ใหผเู ขา รบั การ ประชาชน 20 คน โรงพยาบาล จดั โครงการสงเสรมิ การเรียนรู อบรมมคี วามรคู วามเขาใจ ตําบล สงเสรมิ สขุ ภาพ - เร่ืองเพศวถิ ีศกึ ษา เรอื่ งเพศวิถี ตาํ บลหนองปรือ 2.2 เพ่อื ใหผ ูเขารับการ หนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม - จงั หวัดชลบุรี อบรมสามารถนําเร่อื งเพศ 3 วถิ ไี ปใชใ นการดํารงชวี ิตได 3. ประเมนิ โครงการ (Check) 3.1 ประเมินกอ นดาํ เนนิ 3.1 เพอ่ื ศกึ ษาความ ครู กศน. 2 คน ตําบลหนองปรอื 29 มกราคม โครงการ เปนไปได ตาํ บลและ 2563 3.2 ประเมินระหวา งดาํ เนนิ 3.2 เพอ่ื ศึกษาความ ครู ศรช.ตําบล 30 มกราคม โครงการ กา วหนา ของโครงการ หนองปรือ 2563 3.3 ประเมินหลงั เสร็จสน้ิ 3.3 เพือ่ ศกึ ษาความสําเร็จ 31 มกราคม โครงการ ของโครงการ 2563 4.ข้นั ปรบั ปรุงแกไ ข (Action) เพือ่ นาํ ผลการประเมนิ มาใช ครู กศน. 2 คน ตาํ บลหนองปรอื 1-2 4.1 ประชุมคณะกรรมการ ในการปรับปรงุ และพัฒนา ตําบลและ กมุ ภาพนั ธ โครงการเพื่อสรุปผลการ โครงการสงเสรมิ การเรยี นรู ครู ศรช.ตําบล 2563 ดาํ เนินงานโครงการ เร่ืองเพศวิถี หนองปรอื 4.2 นําผลการดาํ เนินโครงการ ไปปรบั ปรุงและพฒั นาโครงการ ผลลัพธ ( Out come ) - ผเู ขารว มกิจกรรมมคี วามรูความเขาใจเร่ืองโรคตดิ ตอทเี่ กิดจากการมเี พศสัมพันธและแนวทางการ ปองกันเกี่ยวกบั เร่ืองเพศวถิ ี ตัวชว้ี ัดผลสําเร็จของโครงการ ตวั ช้วี ดั ผลผลติ (Outputs) รอยและ 80 ของผเู ขารว มกจิ กรรม มีความรู ความเขา ใจเร่ืองโรคตดิ ตอที่เกดิ จากการมี เพศสมั พันธและแนวทางการปองกนั เกย่ี วกบั เรื่องเพศวถิ ี ตัวช้วี ดั ผลลพั ธ (Outcomes) รอ ยและ 80 ของผูเขารวมกิจกรรม มีความรูแนวทางการปองกันโรคตดิ ตอท่เี กดิ จากการมีเพศสัมพนั ธ

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเี่ กีย่ วของ ในการจดั ทาํ รายงานคร้งั นี้ ไดทาํ การศึกษาคน ควาเน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและ รายงานที่เกยี่ วของ ดงั ตอไปนี้ 1. นโยบายและจุดเนนการดาํ เนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2562 1.1 วสิ ัยทัศน 1.2 พนั ธกจิ 1.3 เปา ประสงค 1.4 ตวั ช้วี ดั ความสาํ เรจ็ /ยทุ ธศาสตร/โครงการ 2. นโยบายและจุดเนนการดําเนนิ งาน กศน.ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนิคม ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2562 3. การศึกษาเพ่ือทักษะชวี ติ 4. ความรูเร่อื งเร่ืองโรคตดิ ตอทเ่ี กดิ จากการมีเพศสัมพนั ธ 5. รกั ปลอดภยั Sex ปลอดโรค 6. งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ ง 1. นโยบายและยุทธศาสตรก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั งบประมาณ 2562 วสิ ัยทศั น “คนไทยไดรับโอกาสการศกึ ษา และการเรยี นรูตลอดชีวติ อยา งมคี ุณภาพ สามารถดํารงชีวติ ท่ีเหมาะสมกับชว ง วัย สอดคลองกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีทกั ษะท่ีจาํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21” พันธกจิ 1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มคี ุณภาพ เพ่ือยกระดบั การศึกษา พฒั นา ทกั ษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลมุ เปา หมายใหเ หมาะสมทุกชว งวยั และพรอมรับการเปล่ยี นแปลง บริบททางสงั คม และสรา งสังคมแหง การเรยี นรูตลอดชวี ติ 2. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรว มจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตาม อธั ยาศัย และการเรียนรตู ลอดชีวิต รวมท้ังการด าเนนิ กิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลง การเรยี นรอู ่นื ในรปู แบบ ตา งๆ 3. สงเสรมิ และพัฒนาการน าเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชใหเกดิ ประสิทธิภาพ ในการ จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนอยา งทวั่ ถึง 4. พฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู สอื่ และนวัตกรรม การวัดและประเมนิ ผล ในทุกรปู แบบ ใหสอดคลองกบั บริบทในปจ จุบนั 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจดั การใหมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือมุงจัดการศกึ ษาและการเรียนรู ทมี่ ี คุณภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล

5 เปา ประสงค 1. ประชาชนผดู อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนทว่ั ไปไดรบั โอกาส ทางการศึกษาใน รปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน การศึกษาตอเน่ืองและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ทมี่ คี ุณภาพ อยา งเทาเทยี มและทัว่ ถึง เปน ไปตามสภาพ ปญหา และความตอ งการของแตละ กลุม เปาหมาย 2. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมือง อนั น าไปสูก ารยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหช ุมชน เพอื่ พฒั นาไปสูค วามม่ันคงและย่งั ยนื ทางดา นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร และสง่ิ แวดลอ ม 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรูและมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห และประยุกตใชใ นชีวติ ประจ าวนั รวมทงั้ แกปญ หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอยา งสรางสรรค 4. ประชาชนไดร บั การสรางและสง เสริมใหม ีนิสยั รกั การอานเพอ่ื การแสวงหาความรดู ว ยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขายทุกภาคสว น รวมจดั สงเสริม และสนับสนุนการด าเนนิ งานการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การขับเคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรขู องชมุ ชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ นการยกระดบั คณุ ภาพ ในการจัดการเรยี นรูและเพ่มิ โอกาสการเรียนรูใหกบั ประชาชน 7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจดั กระบวนการเรียนรูเ พ่ือแกปญหาและพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ที่ ตอบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบริบทดานเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอ ม รวมทั้ง ตามความตองการของประชาชน และชมุ ชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย ฉบับเผยแพรทางเว็บไซต (V13-061160) 8. บคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรบั การพัฒนาเพือ่ เพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยา งมีประสิทธภิ าพ 9. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ตัวช้ีวดั ตัวชวี้ ดั เชิงปรมิ าณ 1. จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ไดรับการสนบั สนนุ คา ใชจ า ย ตาม สิทธิท่กี าํ หนดไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปาหมายตา งๆ ท่เี ขา รวมกจิ กรรมการเรยี นรู/ไดรับบริการกจิ กรรม การศึกษาตอเนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทสี่ อดคลองกับสภาพ ปญหา และความตองการ 3. จํานวนผรู บั บรกิ ารในพนื้ ทีเ่ ปาหมายไดรบั การสงเสรมิ ดานการรูห นังสือและการพฒั นาทักษะชีวติ 4. รอ ยละการอา นของคนไทยเพิม่ ขน้ึ 5. จาํ นวนนักเรยี น นักศึกษาทไี่ ดรับบริการตวิ เขมเต็มความรู 6. จ านวนนักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนท่ัวไปท่ีเขา ถงึ บริการการเรยี นรูท างดานวทิ ยาศาสตรใน รูปแบบตา ง ๆ 7. จาํ นวนประชาชนทีไ่ ดร บั การอบรมใหมีความรู ในอาชพี การเกษตรท่เี หมาะสมกับสภาพบรบิ ท และ ความตองการของพนื้ ท่/ี ชมุ ชน 8. จาํ นวนแหลงเรียนรูในระดับต าบลทีม่ คี วามพรอ มในการใหบ รกิ ารการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 9. จํานวนทาํ เนียบศูนยเ รียนรูเ กษตรพอเพียงของตําบล และจํานวนกลมุ เกษตรชุมชนดเี ดน 10. จาํ นวนประชาชนไดร บั การอบรมตามหลักสตู รภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สารดา นอาชีพ (ระยะสนั้ ) ส าหรับประชาชนในศนู ยอ าเซยี นศกึ ษา กศน. 11. มกี ารพัฒนาอปุ กรณการผลติ และการเผยแพรข าวโทรทศั นเพื่อการศึกษาส าหรับศูนยขา ว โทรทัศนเพื่อการศึกษา 1 ระบบ

6 12. จํานวนบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วของกับการผลติ รายการโทรทัศนไดรบั การอบรมใหมีความรูและทกั ษะใน การปฏบิ ตั งิ านเพื่อรองรบั การปฏบิ ัตงิ านในสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนระบบดิจทิ ัล 13. จาํ นวนนักเรยี น นักศึกษา และประชาชนท่วั ไปทเ่ี ขาถึงบริการความรูน อกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ผานชองทางสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีการสอื่ สาร 14. จํานวนรายการโทรทัศน/ CD/แอพพลิเคชน่ั ในการใหความรูดา นการเกษตร 15. จาํ นวน/ประเภทของสอ่ื ที่มกี ารจดั ท า/พัฒนาและน าไปใชเพ่ือสงเสริมการเรยี นรขู องผูเ รยี น/ ผรู ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 16. รอ ยละของหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ทม่ี ีการใชระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลในการจัดทํา ฐานขอมลู ชมุ ชนและการบริหารจัดการ เพื่อสนับสนนุ การดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศยั ขององคการ 17. จาํ นวนระบบฐานขอมลู กลางดา นการศึกษาของประเทศที่ไดร ับการพฒั นาใหทันสมยั และเปน ปจ จุบนั ฉบ ั บเผยแพร  ทางเว ็ บไซต  (V13-061160) 3 18. จํานวนผูผานการอบรมตามหลกั สตู รทีก่ าํ หนดของโครงการสรางเครือขายดิจทิ ลั ชมุ ชนระดบั ตาํ บล 19. รอยละของต าบล/แขวง ทมี่ ปี รมิ าณขยะลดลง 20. จํานวนบุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรับการพฒั นาเพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการ ปฏบิ ตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 21. รอยละของสถานศกึ ษาในสงั กดั ท่ีมีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทาํ รายงานการ ประเมนิ ตนเอง 22. จํานวนองคก รภาคสว นตา ง ๆ ท้งั ในและตางประเทศ ทีร่ วมเปนภาคีเครือขา ยในการดาํ เนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตวั ช้วี ัดเชงิ คณุ ภาพ 1. รอ ยละทีเ่ พ่มิ ขน้ึ ของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศกึ ษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) 2. รอ ยละของกาํ ลังแรงงานท่ีสาํ เรจ็ การศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา ไดรับการศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา 3. รอยละของนักเรยี น/นักศึกษาท่ีมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาท่ไี ดร ับบรกิ ารตวิ เขม เต็มความรเู พิ่ม สูงขน้ึ 4. รอ ยละผูจบหลักสูตร/กจิ กรรมการศึกษานอกระบบท่สี ามารถน าความรูความเขา ใจไปใชได ตาม จดุ มงุ หมายของหลกั สูตร/กิจกรรมทีก่ าหนด 5. รอยละของผูเขา รว มกจิ กรรมทส่ี ามารถอา นออกเขยี นไดและคดิ เลขเปน ตามจุดมงุ หมายของ กิจกรรม 6. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบียนเรยี นที่มรี ายไดเ พมิ่ ขึ้นจากการพฒั นาอาชีพตาม โครงการศนู ยฝ ก อาชพี ชมุ ชน 7. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใตไดร บั การ พฒั นาศักยภาพ ทักษะอาชีพ สามารถมงี านท าหรอื น าไปประกอบอาชีพได 8. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีผานการอบรมตามหลกั สตู รภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารดา น อาชพี (ระยะสั้น) มีความรูใ นการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถน าไปประยกุ ตใชในการด าเนนิ ชวี ติ ได 9. จ านวนครู กศน. ตน แบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สารทีส่ ามารถเปน วิทยากรแกนน าได

7 10. รอ ยละของครู กศน. ทัว่ ประเทศ ทส่ี ามารถจดั กระบวนการเรยี นรูภ าษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สารได อยา งสอดคลองกับบริบทของผเู รียน 11. รอยละของผูเขารบั การอบรมหลักสตู รการดูแลผูสงู อายุกระทรวงศกึ ษาธิการ ผา นเกณฑก าร อบรมตามหลักสตู รทก่ี าหนด 12. รอยละของหนวยงาน และสถานศึกษา กศน. ทสี่ ามารถด าเนินงานโครงการ/กิจกรรม ตาม บทบาทภารกิจท่รี ับผดิ ชอบไดส าเร็จตามเปาหมายท่ีก าหนดไวอ ยา งโปรงใส ตรวจสอบได โดยใชท รพั ยากร อยาง คมุ คา/ตามแผนที่ก าหนดไว 13. รอยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสของการด าเนนิ งานของหนวยงาน นโยบายเรง ดว นเพ่อื รวมขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ตามนโยบายและจุดเนนการ ดําเนินงานสํานกั งาน กศน. ประจาํ ปง บประมาณ 2562 1. ยุทธศาสตรดา นความมนั่ คง 1.1 สง เสริมการจัดการเรยี นรูทีป่ ลูกฝงคณุ ธรรม สรา งวินัย การมจี ิตอาสา และอดุ มการณความยดึ มนั่ ใน สถาบันหลกั ของชาติ 1) เสริมสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตอ งในการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมรี ะมหากษัตริยท รง เปน ประมุข มีความเปน พลเมืองดี เคารพความคิดของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตา งและหลากหลายทางความคดิ อุดมการณ รวมท้งั สังคมพหุวัฒนธรรม 2) สงเสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู ่ปี ลกู ฝง คุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และอดุ มการณ สนบั สนนุ ใหม ีการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝง คณุ ธรรม จริยธรรมใหกับบคุ ลากรในองคกร 1.2 รวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนยิ ม ยง่ั ยนื โดยบรู ณาการขับเคล่ือนการดาํ เนนิ งาน ตามแนวทางประชารัฐ ดาํ เนนิ โครงการ/กิจกรรมในพ้ืนท่ที ั้งในระดบั ตาํ บล หมูบา น โดยใชการขับเคล่ือนการพฒั นา ประเทศตามโครงการไทยนยิ มยง่ั ยนื ระดบั ตําบลเปน แกนหลัก และสนบั สนุนกลไกการขบั เคล่ือนในพน้ื ท่ีทุกระดบั ต้งั แตจังหวัด อาํ เภอ ตาํ บล และหมูบาน 1.3 พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวัด ชายแดนภาคใต และพ้ืนที่ชายแดน 1) พัฒนารปู แบบการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหมีความสอดคลองกบั บริบท ของสงั คม วัฒนธรรม และพ้ืนที่ เพ่อื สนับสนนุ การแกไขปญหาและพฒั นาพืน้ ท่ี 2) เรงรัดทาํ แผนและมาตรการดานความปลอดภยั ที่ชดั เจนสําหรับหนว ยงานและสถานศึกษาท้ังรวมทงั้ บุคลากรที่ปฏิบัตงิ านในพน้ื ทเ่ี ขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต โดยบรู ณาการแผนการปฏิบตั ิงาน รวมกับหนวยงานความมัน่ คงในพน้ื ที่ 3) สงเสรมิ และสนับสนนุ การจัดกระบวนการเรียนรุในสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ในรปู แบบตางๆ ท่ี หลากหลาย ตรงกับความตองการของผเู รียน อาทิ การเพิม่ พนู ประสบการณ การเปดโลกทัศน การยดึ หลกั คณุ ธรรม และสถาบนั หลักของชาติ 4) สนับสนุนใหมีการพฒั นาบุคลากรทุกระดับทกุ ประเภทใหม ีสมรรถนะท่สี ูงขึ้น เพื่อสามารถ ปฏิบัตงิ านไดอยางมีประสิทธิภาพ 1.4 สง เสริมการจัดกระบวนการเรียนรูทต่ี อบสนองกบั การเปลี่ยนแปลงบริบทดานสังคมและการเมือง รวมทงั้ ความตอ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย ใหป ระชาชนคดิ เปน วิเคราะหได ตัดสินใจภายใต ขอ มูลท่ีถกู ตอง เชน ความรเู รื่องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันฯลฯ

8 2.ยุทธศาสตรดานการพัฒนากําลงคน การวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ สรางขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ 2.1 ขับเคล่ือนการดําเนินงานภายใตแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค 1) สรางความรู ความเขาใจใหกับบคุ ลากรของสาํ นักงาน กศน. เกี่ยวกับการดําเนนิ งานภายใตก าร พัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค เพอ่ื รว มขับเคล่อื นยทุ ธศาสตรการพัฒนาภาค 2) เรง จดั ทาํ ยุทธศาสตรและแผนพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ของสํานักงาน กศน. ใหสอดคลอ งกบั แผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค 2.2 พัฒนากําลงั คนใหมีทักษะความเขา ใจและใชเทคโนโลยดี ิจิทัล (Dbgital Literacy) 1) พฒั นาความรแู ละทกั ษะเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อใหส ามารถใช Social Media และ Application ตา งๆ ในการพัฒนารปู แบบการจดั การเรียนการสอน 2) สงเสริมการจัดการเรยี นรูด านเทคโนโลยีดจิ ิทัล เพอื่ ใหประชาชนมีทกั ษะความเขาใจการใช เทคโนโลยีดิจิทัล ทสี่ ามารถนําไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจําวนั รวมท้ังรายไดใ หก ับตนเองได 3) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหป ระชาชนประกอบธุรกิจการคา ออนไลน (พาณิชยอ ิเล็กทรอนิก การ ใชค วามคดิ สรางสรรคเ ชิงนวัตกรรมในการประกบอาชีพ สรา งทกั ษะอาชพี ท่ีสูงขน้ึ ใหกบั ประชาชน รวมทงั้ รวม ขบั เคล่อื นเศรษฐกิจดิจิทัล 2.3 พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสารใหกับประชาชนเพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศ 1) พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สารของประชาชนในรปู แบบตางๆ อยา งเปนรูปธรรม เนน ทกั ษะภาษาเพ่อื อาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบรกิ าร และการทองเทย่ี ว 2) พัฒนาความรแู ละทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ิทลั การใช Social Media และ Application ตา งๆ พัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 3) พฒั นาส่อื การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เพือ่ สงเสรมิ การใชภาษาเพื่อการสื่อสารเพื่อพฒั นาอาชีพ 3.ยทุ ธศาสตรด า นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพคนใหม คี ุณภาพ 3.1 เรงรัดดาํ เนินการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อยกระดับทกั ษะอาชีพของประชาชนสฝู มือแรงงาน 1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทําทีส่ อดคลองกับศกั ยภาพของชุมชน และความตอ งการทางการ ตลาดใหประชาชนสามารถนาํ ไปประกอบอาชีพไดจรงิ โดยใหเ นน หลกั สตู รการศึกษาอาชีพชางพนื้ ฐานมาประยุกตใช เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอนดานอาชพี เชน การเรยี นผาน Youtube การเรยี นผา น Facebook Live ระบบการเรยี นรใู นระบบเปดสําหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOC) คอมพิวเตอรชวย สอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เปน ตน รวมถึงสนับสนนุ ใหเ กิดประบวนการที่ครบวงจร และ เปด พืน้ ทสี่ ว นราชการเปน ท่ีแสดงสนิ คา ของชุมชนเพื่อเปน การสรา งรายไดใหก บั ชุมชน 2) บรู ณาการความรว มมือในการพฒั นาฝม ือแรงงานกับสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาภาค ประชาชน โดยใชป ระโยชนจากศักยภาพและภมู ิสงั คมเฉพาะของพน้ื ท่ี และดําเนนิ การเชิงรุกเพื่อเสรมิ จุดเดน ในระดับ ภาคในการเปน ฐานการผลติ และการบรกิ ารที่สาํ คัญ รวมถึงมงุ เนนสรา งโอกาสในการสรางรายได เพื่อตอบสนองตอ ความตอ งการของตลาดแรงงานทงั้ ภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร 3) พฒั นากลมุ อาชีพพนื้ ฐานที่รองรับพืน้ ทีร่ ะเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ทสี่ ามารถ พัฒนาศักยภาพไปสรู ะดับฝมือแรงาน โดยศึกษาตอในสถาบนั การอาชวี ศึกษา 3.2 สง เสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยใี นการสรา งมูลคา เพม่ิ ใหกับสนิ คา การทําชอ งทางเผยแพรและ จําหนายผลิตภณั ฑข องวิสาหกิจชมุ ชนใหเ ปนระบบครบวงจร และสนบั สนุนการจําหนายสนิ คา และผลิตภณั ฑ ผาน ศูนยจาํ หนายสินคาและผลติ ภัณฑอ อนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพอ่ื จําหนา ย สนิ คา ออนไลนระดับตําบล

9 3.3 สงเสริมการพฒั นาสุขภาวะของประชาชนทกุ วยั โดยการสรางความรู ความเขาใจ การสนบั สนุน กิจกรรมสขุ ภาวะ และสรางเครือขายภาคประชาชน ในการเฝาระวัง ปอ งกัน และควบคุมโรคใหกบั ประชาชนทุกชวง วัย โดยเฉพาะในพื้นทห่ี า งไกล พ้นื ทชี่ ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกบั โรงพยาบาลสง เสริม สุขภาพตําบลและเจาหนาที่ อสม. ในการใหค วามรูเก่ียวกับการดแู ลสขุ ภาวะอนามยั ใหกับประชาชน รวมทั้งผลติ ชุด ความรเู กี่ยวกับสขุ ภาวะ สขุ อนามยั เพอ่ื ใชป ระกอบการเรียนรใู นหลักสตู รการศึกษาของ กศน. 3.4 เพมิ่ อัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การอา นในรูปแบบตางๆ เชน อาสาสมคั ร สงเสริมการอา น หองสมดุ ประชาชน บานหนังสอื ชมุ ชน หอ งสมุดเคล่ือนที่ ผลักดันใหเกิดหอ งสมุดสกู ารเปนหองสมุด เสมอื นจริงตนแบบ เพ่อื พัฒนาใหประชาชนมีความสามารถในระดบั อานคลอง เขาใจความ คิดวิเคราะหพนื้ ฐาน และ สามารถรบั รูข อมลู ขา วสารที่ถูกตองและทันเหตกุ ารณ รวมทงั้ นาํ ความรทู ี่ไดร ับไปใชป ฏิบัตจิ ริงในชวี ิตประจําวนั 3.5 เตรียมความพรอ มการเขาสสู งั คมผูสูงอายุที่เหมาะสมและมคี ณุ ภาพ 1) สง เสริมการจัดกจิ กรรมใหก บั ประชาชนเพื่อสรา งความตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอมเขาสสู ังคม ผสู ูงอายุ (Aging Society)มีความเขา ใจในการพฒั นาการของชว งวยั รวมทัง้ เรียนรูและมีสว นรวมในการดูแล รับผิดชอบผสู ูงอายทุ ่ีเหมาะสมและมีคณุ ภาพ 2) พัฒนาการจดั บริการการศึกษาและการเรียนรูสําหรับประชาชนในการเตรยี มความพรอมเขาสวู ยั สงู อายุทเี่ หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ สาํ หรบั ผูสงู อายภุ ายใตแ นวคดิ “Active Aging” การศกึ ษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ และพฒั นาทกั ษะชีวติ ใหสามารถดูแลตนเองท้ังสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ และรูจักใช ประโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรา งความตระหนักถึงคุณคาและศักดิ์ศรขี องผูสงู อายุ เปด โอกาสใหมีการเผยแพรภ ูมิปญ ญาของ ผูสงู อายุ และใหม ีสว นรว มในกจิ กรรมดา นตางๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จดั การศึกษาอาชพี เพื่อรองรบั สงั คมผสู งู อายุ โดยบรู ณาการความรว มมือกับหนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ ในทุกระดับ 3.6 พัฒนาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน โดยใชกระบวนการ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Exucation) 4.ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 4.1 สง เสริมการรภู าษาไทย เพิ่มอัตราการรหู นังสือ และยกระดับการรหู นงั สือของประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทย ใหกบั ประชาชนในรปู แบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพเิ ศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ใหส ามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชนในการใชช วี ติ ประจําวัน ได 2) เรงรัดการศกึ ษาเพื่อเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนงั สือ ใหป ระชาชนสามารถอาน ออก เขยี นได และคิดเลขเปน โดยมีการวัดระดบั การรูหนงั สือ การใชสื่อ กระบวนการและกิจกรรมพฒั นาทกั ษะใน รปู แบบตางๆ ทเี่ หมาะสมและสอดคลอ งกับสภาพพ้ืนทแี่ ละกลุมเปาหมาย 3) ยกระดับการรหู นังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทกั ษะการรหู นังสือในรูปแบบตางๆ รวมท้งั พัฒนาใหป ระชาชนมที ักษะทีจ่ ําเปนในศตวรรษท่ี 21 เพื่อเปนเคร่ืองมอื ในการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน 4.2 เพิม่ โอกาสทางการศึกษาใหป ระชากรวยั เรยี นท่ีอยูน อกระบบการศกึ ษา 1) เรง ดําเนนิ การหาตัวตนของประชากรวยั เรยี นท่ีอยนู อกระบบการศึกษา ใหกลับเขา สรู ะบบ การศึกษา โดยใชกลวธิ ี “เคาะประตูบาน รกุ ถึงท่ี ลุยถงึ ถ่ิน” โดยประสานกับสาํ นักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั เพ่ือ ดาํ เนนิ การตรวจสอบขอมูลทะเบียนราษฎรเทียบกบั ขอมลู การลงทะเบียนเรียนของทุกหนวยงาน คน หาผูท ีไ่ มไดอยูใน ระบบการศกึ ษาเปนรายบคุ คล และรวบรวมจัดทําเปน ฐานขอ มูล และลงพื้นที่ตดิ ตามหาตัวตนของกลุมเปา หมาย หา

10 สาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถามความตองการในการศึกษาตอ พรอมทัง้ จาํ แนกขอมลู ตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความตองการในการศกึ ษาตอ และสง ตอกลมุ เปา หมายเพื่อใหรับการศึกษาตอตามความตองการของ กลมุ เปาหมายไดอยา งมีประสิทธิภาพ 2) ติดตามผลของกลุม เปาหมายประชากรวยั เรยี นที่อยูน อกระบบการศกึ ษาที่ไดรบั การจัดหาท่ีเรียน และทงั้ จดั ทาํ ฐานขอมลู ผสู าํ เร็จการศกึ ษาของกลมุ เปา หมาย รวมทั้งพฒั นาระบบเพื่อการตดิ ตามกลมุ เปาหมายทไี่ ดร บั การชว ยเหลือใหก ลบั เขา สูร ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามตัง้ แตการเขาศกึ ษาตอ จนจบการศึกษา 4.3 สงเสริมและพัฒนาระบบการสะสมและเทยี บโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System)ของ สถานศกึ ษา ใหม คี ุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปาหมาย เพ่อื ประโยชนในการ ดาํ เนนิ การเทียบโอนความรแู ละประสบการณไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4.4 สง เสริมและสนบั สนนุ ใหเกดิ ตนแบบเมอื งแหงการเรียนรู เพ่ือสงเสรมิ การเรยี นรูอยางตอ เนื่องใหกับ ประชาชนในชุมชน โดยกาํ หนดพ้นื ทน่ี าํ รองทผี่ า นมาตรฐานเทียบวดั (Benchmark) ของสํานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชพี ระยะสน้ั ใหมีความหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกับบรบิ ท ของพืน้ ท่ี และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผรู ับบริการ 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศกึ ษาทางไกล ใหม ีความทันสมยั มหี ลักสูตรและสาระการเรียนรทู ีห่ ลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ ไปใชในการจดั การเรยี นรใู หก บั กลุมเปาหมายไดอยางเหมาะสม 4.7 สรางกระบวนการเรยี นรูในรูปแบบ E-learningทใี่ ชระบบเทคโนโลยีเขามาบรหิ ารจดั การเรียนรู เพื่อ เปนการสรา งและขยายโอกาสในการเรยี นรใู หก ับกลมุ เปาหมายไดส ะดวก รวดเรว็ ตรงตามความตองการของ ประชาชนผูรับบรกิ าร เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสาํ หรบั มหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs)คอมพิวเตอรช วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดบั การศึกษาใหกับกลมุ เปาหมายทหารกองประจาํ การ รวมท้งั กลุมเปาหมายพเิ ศษอืน่ ๆ เชน ผูตองขงั คนพกิ าร เดก็ ออกกลางคัน ใหจบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สามารถนาํ ความรูที่ไดร ับ ไปพฒั นาตนเองไดอยา งตอเน่ือง 5.ยทุ ธศาสตรดานสง เสริมและจัดการศกึ ษาเพื่อเสริมสรางคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปนมติ รกับสง่ิ แวดลอม 5.1 สง เสริมใหมกี ารใหค วามรูกบั ประชาชน เกยี่ วกบั การปองกนั ผลกระทบและปรบั ตัวตอ การเปล่ยี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศและภยั พบิ ตั ิธรรมชาติ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสาํ คัญของการสรางสงั คมสเี ขยี ว สงเสริมความรูใ หกับประชาชนเกี่ยวกบั การคดั แยก การแปรรูป และการกําจดั ขยะ รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สง เสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพ ลงั งานทเี่ ปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม รวมท้ังลดการใชทรัพยากรที่ สง ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม 6. ยทุ ธศาสตรดานการพฒั นาประสิทธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การ 6.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาการบรหิ ารจดั การอยา งเปนระบบ และ เช่ือมโยงกับระบบฐานขอมูลกลางของประทรวงศกึ ษาธกิ าร เพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการขอมลู ของประชาชน อยางเปนระบบ 6.2 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยางตอเนื่อง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รง กับสายงาน และความตองการของบุคลากร 6.3 สงเสริมความเขา ใจเก่ยี วกับหลักเกณฑและวธิ กี ารใหขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตําแหนงครู มีวทิ ยฐานะและเลือ่ นวิทยฐานะ (ว21/2560)

11 2.แนวทาง/กลยุทธการดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของกศน.ตาํ บลหนองปรือ ยุทธศาสตรแ ละจุดเนนการดาํ เนินงาน กศน.ตาํ บลหนองปรือ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ปรัชญา วิสยั ทศั น พันธกิจ กศน.ตาํ บลหนองปรือ ปรัชญา ยกระดับการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวติ ดว ยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง วสิ ัยทัศน กศน.ตําบลหนองปรือ จัดและสงเสริม สนับสนนุ การศึกษานกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก ับประชาชน กลุมเปา หมาย กศน.ตาํ บลหนองปรือไดอยางมีคุณภาพดวยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง พันธกิจ 1. กศน.ตาํ บลหนองปรือจัดและสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยทมี่ ีคณุ ภาพ เพื่อ ยกระดบั การศึกษา พฒั นาทกั ษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวยั และพรอ มรบั การ เปลย่ี นแปลงบรบิ ททางสังคมและสรางสงั คมแหง การเรยี นรตู ลอดชวี ิต 2. กศน.ตาํ บลหนองปรือสง เสริมสนบั สนุน และประสานการมสี ว นรวมของภาคีเครอื ขายและชุมชน ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตของชมุ ชน รวมทง้ั การดาํ เนนิ กิจกรรมของศนู ยก ารเรียน และแหลง การเรยี นรใู นรูปแบบตางๆ 3. กศน.ตําบลหนองปรือสง เสรมิ และพัฒนาการนําเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ส่ือสารมาใชใ หเกิดประสิทธิภาพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหกับประชาชนอยางทว่ั ถงึ 4. กศน.ตําบลหนองปรือพฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรเู ทคโนโลยีส่ือและนวตั กรรม การวัด และประเมินผลในทกุ รูปแบบใหสอดคลองกับบริบทในปจ จุบนั 5. กศน.ตําบลหนองปรือพฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจัดการใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือมุงจดั การศึกษาท่ีมี คณุ ภาพโดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและการมีสว นรวม เปา ประสงค 1. ประชาชนผดู อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนกลุมเปาหมายพิเศษไดรับ โอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน การศึกษาตอเน่อื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ทีม่ คี ุณภาพ อยางเทา เทียมและทัว่ ถงึ เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความตองการ ของแตละกลุม 2. ประชาชนไดรบั การสงเสริมกระบวนการเรยี นรูเพ่ือแกปญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรา งความ เขม แข็งใหกับชมุ ชน โดยมี กศน. ตําบล ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน และแหลงการเรยี นรูอืน่ ในชุมชนเปนกลไกในการจดั การ เรยี นรู เพื่อพฒั นาไปสูความม่ันคงและยงั่ ยืนทางดานเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และสง่ิ แวดลอ ม 3. ชมุ ชนและทุกภาคสวน รว มเปน ภาคีเครือขายในการจัด สง เสริม และสนับสนุนการดาํ เนนิ งาน การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั มสี ว นรวมในการขับเคล่ือนกจิ กรรมการเรยี นรู ของชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและปรัชญาคิดเปน 4. ประชาชนไดร บั โอกาสในการเรยี นรูและมเี จตคติทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห และประยกุ ตใชในการแกป ญหา และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไดอยางสรางสรรค

12 5. หนว ยงานและสถานศึกษาพัฒนาและนําส่ือ เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร มาใชใ นการเพม่ิ โอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู 6. บคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร บั การพัฒนาเพอ่ื เพิม่ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงาน การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางทัว่ ถึง 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล กลยทุ ธการวิเคราะห SWOT ของ กศน.ตําบลหนองปรือ ปงบประมาณ 2562 การวิเคราะหสถานศึกษาโดยใชวธิ ีการ SWOT ตรวจสอบการดาํ เนนิ งานจะทําใหทราบถึงจุดแข็ง จุดออน และ อปุ สรรคของสถานศกึ ษาเพื่อหาวธิ ที ่จี ะทาํ งานใหไปสูความสาํ เร็จตามเปาหมายท่ีวางไวตลอดจนหาแนวทางหรือหาวธิ ี ควบคมุ จดุ ออ นไมใ หเกดิ ขน้ึ หรอื ใหเ กิดข้นึ นอ ยท่สี ดุ ดงั นั้นเพื่อเปนการสรา งความมัน่ ใจและกาํ หนดทิศทางในการ ปฏบิ ตั ิงานของ กศน.ตาํ บลหนองปรอื ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นิคม จึง วเิ คราะหสถานศึกษา โดยสรุปได ดังนี้ ปจ จัยภายใน จดุ แข็ง (Strengh) 1. สถานศึกษามีการกาํ หนดโครงสรา งในการบรหิ ารและมีผรู ับผิดชอบงานอยา งชัดเจนทาํ ใหส ถานศึกษาตําเนนิ การอยา ง มีประสิทธภิ าพ โครงสรางของการบรหิ ารงานมีความยืดหยุน ทาํ ใหคลอ งตวั ในการปฏบิ ัติงาน 2. มกี ารจัดหลกั สูตรการเรียนการสอนที่สอดคลองกับความตอ งการของชมุ ชน มกี ารทําหลกั สตู รระยะสนั้ หลักสูตร วชิ าชพี หลักสตู รทักษะชีวติ เนน ผูเรยี นเปน สาํ คัญ และตอบสนองความตองการของชุมชน 3. มีสถานทต่ี ้ัง กศน.ตําบลท่เี หมาะสมแกก ารเรยี นรู การคมนาคมสะดวก 4. มีภาคเี ครอื ขายที่มีความเขมแข็ง 5. บคุ ลากรสว นใหญเปน คนในพ้ืนที่ ทําใหมีความคลอ งตัวและการประสานงานที่ดบี ุคลากรมีนิสยั ใฝเ รยี นรูมคี วาม กระตือรอื รน เสยี สละและทมุ เทเวลาในการปฏิบัติงานทําใหสามารถพฒั นาสถานศึกษาใหมีการเปลย่ี นแปลงไปใน ทศิ ทางทด่ี ีขน้ึ 6. บคุ ลากรทกุ คนไดร บั การพัฒนาความรู ความสามารถในการปฏิบัตงิ านในเรื่องตาง ๆ อยา งตอ เนือ่ ง 7. ผบู รหิ ารมีภาวะผูนํา คือเปน ผูนาํ ทางความคิด วิสัยทศั น การบริหาร และเปนผูน าํ ทางวชิ าการ กลาตดั สนิ ใจ และ มกี ารบรหิ ารแบบมีสว นรวม 8. สถานศึกษามหี ลกั สตู รและกิจกรรมทหี่ ลากหลาย สามารถใหบรกิ ารกบั ประชาชนไดทุกกลมุ เปา หมาย จุดออน (Weakness) การปฏบิ ตั ิงานมีความซบั ซอนเพราะบุคลากรมีจํานวนไมเ พียงพอ มีนโยบายท่ีเรงดว นในเวลาทีจ่ ํากัด ทาํ ใหบางคร้ัง บคุ ลากรปฏิบตั งิ านไดไ มตรงเวลาทกี่ ําหนด งบประมาณในการบริหารงานนอ ย ไมเพียงพอตอความตอ งการ ปญ หาคาครองชีพสงู และรายไดข องประชาชนคอ นขางตํา่ จึงทําใหมีผสู นใจเขารว มทาํ กจิ กรรมนอยเพราะ ตองไปประกอบอาชพี เพื่อหารายไดใหกับครอบครวั การวางแผนการจัดกจิ กรรม ตองมีการเปลย่ี นแผนบอยไมเปนไปตามแผนทีก่ าํ หนดเน่ืองจากมีภารกจิ เรง ดวนเขามาเปน ประจาํ ปญ หาเร่อื ง กศน.ตาํ บลมีขนาดเล็ก จึงไมส ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรตู า ง ๆ ไดเตม็ ท่ี ปญ หาเร่อื งนักศกึ ษาในตําบลหนองปรือหายากมากสว นใหญเ ปนผสู ูงอายแุ ละวยั ทาํ งาน ปจจยั ภายนอก

13 โอกาส (Opportunity) 1. มีการตดิ ตอ ประสานงานกับหนวยงานระดบั อําเภอและผนู าํ ทอ งถ่นิ อยางสม่าํ เสมอและตอเนื่องทาํ ใหไ ดรบั การ สงเสรมิ สนับสนนุ ในการดําเนินงานเปนอยางดี 2. พ้นื ทร่ี ับผิดชอบมคี วามกา วหนาทางดา นเศรษฐกจิ และสังคมทาํ ใหประชาชนมคี วามตองการและจาํ เปนตองพัฒนา ตนเองในหลายๆดาน เพ่ือความกา วหนาในการทาํ งานและการยอมรับจากสงั คม สงผลใหม ผี ูตอ งการเรยี นการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐานเปนจาํ นวนมาก ท้ังประชาชนในพ้ืนที่และประชากร 3. พน้ื ท่ีรับผิดชอบมีแหลง เรียนรหู ลายหลายท่ีสามารถเรยี นรูไดตามตองการ 4. ลักษณะของพนื้ ท่รี บั ผิดชอบมีท้ังสงั คมเมืองและสงั คมเกษตรและเปน แหลง ทองเทย่ี วทาํ ใหส ามารถจดั กิจกรรมได หลากหลาย 5. กศน.ตาํ บลหนองปรือมีการนาํ เทคโนโลยีดาน ICT มาใชใ นระบบงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพและมีความกาวหนา ทางเทคโนโลยีสงผลใหผเู รยี นสามารถสรางโอกาสในการเรียนรไู ดด ว ยตนเองสูงสุด อุปสรรค (Threat) 1. สังคมมองวา ผเู รยี น กศน. ไมม ีคุณภาพ 2. ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพมงี านทํา ทําใหไมมีเวลาเรียนหรอื เขารว มกจิ กรรม 3. ผเู รยี นมีความแตกตางทงั้ ดา นอายุ ฐานะ สภาพการเลี้ยงดู ทศั นคติและคา นิยม การจัดกระบวนการเรียนรูเ พ่ือ พัฒนาผูเ รียนจงึ ทาํ ไดยาก ตัวชว้ี ัด 1. จาํ นวนผเู รยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานท่ีไดรับการสนับสนุนคา ใชจ ายตามสิทธทิ ก่ี ําหนดไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตา งๆ ทเ่ี ขา รว มกจิ กรรมการเรียนร/ู ไดร ับบรกิ ารกิจกรรมการศึกษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่สอดคลอ งกับสภาพ ปญ หา และความตองการ 3. จํานวนผรู ับบริการในพนื้ ที่เปาหมายไดร บั การสงเสริมดา นการรหู นังสอื และการพฒั นาทกั ษะชีวติ 4. รอยละการอา นของคนไทยเพม่ิ ขน้ึ 5. จํานวนนกั เรยี นนักศึกษาที่ไดรบั บริการติวเขมเต็มความรู 6. จาํ นวนนกั เรียนนักศึกษาและประชาชนทั่วไปท่ีเขาถึงบริการเรียนรูทางดา นวทิ ยาศาสตรใ นรปู แบบตาง ๆ 7. จาํ นวนประชาชนท่ีไดร ับการอบรมใหมคี วามรู ในอาชพี การเกษตรทีเ่ หมาะสมกบั สภาพบริบท และความตองการของ พนื้ ที่/ชมุ ชน 8. จํานวนแหลง เรียนรใู นระดับตาํ บลที่มคี วามพรอมในการใหบริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 9. จํานวนทาํ เนียบศนู ยเ รยี นรูเกษตรพอเพียงของตําบล และจาํ นวนกลมุ เกษตรชุมชนดเี ดน 10. จาํ นวนประชาชนไดรบั การอบรมตามหลักสตู รภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สารดา นอาชีพ (ระยะสนั้ ) สําหรบั ประชาชน ในศูนยอาเซยี นศึกษา กศน. 11. มกี ารพฒั นาอุปกรณก ารผลติ และการเผยแพรขาวโทรทัศนเ พื่อการศกึ ษาสาํ หรบั ศนู ยข าวโทรทศั นเ พ่ือการศึกษา 1 ระบบ 12. จํานวนบุคลากรท่เี กี่ยวของกบั การผลติ รายการโทรทัศนไดร ับการอบรมใหมีความรแู ละทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านเพ่ือ รองรบั การปฏิบตั งิ านในสถานีวิทยุโทรทัศนระบบดิจิทลั 13. จาํ นวนนักเรียน นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไปท่ีเขาถึงบรกิ ารความรูน อกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผาน ชอ งทางส่ือเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีการส่ือสาร 14. จาํ นวนรายการโทรทัศน/ CD/แอพพรเิ คช่ัน ในการใหความรูด านการเกษตร

14 15. จาํ นวน/ประเภทของสอ่ื ที่มีการจัดทํา/พฒั นาและนาํ ไปใชเ พื่อสงเสรมิ การเรยี นรขู องผเู รียน/ผรู บั บรกิ ารการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย 16. รอยละของหนว ยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่มี ีการใชระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในการจัดทาํ ฐานขอ มูลชมุ ชนและการ บรหิ ารจดั การ เพื่อสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ขององคการ 17. จาํ นวนระบบฐานขอ มูลกลางดานการศึกษาของประเทศทไ่ี ดร บั การพัฒนาใหท ันสมยั และเปน ปจ จุบนั 18. จํานวนผผู านการอบรมตามหลักสตู รท่ีกาํ หนดของโครงการสรางเครือขายดิจิทัลชมุ ชนระดับตาํ บล 19. รอ ยละของตําบล/แขวง มปี ริมาณขยะลดลง 20. จํานวนบคุ ลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดรับการพฒั นาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 21. รอยละของสถานศึกษาในสงั กัดทม่ี รี ะบบประกนั คุณภาพภายในและมีการจัดทาํ รายงานการประเมนิ ตนเอง 22. จํานวนองคกรภาคสว นตาง ๆ ทัง้ ในและตา งประเทศ ท่ีรว มเปน ภาคีเครือขายในการดําเนินงานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ 1. รอยละทีเ่ พ่ิมขึน้ ของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 2. รอ ยละของกําลงั แรงงานท่ีสาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน หรอื เทยี บเทา ไดรับการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทยี บเทา 3. รอ ยละของนักเรียน/นักศึกษาทมี่ ผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในวิชาทไ่ี ดรับบริการตวิ เขมเติมเต็มความรเู พ่มิ สงู ขนึ้ 4. รอ ยละผจู บหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบทสี่ ามารถนําความรูความเขาใจไปใชไดตามจุดมงุ หมายของ หลักสตู ร/กจิ กรรมที่กาํ หนด 5. รอยละของผูเขา รวมกิจกรรมทส่ี ามารถอานออกเขยี นไดและคิดเลขเปน เปน ไปตามจุดมุงหมายของกจิ กรรม 6. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายที่ลงทะเบยี นเรยี นที่มรี ายไดเ พ่ิมขนึ้ จากการพฒั นาอาชพี ตามโครงการศนู ยฝ ก อาชีพชุมชน 7. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต ไดร ับการพัฒนา ศักยภาพ ทักษะอาชพี สามารถมีงานทําหรือนําไปประกอบอาชพี ได 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ผา นการอบรมตามหลกั สูตรภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารดานอาชีพ (ระยะส้ัน) มีความรูในการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนําไปประยุกตใ ชในการดําเนินชวี ติ ได 9. จาํ นวนครู กศน. ตน แบบการสอนภาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่สามารถเปน วิทยากรแกนนําได 10. รอ ยละของครู กศน. ท่วั ประเทศ ทส่ี ามารถจัดกระบวนการเรยี นรูภ าษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารไดอยางสอดคลองกบั บรบิ ทของผเู รียน 11. รอ ยละของผูเ ขารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผสู ูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ผานเกณฑการอบรมตามหลกั สตู รที่ กาํ หนด 12. รอยละของหนว ยงานและสถานศึกษา กศน. ทีส่ ามารถดาํ เนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมตามบทบาทภารกิจที่ รบั ผิดชอบไดส าํ เรจ็ ตามเปาหมายที่กาํ หนดไวอ ยางโปรง ใส ตรวจสอบได โดยใชท รัพยากรอยางคุมคา/ตามแผนที่กาํ หนด ไว 13. รอ ยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสของการดาํ เนินงานของหนว ยงาน

15 1. ยทุ ธศาสตรด านความมั่นคง 1. สง เสริมการจดั การเรียนรูต ามพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาของ รชั กาลที่ 10 1.1 เสรมิ สรางความรคู วามเขาใจท่ีถูกตองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ  ทรงเปน ประมขุ มีความเปน พลเมืองดี เคารพความคดิ ของผูอน่ื ยอมรบั ความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและ อดุ มการณ รวมทง้ั สงั คมพหวุ ัฒนธรรม 1.2 สงเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรูท่ปี ลกู ฝง คุณธรรม สรา งวนิ ัย จิตสาธารณะ และอุดมการณความ ยึดม่นั ในสถาบันหลักของชาติ รวมทงั้ การมจี ิตอาสา ผา นกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอ่ืนๆ ตลอดจนสนับสนนุ ให มีการจัดกจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรในองคก ร 2. พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในเขตพน้ื ท่ีพเิ ศษ 2.1 เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และพ้ืนที่ชายแดน 2.1.1 พฒั นารปู แบบการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหมี ความสอดคลองกบั บรบิ ทของสังคม วัฒนธรรม และพืน้ ท่ี เพอ่ื สนบั สนนุ การแกไขปญหาและพัฒนาพนื้ ที่ 2.1.2 เรงจดั ทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชดั เจนสาํ หรบั หนวยงานและ สถานศกึ ษา รวมทัง้ บุคลากรท่ปี ฏบิ ัติงานในพื้นท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษ โดยบูรณาการแผนและปฏบิ ัตงิ านรว มกบั หนวยงาน ความมน่ั คงในพนื้ ท่ี 2.1.3 สงเสริมและสนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรียนรใู นสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ในรปู แบบ ตา งๆ ท่หี ลากหลายตรงกับความตอ งการของผเู รียน อาทิ การเพิ่มพนู ประสบการณ การเปด โลกทศั น การยึดม่นั ในหลัก คณุ ธรรมและสถาบันหลกั ของชาติ 2.1.4 สนบั สนนุ ใหม ีการพฒั นาบคุ ลากรทุกระดับทกุ ประเภทใหมสี มรรถนะที่สงู ขึน้ เพ่ือให สามารถปฏิบตั งิ านไดอ ยางมีประสิทธิภาพ 2.2 เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพืน้ ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก โดยสง เสริมการจัดการศึกษาเพื่อ ยกระดบั การศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สรางงานและพฒั นาอาชีพทเี่ ปน ไปตามบรบิ ทและความตองการของ ประชาชนในพ้นื ท่ี 2. ยุทธศาสตรดานการพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวตั กรรมเพือ่ สรางขีดความสามารถในการแขง ขนั ของ ประเทศ 1. ขบั เคลอ่ื น กศน. สู “Smart ONIE” ในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูท่ีเสริมสรา งศักยภาพของประชาชน ใหสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ 1.1 พฒั นาความรูความสามารถ ทกั ษะการใชภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร และขยายผล ไปยังการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรปู แบบตางๆ อยางเปน รูปธรรม เชน Boot Camp หลักสตู ร ภาษาองั กฤษ การจดั หลกั สูตรภาษาเพ่ืออาชีพ 1.2 พฒั นาทักษะการใช Social Media เพ่ือการจดั การเรียนการสอน ของครูและบคุ ลากรทางการ ศกึ ษา 1.3 พัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานขอมลู ดานการศึกษา กบั ระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่อื การบรหิ ารจดั การและบูรณาการขอมลู ของประชาชนอยา งเปนระบบ 1.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือชวยในการบริหารจดั การอยางเต็มรูปแบบ ทั้งระบบ E- office ระบบการจัดทําแผน ระบบการรายงานผลการดําเนินงาน

16 2. พัฒนากาํ ลังคนใหเ ปน “Smart Digital Persons (SDPs)” ทม่ี ีทักษะดานดิจิทัลเพ่ือรองรบั การพัฒนา ประเทศ 2.1 พฒั นาความรแู ละทักษะดา น Digital ใหกับครูและบุคลากร กศน.ในการใชเทคโนโลยีเพอ่ื การ จัดการเรยี นการสอน 2.2 สง เสริมการจัดการเรียนรูดา น Digital เพื่อใหป ระชาชน มคี วามรูพื้นฐานดาน Digital และความรู เร่อื งกฎหมายวาดว ยการกระทําความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร สําหรบั การใชป ระโยชนใ นชีวติ ประจาํ วนั รวมทัง้ การ พฒั นาและการเขาสูอาชพี 2.3 สรา งความรคู วามเขาใจและทักษะพน้ื ฐานใหก บั ประชาชน เก่ยี วกับการทําธรุ กิจและการคา ออนไลน (พาณชิ ยอิเล็กทรอนิกส) เพื่อรวมขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล 3. ยทุ ธศาสตรด านการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพคนใหม คี ุณภาพ 1. เตรยี มความพรอมการเขา สูสงั คมผูสูงอายุอยา งมีคุณภาพ (Smart Aging Society) 1.1 สงเสริมการจดั กจิ กรรมใหกบั ประชาชนเพื่อสรา งตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอ มเขา สูสงั คมผูสงู อายุ (Ageing Society) มคี วามเขาใจในพัฒนาการของชวงวยั รวมทงั้ เรยี นรแู ละมีสว นรวมในการดูแลรบั ผดิ ชอบผูส ูงอายใุ น ครอบครัวและชมุ ชน 1.2 พฒั นาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรสู ําหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขาสูวยั สูงอายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 1.3 จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ สาหรบั ผูสงู อายภุ ายใตแนวคดิ “Active Aging” การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ และพัฒนาทกั ษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสขุ ภาพจิต และรูจ ักใชประโยชนจากเทคโนโลยี 1.4 สรา งความตระหนักถึงคุณคาและศกั ด์ศิ รีของผสู งู อายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภ ูมิปญ ญาของ ผูสูงอายุ และใหมสี วนรว มในกจิ กรรมดานตางๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 2. สงเสริมการจัดการเรยี นรูดานเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปร่ือง) สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมในการจัดกระบวนการเรียนรูดา นเกษตรกรรมที่ เหมาะกบั บรบิ ทของพ้ืนที่และความตองการของชมุ ชน รวมทงั้ การเพม่ิ มลู คา สนิ คาทางการเกษตร และสรา งชองทางการ จาํ หนายสนิ คา ผานชองทางตางๆ โดยตระหนกั ถึงคุณภาพของผลผลิตความปลอดภยั ตอระบบนิเวศน ชุมชน และ ผูบริโภค 3. สงเสริมใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเตม็ ศกึ ษา” (STEM Education) สําหรบั นกั ศึกษาและ ประชาชน โดยบูรณาการความรูดานวทิ ยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณติ ศาสตร เพ่ือ ประยุกตใ ชในชีวติ ประจาํ วัน พฒั นาทักษะชีวติ สูการประกอบอาชีพ 4. เพมิ่ อัตราการอานของประชาชน โดยการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอานในรปู แบบตางๆ เชน อาสาสมคั ร สง เสรมิ การอา น หองสมุดประชาชน บา นหนังสือชมุ ชน หองสมุดเคลอ่ื นที่สําหรบั ชาวตลาด ตามพระราชดําริของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใหป ระชาชนมคี วามสามารถในระดับอา นคลอง เขาใจความ คิด วเิ คราะหพ ้ืนฐาน และสามารถรบั รขู อ มูลขา วสารทีถ่ ูกตองและทันเหตุการณ รวมทง้ั นําความรทู ไี่ ดรบั ไปใชประโยชนใ น การปฏบิ ตั ิจริง 5. ศนู ยฝกอาชพี ชุมชน สู “วสิ าหกิจชมุ ชน : ชุมชนพ่ึงตนเอง ทาํ ได ขายเปน ” 5.1 สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาอาชีพท่ีสอดคลองกับศักยภาพของชมุ ชน และความตอ งการของตลาด รวมทั้งสรา งเครือขา ยการรวมกลมุ ในลกั ษณะวิสาหกิจชุมชน สรางรายไดใ หก ับชมุ ชน ใหชุมชนพ่งึ พาตนเองได 5.2 สง เสริมการใชเทคโนโลยใี นการสรา งมูลคา เพ่ิมใหกับสินคา การทาํ ชองทางเผยแพรและจาํ หนา ย ผลิตภัณฑของวสิ าหกิจชุมชนใหเ ปนระบบครบวงจร

17 6. จดั กระบวนการเรียนรูตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมอยางยงั่ ยนื 6.1 พฒั นาบุคลากรและแกนนาํ เกษตรกรในการเผยแพรแ ละจดั กระบวนการเรียนรตู ามแนวทาง เกษตรธรรมชาติสกู ารพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 6.2 จัดตั้งศนู ยการเรียนรูต นแบบระดบั ตาํ บลดานเกษตรธรรมชาตสิ กู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม เพ่ือ ถายทอดความรูดานเกษตรธรรมชาตสิ ูก ารพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมใหกบั ชมุ ชน 6.3 สง เสริมใหม ีการบรู ณาการระหวา ง ศฝช. และ กศน.อาํ เภอ ในการจดั กระบวนการเรียนรูตาม แนวทางเกษตรธรรมชาตสิ ูการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมใหกบั ประชาชน 4. ยทุ ธศาสตรด า นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 1. สง เสริมการนําระบบคปู องการศกึ ษา มาใชเ พอ่ื สรางโอกาสในการเขา ถงึ บรกิ ารการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ทส่ี อดคลอ งกับความตองการของประชาชนผูรับบริการ 2. สรา งกระบวนการเรียนรูในรปู แบบ E-learning MOOC ทใ่ี ชระบบเทคโนโลยเี ขามาบริหารจัดการเรียนรู เพื่อเปน การสรางและขยายโอกาสในการเรยี นรูใ หกับกลุมเปา หมายไดส ะดวก รวดเรว็ ตรงตามความตองการของ ประชาชนผูรับบริการ 3. เพิ่มอตั ราการรูหนงั สือและยกระดับการรูหนงั สือของประชาชน 3.1 เรงจัดการศึกษาเพอื่ เพิม่ อัตราการรูหนงั สือ และคงสภาพการรหู นังสือ ใหป ระชาชนสามารถอา น ออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยใชส ื่อและกระบวนการทีเ่ หมาะสมกับสภาพพน้ื ท่แี ละกลุม เปาหมาย 3.2 ยกระดับการรูหนังสอื ของประชาชน โดยจัดกจิ กรรมพัฒนาทักษะการรหู นังสือ ในรูปแบบตางๆ รวมท้ังทกั ษะดา นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอ่ื เปนเคร่ืองมือในการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน 4. ยกระดับการศึกษาใหกบั กลุมเปาหมายทหารกองประจาํ การใหจบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สามารถนาํ ความรูท ี่ไดรบั ไปพัฒนาตนเองไดอยางตอเนอื่ ง 5. พลกิ โฉม กศน. ตําบล สู “กศน.ตาํ บล 4 G” 5.1 พฒั นาครู กศน. และบคุ ลากรท่เี ก่ียวของกบั การจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู : Good Teacher ใหเปน ตัวกลางในการเชอื่ มโยงความรูกับผรู บั บริการ มคี วามเปน “ครูมืออาชีพ” มีจติ บริการ มีความรอบรูและทนั ตอ การเปลยี่ นแปลงของสงั คม เปน ผูจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู ละบรหิ ารจัดการความรูทด่ี ี รวมทง้ั เปน ผปู ฏิบัตงิ านอยา งมีความสุข 5.2 พฒั นา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มเอ้อื ตอการเรียนรูอยางตอ เนื่อง : Good Place Best Check-In มคี วามพรอ มในการใหบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู มีสง่ิ อํานวยความสะดวก เปแ หลงขอมลู สาธารณะทง่ี า ยตอ การเขาถึง และสะดวกตอการเรยี นรูตลอดชวี ิตอยา งสรา งสรรค ดงึ ดูดความสนใจ และมีความ ปลอดภยั สําหรับผูรับบรกิ าร 5.3 สงเสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนรภู ายใน กศน.ตําบล : Good Activities ใหมีความหลากหลาย นา สนใจ ตอบสนองความตองการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรยี นรขู องประชาชน รวมทั้งเปดโอกาสใหช มุ ชน เขามาจดั กจิ กรรมเพื่อเชอื่ มโยงความสมั พันธของคนในชุมชน 5.4 เสรมิ สรา งความรวมมือกับภาคีเครือขายทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสว นทอ งถน่ิ และ การมีสวนรวมของชมุ ชน : Good Partnership เพ่ือสรา งความรู ความเขาใจ และความรวมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู หก บั ประชาชนอยางมคี ุณภาพ 5. ยุทธศาสตรดา นสงเสริมและจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสรางคุณภาพชีวติ ท่เี ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม 1. สง เสริมใหม ีการใหความรกู ับประชาชนเกย่ี วกบั การปอ งกันผลกระทบและปรบั ตัวตอ การเปล่ยี นแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติ 2. สรา งความตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญของการสรา งสังคมสเี ขยี ว การกาํ จดั ขยะและมลพิษในเขตชุมชน

18 3. สงเสรมิ ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานทเ่ี ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอ ม รวมท้ังลดการใชทรัพยากร ทส่ี ง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอม 6. ยทุ ธศาสตรดานการพฒั นาประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการ 1. พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศกึ ษาเพ่อื การบริหารจดั การอยางเปน ระบบ 2. สง เสริมการใชร ะบบสํานักงานอิเลก็ ทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการลา ระบบสาร บรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชหอ งประชุม เปน ตน 3. สง เสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ใหม ีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับสายงานหรือ ความชํานาญ ภารกิจตอ เนอ่ื ง 1. ดานการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 1) สนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตั้งแตป ฐมวัยจนจบการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โดย ดําเนินการใหผูเรยี นไดรับการสนับสนนุ คา จัดซ้อื ตาํ ราเรยี น คา จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาเลา เรยี นอยาง ทวั่ ถงึ และเพียงพอเพื่อเพ่ิมโอกาสในการรบั การศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไมเ สยี คา ใชจ าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานใหกบั กลุมเปาหมายผดู อย พลาด และ ขาดโอกาสทางการศึกษา ทัง้ ระบบการใหบริการ ระบบการเรยี นการสอน ระบบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ผาน การเรียนแบบเรียนรดู ว ยตนเอง การพบกลมุ การเรียนแบบชัน้ เรียน และการจดั การศึกษาทางไกล 3) จดั ใหมกี ารประเมินเพื่อเทียบระดับการศกึ ษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ ทมี่ ีความโปรงใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของ กลุม เปา หมายไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 4) สง เสรมิ ใหผูเ รียนตองเรยี นรูและปฏิบตั ิกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต เพือ่ ดําเนนิ กจิ กรรม เสรมิ สรา งความสามคั คี ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด บาํ เพญ็ สาธารณประโยชนอ ยางตอ เนื่อง และสงเสรมิ การ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข เชน กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรมจติ อาสา การจัดต้ังชมรม/ชุมนมุ และเปดโอกาสใหผเู รยี นนํากิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชนอื่น ๆนอกหลักสูตร มาใชเพม่ิ ช่ัวโมงกิจกรรมใหผูเ รียนจบตามหลกั สูตรได 5) จดั การศึกษาเพื่อเพ่ิมอัตราการรหู นงั สือใหคนไทยใหสามารถอานออกเขียนได โดยใช หลักสูตรการรูหนงั สอื ไทย พุทธศกั ราช 2557 ของสาํ นกั งาน กศน. และสอ่ื ทเ่ี หมาะสมกับสภาพและพนื้ ทข่ี อง กลุม เปาหมาย 1.2 การศกึ ษาตอเน่ือง 1) จัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาํ อยา งยง่ั ยืน โดยใหค วามสาํ คญั กับการจดั การศึกษา อาชพี เพือ่ การมงี านทาํ และอาชพี ทสี่ อดคลองกับศักยภาพของผเู รียนและศักยภาพของแตล ะพน้ื ที่ 2) จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิตใหกบั ทกุ กลุมเปา หมาย โดยจดั กิจกรรมการศกึ ษา ในรปู แบบตา งๆ อาทิ คายพัฒนาทกั ษะชวี ติ การจดั ตัง้ ชมรม/ชุมนุม การสง เสรมิ ความสามารถพเิ ศษตาง ๆ ท่มี งุ เนนให ทุกกลุมเปาหมายมีความรูความสามารถในการบริหารจดั การชวี ติ ของตนเองใหอ ยูในสงั คมไดอยา งมีความสขุ มีคณุ ธรรม จริยธรรม รวมทั้งสามารถใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชนตอตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน 3) จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน โดยใชห ลกั สูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การเรยี นทางไกล การประชุม สมั มนา การจัดเวทีแลกเปลยี่ นเรียนรู การ จดั กิจกรรมจิตอาสา การสรา งชุมชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอ่นื ๆ ท่เี หมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแต

19 ละพ้นื ที่ โดยเนนการดาํ เนินตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การสรา งจิตสาํ นกึ ความเปนประชาธิปไตย ความ เปนพลเมืองดี การบําเพ็ญประโยชน การอนรุ กั ษพ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม 4) สง เสรมิ การจัดการเรียนรูเพื่อสรา งจิตสํานึกและวนิ ยั ในชมุ ชน เชน การสงเสริมคุณธรรม และจรยิ ธรรมในชมุ ชน การเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยของชุมชน การจดั กิจกรรมจิตอาสา ศูนย เรยี นรูห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจําตําบล 5) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรบั คนพิการอยางมีคณุ ภาพสอดคลองกับความ ตองการจาํ เปนพิเศษของแตล ะบคุ คล และมที ักษะการดาํ รงชวี ิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได เตม็ ศักยภาพอยางมีศกั ดิ์ศรีความเปนมนษุ ยบนพน้ื ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมทง้ั สรางความตระหนักถึง คณุ คาและศักดศ์ิ รีของผดู อยโอกาสใหส ามารถอยูในสงั คมไดอ ยางมีศักดิ์ศรีความเปนมนุษย 1.3 การศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) สงเสรมิ ใหมีการพัฒนาแหลงการเรียนรูในระดับตาํ บล เพอ่ื การถา ยทอดองคค วามรู และ จดั กจิ กรรมเพ่ือเผยแพรองคความรใู นชุมชนไดอ ยา งท่ัวถึง 2) จัดกจิ กรรมสงเสรมิ การเรยี นรเู พือ่ ปลูกฝงนสิ ยั รักการอา น และพฒั นาความสามารถในการ อา นและศักยภาพการเรยี นรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมาย 3) สง เสริมใหม ีการสรา งบรรยากาศ และสงิ่ แวดลอ มทเี่ อ้ือตอการอา นใหเ กดิ ขน้ึ ในสงั คมไทย โดยสนบั สนนุ การพฒั นาแหลงการเรียนรใู หเ กิดขน้ึ อยางกวา งขวางและทว่ั ถงึ เชน พฒั นาหอ งสมุดประชาชนทกุ แหงให เปน แหลง เรียนรตู ลอดชวี ติ ของชุมชน สง เสริมและสนับสนนุ อาสาสมัครสง เสริมการอาน การสรา งเครือขา ยสง เสริมการ อาน จัดหนว ยบรกิ ารเคลื่อนที่พรอ มอปุ กรณเพ่ือสงเสรมิ การอา นและการเรียนรทู ่ีหลากหลายออกใหบรกิ ารประชาชนใน พืน้ ทตี่ าง ๆ อยา งทั่วถึง สมาํ่ เสมอ รวมท้งั เสรมิ สรา งความพรอมในดานส่ืออุปกรณเ พ่ือสนบั สนุนการอา น และการจดั กจิ กรรมเพ่ือสงเสริมการอานอยางหลากหลาย 4) จัดสรา งและพฒั นาศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศกึ ษา ใหเปนแหลงเรียนรูวทิ ยาศาสตรตลอด ชวี ติ ของประชาชนและเปน แหลงทอ งเท่ยี วประจาํ ทองถน่ิ โดยจัดสรางและพัฒนานทิ รรศการ พัฒนาส่ือทส่ี รางแรง บันดาลใจสูง และจัดกิจกรรมการศกึ ษาที่เนน การเสรมิ สรางความรู สอดแทรกวธิ ีการคิดแบบวิทยาศาสตร การฝก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและปลกู ฝง เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร โดยบรู ณาการความรดู า นวิทยาศาสตร ควบคกู ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิตศาสตร อยางสอดคลองกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริบท ของของชุมชน ประเทศ รวมทงั้ การเปลี่ยนแปลงระดับภมู ิภาคและระดบั โลก เพอ่ื ใหประชาชนมีความรู มคี วามสามารถ ในการคดิ เชงิ วเิ คราะห มีทักษะทจ่ี าํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21 มคี วามสามารถในการปรับตัวรองรบั การผลกระทบจาก การเปลย่ี นแปลงในอนาคตไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ และสามารถนําความรูและทักษะไปประยุกตใ ชในการดาํ เนินชวี ิต การพฒั นาอาชพี การรักษาส่ิงแวดลอม การบรรเทาและปองกนั ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ 2. ดา นหลกั สตู ร สื่อ รูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมินผล งานบริการทางวิชาการ และ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรูแ ละกิจกรรมเพ่ือสง เสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทหี่ ลากหลาย ทนั สมัย รวมทั้งหลกั สตู รทอ งถิ่นท่ีสอดคลองกบั สภาพบริบทของ พ้นื ที่ และความตองการของกลุมเปา หมายและชมุ ชน 2.2 พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหม ีความทนั สมยั ดว ยระบบหองเรียนและการควบคุมการ สอบออนไลน 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพอ่ื เทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณให มคี ณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปาหมายไดอยา งมีประสิทธิภาพ

20 2.4 สง เสริมการพฒั นาสื่อแบบเรียน สื่ออิเลก็ ทรอนิกสและสือ่ อ่ืนๆ ท่เี อ้ือตอ การเรยี นรู ของผูเรียนกลุมเปา หมายทั่วไปและกลมุ เปาหมายพิเศษ 2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สตู รในระดับ การศึกษาขนั้ พื้นฐานใหไดม าตรฐาน โดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส (e-Exam) มาใชอยางมปี ระสิทธภิ าพ 2.6 สง เสริมและสนับสนนุ การศึกษาวิจยั พัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู การวัด และประเมินผล และเผยแพรร ูปแบบการจัด สง เสริม และสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั เพื่อใหม ีการนาํ ไปสูการปฏบิ ัตอิ ยา งกวางขวางและมีการพฒั นาใหเ หมาะสมกบั บริบทอยางตอเน่ือง 2.7 พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ ดมาตรฐาน เพ่ือพรอมรบั การประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหมคี วามรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาํ คญั ของระบบการประกนั คุณภาพ และ สามารถดําเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยา งตอเนื่องโดยใชก ารประเมินภายในดว ยตนเอง และจัด ใหมรี ะบบสถานศกึ ษาพเี่ ลี้ยงเขาไปสนบั สนุนอยางใกลชดิ สําหรบั สถานศกึ ษาที่ยังไมไดเ ขารบั การประเมนิ คุณภาพ ภายนอก ใหพ ฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหไดค ุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนด 3. ดา นเทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพฒั นารายการวิทยแุ ละรายการโทรทัศนเ พื่อการศกึ ษาใหเชื่อมโยงและตอบสนองตอการ จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่อื กระจายโอกาสทางการศึกษาสาํ หรับ กลุม เปา หมายตางๆ ใหม ีทางเลือกในการเรียนรทู ห่ี ลากหลายและมคี ุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให รเู ทาทนั ส่อื และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เชน รายการพัฒนาอาชพี เพื่อการมงี านทาํ รายการตวิ เขม เตมิ เตม็ ความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวทิ ยุศึกษา สถานวี ิทยโุ ทรทศั นเพ่อื การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และ ทางอนิ เทอรเ นต็ 3.2 พฒั นาชองทางการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ผา นระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารแบบออนไลน เพ่อื สงเสรมิ ใหครู กศน. นาํ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารมา ใชใ นการสรางกระบวนการเรียนรดู วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พฒั นาสถานวี ทิ ยุศึกษา และสถานีโทรทัศนเพ่ือการศกึ ษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศใหก ลมุ เปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรทู ีม่ ีคณุ ภาพไดอยา งตอเนื่องตลอดชีวติ โดยขยายเครือขา ย การรบั ฟงใหสามารถรบั ฟง ไดทกุ ท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพน้ื ที่ทัว่ ประเทศ และเพ่ิมชองทางใหส ามารถรับชมรายการ โทรทศั นไดทง้ั ระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอรเ น็ต พรอมท่จี ะรองรบั การพฒั นาเปน สถานีวทิ ยุโทรทัศน เพอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบ ริการส่อื เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาใหไดห ลายชองทางท้ังทางอนิ เทอรเนต็ และ รูปแบบอื่น ๆ เชน Application บนโทรศัพทเคลื่อนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน ตน เพอ่ื ให กลุม เปา หมายสามารถเลือกใชบ รกิ ารเพอื่ เขา ถึงโอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรูไดตามความตองการ 3.5 สาํ รวจ วจิ ยั ติดตามประเมินผลดานส่อื เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษาอยางตอเน่ือง และนําผลมาใชใน การพฒั นางานใหม ีความถูกตอง ทันสมยั และสามารถสง เสริมการศึกษาและการเรยี นรูตลอดชีวิตของประชาชน ไดอยา งแทจริง 4. ดา นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ 4.1 สงเสรมิ และสนับสนนุ การดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอนั เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ

21 4.2 จัดทําฐานขอมลู โครงการและกจิ กรรมของ กศน. ทีส่ นองงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรอื โครงการอันเกีย่ วเนื่องจากราชวงศ ท่สี ามารถนําไปใชใ นการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนางานได อยา งมีประสทิ ธภิ าพ 4.3 สงเสรมิ การสรา งเครือขายการดาํ เนินงานเพื่อสนับสนนุ โครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ เพอ่ื ใหเ กดิ ความเขมแขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แมฟาหลวง” ใหม คี วามพรอมในการจัดการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาท่ีท่กี าํ หนดไวอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ 4.5 จัดและสงเสรมิ การศกึ ษาตลอดชีวิตใหส อดคลองกบั วิถีชวี ติ ของประชาชนบนพืน้ ทสี่ ูง ถิ่น ทรุ กันดาร และพ้นื ท่ชี ายขอบ 6. ดานบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรว มของทกุ ภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทใหมสี มรรถนะสูงขึน้ อยางตอเนอ่ื ง ทัง้ กอน และระหวางการดาํ รงตําแหนงเพอ่ื ใหมีเจตคตทิ ดี่ ใี นการปฏิบตั ิงาน สามารถปฏิบัติงานและบรหิ ารจัดการ การดําเนนิ งานของหนว ยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้งั สง เสริมใหบุคลากรในสงั กัดพัฒนาตนเอง เพ่อื เล่ือนตาํ แหนง หรือเล่อื นวิทยฐานะโดยเนน การประเมินวทิ ยฐานะเชิงประจักษ 2) พัฒนาหวั หนา กศน. ตําบล/แขวง ใหมสี มรรถนะสงู ขน้ึ ในการบริหารจัดการ กศน. ตาํ บล/ แขวง และการปฏิบตั งิ านตามบทบาทภารกจิ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเนน การเปน นักจดั การความรแู ละผูอาํ นวยความ สะดวกในการเรยี นรเู พื่อใหผ ูเรยี นเกดิ การเรียนรทู ี่มปี ระสิทธภิ าพอยา งแทจรงิ 3) พฒั นาครู กศน. และผทู ีเ่ ก่ียวขอ งใหส ามารถจดั รูปแบบการเรียนรไู ดอยางมีคุณภาพ โดยสงเสรมิ ใหมีความรูความสามารถในการจดั ทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผล และ การวิจยั เบือ้ งตน 4) สง เสริมและพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตําบล/แขวง เพื่อการมีสวนรวมใน การบริหารการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. ตําบล/แขวง อยางมีประสทิ ธิภาพ 5) พฒั นาศักยภาพบุคลากร ที่รับผดิ ชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมคี วามรู ความสามารถและมีความเปน มอื อาชพี ในการจดั บรกิ ารสง เสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน 6) พฒั นาอาสาสมคั ร กศน. ใหสามารถทาํ หนาท่เี ปน ผจู ดั สง เสริมและสนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) เสริมสรา งสมั พนั ธภาพระหวางบคุ ลากร รวมทง้ั ภาคเี ครอื ขา ยทั้งในและตางประเทศในทุก ระดับเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทาํ งานรวมกนั โดยจดั ใหมกี ิจกรรมการพฒั นาสมรรถนะ และเสรมิ สรา งความสัมพันธ ระหวา งบุคลากร และภาคเี ครือขา ยในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยา งตอเนื่อง 6.2 การพฒั นาโครงสรางพ้นื ฐานและอัตรากําลัง 1) จัดทําแผนการพฒั นาโครงสรา งพ้นื ฐานและดําเนนิ การปรบั ปรงุ สถานที่ และวสั ดุอุปกรณ ใหม คี วามพรอมในการจดั การศกึ ษา 2) บรหิ ารอตั รากําลังท่ีมีอยทู ั้งในสวนทเ่ี ปน ขา ราชการ พนักงานราชการ และลกู จา ง ใหเกิด ประสิทธภิ าพสูงสดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน 3) แสวงหาภาคเี ครือขายในทองถน่ิ เพ่ือการมีสว นรว มในการดาํ เนินกิจกรรม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้งั ระดมทรัพยากรเพื่อนาํ มาใชในการปรับปรุงโครงสรา งพ้ืนฐาน ใหม คี วามพรอมสาํ หรับดาํ เนินกจิ กรรมสง เสรมิ การเรียนรขู องประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ

22 1) เรง ผลักดนั ใหม ีการประกาศใชก ฎหมายวา ดว ยการศึกษาตลอดชีวิต 2) เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากบั ควบคุม และ เรง รัดการเบิกจา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปาหมายที่กําหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมลู ใหมีความครบถว น ถูกตอง ทนั สมัย และเชอ่ื มโยงกนั ท่วั ประเทศอยา งเปน ระบบเพื่อใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดสามารถนําไปใชเ ปน เคร่ืองมือสาํ คัญในการบรหิ าร การวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน การติดตามประเมินผล และการนําผลมาพัฒนาการดาํ เนนิ งานอยางตอเน่อื ง ตามวงจรคุณภาพเดมมง่ิ (PDCA) รวมทงั้ จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนาระบบฐานขอมลู รวมของนักศึกษา กศน. ใหมคี วามครบถว น ถูกตอ ง ทนั สมัย และ เชื่อมโยงกันท่วั ประเทศ สามารถสบื คนและสอบทานไดท ันความตอ งการเพือ่ ประโยชนในการจัดการศกึ ษาใหก ับผเู รยี น และการบรหิ ารจดั การอยางมีประสทิ ธิภาพ 5) สง เสรมิ ใหม ีการจัดการความรูในหนว ยงานและสถานศึกษาทุกระดบั รวมท้งั การศึกษาวจิ ัย เพอื่ สามารถนาํ มาใชในการพัฒนาประสิทธภิ าพการดําเนนิ งานทส่ี อดคลอ งกบั ความตองการของประชาชนและชุมชน พรอมท้งั พัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขงขนั ของหนวยงานและสถานศึกษา 6) สรางความรวมมือของทุกภาคสว นทั้งในประเทศและตา งประเทศ ในการพฒั นาและ สงเสริมการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรูตลอดชีวิต 6.4 การกาํ กบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรา งกลไกการกํากับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดําเนินงานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ ชอ่ื มโยงกบั หนว ยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขายท้ังระบบ 2) ใหห นว ยงานและสถานศกึ ษาท่ีเกีย่ วของทุกระดับ พฒั นาระบบกลไกการกาํ กบั ตดิ ตาม และรายงานผลการนาํ นโยบายสกู ารปฏิบตั ิ ใหส ามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเร่ืองไดอ ยางมี ประสทิ ธิภาพ 3) สงเสรมิ การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออ่นื ๆ ท่เี หมาะสม เพ่ือการ กํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคํารับรองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจําปของหนวยงาน สถานศึกษา เพอื่ การรายงานผลตามตัวช้ีวดั ในคาํ รับรองการปฏบิ ัตริ าชการประจาํ ป ของสาํ นักงาน กศน. ใหดาํ เนินไปอยางมปี ระสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทกี่ ําหนด 5) ใหมกี ารเช่อื มโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทง้ั หนวยงานภายในและภายนอกองคก ร ตั้งแตสว นกลาง ภูมภิ าค กลมุ จังหวดั จงั หวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเปนเอกภาพในการใชขอมูล และ การพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต คือ การจดั กระบวนการเรียนรูเ พื่อสงเสริมความสามารถของบคุ คลเพ่ือให สามารถจัดการกับตนเองและส่ิงแวดลอ มเพ่ือใหม ีความสุขตามสภาพ และความสุขความปลอดภัยในสังคม ซึ่งเปนการ พฒั นาทักษะพ้ืนฐานของบุคคลโดยบูรณาการองคความรแู ละกระบวนการเรยี นรูตาง ๆ ในชวี ิตประจ าวนั เขาดวยกนั ส านักงานบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนไดก าหนดนโยบาย ในเรื่องการจัดการศึกษา เพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ โดยเนน สงเสริมสนับสนุนใหจัดกจิ กรรมการเรยี นรูในรูปแบบตา ง ๆ เพ่ือใหประชาชนมีทักษะชีวิตท่ีจ าเปนและสามารถด ารงชีวติ ในสังคมไดอยางมีความสุข ดงั นัน้ เพื่อใหมีแนวทางการจัดกิจกรรม เพื่อพฒั นาทักษะชีวิตท่ีชดั เจน ส านักงานบริหารงาน การศึกษานอกโรงเรียนจึงขอสรปุ แนวคดิ เร่ืองทักษะชวี ติ และแนวทางการจัดกจิ กรรม ในรายละเอยี ด ดงั นี้

23 1. ความหมายของทักษะชวี ิต คําวา ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชัดเจน และความช านิช านาญในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงบุคคลสามารถสรางข้ึนได จาก การเรียนรู ไดแก ทักษะการอาชีพ การกีฬา การท างานรวมกับผูอื่น การอาน การสอน การจัดการ ทักษะทางคณิตศาสตร ทกั ษะทางภาษา ทักษะทางการใชเทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเปนทักษะภายนอกท่ีสามารถมองเห็นไดชัดเจน จากการกระท า หรือ จากการปฏิบัติ ซึ่งทักษะดังกลาวนั้น เปนทักษะที่จ าเปนตอการดํารงชีวิตที่จะทําใหผูมีทักษะเหลาน้ัน มีชีวิตที่ดีสามารถ ดํารงชีวิตอยูในสังคมได โดยมีโอกาสท่ีดีกวาผูไมมีทักษะดังกลาว ซึ่งทักษะประเภทนี้เรียกวา Livelihood skill หรือ Skill for living ซึ่งเปนคนละอยางกับทักษะชีวิตท่ีเรียกวา Life skill (ประเสริฐ ตันสกุล) ดังน้ัน ทักษะชีวิต หรือ Life skill จึง หมายถึง คุณลักษณะ หรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา(Phychosoclal competence) ที่เปนทักษะภายในท่ีจะชวย ใหบุคคลสามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจ าวัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมความพรอมส าหรับการปรับตัวในอนาคต ไมวาจะเปนเร่ืองการดูแลสุขภาพ เอดสยาเสพติด ความปลอดภัย ส่ิงแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ เพื่อใหสามารถมีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข หรือจะกลาวงาย ๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถใน การแกปญ หาท่ตี อ งเผชิญในชีวติ ประจ าวันเพ่อื ใหอยูรอดปลอดภัย และสามารถอยูร ว มกับผอู นื่ ไดอยางมคี วามสขุ 2. องคประกอบของทักษะชวี ิต 3. กลวิธใี นการสรางทกั ษะชีวติ 4. เน้อื หาทเี่ ปน จดุ เนน ในการพัฒนาทักาะชีวติ จากองคประกอบของทักษะชีวิต 10 ประการ กรมการศึกษานอกโรงเรียนไดก าหนดเน้ือหาท่ีเปนจุดเนนในการพัฒนา ทักษะชีวิต 4 ดาน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือการสงเสริม การปองกัน และการแกไขท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาและความ ตอ งการของกลุมเปาหมายในแตล ะพนื้ ท่ีคือ 4.1 ดานสุขภาพอนามัย มีจุดมุงหมายเพ่ือสงเสริมใหมีความรูความเขาใจและตระหนักในการดูแลตนเองใหมีสุขภาพ อนามัยท่ีดีทั้งรางกายและจิตใจ มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม รูวิธีปองกันไมใหเกิดโรคภัยไขเจ็บและสามารถแกไขปญหา พฤตกิ รรมที่ไมพึงประสงคท่ีจะน าไปสูโรคภัยไขเจบ็ ไดอยางถูกตองเหมาะสม 4.2 ดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มีจุดมุงหมายเพ่ือสงเสริมใหมีความรูความเขาใจและตระหนักในภัย อนั ตรายท่อี าจจะเกิดข้ึนจากภยั อนั ตรายไดอยา งถูกตองเหมาะสม 4.3 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีจุดมั่งหมายเพ่ือสงเสริมใหมีความรูความเขาใจและตระหนักในคุณคา ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีจิตส านึกในการรวมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รูวิธีใช ทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา รูวิธีปองกันไมใหเกิดสภาพแวดลอมเปนพิษ และสามารถแกไขปญหาสภาพแวดลอม เปน พษิ ในชุมชนไดอยางถูกตองเหมาะสม 4.4 ดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคมีจุดมุงหมาย เพ่ือสงเสริมใหมีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความส าคัญของการมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่ถูกตอง และคุณลักษณะที่พึงประสงคของคนใน สังคมไทย รูวิธีปองกันไมใหตนเอง ครอบครัว ชุมชนเขาไปเก่ียวของกับอบายมุข สามารถปฏิบัติตัวเปนแบบอยางท่ีดีของ ครอบครัว ชุมชน และสามารถแกไขปญหาพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคไดอยางถูกตองเหมาะสม จากการเรียนรูเนื้อหา ดังกลาวในรูปแบบกิจกรรมที่ใชกระบวนการเรียนรูแบบมีสวนรวมโดยใหกลุมเปาหมาย ไดฝก คิด ท า จ า แกปญหา และ พัฒนาอยางตอเนื่อง จะเปนการพัฒนาทักษะชีวิตท้ัง 10ประการ ที่สอดคลองกับเนื้อหาดังกลาวไปดวยพรอมกัน จาก องคป ระกอบของทกั ษะชีวิต 10 ประการเมื่อจะน าไปพัฒนากิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใหกบั กลุมเปาหมาย สามารถแบงได เปน 2 สว น ดงั น้ี 1 ทักษะชีวิตท่ัวไป คือ ความสามารถพื้นฐานที่ใชเผชิญปญหาปกติในชีวิตประจ าวัน เชน ความเครียดสุขภาพ การคบ เพือ่ น การปรับตัว ครอบครัวแตกแยก การบริโภคอาหาร ฯลฯ

24 2 ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถที่จ าเปนในการเผชิญปญหาเฉพาะ เชน ยาเสพติด โรคเอดส ไฟไหม น้ําทวม การถูกลวงละเมิดทางเพศ ฯลฯ องคประกอบของทักษะชีวิตจะมีความแตกตางกันตามวฒั นธรรมและสถานท่ีแตทักษะชีวิต ทจ่ี ําเปน ที่สุดทที่ กุ คนควรมี ซึ่งองคก ารอนามัยโลกไดส รุปไวและถือเปนหวั ใจสําคัญในการดํารงชีวิต คอื 2.1 ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับเร่ืองราวตาง ๆในชีวิตไดอยางมี ระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเก่ียวกับการกระท าของตนเองท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัย ในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลท่ีไดจากการตัดสินใจเลือกทางท่ีถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลตอการมีสุขภาพท่ีดีท้ัง รางกายและจิตใจ 2.2 ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาที่เกิดข้ึนไดอยางมีระบบ ไมเกิด ความตรึงเครยี ดทางกายและจติ ใจ จนอาจลุกลามเปนปญหาใหญโตเกนิ แกไข 2.3 ทักษะการคิดสรางสรรค(Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดที่จะเปนสวนชวยในการตัดสินใจและแกไข ปญหาโดยการคิดสรางสรรคเพ่ือคนหาทางเลือกตาง ๆ รวมท้ังผลที่จะเกิดข้ึนในแตละทางเลือก และสามารถนํา ประสบการณมาปรับใชในชีวติ ประจ าวนั ไดอยา งเหมาะสม 2.4 ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถในการคิดวิเคราะหขอมูลตาง ๆ และประเมิน ปญหา หรอื สถานการณที่อยรู อบตวั เราทมี่ ีผลตอการด าเนนิ ชวี ติ 2.5 ทักษะการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปนความสามารถในการใชคําพูดและทาทาง เพื่อแสดงออกถึงความรูสึกนึกคิดของตนเองไดอยางเหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณตาง ๆ ไมวาจะเปนการแสดง ความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความช่ืนชม การขอรอง การเจรจาตอรอง การตักเตือน การชวยเหลือ การ ปฏิเสธ ฯลฯ 2.6 ทักษะการสรางสัมพันธภาพระหวางบุคคล (Interpersonal relationship) เปนความสามารถในการสราง ความสัมพนั ธทดี่ รี ะหวางกนั และกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวไดยืนยาว 2.7 ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคนหา รูจักและเขาใจตนเอง เชน รูขอดีขอเสีย ของตนเอง รูความตองการ และส่ิงท่ีไมตองการของตนเอง ซ่ึงจะชวยใหเรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือ สถานการณตาง ๆ และทักษะน้ียังเปนพ้ืนฐานของการพัฒนาทักษะอ่ืน ๆ เชนการสื่อสาร การสรางสัมพันธภาพ การ ตดั สินใจ ความเหน็ อกเหนใจผูอ ่ืน 2.8 ทักษะการเขาใจผูอื่น (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือความแตกตางระหวางบุคคล ใน ดานความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจาก เรา เกดิ การชว ยเหลอื บุคคลอน่ื ท่ีดอยกวา หรือไดรบั ความเดือดรอน เชน ผตู ดิ ยาเสพตดิ ผตู ิดเช้ือเอดส 2.9 ทักษะการจัดการกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการรับรูอารมณของตนเองและผูอื่น รูวา อารมณมีผลตอการแสดงพฤติกรรมอยางไร รูวิธีการจัดการกับอารมณโกรธ และความเศราโศก ที่สงผลทางลบตอรางกาย และจิตใจไดอ ยางเหมาะสม 2.10 ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เปนความสามารถในการรับรูถึงสาเหตุของความเครียด รูวิธี ผอนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือใหเกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอง เหมาะสมและไมเกิดปญ หาดานสุขภาพ

25 4. ความรูเรอ่ื งเรื่องโรคตดิ ตอท่เี กดิ จากการมเี พศสัมพนั ธ โรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธ หรือโรคสงผา นทางเพศสัมพันธ (ตามท่ีบญั ญัตใิ นราชบัณฑิตยสถาน) (Sexually transmitted disease; STD) อาจเรียกวา \"กามโรค\" (Venereal disease) หรือ \"วีด\"ี เกิดขนึ้ จากการตดิ ตอกนั ผานทาง เพศสัมพนั ธ ไมว า จะเปน การรวมเพศทางชอ งคลอด ทางปาก หรือทวารหนัก กับผทู ่ีกําลังมีเชอื้ ปจจุบันใชคําวา \"การติด เชื้อทางเพศสมั พันธ\" เพื่อใหม ีความหมายกวางขึน้ โรคติดตอทางเพศสมั พันธ เปน โรคทีส่ ามารถเปนไดทกุ เพศ ทกุ วัย แตพบมากในหมวู ยั รุน เน่อื งจากวยั รนุ ใน ปจจุบัน นยิ มมเี พศสมั พันธก อนการแตง งาน โดยที่ขาดความรูความเขา ใจเกยี่ วกบั การปองกนั ตัวเอง รวมท้ัง โรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธ ตา ง ๆ นอกจากนีใ้ นปจ จบุ นั คูแ ตงงานมีอัตราการหยา รา งสูงขน้ึ ทําใหค นมีสามี หรือภรรยาหลายคน จึงเกิด โรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ มากข้นึ สิง่ ท่อี นั ตรายของโรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ คอื เม่ือเปนแลว มกั จะไมเ กิดอาการ บางคนจึงตดิ โรคตดิ ตอทาง เพศสัมพันธแ ลวโดยไมร ตู ัว และเปน ปญหาในการจดั การทางระบบสาธารณสุข และทีส่ ําคัญโรคติดตอทางเพศสัมพนั ธ สามารถติดตอไปยังทารกในครรภได สาเหตขุ องการติดเชื้อทางเพศสัมพนั ธแ บงออกเปน 3 กลุมคือ 1. เกดิ จากเชอ้ื ไวรัส ซง่ึ บางชนิดสามารถรักษาใหห ายขาดได บางชนดิ ไมมยี ารักษา และบางชนิดยังสามารถฝง ตัวอยู และกลับมาเปนซ้ําไดอ ีก โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ ทเ่ี กิดจากเช้ือไวรสั ไดแก เรมิ ท่อี วัยวะเพศ หดู หงอนไก ไวรัส ตบั อักเสบบี ฯลฯ 2. เกดิ จากเชอื้ แบคทีเรยี สามารถรักษาใหหายขาดไดดวยการใชย าปฏิชีวนะ ไดแก ซฟิ ลสิ หนองใน หนองใน เทียม ทอ ปสสาวะอักเสบ ชอ งคลอดอักเสบ ฯลฯ 3. เกิดจากเชื้ออื่น ๆ เชน พยาธิ สามารถรักษาใหห ายขาดไดดวยการใชยาปฏิชีวนะ กลุมเสย่ี งตอการเปนโรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ - คนท่มี ีเพศสัมพันธกับชาย หรือหญงิ บรกิ าร ใน 3 เดอื นกอนหนา - คนท่ีมคี นู อนมากกวา 1 คน ในชว ง 3 เดอื นกอนหนา

26 - คนทม่ี ีเพศสมั พนั ธกับคูคนใหม ในชว ง 3 เดือนกอนหนา - ผทู ี่มีประวตั ปิ วยเปนโรคติดตอ ทางเพศสมั พนั ธ ใน 1 ปที่ผา นมา - ผทู ่มี คี คู รองอยูคนละที่ อาการแบบใด สงสัยเปนโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ หากมอี าการเหลาน้ี สามารถสงสยั ไดวา เปน โรคติดตอ ทางเพศสัมพันธ - ในผชู าย จะมีอาการปส สาวะแสบขัด ขาหนีบบวม หรอื เปน ฝ เจ็บปวดอวัยวะเพศ มีผื่น ตุม แผล บรเิ วณ อวยั วะเพศ มเี มือกใส หรอื หนองไหลออกมา - ในผหู ญงิ จะรูสกึ เจ็บ เสียวทอ งนอ ย ขาหนบี บวม หรือเปนฝ เจ็บปวด คันอวยั วะเพศ มีผ่นื ตุม แผลบรเิ วณ อวยั วะเพศ มตี กขาวสีเหลือง มกี ลน่ิ เหม็น โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ ท่ีสําคัญ ไดแก 1. โรคเอดส (AIDS) หรือกลุมอาการภูมิคมุ กันเสอื่ ม เกิดจากการรับเชอ้ื Human immunodeficiency virus หรือ HIV เขา ไปทําลายเม็ดเลือดขาวทเี่ ปน แหลงสรางภมู คิ ุมกนั โรค ทาํ ใหภูมิคมุ กันโรคลดนอยลง จึงทําใหเ ชื้อโรคฉวย โอกาสแทรกซอนเขาสรู างกายไดงา ยขึน้ เชน มะเร็ง วัณโรค และสาเหตกุ ารเสียชวี ติ กม็ ักเกิดขึน้ จากโรคติดเช้ือฉวย โอกาสตา ง ๆ เหลา นี้ ทีจ่ ะทาํ ใหอาการรุนแรง และเสียชีวิตอยา งรวดเรว็ 2. หนองใน (Gonorrhoea) เปน โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ เกดิ จากเชื้อแบคทเี รียชือ่ Neisseria gonorrhoeae ทาํ ใหเกิดอาการระคายเคืองในทอ ปสสาวะ แสบขัดเวลาปสสาวะ และมหี นองไหลออกจากทอ ปสสาวะ อาจจะทําใหเ กิด การอักเสบในชองทอง หรือเปนหมันหากไมไ ดรับการรกั ษา อานขอมูล โรคหนองในแท หนองในเทยี ม โรคติดตอทางเพศสัมพนั ธย อดฮติ

27 3. หนองในเทยี ม (Non-gonococcal Urethritis/Non gonococcal Cervicitis) เปนโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธ ท่ีทําใหม ีอาการแสบปลายทอปสสาวะ ปส สาวะขัดและมีหนองไหล และมีมูกออกเล็กนอ ยโดยเฉพาะในชว งเชา สว น ผูห ญิงอาจมีอาการตกขาวผิดปกติ 4. แผลรมิ ออ น (Chancroid) เปนโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ เกิดจากเช้ือ Haemophilus Ducreyi ทาํ ใหเ กดิ แผลท่อี วยั วะเพศ บวมและเจ็บ บางคนมตี อมนาํ้ เหลืองที่ขาหนีบหรือทช่ี าวบานเรยี กไขดันบวม หากไมรักษาหนองจะ แตกออกจากตอมนา้ํ เหลือง มักมหี ลายแผล ขอบแผลนุม และไมเรียบ กนแผลสกปรกมหี นอง มเี ลือดออกงาย เวลา สมั ผัสเจบ็ ปวดมาก บางรายตอมนา้ํ เหลอื งทขี่ าหนีบจะบวม และเปนฝ เม่อื ฝแตกจะเปน แผล 5. เรมิ ทีอ่ วัยวะเพศ (Genita Herpes Simplex Virus Infection) เปน โรคติดตอทางเพศสมั พนั ธ ท่เี กิดเช้ือ ไวรสั herpes simplex virus ทําใหเกดิ อาการปวดแสบบรเิ วณขา กนหรอื อวยั วะเพศ และตามดวยผนื่ เปนตุมน้ําใส แผลหายไดเ องใน 2-3 สปั ดาห แตเช้อื ยังอยูในรางกาย เมื่อรา งกายออนแอ เช้อื ก็จะกลับเปน ใหม 6. หดู ขาวสกุ (Molluscum contagiosum) เปนโรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธ เกดิ จากเช้อื ไวรัส Molluscum contagiosum virus (MCV) ทาํ ใหเกิดเปนตุมนูนบนผวิ หนัง ผิวเรยี บขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 2-5 มลิ ลเิ มตร จะพบมากขนึ้ ในรายท่มี กี ารติดเช้ือ HIV จาํ นวนตมุ ท่ีเกิดขึ้นอาจมมี ากหรือนอยขึ้นกบั สภาพรา งกายของผูปวย ขณะน้นั วา รางกายมีความแข็งแรงเพยี งใด ถา ใชเ ขม็ สะกดิ ตรงกลางแลว บีบดจู ะไดเนื้อหูดสีขาว ๆ คลา ยขา วสกุ มักเปน ท่บี ริเวณหวั หนาว อวยั วะเพศภายนอกและโคนขาดา นใน 7. หูดหงอนไก (Condyloma Acuminata) เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เกิดจากไวรัส Human papilloma virus ลกั ษณะเปนตงิ่ เน้ือออน ๆ สีชมพคู ลา ยหงอนไก ชอบขน้ึ ที่อุนและอับช้นื ในผชู ายมักพบท่ีอวยั วะเพศบรเิ วณใต หนังหมุ ปลายอวัยวะเพศชาย ตลอดทั้งบรเิ วณรอบรอยเปดขอบ, ทอ ปสสาวะ และอัณฑะ สว นผูหญิงจะพบทีป่ ากชอ ง คลอด ผนงั ชอ งคลอด ปากมดลูก ปากทวารหนกั และฝเยบ็ หูดมีขนาดโตขึ้นเร่ือย ๆ การตัง้ ครรภจ ะทาํ ใหห ูดโตเรว็ กวา ปกติ ถา ไมรบี รักษาจะเปนมากข้นึ และยากตอการรกั ษา และทารกอาจตดิ เช้ือไดขณะคลอด 8. หิด (Scabies) เปน โรคติดตอทางเพศสมั พนั ธ เกดิ จากตวั ไร Sarcoptes scabei ลักษณะจะมตี ุมนาํ้ ใสและ ตมุ หนองคันข้นึ กระจายท้ัง 2 ขางของรางกาย มกั พบตามงา มน้ิวมือ ขอศอก รักแร รอบหัวนม รอบสะดือ อวยั วะ สืบพันธุ ขอเทา หลังเทา กน ผปู วยมกั มีอาการคันมาก โดยเฉพาะเวลากลางคืน สามารถตดิ ตอไดจากการสมั ผัสใกลชิด สมั ผัสทางเพศหรืออยูใกลช ดิ กบั ผปู ว ย 9. ซฟิ ลสิ (Syphilis) เปนโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พนั ธ เกดิ จากการตดิ เชือ้ Treponema pallidum เปน โรคที่มี อนั ตราย และมีอาการเรื้อรัง สามารถตดิ ตอยาวนานกวา 2 ป ลกั ษณะการตดิ เช้ือเริ่มแรกจะเปน กอ นแข็ง แตไมเ จ็บท่ี บริเวณอวัยวะเพศ หากไมร ักษาจะกลายเปน ระยะท่ีสองท่เี รียกวา เขาขอหรอื ออกดอก ถาทิ้งไวนานจะทําใหเ กดิ โรคแก ระบบตางๆ ของรา งกายหลายระบบ ทัง้ ซิฟล สิ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ซฟิ ล สิ ระบบประสาท เปนตน นอกจากน้ี มารดาทเี่ ปน โรคซิฟล ิสจะถายทอดโรคสูทารกในครรภไ ดเรียกวา ซฟิ ล ิสแตกําเนดิ (congenital syphilis) จึงถือวา ซิฟล ิส เปนโรคทม่ี ีอันตราย และมีอาการเรือ้ รงั สามารถตดิ ตอยาวนานกวา 2 ป 10. โลน (Pediculosis Pubis) เปนโรคติดตอ ทางเพศสมั พันธ เกิดจากแมลงตวั เล็กทีเ่ รียกวา pediculosis pubis อาศัยอยูที่ขนหัวเหนา ชอบไชตามรากขนออ น และดูดเลอื ดคนเปน อาหาร ผูทเ่ี ปนโรคน้ี จะมีอาการคนั เม่อื เกา จะทําใหเ จาตัวเช้ือแพรไปยังบริเวณอืน่ ได การวนิ ิจฉยั สามารถทาํ ไดดว ยตาเปลา จะพบไขสีขาวเกาะตรงโคนขน ไขจ ะมี ลกั ษณะวงรี สวนตัวแมลงเมื่อกินเลอื ดเต็มทีจ่ ะออกสนี าํ้ ตาล ติดตอไดจ ากการสัมผัสทางเพศกับผูปว ย หรือใชก างเกงใน รวมกนั การรักษาสามารถซอื้ ยาทาไดตามรานขายยา แตค นทองหรือเด็กควรจะปรึกษาแพทย 11. พยาธิชองคลอด (Vaginal Trichomoniasis) เปน โรคติดตอทางเพศสมั พนั ธ เกดิ จากเช้ือโปรโตซวั Trichomonas vaginalis ผปู วยจะมีอาการตกขาวผดิ ปกติ มีสเี ขียวขุน หรือเหลืองเขม มีฟองอากาศและมีกลนิ่ เหมน็ เกดิ การระคายเคืองบรเิ วณอวัยวะเพศ เจบ็ ปวดขณะมีเพศสัมพนั ธ คนั และแสบปากชองคลอด

28 12. เชือ้ ราในชองคลอด (Vaginal Candidiasis) เปน โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ เกดิ จากเช้ือรากลมุ Candida ซงึ่ รอ ยละ 80 - 90 เกดิ จาก Candida albicans ทาํ ใหมีอาการระคายเคืองบรเิ วณชองคลอด มกี ารตกขาวขุนจบั เปน กอน อาจมีอาการปสสาวะแสบขัด เจบ็ ขณะรว มเพศ 13. อุง เชิงกรานอกั เสบ (Pelvic Inflammatory Diseases, PID) หรอื โรคปก มดลูกอักเสบ เปน โรคติดตอทาง เพศสัมพันธ เกดิ จากการตดิ เช้อื ของมดลูก รงั ไข หรือทอ รงั ไข อาจเสียชีวิตไดหากตดิ เชื้อรุนแรง และหากไมร ักษา อาจ เกิดโรคแทรกซอนจนเปนหมันหรือเสยี ชวี ิตได 14. แผลกามโรคเรื้อรังทข่ี าหนีบ (Granuloma inguinale) เปน โรคติดตอทางเพศสัมพนั ธ เกิดจากเช้ือ แบคทีเรีย Donovania granulomatis โดยจะมแี ผลท่ีบรเิ วณอวัยวะเพศ ขาหนบี ซอกขา หรือบริเวณหนา และไมพบ ในประเทศไทย มกั พบในคนผิวดํา การปอ งกันโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ วธิ ปี อ งกันโรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ คือ 1. ใสถ ุงยางอนามยั หากจะมีเพศสัมพันธก ับคนที่ไมแ นใจวามเี ชื้อหรือไม 2. รักษาความสะอาดของรางกายและอวยั วะเพศอยา งสม่ําเสมอ 3. ไมเปลย่ี นคูนอน ใหม ีสามี หรอื ภรรยาคนเดยี ว 4. ไมควรมเี พศสมั พันธตัง้ แตยังอายนุ อย เน่ืองจากมีสถิติวา ผูท ่ีมีเพศสมั พันธต้ังแตอายยุ ังนอยจะมีโอกาสตดิ โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธสงู 5. ตรวจโรคเปนประจาํ ทุกป เพื่อหาเชื้อโรค แมจะไมมีอาการใด ๆ โดยเฉพาะคูท่กี ําลงั จะแตงงาน 6. เรยี นรู ศกึ ษาอาการของโรคตดิ ตอ ทางเพศสมั พันธ 7. ไมค วรมเี พศสมั พันธข ณะมีประจาํ เดือน เพราะจะทาํ ใหเกดิ โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธไ ดงา ย 8. ไมควรมีเพศสมั พันธท างทวารหนกั หากจําเปน ใหสวมถงุ ยางอนามัย 9. ไมค วรสวนลางชอ งคลอด เพราะจะทาํ ใหเกิดการตดิ เชือ้ โรคติดตอทางเพศสัมพนั ธไ ดง าย วิธีปฏบิ ตั ิตวั ของผูท ีเ่ ปน โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธ 1. ตองรกั ษาอยางรวดเร็ว เพอื่ ปองกนั การแพรเช้ือโรค 2. แจงคนู อนใหทราบวา เปน โรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธ เพื่อจะไดปองกนั ไมใ หเช้ือแพรไปสคู นอนื่ 3. รักษาอาการ และปฏิบตั ติ ัวตามคาํ แนะนําของแพทยอยา งเครง ครัด 4. หลีกเลีย่ งการมีเพศสมั พนั ธ หรอื การสําเร็จความใครดวยตวั เอง เพื่อปอ งกนั ไมใหอ าการอักเสบลุกลาม 5. งดด่มื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล ของมนึ เมาทุกชนิด 6. ไมค วรซ้อื ยามารักษาเอง ควรปรึกษาแพทย เพ่ือใหไดรบั การรักษาท่ีถกู ตอง รกั ปลอดภยั Sex ปลอดโรค ถงึ ยามรัก..นาตมผักกว็ าหวาน แตเมอื่ นาน เอานาตาลกรอกปากยังบอกขม..ความรกั มีได แตค วรอยูใน กรอบ กติกา และ ไมควรเกนิ เลย รักมีได แตอยาลืมหนาท่ี คดิ จะมี Sex ควรมี เม่ือพรอม มีเมอ่ื ถึงเวลา สขุ เดี๋ยวเดียว แตชีวติ ท้ังชีวติ ทต่ี อ งเสียสิง่ ดีๆไป ไมคุมคานะครบั ปจจุบนั วยั รุนไทยทอ งกอนัยอันควรมากขน้ึ หลายคนเสียอนาคต บางคนตองไปทําแทง บาง คนตองเปน คุณแมท่ตี องเลย้ี งลูกเพียงคนเดียว หลายคนบอกวา ก็ที่พลาดเพราะรัก หลาย คน บอกวาก็มันอารมณช ั่ววูบ ไมคดิ วา จะเกิดปญ หา เอกสารชดุ นบ้ี อกและแนะนําการปองกันการต้งั ครรภบ าง ประการท่ีควรทราบในวัยรุน ผูบรรยายปรารถนาใหผเู ขาอบรมไดท ําความเขาใจ และตั้งใจในการศกึ ษาเลา เรยี น เรื่อง sex เม่อื ถงึ เวลาทีเ่ หมาะท่คี วร เราตอ งไดเ รียนรูแน นอ งๆเยาวชนเสยี อนาคตไปเยอะ ถามวามีความรูไหม คาํ ตอบคือมี แลวทําไมถึงทอง ที่ทอ งเพราะเราไมร ักตัวเอง ไมห ว ง ตัวเอง เพราะไมต ระหนกั กอนฟงบรรยาย ทาํ ความเขา ใจกันกอนวา

29 1. หนา ทเ่ี ราคือนักเรยี น ไมใชนกั รกั ต้งั ใจเรียนใหจ บ..แลวชวี ติ คุณจะดขี น้ึ 2. หากถกู ชักชวน หรือชวนไปในลักษณะท่ีนึกไดวา ถา ไป...เสร็จแน ควรปฎเิ สธกอ น จะสายเกนิ แก พอกับแมท ํางาน เหน่ือยมาก กวาจะมีเงนิ มาจายคาเทอม อยาใหท า น ผดิ หวงั 3. การคมุ กําเนดิ ท่ดี ีที่สุด ปลอดภัยจากโรค ไมเสีย่ งทอ ง คือถงุ ยางอนามยั ถึงยามรัก..นา ตม ผักก็วาหวาน แตเ มอื่ นาน เอานาตาลกรอกปากยังบอกขม..ความรกั มีได แตค วรอยูใ น กรอบ กติกา และ ไมควรเกินเลย รักมไี ด แตอยาลืมหนาที่ คดิ จะมี Sex ควรมี เมอื่ พรอม มีเม่อื ถึงเวลา สุขเดยี๋ วเดยี ว แตช ีวติ ท้งั ชวี ิตทีต่ อ งเสียส่งิ ดีๆไป ไมคุม คานะครบั 2 4. การหลง่ั ภายนอก และ การนบั ระยะปลอดภัย ไมแนะนําใหใชในวัยรุน ขอรองทอ ง กันมาเยอะแลว 5. หากคดิ จะมี sex ลองถามตวั เองกอนนะครับวา ถา ทอ งแลวจะทําอยางไร คนท่เี รา กาํ ลังจะมีอะไรดวย มนั ดที ่ีสดุ ของเราแลว หรอื .... 6. คนที่รกั กนั รักกันไดโดยไมตองมี sex ครบั สรางอนาคตรวมกนั ดูแลใจกัน พรอ ม และคดิ วา ใชแนคนน้ี แต งงานกัน มีความสุขนะครับ 7. ฟง บรรยายเสรจ็ แลว หากมีขอ สงสัย โทรหาผูบ รรยายได 086 – 3277561 ยินดี ปรึกษาทุกเรือ่ ง 3.ยาคุมกาํ เนิดแบบเม็ด มีหลากหลายย่หี อ ยาคุมกาํ เนิด เปนวิธีการคุมกําเนดิ ท่ีนิยมกันมากท่สี ดุ และใหผลดี ซึง่ ผลของยาคือ ทําใหไ ขไ มต ก แตกเ็ ปนหนาท่ีของคุณผูห ญงิ ทตี่ องไมลืมรับประทานยา เพราะถาลมื ...กอ็ าจจะ ผดิ พลาดเกิดการตกไขขนึ้ มาได และการรบั ประทานยาคมุ กําเนดิ นี้ บางคนอาจจะมีอาการแพ หรือมปี ระจําเดือน ผดิ ปกติ จงึ ตอ งสังเกตตัวเองใหด ี วธิ ีนีน้ อกจากจะไดผ ลดแี ลว ยงั ทาํ ใหป ระจาํ เดือนมาสมา เสมอ รักษาสวิ ได ท่ีสาํ คญั กจิ กรรม ปด ปว วของคุณจะ อสิ ระเสรดี งั ใจฝน ปราศจากส่ิงพนั ธนาการมากน้ั ขวาง แตตองเขาใจกอนนะ ครบั วา..ปองกนั การตัง้ ครรภไดแ ต ไมไ ดป องกันโรคติดตอ ทางเพศสมั พันธ. . ยาเม็ดคุมกําเนดิ ประกอบดวยฮอรโมน 2 ชนดิ คอื 1. เอสโตรเจน (Estrogen) 2. โปรเจสเตอโรน (Progesterone) คณุ สมบัตขิ องมันน้นั ดีเหลอื เชือ่ เพราะจะยับย้งั การตกไขแ ละปองกนั ไมใหม ีไขสุข อกี ท้ังจะ สกัดกัน้ ไมใ หอสุจิเขาสูมดลกู และขัดขวางการฝง ตวั ของไขท ี่ผสมเสรจ็ แลว ดว ย เพราะฉะนัน้ หากทาํ ตามวิธี อยา งเครงครัดตามประเภท และชนดิ ของยาทม่ี หี ลากหลาย วิธีนี้ ไดผลคอนขา งชวั รเ ชน กัน นบั เปนวธิ ดี ้ังเดิมทล่ี กู ผูหญงิ นยิ มและจําเปน ตองทํา หากผูชายเปนฝายเอาเปรยี บไมค ํานึงถงึ ผลเสยี ในการ ไมส วมถงุ ยาง อนามัย ผูห ญงิ เราจะทาํ อะไรไดด ไี ป กวาการรบั ประทานยาคมุ กําเนิดเลา 4 ยาคมุ กําเนิดแบบเม็ด มี 2 แบบ คือ แบบ 21 เมด็ และ 28 เมด็ แบบแรกที่ขอแนะนาํ คอื ยาคุมกําเนิด แบบ 21 เมด็ การเริม่ กนิ ยา เรม่ิ กิน ในวนั ท่ี 1 – 5 ของ การมีประจําเดือน โดยเร่ิมเม็ดยาใหตรงกบั วนั ที่เราเร่ิมกินยา เชน เร่มิ วันจนั ทร กเ็ ริ่มเม็ดที่ ดา นหลังแผงเขียนวา จ หรอื mon กินคนื ละ 1 เม็ด กอ นนอนทุกคนื เวลาเดยี วกนั ป องกันการ ลมื กินยา ไลตามลูกศร จนครบ 21 เมด็ เม่ือหมดแผงใหหยดุ ยา ( นับวันวา งยา ) ไป 7 วัน ครบ 7 วนั เริ่มยา แผงใหมไดเลย ในชว ง 7 วันที่หยุดยา จะมปี ระจําเดือนมา ไมตองตกใจ ไมวาจะมา ก่วี ัน หมดหรือไมหมด เมอื่ ครบ 7 วนั ใหเร่ิมแผงใหมไ ดเ ลย ยาคุมกําเนิดแบบ 28 เมด็ พอดีกบั รอบเดือน คอื 28 วนั ประกอบดวย ฮอรโมน 21 เม็ด และ ท่ี เหลืออกี 7 เมด็ คอื เม็ดแปง , วติ ามิน หรือ เหล็ก ท่เี พ่ิมเขามาเพื่อปองกันการลืมกินยา จะไดกนิ ยาติดตอ กันทุกวัน ไมต องเวน วนั วา ง ไม ตอ งกังวลเรอ่ื งการนับวัน การเร่ิมกนิ ยา เริ่มเหมือน แบบ 21 เม็ด คอื เรม่ิ กิน ในวนั ท่ี 1 – 5 ของการมีประจําเดือน เมอื่ ครบ 28 เมด็ ใหเ ริ่มแผงใหม ไดเ ลย ไมต องนับวนั วา ง ขอควรทราบ 1. ในการกินยา หากกนิ ตดิ ตอกนั ได 10 เมด็ เร่ิมมผี ลในการคุมกาํ เนดิ เพราะยา 7 เมด็ แรกมีผลตอการ ยบั ย้ังไขตก กิน 14 เม็ด ไดผลในการคมุ กาํ เนดิ แตป ระสิทธิภาพไมดี นัก หาก คิดจะมกี จิ กรรมในชว งนี้ ควรใช ถุงยางอนามยั รว มดว ย จะดีมาก ท้ังปลอด โรคและไมเ สีย่ งตงั้ ครรภ แตถาแผงถัดไป จะปลอดภยั มากกวาหากจะมี กิจกรรม ใน กลุม วัยรุนแนะนาํ วา ควรใชถ ุงยางอนามยั เพราะ ปลอดภัยจากโรคมากกวา เพราะมี แนวโนม ท่ีอาจมิได มี คูเ พศ เพียงคเู ดยี ว 2. การกนิ ยาแผงแรกอาจมีผลขางเคียง เชน คล่ืนไสอ าเจยี น เจ็บตงึ เตานม เพราะรางกายยัง ไมช ิน

30 เมอ่ื เรม่ิ แผงที่ 2 จะดขี นึ้ 3. กรณีลืมกนิ ยา แนะนําวา ใหก ินเมด็ ท่ีลืมทันทที ่ีนึกได และเม็ดปกตทิ ่ีตอ งกินในวันนัน้ ก็กิน เวลาเดมิ ไมค วรลมื เกิน 1 เม็ด ประประสิทธภิ าพในการคุมกาํ เนดิ จะนอ ยลง 4. ยาคุม แบบ 21 เมด็ ในชวง 7 วันที่ หยดุ ยา สามารถมเี พศสัมพันธได 5 ขอ แนะนาํ สาํ หรับการเลอื กซื้อยาเม็ดคุมกําเนดิ คือ ควรเลอื กใชท ่มี ีฮอรโ มนตา เพอื่ ไมใหเกดิ ผลขา งเคียง ควรเลือกแบบแผงละ 28 เมด็ แทนทเี่ ปนแผงละ 21 เมด็ ซง่ึ ตอ งหยุด 1 อาทติ ย เพราะอาจทาํ ใหลมื รบั ประทานไดงา ย สําหรับผทู ่ยี งั ไมมลี ูก ยาเม็ดคุมกําเนดิ นา จะดีทส่ี ุด เน่ืองจากสะดวก ราคาถูก ผลขา งเคียง นอย แตถ า มีบุตรแลว ตอง การคุมกาํ เนดิ ระยะยาวอาจเลือกใชวธิ กี ารฝง ยา ใสห ว ง หรือฉดี ยา แตถ า ยงั ไมมีบตุ รอาจใชแ ผนแปะก็ได หากไมอยากกินยาคุมกาํ เนิด ขอควรระวังการกินยาคมุ กาํ เนดิ ที่ควรรู คอื ในกลุม ผูป วยเบาหวาน หลอดเลือดดาํ อดุ ตนั โรคตบั หรอื โรคคอพอก หากจะรับประทานยาคมุ กาํ เนดิ ตอ ง ปรกึ ษาแพทยกอน เพราะอาจมี ผลขางเคยี ง ตอการควบคมุ โรคน้นั ๆ ได เชน คนทเ่ี ปนหลอดเลือดดําอดุ ตันโอกาสที่ หลอด เลือดดําอดุ ตันสงู ขึ้นได ขณะเดยี วกันระดับอายุกม็ ผี ลตอ อาการขางเคียงในการใชย าคมุ โดยเฉพาะผูหญิงที่ มอี ายุ มากกวา 35 ป ข้นึ ไป เชน เดยี วกบั สตรีที่สูบบหุ รีย่ ง่ิ ตอ งระมดั ระวงั มากขึน้ เพราะเส่ยี งตอหลอด เลือดดําอดุ ตัน แตถ าในกลุมทีม่ ีอายตุ ากวา 35 ปไมมปี ญหา 6.ยาคมุ กาํ เนิดฉกุ เฉิน ถา คุมแลว พลาด..หรือไมทนั ไดป อ งกัน อยาชา!!! ใชแผนสองดว น ไมวา Sex คร้งั ลาสดุ ของคุณจะซาบซานถงึ ใจ จนถุงยางอนามยั เล่ือนหลุด ไมมั่นใจวา อาจจะ แตก จะรัว่ หรอื เพง่ิ ผานสถานการณท ี่คณุ ไม คาดคดิ วา จะเกิด เพศสัมพนั ธท่ไี มต ั้งใจ จงึ ไมไ ด ปองกัน พอหันกลบั ไปดูปฎิทนิ ยังเปน ชว งวันอันตรายอีกดวย ชว งไข ตกพอดี อยาเพิ่งกลมุ เอาเวลาท่ตี องนั่งกลมุ ไปซอื้ ยาคมุ ฉุกเฉนิ มากินโดยดว น ปองกันการตั้งครรภได 85% (ยา วา 85% นะครบั ฉะน้นั ถุงยางอนามัยอยา ลืมใช) วธิ กี ิน ยา 1 กลอ ง จะมี เม็ดยา 2 เมด็ เม็ดท่ี 1 กินเรว็ ที่สดุ หรอื ภายใน 72 ชัว่ โมง หลังจากมี เพศสมั พนั ธ เม็ดท่ี 2 กินหลงั จากกนิ เมด็ แรกไป แลว 12 ชวั่ โมง ยาคุมฉกุ เฉิน ควรใชเม่ือจาํ เปนจริงๆ เทา นั้น เปนยาท่ีใชห ลังจากมีเพศสัมพันธ ซึ่ง sex ครัง้ นั้นคุณอาจจะไมไดต ั้งใจ หรอื ไมเตม็ ใจ จงึ เรยี กวา Emergency Pills หรือ Morning after pills มีขายทร่ี านขายยาในช่ือ \"โพสตินอร\" เม่ือกินแลวอาจจะเกดิ อาการคล่ืนไส เวยี น หวั ถา กนิ ยาเม็ดแรกเขาไปแลว อาเจยี น ภายใน 20 นาที ตอ งกนิ ซา เพราะตวั ยายัง ไมไดถ ูกดดู ซมึ และเม่ือถงึ กําหนดมีรอบ เดือนอาจจะมเี ลอื ดออกมากะปรดิ กะปรอย หรอื ลาชา ออกไปได เพราะ ตัวยาเปน ฮอรโมนเพศในปริมาณสงู ท่ีไปรบกวน ระบบรอบเดอื นปกติได 7 ถงุ อนามยั สตรี ถุงยางอนามัยสําหรับหญิง มลี กั ษณะเปน ถุงโปรงแสง ทรงกระบอก ปลายมน ทําดวยโพลียูรี เธน ปลายเปดของถุงยางมีขอบลกั ษณะคลายหวงติดอยเู รียกวา ขอบนอก มี เสน ผา ศูนยกลาง 7 เซนตเิ มตร ภาย ในกนถุงซง่ึ เปนปลายตนั จะมีหว งอีกอันหน่ึงวางอยูมีเสนผา ศนู ยกลาง 5.5 เซนติเมตร เรียกวา ขอบใน ซึ่งสามารถถอด ออกได ขอบในจะใชสอดถุงยางเขา ไปในชองคลอด โดยบีบขอบในแลวสอดเขาไปจนสุดซ่ึงจะเขาไปครอบบนปากมดลูก และหวงน้ีจะยึดถงุ ยางไว ไมใ หห ลุดออกมาในขณะที่หว งนอกที่เปน ขอบถงุ ยางจะชว ยใหถุงยางแผตดิ ตรงบริเวณปาก ชองคลอด ขอดี ผูห ญิงสามารถปอ งกันตนเองได สามารถสอดใสไวกอนรวมเพศได ขนาดของถุงมี เสนผา ศูนยกลาง กวา งพอไมทําใหฝายชายอดึ อัด มีความเหนียวและทนทานดี หลงั การรว มเพศ แลวฝายชายไมจําเปน ตองรบี ถอนอวัยวะ เพศออกเพื่อถอดถงุ ยางอนามัยทันที ยังคงสามารถ สัมผัสใกลชดิ กนั ไดนานๆ สวนขอเสยี การสอดใสถ ุงยางเขาไป ในชอ งคลอดหญิงอายุนอ ยบางคนยังรับไมได หรือมหี ว ง อยูท่ขี อบถงุ ยางซง่ึ โผลอ กมานอกปากชอ งคลอด ทาํ ใหคูน อน เสยี ความรสู กึ ทางเพศ มีรปู ราง เทอะทะไมน าใช ผใู ชบ างรายอาจมีอาการเจบ็ ขณะรวมเพศ นอกจากนี้แลวราคายังแพ งกวา ถงุ ยางอนามยั ชาย ถุงยางอนามยั ชายจึงไดร บั ความนิยมมากกวา

31 8 ทัศนคตชิ ายสอนหญงิ \"คา ใชจ ายในการคุมกาํ เนดิ ผูหญงิ กบั ผชู ายอะไรแพงกวากัน ทําไมเวลานกึ ถึงการ คมุ กาํ เนิดจงึ ตอ งเปน ผูหญิง\" ผูเ ขียนเคยอธบิ ายใหผ ฟู งการบรรยายฟงวา การคุมกาํ เนิดผูชายมีแคก ารใชถุงยางกบั การ ทํา หมนั ชาย ถามองความคุมคาทางเศรษฐศาสตร การคมุ กําเนดิ ผูชายคุม คา มากท่ีสดุ เพราะราคา ถูกและทาํ งายกวา การทําหมนั หญิง หรอื การใชย าคมุ กาํ เนิด ราคาถุงยาง ถูกกวา การใหเ พศหญงิ กนิ ยาคมุ กําเนดิ แตผ ชู ายไมนิยม ทัศนคติที่ผูชายมองวา ตนเองไมไดทอง ไมต อ งรับผลของการกระทําทเ่ี กิดข้ึน ทาํ ใหขาด ความระมัดระวัง และคดิ วา ไม จาํ เปนตอ งคมุ ผูห ญงิ ตา งหากที่ตองคมุ เพราะผหู ญงิ เปนผูท่ี จะตอ งรับภาระท่จี ะเกิดขน้ึ จากการมเี พศสัมพันธ ทัศนคติ นเี้ หมอื นกนั ทวั่ โลก \"การศกึ ษาไมไดทาํ ใหผ ชู ายเลิกเห็นแกตัว แตก ารศกึ ษาน้นั ทําใหผ ชู ายมสี ว นรว มในการ ดูแล สงั คมมากขน้ึ คดิ ไดวา ควรปองกนั ดวยการเตือนใหผหู ญงิ คุมกาํ เนิด แตต นเองไมทาํ \" ดงั นั้น ในทางปฏบิ ัตผิ หู ญงิ ตอง ใสใจคุมกําเนดิ มากกวาผชู าย ท้ังๆ ทก่ี ารคุมกําเนิด ผชู าย คุมคาและเกิดประโยชนส งู สดุ ทง้ั แงของตน ทุนคา ใชจาย และ ความปลอดภัยก็ตาม ลองคิดสิ วาถาใชถุงยาง ผูช ายเองที่ปลอดภยั แถมยังไมต องทําใหใครตองมาตง้ั ครรภใหเ ปน ภาระ 7. งานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ ง กฤตยา อาชวนิจกุล;กนกวรรณ ธราวรรณ มหาวิทยาลยั มหดิ ล. สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสังคม;”กลา ววา รายงานวจิ ยั น้ี วิเคราะหวธิ ีคดิ วทิ ยาที่อยเู บ้ืองหลังงานวจิ ัยทางสังคมศาสตรเ รื่องเพศภาวะและเพศวิถกี บั เอดส กระบวน ทศั น (paradigm) ของการทํางานช้ินนคี้ อื การวิเคราะหวาทกรรมและภาษาในงานวจิ ัยผานมุมมองสตรีนยิ ม ซ่งึ เปนการ ร้อื ถอนอํานาจทีแ่ ฝงอยูในการเขยี นหรอื อํานาจท่แี สดงออกผานการเขียน จากการวเิ คราะหฐ านคติของงานวิจยั ทาง สังคมศาสตรท่ีเก่ียวกับเอดสที่คดั เลือกมาจาํ นวน 45 ช้ิน พบวาสว นใหญใ ชฐานคตติ ามสํานกั คิดปฏฐิ านนิยม จาํ นวน งานวจิ ยั ที่ใชฐ านคติแบบตีความนิยม และวิพากษนยิ มมีคอนขางนอย อยางไรก็ตาม การวเิ คราะหง านวจิ ัยทงั้ หมดได สะทอ นความแตกตางของ ‘วิธีคิดวทิ ยา’ (research conceptualization) ท่ีอยูเบื้องหลังฐานคตขิ องแตละสํานกั คิดใน การกาํ หนดเปาหมายงานวจิ ยั วธิ กี ารเกบ็ ขอ มลู การตคี วามหมายปรากฏการณท ีศ่ ึกษา และการเชื่อมโยง (หรือไม เชอื่ มโยง) ของขอคนพบกับขอเสนอแนะท่ีไดจากงานวิจยั ในการวเิ คราะหวาทกรรม ผูวจิ ัยไดถ อดรหัสวิธคี ิดของงาน เขยี นท่เี กยี่ วกับเพศภาวะและเพศวถิ ีกับเอดสศกึ ษา 3 ชดุ ความคิดคือ (1) การเปลย่ี นแปลงเชิงโครงสรา งทางเศรษฐกจิ และสงั คมเปนสาเหตุท่ีทาํ ใหก ารแสดงออกทางเพศของคนเปลยี่ นแปลงไป (2) พฤตกิ รรมทางเพศวาดวยเร่อื งเอดสเ ปน พฤติกรรมทางเพศระหวา งชายและหญิง ซง่ึ เปนการผลิตซาํ้ ความคดิ ท่ีวา ความสมั พนั ธทางเพศ “ท่ถี ูกตอง” คือสงิ่ ที่ เกิดขน้ึ ระหวางชายหญิงเทา นั้น และ (3) การสนั นิษฐานไวก อนวาคนที่อยใู น “กลมุ เดยี วกัน” ยอ มมีพฤติกรรม เหมือนกัน โดยเฉพาะอยางยง่ิ ความคดิ เก่ยี วกับเรือ่ ง ‘กลุมเสย่ี ง’สําหรับการวิเคราะหภาษาเพื่อช้ีใหเหน็ วา ภาษาเขียน ท่ี ใชใ นงานวจิ ัยเอดสมีอาํ นาจในตัวของมนั เอง เพราะสามารถตอกยาํ้ และผลิตซา้ํ ชุดความคิดใดความคิดหน่ึงได หรือ สามารถร้ือใหเห็นรากเหงา ท่ีมาของชุดความคดิ ใดความคดิ หนงึ่ ไดเชน กนั คําตอ ไปนี้คือ ‘การแตง งาน’ ‘เพศสัมพนั ธก อน สมรสหรือกอนวยั อันควร’ ‘การรักนวลสงวนตัว’ ‘พฤติกรรมเสีย่ ง’ ‘กลุมเสีย่ ง’ และ ‘สาํ สอ น’ ไดถูกหยบิ ยกข้นึ มาให เห็นถงึ อาํ นาจในการเขยี น (narrative authority) ของนักวิจยั แนวคดิ ทฤษฎที ่นี ักวจิ ยั ใชจะเปนตวั ท่ีสะทอนชัดมากกวา งานวจิ ัยชนิ้ นนั้ ๆ วางตําแหนงของกลุมที่ไปศึกษาไวอยา งไร มองความสมั พนั ธร ะหวางนักวิจยั กบั ผทู ี่ถูกศกึ ษาอยางไร และท่ีสําคัญคือมลี ักษณะการผลติ ซํา้ หรือวา ตอรองอํานาจทางความรขู องสถาบนั ใด ผวู จิ ยั ไดว ิพากษส รุปรวมการ ถอดรหสั ความรูความจรงิ ในมิตสิ าํ คญั ๆ ของเรือ่ งเพศในเอดสศกึ ษาของไทย 5 ประเดน็ คือ (1) เมอ่ื คําวา ‘รักนวลสงวน ตวั ’ ถกู ผลติ ซา้ํ และตอกย้ําวาคอื อุดมการณสําหรับ ‘ผหู ญิงดี’ ในสงั คมไทย (2) อคติทแี่ ฝงฝงอยกู ับคําวา ‘เพศสมั พันธ กอนสมรส’ (3) มายาคติเรือ่ ง ‘กลุม เส่ียง’ (4) การสถาปนาสมการความเช่ือเร่อื งถุงยางอนามัยวาของคูกนั ของชายนกั เทย่ี วกับหญิงบรกิ าร และ (5) ความลม เหลวของการพยายามสรา งความรูใหมจ ากความรเู ดมิ โดยการวิจัยแบบ KAP Survey มมุ มองใหมในการวางนโยบายการวจิ ัยเรอื่ งเพศกับเอดสที่เสนอคือ (1) ใหพ ุงความสนใจไปท่ีการวางแนวทาง

32 การศึกษาเพ่ือใหเ ขาใจพฤติกรรมทางเพศแบบทีน่ าํ ไปสูการติดเชอ้ื โดยการวจิ ัยควรเรม่ิ ท่ีจดุ ยืนแนช ัดวา กลุมบคุ คลท่ี ศึกษาไมว า จะเปน ใครกต็ ามมีทางเลอื กในชวี ติ มากนอยเพียงใดทจี่ ะทําใหเ ขามีพฤติกรรมทางเพศท่ีไมน ําไปสกู ารตดิ เช้ือ เอชไอวี บริบทในชวี ิตแบบใดทําใหคนแตละคนตองตกไปสูการมีพฤติกรรมเส่ยี ง (2) มิติใหมใ นการวิจัยเกี่ยวกับถุงยาง อนามัย 2 มิติ คือ วัฒนธรรมทางกามารมณแบบไทยๆ กับการใชถงุ ยางอนามยั และการวจิ ยั สาํ รวจทส่ี ามารถเชือ่ มตอ ภาพอตั ราความชกุ ของการใชถงุ ยางอนามยั กับอตั ราการของการคงใชถงุ ยางอนามยั และ (3) การวิจยั เรื่องเพศกับเอดส ทสี่ ังคมไทยยังขาดแคลนความรูความจรงิ และความเขา ใจ ไดแก ในกลุมประชากรตอ ไปนี้ กลุมผูช ายแปลงเพศ หญิงรกั หญงิ กลมุ รกั สองเพศ (bisexuality) ในมิตเิ รื่องความรนุ แรงตอ ผูหญิงกับความเสีย่ งของผูหญงิ ในการตดิ เช้ือ การเลือก ปฏิบตั ติ อ ผูห ญิงบริการกบั ความเสย่ี งของผหู ญงิ บริการในการตดิ เชอ้ื บริบทชีวิตของแรงงานขา มชาตกิ บั ความเสย่ี งตอ การติดเชอ้ื และในมิติท่ียังไมเคยมีการศกึ ษาคือ เรอื่ งของเพศภาวะและเพศวิถีในโลกเสมือนจรงิ (cyber genders and sexualities)

บทท่ี 3 วิธดี ําเนนิ การ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอพนัสนคิ ม ตาํ บลหนองปรือ จัดทาํ โครงการ สงเสรมิ การเรียนรูเร่อื งเพศวิถีศึกษา ขนั้ ตอนดังน้ี 1. สํารวจความตอ งการ 2. ประสานงานกับหนว ยงานและบุคคลท่ีเกย่ี วของ 3. จัดการดําเนนิ การโครงการ 4. ประเมิน 1.สํารวจความตองการ ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอพนสั นคิ ม ไดจ ดั ทาํ แบบสํารวจความตองการ การ จัดกจิ กรรมสาํ หรบั ประชาชน กศนตําบลหนองปรือ ซ่ึงพอสรุปไดวา ประชาชน กศน.ตาํ บลหนองปรือ มีความตองการที่จะเขารว มกิจกรรมเกี่ยวกบั การศึกษาเรียน เรยี นนอกสถานทใ่ี นเร่ืองของโครงการสง เสรมิ การเรยี นรูเ รอ่ื งเพศวิถีศึกษา ณ โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบลหนอง ปรอื ตําบลหนองปรือ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เมอื่ ไดข อมูลดังกลา ว ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั อําเภอพนัสนคิ ม กศน.ตาํ บลหนองปรอื จงึ ไดจดั กจิ กรรมโครงการสง เสรมิ การเรียนรูเรือ่ งเพศวถิ ีศึกษา จัด ข้นึ ในวนั ท่ี 30 มกราคม 2563 ขน้ึ 2. ประสานงานกับหนว ยงานและบคุ คลที่เก่ียวของ การตดิ ตอประสานงาน เชน ประสานเรือ่ งสถานท่ี ที่จะใชใ นการศึกษาดูงาน ประสานงานกบั วทิ ยากรผจู ะทํา การบรรยาย เกีย่ วกับเน้ือหาและรูปแบบในการศึกษาดงู าน กาํ หนดวนั เวลา และสถานท่ี 3 จัดดาํ เนินการโครงการ โครงการสงเสรมิ การเรียนรเู ร่ืองเพศวถิ ศี ึกษา จัดข้ึนในวันท่ี 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพ ตาํ บลหนองปรือ ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี วทิ ยากรโดย นางเสาวภา สวสั ดี มี เขารวมกจิ กรรม จาํ นวน 20 คน 4. การวิเคราะหข อมูล ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอพนสั นิคม กศน. ตาํ บลหนองปรือ ไดดําเนินการ ตามขน้ั ตอนและไดรวบรวมขอมูลจากแบบสาํ รวจสถิตทิ ีใ่ ชในการวิเคราะห คือโดยกําหนดคา ลําดับความสําคัญของการ ประเมนิ ผลออกเปน 5 ระดบั ดงั นี้ มากที่สุด ใหคะแนน 5 มาก ใหค ะแนน 4 ปานกลาง ใหคะแนน 3 นอย ใหคะแนน 2 นอ ยทส่ี ุด ใหคะแนน 1

34 ในการแปลผล ผจู ดั ทําไดใชเกณฑก ารพจิ ารณาจากคะแนนเฉล่ยี ตามแนวคดิ ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด และบุญสง นิวแกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดมี าก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.50-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.50-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตอ งปรับปรุง 5.ประเมินผล การจดั กิจกรรมในคร้ังนี้นกั ศึกษาท่เี ขารวมโครงการสงเสรมิ การเรยี นรูเ รื่องเพศวถิ ีศกึ ษากรอกขอมลู ตาม แบบสอบถาม เพื่อนาํ ไปใชใ นการประเมินผลของการจดั กจิ กรรมดงั กลา ว และจะไดน าํ ไปเปน ขอมลู ปรับปรุง และ พฒั นา ตลอดจนใชใ นการจดั ทําแผนการดําเนินการในปต อไป

บทท่ี 4 ผลการดาํ เนนิ การ จากผลการดาํ เนินงานการจัด โครงการสง เสริมการเรยี นรเู รื่องเพศวถิ ีศึกษา ของศูนยก ารศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอพนัสนิคม กศน.ตําบลหนองปรอื จัดขึน้ ในวนั ที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตําบลหนองปรือ ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี มี เขารวมกิจกรรม จาํ นวน 20 คน จากแบบสอบถามทไ่ี ด สามารถนาํ เสนอผลการวเิ คราะหขอมลู จากผูใหขอมูลทง้ั หมด จํานวน 20 ชดุ สวนท่ี 1 ขอ มูลทว่ั ไปของผูตอบแบบสอบถามของผูเ ขา รับการอบรม โครงการสงเสรมิ การเรยี นรเู รอ่ื งเพศวถิ ีศึกษา ผเู ขา รับการอบรมฯ ท่ีตอบแบบสอบถามไดน าํ มาจําแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผูจดั ทําไดเสนอจาํ แนกตามขอมูล ดังกลาว ดงั ปรากฎตาม ตารางที่ 1 ดงั ตอไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงคารอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ หญงิ ชาย จาํ นวน รอยละ เพศ จาํ นวน รอยละ ความคดิ เห็น 17 85 ผูเขา อบรมจดั โครงการสง เสริมการเรียนรเู รือ่ งเพศวถิ ี 3 15 ศึกษา จากตารางท่ี 1 แสดงวา โดยเฉลย่ี ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมโครงการสงเสริมการเรยี นรเู ร่อื งเพศวถิ ี ศึกษา เปน ชาย 3 คน คดิ เปนรอ ยละ 15 เปน หญงิ 17 คน คดิ เปน รอยละ 85 ตารางที่ 2 แสดงคา รอ ยละของผูตอบแทนแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ ต่ํากวา 20 ป 20-30 ป 31-40ป 41-50 ป 51 ปข้นึ ไป อายุ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ความคดิ เหน็ ผูเ ขาอบรมโครงการสงเสริมการ - - 1 5 1 5 4 20 14 70 เรียนรเู รอ่ื งเพศวิถศี ึกษา จากตารางที่ 2 แสดงวา โดยเฉล่ยี ผูตอบแบบสอบถามผเู ขารับอบรมโครงการสง เสริมการเรียนรูเรื่องเพศวิถศี ึกษา ในชว งอายุ 20-30 ป มจี าํ นวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 5 ในชว งอายุ 31-40 ป จาํ นวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 5 ในชว ง อายุ 41-50 ป จํานวน 4 คน คิดเปน รอ ยละ 20 และ ในชวงอายุ 51 ปขน้ึ ไป จาํ นวน 14 คน คดิ เปนรอยละ 70

39 ตารางท่ี 3 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี รับจา ง คาขาย ขา ราชการ เกษตรกร อนื่ ๆ ประเภท บาํ นาญ ความคิดเหน็ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ผูเขา อบรม โครงการสง เสริม การเรยี นรูเร่อื ง 10 5 3 15 - - 5 25 2 10 เพศวถิ ีศึกษา จากตารางท่ี 3 แสดงวา โดยเฉลีย่ ผตู อบแบบสอบถามของผเู ขา อบรมโครงการสงเสรมิ การเรียนรเู รอื่ งเพศวถิ ี ศกึ ษามอี าชีพรบั จางมากทีส่ ดุ จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 5 รองลงมาคือเกษตรกร มีจาํ นวนคือ 5 คน คิดเปนรอยละ 25 อาชีพคา ขายมจี ํานวน 3 คน คิดเปนรอ ยละ 15 และอาชีพอ่นื ๆ จาํ นวน 2 คน คิดเปนรอ ยละ 10 ตามลําดับ

40 ตอนท่ี 2 ขอ มูลเกีย่ วกับความคิดเห็นของผูเขารับอบรมโครงการสงเสริมการเรียนรูเรื่องเพศวิถศี กึ ษา ความคิดเห็น ของผูเขารับการอบรม จาํ นวน 20 คน จากแบบสอบถามทั้งหมดทมี่ ตี อโครงการสงเสริมการเรียนรูเ รอ่ื งเพศวิถีศกึ ษา ตารางท่ี 4 ผลการประเมินโครงการสงเสริมการเรยี นรเู รอ่ื งเพศวถิ ศี กึ ษา N = 20 ตารางท่ี 4 ผลการประเมินโครงการสงเสรมิ การเรยี นรเู ร่ืองเพศวิถีศกึ ษา รายการทีป่ ระเมนิ X S.D. อนั ดับ ระดบั ผลการ ท่ี ประเมิน ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา นเนอ้ื หา 1 เนอ้ื หาตรงตามความตองการ 4.17 0.50 11 ดี 2 เนื้อหาเพยี งพอตอ ความตอ งการ 4.28 0.56 6 ดี 3 เน้อื หาปจ จบุ ันทนั สมัย 4.39 0.59 1 ดี 4 เนื้อหามปี ระโยชนตอ การนําไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 4.33 0.47 3 ดี ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจดั กิจกรรม 5 การเตรยี มความพรอมกอนจดั กจิ กรรม 3.94 0.52 15 ดี 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.28 0.65 6 ดี 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.33 0.58 3 ดี 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ เปาหมาย 4.00 0.33 13 ดี 9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.17 0.50 11 ดี ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอวทิ ยากร 10 วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองท่ีถายทอด 4.28 0.45 6 ดี 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถา ยทอดใชส อ่ื เหมาะสม 4.39 0.49 1 ดี 12 วทิ ยากรเปด โอกาสใหมสี วนรว มและซักถาม 4.28 0.65 6 ดี ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดานการอํานวยความสะดวก 13 สถานที่ วสั ดุ อุปกรณแ ละสิ่งอํานวยความสะดวก 4.33 0.58 3 ดี 14 การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพือ่ ใหเกิดการเรยี นรู 4.00 0.67 13 ดี 15 การบรกิ าร การชว ยเหลือและการแกปญ หา 4.22 0.63 10 ดี คาเฉลี่ย 4.23 0.54 ดี จากตาราง 4 พบวา โดยเฉลีย่ แลวผูเขารับการอบรมในโครงการสง เสรมิ การเรียนรูเร่ืองเพศวิถศี ึกษาอยใู น ระดบั ดี เมือ่ วเิ คราะหเ ปน รายขอพบวา (X = 4.39) เปนอันดบั ที่ 1 คือ วทิ ยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส ่อื เหมาะสม ,เนอ้ื หาปจจบุ ันทันสมยั (X=4.33) เปน อันดบั ที่ 3 คือ เนื้อหามีประโยชนตอการนําไปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต,การ จดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา,สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณและส่ิงอํานวยความสะดวก(X=4.28) เปน อันดับที่ 6 คือ เนอ้ื หา เพียงพอตอความตอ งการ,การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค, วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่ืองที่ ถา ยทอด,วทิ ยากรเปดโอกาสใหม ีสวนรวมและซักถาม(X=4.22) เปน อันดับที่ 10 คอื การบริการ การชวยเหลอื และการ แกป ญหา (X=4.17) เปน อนั ดับที่ 11 คือ เนื้อหาตรงตามความตองการ,วทิ ยากรมีความรูความสามารถในเรอื่ งท่ี ถา ยทอด,วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค( X=4.00)เปน อนั ดบั ที่ 13 คือ การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับ กลมุ เปาหมาย,การส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพอ่ื ใหเกดิ การเรยี นรู(X=3.94)เปน อนั ดบั ท่ี 15 คือ การเตรียมความ พรอ มกอนจดั กจิ กรรม ตามลาํ ดับ

บทที่ 5 สรปุ ผลการดาํ เนนิ การ การจัดทาํ โครงการสงเสริมการเรียนรเู ร่ืองเพศวิถศี ึกษา ในวนั ท่ี 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 2. วัตถุประสงค 2.1 เพอื่ ใหผูเ ขารบั การอบรมมีความรคู วามเขา ใจเร่ืองเพศวิถี 2.2 เพอื่ ใหผเู ขารบั การอบรมสามารถนาํ เรอ่ื งเพศวิถีไปใชใ นการดาํ รงชีวติ ได 3.สํารวจความตองการ ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอพนสั นคิ ม กศน.ตําบลหนองปรือ ไดจดั ทาํ แบบ สํารวจความตองการ การจัดกิจกรรมสําหรบั ประชาชน กศน.ตําบลหนองปรอื ซ่ึงพอสรุปไดวา ประชาชน กศน.ตาํ บลหนองปรือ มคี วามตองการทจี่ ะเขารวมกิจกรรมเก่ียวกับการสง เสริมการ เรยี นรูเรอื่ งเพศวถิ ศี ึกษา เม่ือไดขอ มูลดงั กลา ว ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอพนัสนคิ ม กศน.ตําบลหนองปรือ จงึ ไดจ ัดกิจกรรมโครงการสง เสรมิ การเรียนรเู ร่อื งเพศวิถศี ึกษา จัดขึน้ ในวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี 4.สรุปผลการดาํ เนนิ งาน ผูเ ขา รว มโครงการสงเสรมิ การเรียนรูเรอื่ งเพศวถิ ศี ึกษา มีความพงึ พอใจอยูในระดับดี (X= 4.23) 5.อภปิ รายผล จากการจดั กิจกรรมโครงการสง เสรมิ การเรยี นรเู รือ่ งเพศวถิ ีศกึ ษา 1. ผูเ ขา รว มโครงการสงเสรมิ การเรียนรูเร่ืองเพศวิถีศึกษา อยูในระดับดี 2. ผเู ขา รว มโครงการสง เสรมิ การเรยี นรเู รื่องเพศวถิ ศี ึกษามคี วามรคู วามเขาใจเรือ่ งเพศวิถี 3. ผูเ ขา รวมโครงการสามารถนําเรื่องเพศวถิ ไี ปใชในการดํารงชีวติ ได 6. สรุปผลการนิเทศ จากการดาํ เนินการจดั กจิ กรรมโครงการสงเสรมิ การเรยี นรูเ รอ่ื งเพศวถิ ศี ึกษา ในวนั ท่ี 30 มกราคม 2563 ณ โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี เพื่อเปนการพฒั นาผูเรยี นใหมคี วามรู เพมิ่ เติมเกีย่ วกับเพศวถิ ี การปองกันและแนวทางการปองกันโรคติดตอ ทเ่ี กิดจากการมเี พศสัมพันธ รวมถึงสามารถนํา ความรทู ี่ไดรับไปเผยแพรตอไป 7. ปญหาและอุปสรรค - 7.ขอเสนอแนะ -

บรรณานกุ รม กรมการศึกษานอกโรงเรียน (2546) กฤตยา อาชวนิจกุล;กนกวรรณ ธราวรรณ มหาวิทยาลัยมหดิ ล. สถาบนั วิจยั ประชากรและสังคม บญุ ชม ศรีสะอาด และ บญุ สง นิลแกว (2535 หนา 22-25) https://www.thaihealth.or.th/Content/43154%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%95%E0 %B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%8 7%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0% B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C.html



แบบรายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมโครงการสงเสรมิ การเรยี นรเู รือ่ งเพศวถิ ศี ึกษา ประจาํ ปง บประมาณ 2562 ไปพลางกอ น ผรู ับผดิ ชอบโครงการ กศน.ตําบลหนองปรอื 1. หลกั การและเหตุผล ในปจ จุบนั มปี ญหาสังคมที่อยใู นภาวะวกิ ฤติ มากมายและสงผลกระทบถึงเด็กและเยาวชน ทง้ั ในดานปญหาการ เรยี นรแู ละพฤตกิ รรมที่ไมพ ึง ประสงคตาง ๆ ทท่ี ุกภาคสว นกําลังรวมมือกนั แกไ ขอยา งเรงดว น เพือ่ ใหเ ด็กและเยาวชนมี พฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค สามารถเรยี นรแู ละดาํ รงชีวิตอยูในสงั คมไดอยา งมคี วามสุขและปลอดภยั โดยเด็กและเยาวชน จําเปน ตอ งไดร บั การเสริมสรา งภมู คิ ุมกนั ทางสงั คมและทักษะชวี ติ เพอื่ เปนวคั ซนี ปองกนั ปญหาการพัฒนา คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนการเสรมิ สรางภมู คิ ุมกนั ทางสังคมและทักษะชีวติ ซ่ึงจาํ เปน ตอ งไดรับการปลูกฝง ทั้งจาก ครอบครวั ชมุ ชน โรงเรยี น ในการส่ังสอนใหน ักเรียนคดิ และแกไ ขปญหาทเี่ ผชิญหนา อยูใ นทุกชว งวัย หากเด็กและ เยาวชน ไดรบั การปลูกฝงต้งั แตเ ดก็ เช่ือวาจะสามารถออกไปเผชิญชวี ิต เปน อนาคตของชาติ และสามารถนาํ เอา ทักษะ การคิดวิเคราะห การแกไ ขปญหาไปชว ยเหลือตวั เองและสังคมไดเปน อยางดี กศน.ตาํ บลหนองปรอื ไดส ํารวจสภาพ ปญหาสงั คมที่อาจจะสงผลกระทบสถาบนั ครอบครวั ในพืน้ ท่ีรบั ผดิ ชอบ จงึ ไดคิดหาแนวทางในการเฝา ระวัง ปอ งกัน และ แกไ ขปญหารว มกัน ใน 5 กลุมเปา หมาย ไดแก เด็กและเยาวชน สตรี ผูส ูงอายุ ผพู กิ ารและผูดอ ยโอกาส พบวา กลุม คน เหลา นีเ้ ปน พลังสําคญั ยง่ิ ตอการพัฒนา ควรจะไดร ับการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทงั้ ทางดา นรางกายและจิตใจ รวมถงึ การเพิ่ม ทกั ษะการเรยี นรูทางสงั คม ซ่ึงเปนการสรางภมู คิ ุมกนั ทางสังคมใหสมาชิกในชุมชนทกุ กลุม/ทกุ ชว งวยั แนวทางหนงึ่ ให สามารถรบั มือกบั ปญหาตา งๆ ได กศน.ตําบลหนองปรือ จึงไดเ ล็งเหน็ ความสําคญั จากเหตุผลขางตน ดังกลา ว จงึ ไดดําเนนิ การจดั ทําโครงการ สงเสริมการเรยี นรูเ ร่ืองเพศวิถีศกึ ษาขนึ้ เพื่อใหป ระชาชนตําบลหนองปรอื มีความรู ความเขา ใจ เรอ่ื งเพศวิถแี ละ สามารถนาํ เรือ่ งเพศวิถไี ปใชใ นการดาํ รงชวี ติ ได 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพื่อใหผูเขา รบั การอบรมมีความรคู วามเขา ใจเร่ืองเพศวถิ ี 2.2 เพือ่ ใหผ ูเขา รบั การอบรมสามารถนําเรอื่ งเพศวถิ ีไปใชใ นการดาํ รงชีวิตได 3. เปาหมาย - ประชาชนตําบลหนองปรอื จาํ นวน 20 คน เชงิ ปริมาณ เชิงคณุ ภาพ -ประชาชนตาํ บลหนองปรอื มีความรู ความเขา ใจ เรือ่ งเพศวถิ แี ละสามารถนําเรื่องเพศวถิ ีไปใชในการ ดํารงชวี ติ ได 4. ตัวช้ีวัดความสาํ เรจ็ 1 ตัวชีว้ ัดผลผลติ (Outputs) รอ ยและ 80 ของผเู ขา รว มกจิ กรรม มีความรู ความเขา ใจเรอ่ื งโรคตดิ ตอทเี่ กิดจากการมเี พศสมั พนั ธและ แนวทางการปองกันเก่ยี วกบั เรอื่ งเพศวิถี 2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ (Outcomes) รอ ยและ 80 ของผูเขารวมกิจกรรม มีความรูแ นวทางการปอ งกันโรคติดตอทเ่ี กดิ จากการมเี พศสัมพันธ

5. ขัน้ ตอนการดําเนนิ งาน รายการ การดําเนินงาน การวางแผน Plan -สํารวจความตอ งการของประชาชนในตําบลหนองปรอื -ประสานงานกับกลมุ ประชาชนในตาํ บลหนองปรือ -ขออนุมตั แิ ผนการจดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะ ชีวิต การปฏิบตั ิ Do -ประชาสมั พันธโครงการ -ขออนุมัตโิ ครงการ -เตรียมการจดั . โครงการสง เสริมการเรยี นรูเรือ่ งเพศวิถี ศกึ ษา -ประสานงานกบั วทิ ยากร -ดําเนนิ การจัด. โครงการสงเสริมการเรยี นรเู ร่ืองเพศวิถี ศกึ ษา การตรวจสอบ/ประเมนิ ผล Check -สรปุ ผลการดาํ เนนิ งานตาม. โครงการสง เสรมิ การเรยี นรู เรือ่ งเพศวถิ ศี ึกษา -ประเมนิ ความพงึ พอใจของผูเ ขารวมโครงการตามแบบ ประเมินความพึงพอใจ -สังเกตผเู ขา รวม. โครงการสง เสริมการเรียนรูเร่อื งเพศวถิ ี ศกึ ษา แนวทางการนาํ ผลการประเมินไปปรบั ปรุง Act -ปรบั ปรุง และเวลาในการอบรม 6. ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน วนั พฤหสั บดที ่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2563 7. สถานท่ีในการจดั โครงการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองปรอื ม.7 ตําบลหนองปรอื อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี 8. ผลการดาํ เนนิ งาน 8.1ผลการประเมินขอ มูลพื้นฐานของผเู ขารวมโครงการ 1.จาํ นวนผูเขารวมโครงการ -ประชาชนในตําบลหนองปรือ จาํ นวน 20 คน 2.เพศ - ชาย 3 คน หญิง 17 คน รวมทง้ั สิ้น 20 คน 3.อายุเฉลีย่ 54 ปข ้ึนไป

4. อาชีพ รับราชการ จาํ นวน - คน ผูน ําชุมชน จาํ นวน - คน รับจา ง จํานวน 10 คน คาขาย/ธุรกิจสว นตวั จาํ นวน 3 คน เกษตรกรรม จาํ นวน 5 คน อืน่ ๆ (แมบ าน) จํานวน 2 คน รวมทงั้ สิ้น 20 คน 8.2 ความพงึ พอใจของผูเขา รวมโครงการตอภาพรวมของโครงการ 84.52% 8.3 บรรลุตามวัตถปุ ระสงคอยา งไร 1 ผูเขา รว มอบรมมีความรูความเขาใจเร่ืองเพศวถิ ี 2 ผเู ขา รวมอบรมสามารถสามารถนําเรื่องเพศวิถีไปใชในการดํารงชีวติ ไดส รปุ งบประมาณในการ ดําเนนิ งาน กิจกรรมการศึกษา ไตรมาส 2 รายละเอียดคาใชจ า ยในการดาํ เนินงาน 1. การอบรมให 2,300.-บาท ความร.ู โครงการ -คาวทิ ยากร 3 ชวั่ โมง ๆ 400 บาท เปนเงนิ 1,200.-บาท สง เสริมการเรยี นรู -คา คมู ือประกอบการอบรม 20 เลม ๆละ 20 บาท เปนเงิน 400.-บาท เร่อื งเพศวิถีศึกษา -คาอาหารวา งและเครื่องด่มื ม้ือละ35 บาทx20 คน1ม้ือ เปนเงิน 700.-บาท รวมเปน เงินทงั้ สิ้น 2,300.-บาท 9. จาํ นวนผเู รยี นและผูผา นการเรยี น/อบรม จาํ แนกตามอายแุ ละเพศ เพศ ตํ่ากวา 15 ป 15-39 ป 40-59 ป 60 ป ขึ้นไป รวม รวมทั้งสน้ิ อายุ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ 20 จํานวนผเู รยี น -- -2 38 -7 3 17 20 จาํ นวนผผู านการฝก อบรม -- -2 38 -7 3 17 10. จํานวนผเู รียนและผูผ า นการฝก อบรม จําแนกตามกลุมอาชีพและเพศ อ่ืนๆ ไมระบุ รวม รวม เพศ รับราชการ พนักงาน คาขาย เกษตรกรรม รับจา ง ช ญ ช ญ ช ญ ท้งั สนิ้ - 2 - - 3 17 20 รัฐวิสาหกิจ อายุ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จาํ นวนผูเรยี น - - - - -32 3 1 9

จาํ นวนผผู า นการฝกอบรม - - - - - 3 2 3 1 9 - 2 - - 3 17 20 11. จํานวนผูเรียนและผผู า นการฝก อบรม จําแนกตามกลุมเปาหมายและเพศ เพศ ผนู ํา ผตู อ งขงั ทหารกอง แรงงาน แรงงาน เกษตรกร อสม. กลมุ สตรี รวม รวม ทอ งถน่ิ ประจําการ ไทย ตางดา ว ทง้ั สิ้น อายุ ชญ ชญ จํานวนผเู รียน อบต. ชญชญ ชญ ชญ 23 -1 ชญชญ ---- 1 13 -- 23 -1 - - 3 17 20 จาํ นวนผูผ า นการ ชญ ---- 1 13 -- - - 3 17 20 ฝก อบรม -- -- 12. ปญหาอุปสรรคที่เกิดขนึ้ ระหวา งการดาํ เนนิ งาน ไมม ี 13. ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมโครงการในครั้งน้ี ไมมี /ภาพกิจกรรม

14. ภาพกิจกรรม โครงการสงเสริมการเรยี นรเู ร่ืองเพศวถิ ีศึกษา วันที่ 30 มกราคม 2563 วิทยากรใหความรู โดย นางเสาวภา สวัสดี ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ เรื่องเพศศึกษา โรคตดิ ตอที่เกิดจากการมีเพศสัมพนั ธ แนวทางการปองกนั เกย่ี วกบั เร่ืองเพศวิถีศึกษา ผรู ายงาน แบบ กศ.ตน.14 (นางสาวสรุ ภา เชาวนั ดี) ครู กศน. ตาํ บลหนองปรือ

เลขที่………………. ใบสมัครผเู รียนหลกั สูตรการจดั การศกึ ษาตอเน่ือง สถานศกึ ษา ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ/เขต....พนสั นิคม........ สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กระทรวงศึกษาธกิ าร หลกั สูตร/กิจกรรม……………………………………………………………………….....จาํ นวน...........ชวั่ โมง  ๑. ขอมูลสว นตวั (กรณุ ากรอกขอมลู ดวยตัวบรรจง) ช่ือ-นามสกลุ นาย/นาง/นางสาว....................................................เลขบัตรประจาํ ตวั ประชาชน.......................... เกิดวนั ที่/เดอื น/พ.ศ............................อายุ..........ป สัญชาต.ิ .................ศาสนา.....................อาชพี ..................... ความรูสูงสดุ จบระดับ.................................จากสถานศกึ ษา.......................................จงั หวัด.............................. ทอ่ี ยตู ามทะเบยี นบา นเลขท่.ี ...........หมูท.่ี .............ถนน/หมูบ าน.........................................ตาํ บล/แขวง.............. อาํ เภอ.............................จงั หวัด...............................รหัสไปรษณยี .........................โทรศัพท............................... ๒. สนใจเขา รวมกิจกรรม เนอ่ื งจาก...........................................................................................................................  เปน พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอในระดบั /สาขา………………………………………………………………………………..  ตองการเปลย่ี นอาชพี  ตอ งการใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน  ตองการมีอาชพี เสริม/อาชีพหลกั  อ่ืนๆ ระบุ.................................................................... ๓. สถานภาพของผูสมัคร  เปน ผูวางงาน  สมาชิกกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี  สมาชิกกองทนุ สตรเี ทศบาล  ผถู อื บัตรสวัสดกิ ารของรัฐ  อสม./อสส. รับจาง  เกษตรกร  สมาชิกกองทนุ หมบู าน  อืน่ ๆ.................................. ๔. ทานไดร บั ขาวสารการรับสมคั รจาก...................................................................................................................... สําหรับเจา หนาที่ ลงชื่อ.............................................ผสู มัคร ตรวจสอบรายละเอยี ด/ความเห็น (.......................................................) .................................................... ลงช่ือ............................................ผูร ับสมคั ร วนั ท่/ี เดือน/ป. .............................................. (..............................................) วันที/่ เดือน/ป............................................... หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลีย่ นไดตามความเหมาะสม ในกรณตี างดา ว ตองมี Work Permit จงึ จะสามารถสมัครเรียนได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook