Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5 บทตะกร้าไหมฟาง

5 บทตะกร้าไหมฟาง

Published by สุรภา เชาวันดี, 2020-03-22 14:18:05

Description: 5 บทตะกร้าไหมฟาง

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ วิชา การสานตะกราไหมฟาง หลักสตู ร 40 ชัว่ โมง ระหวางวันท่ี วันที่ 27 มกราคม 63 – 4 กมุ ภาพันธ 63 เวลา 9.00 – 15.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค ม.8 ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี กศน.ตําบลหนองปรอื ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนัสนคิ ม สาํ นกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบรุ ี

บทสรปุ ผบู รหิ าร โครงการอบรมอาชีพระยะสัน้ เพอ่ื การมงี านทาํ หลักสตู ร วิชาชีพรปู แบบช้ันเรยี นวิชาชพี วิชา การสานตะกรา ไหม ฟาง (หลักสูตร 40 ชวั่ โมง ) จดั ขน้ึ ในครั้งน้ีมวี ตั ถุประสงคเ พื่อพัฒนาการงานและอาชพี โดยใหความสําคัญกบั การจัด การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนางานและอาชีพระดบั พ้ืนฐาน ระดับกง่ึ ฝมือ และระดับฝม ือ ท่ีสอดคลอ งกับสภาพและความตอ งการของ กลมุ เปา หมาย โดยมงุ เนน ใหผเู รียนสามารถนาความรูไปใชใ นการประกอบอาชีพ หรือเพ่ิมพูนรายได ทง้ั น้ีใหมกี ารพฒั นา หลักสตู รและวิธกี ารทห่ี ลากหลายและทันสมยั สามารถใหบรกิ ารไดอยา งทั่วถึง อีกทั้งมุงจัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ ใหกบั ทุกกลุมเปาหมาย โดยจดั กจิ กรรมการศึกษาท่ีมุงเนน ใหทุกลุมเปา หมายมีความรูความสามารถในการจดั การชวี ติ ของ ตนเองใหอยใู นสงั คมไดอยางมีความสุขรวมท้ังการใชเวลาวา งใหเปนประโยชนต อ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน โดยมี กลุม เปาหมายคือ ประชาชนในตาํ บลหนองปรือ จาํ นวน 12 คน โดยจะใชกลมุ เปา หมายท้ังหมดในการคาํ นวณโดยใช โปรแกรมสําเรจ็ รปู คอมพวิ เตอร (โปรแกรมตารางคํานวณ) เพ่อื สรปุ ผลการดําเนนิ งานในครั้งนี้ วิธีการดาํ เนินงาน โดยการสํารวจความตองการของประชาชนในพน้ื ที่ตําบลหนองปรือและนําผลจากการสํารวจมา จัดทํากิจกรรมโครงการอบรมอาชพี ระยะสนั้ เพื่อการมงี านทํา หลกั สูตร วิชาชพี รปู แบบชน้ั เรียนวิชาชีพ วชิ า การสาน ตะกราไหมฟาง จํานวน 12 คน ในวันที่ 27 มกราคม -4 กมุ ภาพันธ 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค หมู 8 ตําบลหนองปรอื อาํ เภอพนัสนิคม จ.ชลบรุ ี โดยมี นางสาวเสาวลักษณ ปลีนอ ย เปน วทิ ยากรใหความรู หลังจากการจัดกิจกรรมโครงการ แลว มีการแจกแจงแบบประเมินความพงึ พอใจ สําหรับผูเขา รวมโครงการทัง้ หมด จาํ นวน 12 ชดุ แลว นําขอ มูลท่ีไดมา คํานวณทางสถิติ หาคา รอยละ คาเฉลยี่ การแจกแจงความถี่ และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการแปรผล ผลการดาํ เนินงาน จากการนาํ ขอมลู ที่ไดมาทําการคํานวณหาคาสถติ ิตางๆ สรุปวา ผเู ขารว มกจิ กรรม มคี วามพึง พอใจอยูใน ระดับ 4.74 (ดมี าก)

คํานาํ ตามที่ กศน.ตําบลหนองปรอื สงั กัดศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอพนสั นคิ ม ได ดําเนนิ งานตามนโยบายของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ดวยการเหน็ ความสาํ คัญใน การจัดการศึกษาพฒั นาอาชพี เพอื่ การมีงานทาํ อยางยงั่ ยืน จึงไดจัดการฝก อาชีพระยะสนั้ รูปแบบช้ันเรยี นวชิ าชพี วชิ าการ สานตะกราไหมฟาง ขึ้น เพือ่ สามารถนาํ ไปประกอบอาชพี ไดและยงั สรางมูลคา เพ่ิมใหกับอาชีพในปจจบุ นั ระหวา งวันที่ 27 มกราคม – 4 กมุ ภาพนั ธ 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค หมู 8 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี โดยมี นางสาว เสาวลักษณ ปลีนอย เปน วทิ ยากรใหค วามรู เพือ่ ใหไ ดขอ มลู สําหรับเปนแนวทางในการพัฒนากจิ กรรมดานพฒั นาอาชีพใหดยี ิง่ ขนึ้ ตอ ไป กศน. ตาํ บลหนองปรือ สงั กัดศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอพนสั นคิ ม จึงไดจ ัดทําสรปุ ผลการจัด กิจกรรมการดําเนินงานเพ่ือใหประชาชนในตําบลหนองปรือ มีอาชีพเสริมทีส่ ามารถสรางรายไดใหกบั ครอบครวั เพ่ิมข้ึน กศน.ตําบลหนองปรือ กมุ ภาพันธ 2563

สารบญั หัวเรื่อง หนา คํานาํ บทท่ี 1 บทนาํ 1- หลกั การและเหตุผล 1 - วตั ถุประสงค 1 - เปาหมาย 1 - วธิ ีดําเนินการ 2 - วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ 2 - แผนการใชจ า ยงบประมาณ 2 - ผูรบั ผิดชอบ 3 - เครอื ขาย 3 - โครงการที่เกีย่ วของ 3 - ผลลพั ธ 3 - ตวั ชีว้ ดั ความสําเร็จของโครงการ 3 - การติดตามและประเมนิ ผลของโครงการ 3 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเี่ ก่ียวขอ ง 4 - ยทุ ธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน สาํ นักงาน กศน.ประจาํ ปง บประมาณ 2562 4 - แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตาํ บลหนองปรือ 10 - หลกั การจดั การศกึ ษาตอเนอ่ื ง 17 - อาชพี ชน้ั เรียนและอาชพี ระยะส้ัน 31 บทท่ี 3 วิธีดําเนินงาน 33 - สาํ รวจความตองการของกลุมเปาหมาย 33 - ดําเนินการจัดกรรม 33 - การวิเคราะหขอ มูล 33 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล 34 - ตอนท่ี 1 ขอ มูลสวนตวั ของผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รวมกจิ กรรมวชิ าชีพ รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชพี วชิ าการสานตะกราไหมฟาง( 40 ชวั่ โมง) 34 - ตอนที่ 2 ขอ มลู เก่ียวกับความคิดเห็นของผเู ขารบั อบรมวชิ าชีพรูปแบบชั้นเรียนวชิ าชพี วิชาการสาน ตะกรา ไหมฟาง( 40 ชว่ั โมง) 36 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล ขอ เสนอแนะ 38 - สรุปผลการดําเนนิ งาน 38 - อภปิ รายผล 38 - ขอ เสนอแนะ 38 บรรณานุกรม

ภาคผนวก สารบัญตาราง หัวเรือ่ ง หนา ตารางที่ 1 ผเู ขา รวมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ 34 ตารางท่ี 2 ผูเขา รวมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามอายุ 34 ตารางท่ี 3 ผเู ขา รวมโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน ํามาจําแนกตามอาชีพ 34 ตารางที่ 4 ผูเขา รว มโครงการทตี่ อบแบบสอบถามไดน ํามาจําแนกตามระดับการศึกษา 35 ตารางที่ 5 แสดงคา รอยละเฉล่ยี ความสาํ เร็จของตัวช้วี ดั ผลผลิต ประชาชนทว่ั ไปตาํ บลหนองปรอื 35 ตารางท่ี 6 ผลการประเมินการอบรมวชิ าชีพรูปแบบช้ันเรยี นวิชาชพี วชิ าการสานตะกรา ไหมฟาง 36 ตารางที่ 7 ผลการประเมินผเู ขารว มกิจกรรมการอบรมช้ันเรยี นวชิ าชีพ วิชาการสานตะกราไหมฟาง 37

บทที่ 1 บทนาํ หลักการและเหตุผล ตามนโยบายของสํานกั งาน กศน.ท่ีมุงเนนใหมีการพฒั นาและจัดทาํ หลักสูตรการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมงี านทาํ ที่ สอดคลองกับความตอ งการของผูเ รยี น ความตองการของตลาด และศักยภาพของพน้ื ทโ่ี ดยมีเปา หมายเพือ่ ใหก ารจัด การศกึ ษาอาชพี แนวใหม เปน การจดั การศกึ ษาท่สี ามารถสรา งอาชีพหลักที่มั่นคงใหกับผูเ รียนโดยสามารถสรา งรายไดไดจริง ทัง้ ในระหวา งเรยี นและสาํ เร็จการศึกษาไปแลว และสามารถใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยีในการสรา งมลู คา เพิ่มใหก ับอาชพี เพ่ือพัฒนาใหเปนผูประกอบการที่มีความสามารถเชงิ การแขง ขนั อยา งยัง่ ยนื จากการสาํ รวจความตองการของประชาชนตําบลหนองปรือ พบวา ประชาชนสว นใหญป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม รบั จางทัว่ ไปคา ขาย ธุรกิจสว นตวั แมบ าน และเวลาวา งหลงั จากการประกอบอาชพี จงึ มกี ารรวมกลุมกนั เพ่ือเรยี นรวู ิชาชีพ ตางๆเพ่ิมเตมิ โดยมคี วามคดิ เหน็ ตรงกันที่จะเรียนวชิ า การสานตะกราไหมฟาง เพื่อใหผเู รยี นนําไปใชในชวี ิตประจาํ วันและ เปนแนวทางในการประกอบอาชพี เสรมิ สรา งรายได ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นิคม และ กศน.ตําบลหนองปรอื ไดเ ล็งเหน็ ความสําคัญของกระบวนการเรยี นรใู นชมุ ชนดา นการพัฒนาอาชีพ จึงไดจัดกจิ กรรม สง เสรมิ ศูนยฝก อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรระยะสน้ั รูปแบบชัน้ เรียนวชิ าชีพ วิชา การการสานตะกราไหมฟาง หลักสตู รละ 60 ชว่ั โมง สําหรับประชาชนตําบลหนองปรอื ขึน้ วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ใหผ เู รยี นมีความรู เก่ยี วกบั วัสดุ อุปกรณในการการสานตะกราไหมฟาง 2. เพือ่ ใหผูเ รยี นมีทกั ษะในการการสานตะกราไหมฟางได 3. เพือ่ ใหผ ูเรียนสามารถนําความรไู ปปรบั ใชในชวี ติ ประจําวนั และการประกอบอาชีพได เปา หมาย เชงิ ปริมาณ - ประชาชนท่ัวไปในตาํ บลหนองปรอื จาํ นวน 12 คน เชงิ คุณภาพ - ผเู ขารว มกิจกรรมสามารถนําความรูไ ปใชใ นการประกอบอาชีพและสรา งรายไดไดจรงิ เพอื่ เปน การเพ่มิ รายไดใหก บั ครอบครัว

2 วธิ ดี ําเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค กลมุ เปา หมาย เปาหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ประชาชนทวั่ ไป 12 คน ดําเนินการ 1.ดําเนินการขอ รูปแบบ 1. เพอ่ื ใหผเู รยี นมี ในตาํ บลหนอง อาคาร 27 10,800.- ชัน้ เรยี น ความรู เก่ยี วกบั อเนกประสงค มกราคม – บาท 2.ดําเนินงานและติดตอ วัสดุ อปุ กรณใน ปรือ หมู 8 4 ประสานงาน การการสานตะกรา ตําบลหนองปรือ กมุ ภาพนั ธ 3.ดาํ เนินกิจกรรมตาม ไหมฟาง อําเภอพนสั นิคม 2563 โครงการฝกทักษะอาชีพ 2. เพื่อใหผ ูเรยี นมี จังหวดั ชลบุรี “การสานตะกรา ไหม ทักษะในการการ ฟาง” สานตะกราไหม 4.สรปุ ผลและรายงานผล ฟางได 3. เพื่อใหผ ูเ รยี น สามารถนาํ ความรู ไปปรบั ใชใ น ชีวติ ประจาํ วนั และ การประกอบอาชพี ได วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ เงนิ งบประมาณดําเนินงาน การศกึ ษาตอเน่ือง (กจิ กรรมสงเสริมศนู ยฝก อาชีพชุมชน) รปู แบบชนั้ เรียนวิชาชีพ จาํ นวน 10,800.- (-หนง่ึ หมื่นแปดรอยบาทถวน-) จาํ นวนเงนิ กิจกรรมการศึกษา ไตรมาส 1 รายละเอียดคาใชจา ยในการดําเนนิ งาน บาท สต. 1.การอบรมใหค วามรู 10,800.-บาท 1.คาวทิ ยากร จํานวน 40 ชั่วโมงๆ ละ 200 บาท 8,000 - 2.การฝก ทักษะ 2.คา วัสดฝุ กทกั ษะอาชีพ 2,800 - รวมเปนเงินท้ังสนิ้ 10,800 - หมายเหตุ ทั้งน้ีขอถวั จายตามจริงทุกประการ แผนการใชจ ายงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 โครงการศูนยฝ กอาชีพชมุ ชนรูปแบบชัน้ เรียน - - 10,800.- - วิชาการการการสานตะกราไหมฟาง (จาํ นวน 40 ช่วั โมง)

ผรู ับผดิ ชอบ 3 นางสาวสรุ ภา เชาวนั ดี หวั หนา กศน.ตาํ บลหนองปรือ เครือขา ย 1. องคการบริหารสว นตําบลหนองปรอื 2. สมาชกิ บทบาทสตรตี ําบลหนองปรอื โครงการทเี่ กี่ยวของ โครงการจดั การศกึ ษาตอ เนอ่ื งเพื่อพัฒนาอาชีพ ผลลัพธ ผูเ ขา รว มกจิ กรรมสามารถนําความรไู ปใชในการประกอบอาชีพและสรา งรายไดไ ดจริงเพ่ือเปน การเพ่ิมรายไดใ หกับ ครอบครวั ตวั ชวี้ ัดความสาํ เรจ็ ของโครงการ ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปรมิ าณ ผูเ ขา รวมกิจกรรมไมนอยกวา รอ ยละ 80 ของเปาหมาย ตวั ชี้วดั คณุ ภาพ ผเู ขา รวมกจิ กรรมไดร ับความรูเกยี่ วกับการการสานตะกราไหมฟาง รอยละ 80 1. ผูรับการฝกทักษะอาชพี ไดรับความรูเกี่ยวกบั การการสานตะกราไหมฟาง ไมน อยกวารอยละ 80 2. หลงั จากจบกิจกรรมการฝก ทักษะอาชีพ “การการสานตะกราไหมฟาง” ผูเ ขารว มกิจกรรมไมนอยกวา รอยละ 80 สามารถนาํ ไปประกอบอาชีพได การตดิ ตามและประเมนิ ผลของโครงการ 1. รายงานผลการจดั กจิ กรรม 2. แบบประเมินความพึงพอใจ 3. การสังเกตผเู ขารวมกิจกรรม

บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานที่เก่ยี วของ ททททททททในการจัดทํารายงานครงั้ น้ี ไดทาํ การศกึ ษาคน ควาเนือ้ หาจากเอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี ก่ยี วของ ดงั ตอ ไปน้ี 1. ยุทธศาสตรแ ละจดุ เนนการดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน.ประจาํ ปงบประมาณ 2561 ทททททททท2. แนวทาง/กลยุทธการดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน.ตําบลหนองปรอื 3. หลักการจดั การศึกษาตอ เนอ่ื ง 4. อาชีพรูปแบบช้นั เรียน (ราง) นโยบายและจุดเนน การดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน. ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2563 วิสัยทศั น คนไทยไดรบั โอกาสการศกึ ษาและการเรียนรูต ลอดชวี ติ อยา งมคี ุณภาพ สามารถดํารงชีวติ ท่เี หมาะสม กับชว งวัย สอดคลองกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะทจี่ ําเปน ในโลกศตวรรษที่ 21 พันธกิจ 1. จดั และสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมีคุณภาพ เพือ่ ยกระดับการศึกษา พัฒนา ทกั ษะการเรยี นรูของประชาชนทุกกลมุ เปา หมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย พรอมรับการเปล่ียนแปลงบริบททางสังคม และ สรางสังคมแหงการเรยี นรตู ลอดชวี ติ 2 สงเสริม สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ขาย ในการมีสวนรว มจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั และการเรียนรตู ลอดชีวติ รวมทง้ั การดําเนนิ กิจกรรมของศนู ยการเรยี นและแหลงการเรียนรอู นื่ ใน รูปแบบตา ง ๆ 3. สงเสริมและพฒั นาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ หเกดิ ประสทิ ธภิ าพในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหกับประชาชนอยางทวั่ ถึง 4. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู สอ่ื และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผลในทุกรปู แบบให สอดคลองกบั บรบิ ทในปจ จุบัน 5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ เพอ่ื มุงจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูท่ีมคี ุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เปา ประสงค 1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ที่มีคุณภาพอยาง เทา เทียมและทัว่ ถึง เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความตองการของแตละ กลมุ เปา หมาย

5 2. ประชาชนไดร บั การยกระดับการศึกษา สรา งเสริมและปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และความเปนพลเมือง อัน นาํ ไปสูการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตและเสริมสรางความเขม แข็งใหชุมชน เพอ่ื พัฒนาไปสูความม่นั คงและยั่งยนื ทางดา น เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และสิง่ แวดลอ ม 3. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรยี นรู และมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยุกตใชในชวี ติ ประจาํ วัน รวมท้งั แกปญ หาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดอ ยา งสรา งสรรค 4. ประชาชนไดรับการสรา งและสง เสริมใหม ีนิสยั รักการอานเพื่อการแสวงหาความรูด ว ยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคีเครอื ขายทุกภาคสวน รวมจัด สงเสรมิ และสนบั สนุนการดาํ เนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั รวมทั้งการขับเคลอ่ื นกิจกรรมการเรียนรูของชมุ ชน 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยที างการศึกษา เทคโนโลยีดิจทิ ัล มาใชในการยกระดับคุณภาพใน การจดั การเรยี นรแู ละเพิ่มโอกาสการเรยี นรูใหก บั ประชาชน 7. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสือ่ และการจดั กระบวนการเรียนรู เพื่อแกป ญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ท่ี ตอบสนองกับการเปลยี่ นแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตรและสิง่ แวดลอม รวมทงั้ ตาม ความตองการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทหี่ ลากหลาย 8. หนว ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการทีเ่ ปนไปตามหลักธรรมาภบิ าล 9. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร บั การพฒั นาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมปี ระสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ 1. จาํ นวนผเู รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาช้นั พ้นื ฐานทไ่ี ดรบั การสนับสนนุ คาใชจายตามสิทธิท่กี าํ หนด ไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปา หมายตา ง ๆ ทเี่ ขารวมกจิ กรรมการเรยี นรู/เขา รบั บริการกิจกรรมการศกึ ษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคลองกับสภาพ ปญ หา และความตองการ 3. รอ ยละของกาํ ลังแรงงานที่สําเรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ขึ้นไป 4. จํานวนภาคีเครือขายท่เี ขา มามีสว นรว มในการจัด/พฒั นา/สงเสริมการศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคกร หนวยงานท่มี ารว มจัด/พฒั นา/สง เสรมิ การศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพน้ื ทีส่ งู และชาวไทยมอแกน ในพ้นื ที่ 5 จงั หวัด 11 อาํ เภอ ไดรับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศนู ยก ารเรยี นชมุ ชนสังกดั สาํ นักงาน กศน. 6. จํานวนผรู บั บริการในพ้ืนทีเ่ ปา หมายไดร ับการสงเสรมิ ดา นการรูห นังสอื และการพัฒนาทักษะชีวติ 7. จาํ นวนนักเรยี นนกั ศกึ ษาท่ีไดร บั บรกิ ารติวเขมเตม็ ความรู 8. จาํ นวนประชาชนที่ไดร ับการฝกอาชีพระยะสน้ั สามารถสรา งอาชพี เพ่อื สรา งรายได 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพ้นื ที่ กศน.ภาค ไดร บั การพฒั นาศักยภาพดา นการจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จํานวนประชาชนทไ่ี ดร ับการฝกอบรมภาษาตางประเทศเพื่อการส่ือสารดานอาชีพ 11. จํานวนผูสงู อายุภาวะพึ่งพิงในระบบ Long Term Care มีผูดูแลทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน 12. จํานวนประชาชนทีผ่ านการอบรมจากศูนยดิจทิ ลั ชุมชน 13. จํานวนศูนยการเรียนชุมชน กศน. บนพื้นทีส่ งู ในพ้นื ที่ 5 จังหวัด ทส่ี ง เสริมการพัฒนาทกั ษะการฟง พูด ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร รวมกนั ในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และกศน.

6 14. จาํ นวนบคุ ลากร กศน. ตําบลที่สามารถจัดทาํ คลงั ความรูได 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรยี นรูต ลอดชีวิตในระดับตาํ บลในหัวขอ ตา ง ๆ 16. จํานวนหลักสูตรและสือ่ ออนไลนท ่ีใหบ รกิ ารกับประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวชวี้ ดั เชิงคุณภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวิชาทุกระดบั 2. รอยละของผเู รยี นท่ีไดรับการสนับสนนุ การจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเทยี บกับคา เปาหมาย 3. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายทล่ี งทะเบยี นเรยี นในทุกหลักสตู ร/กิจกรรมการศึกษาตอเนื่องเทยี บกับ เปา หมาย 4. รอ ยละของผผู า นการฝกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะส้ันสามารถนําความรูไ ปใชในการประกอบอาชพี หรือ พฒั นางานได 5. รอยละของผูเ รียนในเขตพื้นท่จี งั หวดั ชายแดนภาคใตที่ไดร บั การพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดานอาชพี สามารถ มงี านทําหรือนาํ ไปประกอบอาชพี ได 6. รอ ยละของผูจบหลักสตู ร/กิจกรรมท่สี ามารถนาํ ความรูค วามเขา ใจไปใชไ ดตามจดุ มงุ หมายของหลกั สตู รกจิ กรรม การศึกษาตอเนือ่ ง 7. รอ ยละของประชาชนท่ีไดรับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอการบริการ/เขารว มกจิ กรรมการเรียนรกู ารศกึ ษาตาม อัธยาศัย 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ไดรับบริการ/ขารวมกิจกรรมทมี่ คี วามรคู วามเขาใจ/เจตคติ ทกั ษะ ตามจดุ มุงหมายของกิจกรรมทีก่ ําหนด ของการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. รอยละของนกั เรยี น/นักศึกษาทม่ี ผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นในวชิ าทไ่ี ดรับบริการตวิ เขม เต็มความรู เพ่มิ สูงขนึ้ 10. รอยละของผูสูงอายุที่เปน กลมุ เปาหมาย มีโอกาสมาเขารว มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ นโยบายเรงดวนเพอ่ื รวมขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตรด านความมนั คง 1.1 พฒั นาและเสรมิ สรา งความจงรักภักดตี อสถาบนั หลักของชาติ โดยปลกู ฝงและสรางความตระหนักรถู งึ ความสําคัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเ สริมสรางความรักและความภาคภมู ใิ จในความเปน คนไทยและชาติไทย นอม นาํ และเผยแพรศาสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดําริตาง ๆ 1.2 เสริมสรางความรูความเขาใจทถี่ ูกตอ ง และการมสี วนรว มอยา งถูกตองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ในบรบิ ทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทาง ความคิดและอดุ มการณ 1.3 สง เสริมและสนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพ่ือปองกนั และแกไ ขปญหาภยั คุกคามในรูปแบบใหม ทงั้ ยาเสพตดิ การคามนุษย ภยั จากไซเบอร ภยั พบิ ัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัติใหม ฯลฯ

7 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและสรา งเสริมโอกาสในการเขาถึงบริการการศกึ ษา การพฒั นาทกั ษะ การ สรา งอาชีพ และการใชช วี ติ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต และพนื้ ท่ีชายแดน อืน่ ๆ 1.5 สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานยอมรบั และเคารพใน ประเพณี วฒั นธรรมของกลุมชาตพิ ันธุ และชาวตางชาติท่ีมีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหุสังคมทอ่ี ยูรว มกัน 2 ยุทธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการแขง ขัน 2.1 เรงปรบั หลักสตู รการจัดการศึกษาอาชพี กศน. เพื่อยกระดับทักษะดานอาชพี ของประชาชน ใหเปนอาชีพทร่ี องรบั อุตสาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบรู ณา การความรว มมือในการพฒั นาและเสริมทักษะใหมด านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนน สรา งโอกาส ในการสรา งงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร โดยเฉพาะในพ้ืนที่เขตระเบียงเศรษฐกจิ และเขคพัฒนาพิเศษตามภมู ิภาคตา ง ๆ ของประเทศสาํ หรบั พื้นทป่ี กติใหพฒั นา อาชพี ท่ีเนนการตอยอดศักยภาพและตามบริบทของพ้นื ท่ี 2.2 จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพื้นทภี่ าคตะวันออก ยกระดับการศึกษาใหกับประชาชนใหจ บการศกึ ษาอยา งนอย การศกึ ษาภาคบังคบั สามารถนาํ คณุ วฒุ ิท่ีไดรบั ไปตอยอดในการประกอบอาชพี รวมท้ังพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ ตามความตองการของประชาชน สรา งอาชีพ สรางรายได ตอบสนองตอบริบทของสังคมและชมุ ชน รวมทงั้ รองรบั การ พัฒนาเขตพ้ืนทีร่ ะเบยี บเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสงเสรมิ ประชาชนเพือ่ ตอยอดการผลิตและจําหนายสินคและผลิตภณั ฑออนไลน 1) เรง จัดตง้ั ศูนยใหค าํ ปรึกษาและพัฒนาผลติ ภณั ฑ Brand กศน. เพื่อยกระดบั คุณภาพของสินคแ ละผลติ ภณั ฑ การบรหิ ารจดั การท่คี รบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรา งชอ งทางจําหนา ย) รวมทั้งสง เสริมการใชป ระโยชน จากเทคโนโลยีดิจิทลั ในการเผยแพรและจําหนา ยผลิตภณั ฑ 2) พฒั นาและคัดเลือกสดุ ยอดสนิ คา และลติ ภณั ฑ กศน. ในแตละจังหวัด พรอมทัง้ ประสานความรว มมอื กบั สถานี บริการนาํ้ มันในการเปนซองทางการจําหนายสุดยอดสินคาและผลติ ภณั ฑ กศน.ใหกวา งขวางย่ิงขึ้น 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 พฒั นาครแู ละบุคลากรท่เี กย่ี วของกับการจัดกจิ กรรมและการเรยี นรู เปนผเู ช่อื มโยงความรูกบั ผูเรยี นและผรู บั บรกิ าร มีความเปน \"ครมู อื อาชพี \" มีจติ บริการ มคี วามรอบรูและทันตอการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและเปน \"ผูอาํ นวยการการเรียนรู\" ทส่ี ามารถบริหารจัดการความรู กิจกรรม และการเรียนรทู ีด่ ี 1) เพิม่ อัตราขาราชการครูใหกบั กศน. อาํ เภอทุกแหง โดยเรงดาํ เนนิ การเรื่องการหาอัตราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตง ต้ัง ขาราชการครู 2) พฒั นาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรทีเ่ ชอ่ื มโยงกับวิทยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาํ บลใหสามารถปฏิบตั งิ านไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเนนเรือ่ งการพัฒนาทกั ษะการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ทกั ษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรยี นรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏบิ ัติการนิเทศไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ 5) พฒั นาบุคลากร กศน.ทกุ ระดบั ทุกประเภทใหม ที ักษะความรเู รือ่ งการใชประโยชนจ ากดจิ ิทัลและ ภาษาตางประเทศท่จี ําเปน 3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรใู หม บี รรยากาศและสภาพแวดลอ มทเ่ี อื้อตอ การเรียนรู มคี วามพรอมในการใหบริการ กจิ กรรมการศกึ ษาและการเรียนรู เปน แหลง สารสนเทศสาธารณะที่งยตอการเขาถงึ มีบรรยากาศทีเ่ อ้ือตอ การเรยี นรู เปน คาเพพื้นท่ีการเรยี นรูส ําหรับคนทกุ ชว งวัย มีสิ่งอาํ นวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมชี วี ติ ทดี่ ึงดดู ความสนใจ และมี ความปลอดภัยสาํ หรับผใู ชบ รกิ าร

8 1) เรง ยกระดับ กศน.ตําบลนํารอ ง 928 แหง (อาํ เภอละ 1 แหง ) ใหเ ปน กศน.ตําบล 5 ดี พรเี ม่ยี ม ทีป่ ระกอบดวย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพื้นท่ี) กิจกรรมดี เครอื ขายดี และมีนวตั กรรมการเรียนรทู ่ีดมี ปี ระโยชน 2) จดั ใหม ศี นู ยการเรยี นรูตน แบบ กศน. เพื่อยกระดบั การเรียนรู ใน 6 ภูมภิ าค เปน พืน้ ท่ีการเรยี นรู (Co - Learning Space) ที่ทันสมยั สาํ หรับทุกคน มีความพรอมในการใหบ รกิ ารตา ง ๆ อาทิ พ้นื ที่สําหรบั การทํางาน/การ เรียนรู พื้นทส่ี าํ หรบั กิจกรรมตาง ๆ มีหอ งประชมุ ขนาดเล็ก รวมทัง้ ทํางานรว มกับหองสมุดประชาชนในการใหบ ริการใน รปู แบบหอ งสมดุ ดจิ ิทลั บริการอินเทอรเนต็ สอ่ื มัลติมีเดยี เพือ่ รองรับการเรยี นรแู บบ Active Learning 3) พฒั นาหองสมุดประชชน \"เฉลมิ ราชกมุ ารี\" ใหเ ปน Digital Library โดยใหมบี รกิ ารหนงั สือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอนิ เทอรเ น็ตความเรว็ สงู รวมทัง้ Free Wifi เพอื่ การสบื คนขอมลู 3.3 สง เสรมิ การจัดการเรยี นรูท่ีทันสมยั และมีประสิทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรูสาํ หรบั ทกุ คน สามารถ เรยี นไดท กุ ท่ีทุกเวลา มกี จิ กรรมทหี่ ลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชมุ ชน เพอ่ื พัฒนาศักยภาพ การเรยี นรขู องประชาชน รวมทง้ั ใชประโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรว มจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู พื่อเช่อื มโยง ความสัมพันธข องคนในชุมชนไปสูการจัดการความรูข องชุมชนอยางยง่ั ยนื 1) สงเสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนรูท่ปี ลูกฝงคณุ ธรรม สรางวินยั จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอสว นรวม และการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมรปู แบบตาง ๆ อาทิ กจิ กรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ใหมีการจดั กจิ กรรมเพื่อปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหก ับบุคลากรในองคกร 2) จดั ใหมีหลักสตู รลูกเสือมัคคุเทศก โดยใหสาํ นกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหป กทม. จดั ตั้งกองลกู เสือ ทล่ี กู เสอื มีความพรอ มดานทักษะภาษาตางประเทศ เปนลกู เสือมคั คเุ ทศกจ ังหวัดละ 1 กอง เพอื่ สงเสริมลูกเสอื จติ อาสา พัฒนาการทองเที่ยวในแตละจังหวดั 3.4 เสริมสรางความรว มมือกับภาคีเครือขา ย ประสาน สงเสริมความรว มมือภาคเี ครือขาย ทง้ั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสว นทองถนิ่ รวมท้ังสงเสริมและสนับสนนุ การมสี ว นรว มของชมุ ชนเพ่ือสรางความเขา ใจ และใหเ กิดความรวมมือในการสง เสริม สนบั สนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรูใหก ับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 1) เรง จดั ทําทําเนียบภมู ปิ ญ ญาทองถ่นิ ในแตละตาํ บล เพ่ือใชป ระโยชนจ ากภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ในการสรางการเรียนรู จากองคค วามรใู นตวั บคุ คลใหเกิดการถายทอดภมู ปิ ญญา สรา งคุณคาทางวฒั นธรรมอยางยัง่ ยนื 2) สง เสรมิ ภมู ิปญญาทอ งถ่ินสูการจดั การเรียนรชู มุ ชน 3) ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขายเพือ่ การขยายและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเ ขาถึงกลุม เปา หมายทุกกลุมอยา งกวา งขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลมุ ผสู ูงอายุ กลมุ อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพื่อประโยชนตอการจัดการศกึ ษาและกลมุ เปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. ท้ังในรปู แบบของการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน การพัฒนาทักษะ ชวี ติ และทักษะอาชพี การศึกษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การพัฒนาชอ งทางการคาออนไลน 2) สง เสรมิ การใชเทคโนโลยีในการปฏบิ ัตงิ าน การบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู 3) สงเสรมิ ใหมีการใชก ารวิจัยอยางงา ยเพื่อสรางนวัตกรรมใหม 3.6 พัฒนาศักยภาพคนดานทักษะและความเขา ใจในการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรแู ละทักษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน 2) สงเสรมิ การจดั การเรียนรดู านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพ่อื ใหประชาชนมีทกั ษะความเขา ใจและ

9 ใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั ทสี่ ามารถนาํ ไปใชป ระโยชนในชีวติ ประจําวัน รวมทัง้ สรางรายไดใหกับตนเองได 3.7 พฒั นาทักษะภาษาตา งประเทศเพ่ือการสื่อสารของประชาชนในรปู แบบตา ง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดยเนน ทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ทง้ั ในภาคธุรกิจ การบริการ และการทองเทย่ี ว รวมท้ัง พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอนเพอื่ สงเสริมการใชภ าษาเพือ่ การสือ่ สารและการพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอมการเขาสูส งั คมผูสูงอายุทีเ่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสรมิ การจดั กิจกรรมใหก บั ประชาชนเพื่อสรา งความตระหนกั ถึงการเตรยี มพรอมเขาสู สังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพฒั นาการของชว งวยั รวมทง้ั เรียนรแู ละมีสว นรวมในการดูแล รับผดิ ชอบผสู งู อายใุ นครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรสู ําหรับประชาชนในการเตรยี มความพรอ ม เขา สวู ยั สูงอายทุ เ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรบั ผสู ูงอายภุ ายใตแนวคดิ \"Active Aging\" การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ และพฒั นาทักษะชวี ิต ใหสามารถดแู ลตนเองทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ และรูจ ักใชประโยชนจากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนกั ถึงคุณคาและศักด์ิศรีของผสู ูงอายุ เปดโอกาสใหม ีการเผยแพรภมู ิปญญา ของผูสูงอายุ และใหม สี ว นรว มในกิจกรรมดานตาง ๆ ในชมุ ชน เชน ดา นอาชพี กีฬา ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผสู งู อายุ โดยบรู ณาการความรว มมอื กับหนวยงานที่เกีย่ วของ ในทุกระดบั 3.9 การสงเสริมวิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเชิงรุก และเนน ใหความรูวิทยาศาสตรอ ยางงายกบั ประชาชนในชมุ ชน ท้งั วิทยาศาสตรใ นวิถชี ีวิต และวทิ ยาศาสตรในชวี ิตประจําวัน 2) พฒั นาส่ือนิทรรศการเละรูปแบบการจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรใ หม ีความทนั สมัย 3.10 สง เสริมการรภู าษาไทยใหก ับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้นื ทีส่ ูง ใหส ามารถฟง พดู อาน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชในการใชชวี ิตประจําวันได 4 ยทุ ธศาสตรตนการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดต้ังศนู ยการเรยี นรูส าํ หรับทุกชวงวยั ทเ่ี ปน ศูนยก ารเรยี นรูตลอดชีวติ ทส่ี ามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดทุกคน ทุกชว งวยั ท่มี กี จิ กรรมท่หี ลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรใู นแตละวัย และเปน ศนู ยบ ริการความรู ศูนยก ารจัดกจิ กรรมที่ครอบคลุมทุกชวงวยั เพ่อื ใหมีพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสม และมคี วามสุขกับการเรยี นรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกับสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพ่ือจดั ทําฐานขอ มลู โรงเรยี นทถี่ ูกยุบรวม หรือ คาดวา นา จะถกู ยบุ รวม 2) ใหส ํานักงาน กศน.จังหวัดทกุ แหงท่ีอยใู นจังหวดั ทม่ี ีโรงเรียนท่ีถูกยบุ รวม ประสานขอใชพืน้ ทเ่ี พื่อจดั ตง้ั ศูนยการ เรยี นรูส ําหรบั ทุกชวงวยั กศน. 4.2 สงเสริมและสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรสู ําหรบั กลมุ เปา หมายผูพกิ าร 1) จัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ และทกั ษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเนน รปู แบบการศึกษาออนไลน 2) ใหสํานกั งาน กศน.จังหวดั ทุกแหง /กทม. ทาํ ความรว มมือกับศูนยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ในการใช สถานที่ วสั ดอุ ปุ กรณ และครุภัณฑด า นการศกึ ษา เพ่ือสนับสนุนการจดั การศึกษาและการเรียนรูส าํ หรับกลมุ เปาหมายผู พิการ

10 4.3 ยกระดับการศึกษาใหกบั กลุม เปา หมายทหารกองประจําการ รวมทั้งกลุมเปา หมายพเิ ศษอ่ืน ๆ อาทิ ผตู องขงั คนพกิ าร เด็กออกกลางคนั ประชากรวัยเรยี นท่ีอยนู อกระบบการศกึ ษาใหจบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้น พน้ื ฐาน สามารถนําความรทู ่ีไดรับไปพฒั นาตนเองไดอยา งตอเน่ือง 4.4 พัฒนาหลกั สตู รการจัดการศึกษาอาชพี ระะสั้น ใหมีความหลากหลาย ทันสมยั เหมาะสมกบั บริบทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตองการของประชาชนผูรบั บริการ 5. ยุทธศาสตรดา นการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่เี ปนมติ รตอส่งิ แวดลอ ม 5.1 สง เสรมิ ใหมีการใหความรูกบั ประชาชนในการรบั มือและปรับตัวเพ่ือลดความเสยี หายจากภัยธรรมชาติและ ผลกระทบทเ่ี ก่ียวของกับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรา งสังคมสเี ขียว สงเสรมิ ความรใู หกบั ประชาชนเก่ยี วกับการคดั แยกตัง้ แตตนทาง การกําจดั ขยะ และการนํากลับมาใชช าํ้ เพื่อลดปริมาณและตน ทนุ ในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลบั มาใชประโยชนไ ดโ ดยงา ย รวมทัง้ การจัดการมลพิษในชุมชน 5.3 สง เสรมิ ใหหนว ยงานและสถานศึกษาใชพ ลังงานทเ่ี ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม รวมท้ังลดการใชท รัพยากรท่สี งผล กระทบตอส่ิงแวดลอม เชน รณรงคเ รื่องการลดการใชถุงพลาสตกิ การประหยัดไฟฟา เปนตน 6. ยทุ ธศาสตรดานการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบหารบริหารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวธิ ีการปฏบิ ัตริ าชการใหทันสมัย มีความโปรง ใส ปลอดการทุจรติ บริหารจัดการบน ขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสัมฤทธิม์ ีความโปรงใส 6.2 นาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทาํ งานทเ่ี ปน ดิจิทัลมาใชใ นการบรหิ ารและพัฒนางานสามารถเช่ือมโยง กับระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร พรอมทั้งพฒั นาโปรแกรมออนไลนท ส่ี ามารถเชอ่ื มโยงขอ มลู ตา ง ๆ ที่ทํา ใหการบริหารจดั การเปน ไปอยา งตอ เนื่องกันต้ังแตต นจนจบกระบวนการและใหประชาชนกลมุ เปา หมายสามารถเขา ถึง บริการไดอยา งทันที ทุกท่แี ละทกุ เวลา 6.3 สงเสรมิ การพัฒนาบุคลากรทุกระดบั อยางตอเน่ือง ใหมีความรูและทกั ษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รงกับ สายงาน ความชาํ นาญ และความตองการของบคุ ลากร 2. แนวทาง/กลยุทธการดําเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.ตาํ บลหนอง ปรือ สังกัด กศน.อําเภอพนสั นคิ ม วิสยั ทศั น “กศน.อาํ เภอพนัสนิคม จดั และสงเสริม สนบั สนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก ับประชาชน กลุมเปาหมายอําเภอพนสั นิคมไดอยา งมีคุณภาพดว ยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง” พันธกิจ 1. ออกแบบการจดั กระบวนการเรยี นรูใหส อดคลองกับหลักสตู ร 2. จดั ระบบสารสนเทศเพื่อการเรยี นรแู ละการบริหารการศึกษา 3. พฒั นาบุคลากรดา นการออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู/สือ่ /การประเมนิ ผล 4. สง เสรมิ และสนบั สนุนการมสี ว นรวมของภาคเี ครือขายและชมุ ชนในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษา

11 เปาประสงค ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทัง้ ประชาชนทวั่ ไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน การศึกษาตอ เนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีมีคุณภาพอยางเทาเทยี ม และท่ัวถงึ เปน ไปตามสภาพ ปญหา และความตอ งการของแตละ กลมุ เปาหมาย 1. ประชาชนไดรับการยกระดับการศกึ ษา สรา งเสรมิ และปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม และความเปนพลเมือง อัน นาํ ไปสูการยกระดับคณุ ภาพชีวติ และเสริมสรางความเขมแข็งใหช มุ ชน เพอ่ื พัฒนาไปสูความม่ันคงและยัง่ ยนื ทางดาน เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และสิ่งแวดลอม 2. ประชาชนไดร ับโอกาสในการเรยี นรู และมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยุกตใชใ นชีวิตประจาํ วนั รวมทง้ั แกปญหาและพฒั นาคุณภาพชีวิตไดอยา งสรางสรรค 3. ประชาชนไดรบั การสรา งและสง เสริมใหม นี สิ ัยรกั การอานเพ่ือการแสวงหาความรูดวยตนเอง 4. ชุมชนและภาคเี ครอื ขายทุกภาคสว น รว มจดั สง เสริม และสนับสนนุ การดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรขู องชมุ ชน 5. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ นการยกระดบั คุณภาพใน การจดั การเรยี นรแู ละเพิ่มโอกาสการเรยี นรูใ หกับประชาชน 6. หนว ยงานและสถานศึกษาพฒั นาสอื่ และการจัดกระบวนการเรยี นรู เพ่ือแกปญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ท่ี ตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดา นเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตรและสง่ิ แวดลอ ม รวมทัง้ ตาม ความตอ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทีห่ ลากหลาย 7. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการทเ่ี ปนไปตามหลกั ธรรมาภิบาล 8. บุคลากรของหนว ยงานและสถานศึกษาไดร ับการพฒั นาเพ่อื เพ่มิ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา งมีประสิทธภิ าพ ตัวช้ีวัด ตัวชว้ี ดั เชิงปริมาณ 1. จาํ นวนผูเรียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาชัน้ พื้นฐานที่ไดร บั การสนบั สนนุ คาใชจายตามสทิ ธิท่กี ําหนด ไว 2. จาํ นวนของคนไทยกลุมเปาหมายตา ง ๆ ที่เขารวมกิจกรรมการเรยี นรู/เขา รับบรกิ ารกจิ กรรมการศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีสอดคลอ งกับสภาพ ปญหา และความตองการ 3. รอ ยละของกําลงั แรงงานท่ีสาํ เร็จการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ขน้ึ ไป 4. จาํ นวนภาคีเครือขายทีเ่ ขา มามสี วนรว มในการจดั /พัฒนา/สง เสรมิ การศึกษา (ภาคีเครือขาย : สถานประกอบการ องคก ร หนวยงานทีม่ ารวมจัด/พฒั นา/สงเสรมิ การศึกษา) 5. จาํ นวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพื้นทีส่ งู และชาวไทยมอแกน ในพน้ื ท่ี 5 จงั หวัด 11 อาํ เภอ ไดร ับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนยก ารเรยี นชุมชนสงั กัดสํานกั งาน กศน. 6. จาํ นวนผรู บั บริการในพนื้ ทีเ่ ปาหมายไดรับการสง เสริมดานการรูหนงั สือและการพฒั นาทักษะชวี ติ 7. จาํ นวนนักเรียนนักศกึ ษาที่ไดร ับบริการตวิ เขมเต็มความรู 8. จาํ นวนประชาชนท่ีไดรับการฝกอาชพี ระยะส้ัน สามารถสรางอาชีพเพื่อสรา งรายได

12 9. จาํ นวน ครู กศน. ตาํ บล จากพ้ืนท่ี กศน.ภาค ไดรบั การพัฒนาศักยภาพดา นการจัดการเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 10. จํานวนประชาชนท่ีไดรบั การฝก อบรมภาษาตา งประเทศเพื่อการส่ือสารดา นอาชีพ 11. จํานวนผูส งู อายภุ าวะพึง่ พิงในระบบ Long Term Care มผี ูด ูแลท่มี ีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จํานวนประชาชนที่ผานการอบรมจากศนู ยด ิจิทัลชมุ ชน 13. จาํ นวนศูนยการเรียนชมุ ชน กศน. บนพ้ืนทสี่ งู ในพืน้ ท่ี 5 จังหวัด ทสี่ งเสรมิ การพัฒนาทักษะการฟง พูด ภาษาไทยเพอื่ การส่ือสาร รวมกนั ในสถานศึกษาสงั กดั สพฐ. ตชด. และกศน. 14. จํานวนบคุ ลากร กศน. ตําบลทสี่ ามารถจัดทําคลงั ความรไู ด 15. จาํ นวนบทความเพื่อการเรียนรูตลอดชวี ิตในระดบั ตาํ บลในหวั ขอตาง ๆ 16. จาํ นวนหลกั สตู รและสื่อออนไลนที่ใหบริการกบั ประชาชน ท้งั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ 1. รอ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทกุ ระดับ 2. รอ ยละของผเู รยี นที่ไดร บั การสนบั สนนุ การจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเทียบกบั คา เปาหมาย 3. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายทลี่ งทะเบียนเรียนในทุกหลกั สูตร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอเนื่องเทยี บกบั เปา หมาย 4. รอ ยละของผูผ า นการฝก อบรม/พฒั นาทักษะอาชีพระยะส้นั สามารถนาํ ความรไู ปใชในการประกอบอาชีพหรือ พฒั นางานได 5. รอ ยละของผูเรียนในเขตพ้ืนที่จังหวดั ชายแดนภาคใตท ่ีไดร ับการพัฒนาศักยภาพ หรอื ทักษะดานอาชพี สามารถ มีงานทําหรือนําไปประกอบอาชีพได 6. รอยละของผูจบหลกั สตู ร/กิจกรรมทีส่ ามารถนาํ ความรคู วามเขา ใจไปใชไดตามจุดมุงหมายของหลกั สตู รกิจกรรม การศกึ ษาตอเน่ือง 7. รอยละของประชาชนที่ไดร ับบริการมคี วามพงึ พอใจตอ การบรกิ าร/เขา รวมกจิ กรรมการเรยี นรกู ารศึกษาตาม อัธยาศัย 8. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายทไี่ ดร บั บรกิ าร/ขารว มกจิ กรรมท่มี คี วามรคู วามเขาใจ/เจตคติ ทักษะ ตามจุดมงุ หมายของกิจกรรมทีก่ ําหนด ของการศกึ ษาตามอัธยาศัย 9. รอ ยละของนกั เรียน/นักศึกษาที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในวชิ าท่ีไดรับบรกิ ารตวิ เขมเต็มความรูเพ่ิมสูงข้ึน 10. รอ ยละของผสู ูงอายทุ ี่เปนกลุม เปา หมาย มโี อกาสมาเขารว มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชีวิต นโยบายเรง ดวนเพือ่ รวมขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ 1.ยทุ ธศาสตรดา นความมั่นคง 1.1 พัฒนาและเสรมิ สรา งความจงรกั ภกั ดตี อสถาบนั หลักของชาติ โดยปลกู ฝง และสรางความตระหนักรูถงึ ความสาํ คญั ของสถาบนั หลกั ของชาติ รณรงคเสริมสรางความรักและความภาคภมู ใิ จในความเปน คนไทยและชาติไทย นอม นําและเผยแพรศาสตรพระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดําริตา ง ๆ

13 1.2 เสรมิ สรางความรูค วามเขาใจท่ถี ูกตอ ง และการมีสว นรว มอยา งถูกตองกบั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข ในบรบิ ทของไทย มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลายทาง ความคดิ และอดุ มการณ 1.3 สงเสริมและสนับสนนุ การจัดการศึกษาเพอ่ื ปองกันและแกไ ขปญ หาภัยคุกคามในรูปแบบใหม ท้ังยา เสพติด การคา มนุษย ภัยจากไซเบอร ภัยพิบัตจิ ากธรรมชาติ โรคอบุ ัติใหม ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและสรางเสริมโอกาสในการเขา ถงึ บริการการศกึ ษา การพัฒนาทักษะ การ สรางอาชีพ และการใชช ีวติ ในสังคมพหุวฒั นธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต และพ้นื ทชี่ ายแดน อ่ืน ๆ 1.5 สรางความรู ความเขา ใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบานยอมรับและเคารพใน ประเพณี วัฒนธรรมของกลุมชาตพิ นั ธุ และชาวตางชาติท่มี ีความหลากหลาย ในลกั ษณะพหสุ งั คมท่ีอยรู วมกัน 2 ยุทธศาสตรด านการสรา งความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงปรับหลกั สูตรการจดั การศกึ ษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดบั ทักษะดานอาชีพของประชาชน ใหเ ปน อาชพี ทรี่ องรบั อตุ สาหกรรมเปา หมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณา การความรว มมือในการพัฒนาและเสรมิ ทักษะใหมด านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมงุ เนนสรางโอกาส ในการสรางงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและ การบริการ โดยเฉพาะในพนื้ ท่เี ขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขคพฒั นาพเิ ศษตามภมู ิภาคตาง ๆ ของประเทศ สาํ หรับพ้ืนทีป่ กติใหพัฒนาอาชพี ท่ีเนนการตอยอดศักยภาพและตามบรบิ ทของพ้นื ที่ 2.2 จัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาพ้ืนท่ีภาคตะวันออก ยกระดบั การศกึ ษาใหกับประชาชนใหจ บการศกึ ษาอยา งนอย การศกึ ษาภาคบงั คับ สามารถนาํ คณุ วฒุ ทิ ี่ไดรับไปตอยอดในการประกอบอาชพี รวมท้ังพัฒนาทกั ษะในการประกอบอาชพี ตามความตองการของประชาชน สรางอาชีพ สรา งรายได ตอบสนองตอบริบทของสงั คมและชมุ ชน รวมท้งั รองรับการ พัฒนาเขตพ้นื ทร่ี ะเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) 2.3 พฒั นาและสงเสรมิ ประชาชนเพื่อตอยอดการผลติ และจาํ หนา ยสินคและผลิตภัณฑออนไลน 1) เรง จดั ตั้งศูนยใหคําปรึกษาและพฒั นาผลติ ภัณฑ Brand กศน. เพ่ือยกระดบั คุณภาพของสินคและผลิตภัณฑ การบรหิ ารจดั การทค่ี รบวงจร (การผลติ การตลาด การสง ออก และสรา งชอ งทางจําหนาย) รวมท้ังสง เสริมการใชป ระโยชน จากเทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการเผยแพรแ ละจําหนา ยผลิตภณั ฑ 2) พฒั นาและคดั เลือกสดุ ยอดสินคาและลติ ภณั ฑ กศน. ในแตละจงั หวดั พรอ มท้ังประสานความรว มมอื กบั สถานี บริการนาํ้ มันในการเปนซองทางการจําหนา ยสุดยอดสนิ คาและผลิตภณั ฑ กศน.ใหกวางขวางยงิ่ ขนึ้ 3 ยทุ ธศาสตรการพฒั นาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3.1 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทเี่ กี่ยวขอ งกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผูเช่อื มโยงความรกู ับ ผูเ รยี นและผรู บั บรกิ าร มคี วามเปน \"ครมู อื อาชพี \" มีจติ บริการ มคี วามรอบรูและทนั ตอการเปลีย่ นแปลงของสังคมและเปน \"ผูอํานวยการการเรียนรู\" ทส่ี ามารถบรหิ ารจัดการความรู กิจกรรม และการเรยี นรูที่ดี 1) เพิ่มอตั ราขาราชการครูใหกับ กศน. อําเภอทุกแหง โดยเรง ดําเนนิ การเร่ืองการหาอตั ราตําแหนง การสรรหา บรรจุ และแตงตัง้ ขา ราชการครู 2) พัฒนาขาราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สูตรทีเ่ ชอ่ื มโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตําบลใหส ามารถปฏบิ ัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนน เร่อื งการพัฒนาทักษะการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ทักษะภาษาตา งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก ใหส ามารถปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทกุ ระดบั ทุกประเภทใหม ที ักษะความรูเ รอ่ื งการใชประโยชนจ ากดจิ ิทลั และ

14 ภาษาตา งประเทศทจ่ี ําเปน 3.2 พฒั นาแหลง เรยี นรูใ หมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือตอการเรยี นรู มคี วามพรอ มในการใหบริการ กจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู เปนแหลง สารสนเทศสาธารณะท่ีงยตอการเขาถึง มบี รรยากาศท่ีเอื้อตอการเรยี นรู เปน คาเพพ้ืนที่การเรยี นรสู าํ หรับคนทกุ ชว งวัย มสี ิ่งอํานวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมชี ีวติ ท่ดี ึงดดู ความสนใจ และมี ความปลอดภัยสําหรับผใู ชบ ริการ 1) เรง ยกระดบั กศน.ตําบลนํารอง 928 แหง (อําเภอละ 1 แหง ) ใหเ ปน กศน.ตําบล 5 ดี พรีเม่ยี ม ที่ประกอบดวย ครดู ี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพ้ืนท่ี) กจิ กรรมดี เครือขา ยดี และมนี วัตกรรมการเรียนรูท ่ีดีมีประโยชน 2) จดั ใหมีศูนยการเรยี นรูตน แบบ กศน. เพอื่ ยกระดับการเรียนรู ใน 6 ภูมภิ าค เปน พืน้ ที่การเรียนรู (Co - Learning Space) ทที่ ันสมัยสาํ หรบั ทุกคน มีความพรอมในการใหบ รกิ ารตา ง ๆ อาทิ พืน้ ท่สี ําหรับการทาํ งาน/การ เรียนรู พ้ืนที่สาํ หรบั กิจกรรมตาง ๆ มีหอ งประชมุ ขนาดเลก็ รวมทง้ั ทาํ งานรว มกับหอ งสมุดประชาชนในการใหบริการใน รปู แบบหอ งสมุดดจิ ิทัล บริการอนิ เทอรเนต็ สื่อมัลติมเี ดยี เพ่ือรองรับการเรยี นรแู บบ Active Learning 3) พัฒนาหองสมดุ ประชชน \"เฉลิมราชกุมารี\" ใหเปน Digital Library โดยใหม บี รกิ ารหนงั สือ ในรูปแบบ e - Book บริการคอมพิวเตอร และอนิ เทอรเน็ตความเรว็ สงู รวมทงั้ Free Wifi เพอ่ื การสืบคนขอมลู 3.3 สงเสรมิ การจัดการเรยี นรูทีท่ นั สมยั และมปี ระสิทธภิ าพ เออื้ ตอการเรียนรูสําหรับทุกคน สามารถ เรยี นไดทุกทีท่ ุกเวลา มกี ิจกรรมทห่ี ลากลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพ่ือพฒั นาศักยภาพ การเรยี นรูของประชาชน รวมท้งั ใชป ระโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรว มจัดกิจกรรมการเรียนรเู พื่อเชอื่ มโยง ความสัมพันธของคนในชมุ ชนไปสูการจดั การความรขู องชุมชนอยา งยั่งยืน 1) สงเสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู ปี่ ลกู ฝงคณุ ธรรม สรางวนิ ยั จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ตอ สว นรวม และการมีจิตอาสา ผา นกจิ กรรมรปู แบบตา ง ๆ อาทิ กิจกรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนบั สนนุ ใหมกี ารจดั กจิ กรรมเพื่อปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรมใหก ับบุคลากรในองคกร 2) จดั ใหม ีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก โดยใหสํานกั งาน กศน.จังหวัดทุกแหป กทม. จดั ต้งั กองลูกเสือ ทลี่ ูกเสอื มีความพรอ มดา นทักษะภาษาตางประเทศ เปนลูกเสอื มัคคเุ ทศกจังหวดั ละ 1 กอง เพอื่ สง เสรมิ ลูกเสือจติ อาสา พัฒนาการทอ งเท่ียวในแตล ะจงั หวัด 3.4 เสริมสรา งความรว มมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สง เสรมิ ความรว มมือภาคเี ครือขาย ท้งั ภาครัฐเอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ รวมทัง้ สงเสริมและสนับสนนุ การมีสว นรวมของชมุ ชนเพ่ือสรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมือในการสง เสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใ หกบั ประชาชนอยางมีคณุ ภาพ 13 1) เรง จดั ทาํ ทําเนียบภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ ในแตละตําบล เพ่ือใชป ระโยชนจากภมู ิปญญาทองถน่ิ ในการสรางการเรียนรู จากองคค วามรใู นตวั บุคคลใหเกดิ การถายทอดภมู ปิ ญญา สรางคณุ คาทางวฒั นธรรมอยางยั่งยืน 2) สง เสริมภมู ปิ ญญาทอ งถ่ินสูการจดั การเรียนรชู มุ ชน 3) ประสานความรวมมอื กับภาคเี ครือขายเพ่อื การขยายและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเขา ถึงกลมุ เปา หมายทุกกลุมอยา งกวางขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลุม ผูสูงอายุ กลมุ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชนต อการจดั การศึกษาและกลุมเปาหมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. ทง้ั ในรูปแบบของการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน การพัฒนาทกั ษะ ชวี ิตและทักษะอาชพี การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการพัฒนาชองทางการคา ออนไลน 2) สง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยใี นการปฏบิ ัตงิ าน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู 3) สงเสริมใหมีการใชการวจิ ัยอยา งงา ยเพ่ือสรางนวตั กรรมใหม 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดานทักษะและความเขาใจในการใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy)

15 1) พัฒนาความรูและทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ิทัลของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อพัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอน 2) สง เสรมิ การจัดการเรยี นรดู านเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อใหป ระชาชนมีทกั ษะความเขา ใจและ ใชเ ทคโนโลยดี จิ ิทัลท่สี ามารถนําไปใชประโยชนในชีวติ ประจาํ วัน รวมท้งั สรา งรายไดใหกับตนเองได 3.7 พฒั นาทกั ษะภาษาตางประเทศเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรปู แบบตาง ๆ อยา งเปนรูปธรรม โดยเนนทกั ษะภาษาเพ่ืออาชีพ ท้งั ในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการทองเท่ียว รวมทงั้ พัฒนาสือ่ การเรยี นการสอนเพ่อื สง เสริมการใชภ าษาเพอื่ การสือ่ สารและการพฒั นาอาชีพ 3.8 เตรียมความพรอมการเขาสูส งั คมผูสงู อายุท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหก ับประชาชนเพ่ือสรา งความตระหนักถึงการเตรียมพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพฒั นาการของชว งวยั รวมท้งั เรียนรูและมีสวนรวมในการดูแล รับผิดชอบผสู ูงอายใุ นครอบครัวและชุมชน 2) พัฒนาการจัดบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรูส ําหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอ ม เขา สวู ัยสงู อายุท่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 3) จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวติ สาํ หรับผสู ูงอายภุ ายใตแนวคิด \"Active Aging\"การศึกษาเพ่ือพัฒนา คณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาทักษะชวี ิต ใหสามารถดูแลตนเองทง้ั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตและรูจักใชประโยชนจ าก เทคโนโลยี 4) สรา งความตระหนักถงึ คุณคา และศักดิ์ศรขี องผสู งู อายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภูมิปญ ญาของผสู ูงอายุ และ ใหม ีสว นรวมในกิจกรรมดานตาง ๆ ในชมุ ชน เชน ดา นอาชีพ กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือรองรบั สังคมผสู ูงอายุ โดยบูรณาการความรว มมือกับหนวยงานทเ่ี ก่ยี วของ ในทุกระดบั 3.9 การสง เสริมวทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรเ ชิงรุก และเนนใหความรวู ิทยาศาสตรอ ยางงายกับประชาชนในชมุ ชน ทงั้ วิทยาศาสตรในวถิ ชี ีวิต และวทิ ยาศาสตรใ นชีวิตประจําวนั 2) พัฒนาสอ่ื นิทรรศการเละรูปแบบการจัดกจิ กรรมทางวิทยาศาสตรใ หมีความทันสมัย 3.10 สงเสริมการรภู าษาไทยใหก บั ประชาชนในรปู แบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพนื้ ที่สงู ใหส ามารถฟง พูด อา น และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชในการใชชวี ติ ประจาํ วนั ได 4 ยทุ ธศาสตรต นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตัง้ ศนู ยการเรียนรสู าํ หรับทกุ ชว งวัย ที่เปน ศูนยก ารเรยี นรูต ลอดชีวติ ที่สามารถใหบรกิ าร ประชาชนไดท ุกคน ทุกชว งวัย ท่มี ีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูใ นแตล ะวยั และเปนศูนยบ ริการความรู ศูนยการจัดกิจกรรมที่ครอบคลุมทุกชว งวยั เพือ่ ใหมีพัฒนาการเรยี นรูท่เี หมาะสม และมคี วามสขุ กบั การเรยี นรูตามความสนใจ 1) เรงประสานกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน เพ่ือจัดทาํ ฐานขอ มลู โรงเรยี นทีถ่ กู ยบุ รวม หรอื คาดวานา จะถูกยุบรวม 2) ใหส าํ นกั งาน กศน.จังหวัดทกุ แหง ทีอ่ ยูในจังหวัดที่มีโรงเรียนท่ถี ูกยุบรวม ประสานขอใชพ ้ืนทเ่ี พ่ือจดั ต้งั ศนู ยการ เรยี นรสู าํ หรับทุกชว งวัย กศน. 4.2 สงเสริมและสนับสนุนการจดั การศึกษาและการเรียนรสู ําหรับกลุมเปาหมายผูพิการ 1) จดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิตและทักษะอาชีพ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยเนน รูปแบบการศึกษาออนไลน

16 2) ใหส าํ นักงาน กศน.จงั หวัดทุกแหง /กทม. ทําความรวมมือกับศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัด ในการใช สถานท่ี วัสดุอปุ กรณ และครุภณั ฑดานการศกึ ษา เพื่อสนบั สนุนการจดั การศึกษาและการเรยี นรสู ําหรับกลมุ เปา หมายผู พกิ าร 4.3 ยกระดบั การศึกษาใหกบั กลมุ เปา หมายทหารกองประจาํ การ รวมท้งั กลุมเปาหมายพเิ ศษอื่น ๆ อาทิ ผตู องขงั คนพิการ เดก็ ออกกลางคัน ประชากรวัยเรยี นทอี่ ยูนอกระบบการศึกษาใหจ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน สามารถนําความรทู ่ีไดร ับไปพัฒนาตนเองไดอยา งตอเน่อื ง 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพระะสั้น ใหมคี วามหลากหลาย ทันสมยั เหมาะสมกับบริบทของพ้นื ท่ี และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู ับบรกิ าร 5. ยุทธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ท่เี ปนมติ รตอ สง่ิ แวดลอม 5.1 สง เสริมใหม ีการใหความรูกับประชาชนในการรบั มอื และปรบั ตัวเพื่อลดความเสียหายจากภยั ธรรมชาตแิ ละ ผลกระทบทเ่ี กี่ยวของกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5.2 สรางความตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของการสรา งสังคมสเี ขยี ว สง เสรมิ ความรูใหกับประชาชนเกีย่ วกับการคดั แยกต้ังแตตน ทาง การกําจัดขยะ และการนาํ กลับมาใชช าํ้ เพื่อลดปริมาณและตนทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาํ ขยะกลับมาใชป ระโยชนไดโดยงา ย รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน 5.3 สงเสรมิ ใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานท่เี ปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม รวมท้ังลดการใชท รพั ยากรทสี่ ง ผล กระทบตอสง่ิ แวดลอม เชน รณรงคเรื่องการลดการใชถุงพลาสตกิ การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบหารบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏบิ ัตริ าชการใหท นั สมัย มคี วามโปรง ใส ปลอดการทจุ รติ บริหารจัดการบน ขอมลู และหลักฐานเชิงประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรงใส 6.2 นาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยีระบบการทาํ งานที่เปนดิจิทลั มาใชในการบรหิ ารและพัฒนางานสามารถเชื่อมโยง กบั ระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศกึ ษาธิการ พรอมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลนทสี่ ามารถเชื่อมโยงขอมลู ตาง ๆ ทท่ี ํา ใหการบริหารจัดการเปนไปอยา งตอ เนื่องกนั ตงั้ แตต นจนจบกระบวนการและใหประชาชนกลุมเปาหมายสามารถเขา ถึง บรกิ ารไดอยา งทันที ทุกท่ีและทุกเวลา 6.3 สงเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทุกระดบั อยางตอเนอ่ื ง ใหมคี วามรูและทกั ษะตามมาตรฐานตําแหนง ใหต รงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตอ งการของบคุ ลากร

17 3. หลกั การจดั การศกึ ษาตอเน่ือง เพือ่ ใหก ารดําเนนิ งานการจัดการศกึ ษาตอเนือ่ ง เปน ไปอยางมีประสิทธภิ าพ สาํ นักงาน กศน. จึงไดกาํ หนดหลักการ ในการจัดไว ดงั นี้ 1. หลักสูตรไดร ับการพัฒนาใหม ีความสอดคลองกับสภาพสงั คมชมุ ชนและความตองการของกลมุ เปา หมาย (เปน หลักสูตรทไ่ี ดร บั อนมุ ตั โิ ดยสถานศกึ ษา ผูอาํ นวยการสถานศึกษาเปน ผูอนุมัติ ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา และหรือเปน หลักสูตรทห่ี นว ยงานภาครัฐไดอนุมตั ิและอนุญาตใหใ ชแ ลว) 2. สอื่ และแหลงคนควา ตลอดจนวสั ดุ อปุ กรณ เครื่องมือ ตองไดรบั การพัฒนาใหมีความสอดคลอ งกบั หลักสูตร และ กจิ กรรมการเรยี นรขู องผูเรยี น 3. วทิ ยากร ตองสรรหาวิทยากรทม่ี ีความรูความสามารถหรือมีความเชี่ยวชาญในสาขาท่จี ะสอนอยางแทจ ริง และ วิทยากรควรผานการอบรมการเปน วทิ ยากรจากหนว ยงานสถานศึกษาของ กศน. 4. การจัดการเรียนรู จะตอ งจัดการศึกษาใหสอดคลอ งกับศกั ยภาพของผูเ รียนและความพรอมของผเู รยี น และ สอดคลองกับความตองการและบรู ณาการวธิ ีการจัดการเรียนรู 5. การจัดกระบวนการเรียนรู จะตองเนนใหมกี ารจัดกระบวนการเรยี นรูที่หลากหลายและสอดคลอง กับความ ตองการของกลุม เปาหมาย 6. กลมุ เปา หมายสามารถนาํ ความรูท่ีไดร บั จากการศกึ ษาไปใชในการประกอบอาชพี การพฒั นาอาชีพ พัฒนา คณุ ภาพชีวิต และสามารถอยใู นสงั คมไดอยางมคี วามสุข การจัดการศกึ ษาตอ เน่ือง อาจจัดได ดังตอไปนี้ 1. จดั โดยสถานศึกษาในสงั กัด สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2. จัดโดยสถานศึกษาในสังกัด สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยรว มกับภาคี เครือขาย 3. จดั โดยภาคเี ครือขาย

18 ความหมาย การศกึ ษาตอเน่อื ง หมายความวา เปน การจัดการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบท่ีเปน หลักสตู ร ระยะสั้น การศกึ ษาสายอาชีพ ชนั้ เรียน ทีจ่ ัดตามความตองการของกลุมเปาหมายที่มีเนื้อหาเก่ยี วกับอาชีพ ทกั ษะชีวิต การ พฒั นาสงั คมและชุมชน การจัดกระบวนการเรยี นรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซงึ่ นาํ ไปสกู ารพัฒนาคุณภาพชวี ติ อาชพี เปน การศึกษาเพื่อพฒั นาความรคู วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชพี ของบุคคล เพื่อให บคุ คลสามารถประกอบอาชพี หรอื พฒั นาอาชพี ของตนเองได โดยพิจารณาถึงความตองการในการเรียนของแตละบุคคล ทกั ษะชวี ิต เปนการศึกษาทใี่ หความสําคญั กับการพฒั นาคนเพอื่ ใหมีความรู เจตคติและทกั ษะทจี่ ําเปน สาํ หรับการดาํ รงชวี ิตในสังคมปจจบุ นั เพอื่ ใหบ ุคคลสามารถเผชิญสถานการณต า ง ๆ ในชีวิตประจาํ วันไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ และเตรียมความพรอ มกบั การปรับตัวในอนาคต เชน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส นิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา นิยมท่ีดี เปนตน การพัฒนาสังคมและชมุ ชน เปนการศึกษาท่ีบรู ณาการความรแู ละทักษะจากการศึกษาที่ผูเรยี นมีอยหู รือ ไดรับจากการเขารวมกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ แลว นาํ ไปใชใ หเ ปนประโยชนตอ การพัฒนาสังคมและชมุ ชนโดยมี รปู แบบการเรียนรูท ห่ี ลากหลาย และใชชมุ ชนเปนฐานในการพัฒนาการเรยี นรูของคนในชุมชน เชน ประชาธิปไตย สง่ิ แวดลอ ม วิสาหกจิ ชุมชน เปนตน วธิ ีการจัดการเรียนรู วิธีการจัดการศึกษาตอเน่อื ง เปน การจดั ประสบการณการเรียนรูจากวิทยากร สอื่ หรือการปฏบิ ัติ โดย วธิ ีการเรียนรทู ีห่ ลากหลาย ดังนี้ 1. การเรียนรูรายบุคคล เปนการเรยี นรูของผูเ รยี นบุคคลใดบุคคลหนง่ึ ทีต่ องการจะ เรียนรูใ นเนอ้ื หาใด เน้ือหาหนึ่ง ซึ่งเปน ความสนใจเฉพาะตวั ตามหลกั สูตรการศึกษาตอเนื่องในสถานศึกษาหรือภาคี เครือขาย โดยผูเ รยี นและวทิ ยากรรวมกันวางแผน และออกแบบการเรียนรูท ี่ตอบสนองความตองการของผูเรยี นแตละ บคุ คล 2. การเรยี นรรู ายกลุม เปนการเรยี นรูของผเู รียนตัง้ แคส องคนข้นึ ไป แตไมควรเกิน สิบหา คน ซึง่ มคี วามสนใจตรงกันตามหลกั สตู รการศึกษาตอเนื่อง 3. การเรยี นรจู ากแหลง เรียนรู เปน การจัดการเรียนรใู หผูเ รียนในแหลงเรียนรู เชน

19 ศูนยขยายเพาะพันธุปลา ศนู ยส าธติ การทาํ ไรนาสวนผสม ศูนยการเรยี นรูเ ศรษฐกิจพอเพยี ง กลมุ ออมทรัพยเ พ่ือการผลติ องคการชมุ ชน กลุมวิสาหกิจชมุ ชน เปนตน โดยมีการประสานความรว มมือกบั เครอื ขา ยแหลง เรียนรูในการจดั การศกึ ษา ใหก ับผเู รียน 4. การเรยี นรูใ นสถานประกอบการ เปน การจดั ใหผูเรยี นไดเรยี นรูในสถาน ประกอบการ เชน อูซ อมรถยนต หา งสรรพสินคาหรือแหลง ประกอบการ SMEs ท่ีมสี วนรว มหรอื มวี ตั ถุประสงคในการจัด การศกึ ษาตอเน่ือง 5. การเรยี นรจู ากฐานการเรียนรู เปน การเรียนรทู ม่ี ีเปาหมายเฉพาะเจาะจง เชน ฐาน การเรยี นรเู กษตรธรรมชาติ ฐานการเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพียง ฐานการเรยี นรอู นรุ กั ษส ิง่ แวดลอ ม ฐานการเรียนรูสุขภาพ อนามัย ฐานการเรียนรูคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ฐานการเรียนรวู ัฒนธรรมไทย เปนตน ซงึ่ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนน ให ผเู รยี นไดเ รียนรจู ากวิทยากร สถานการณจ ริง หรือเรียนรูดวยตนเอง 6. การศึกษาทางไกล เปนวธิ กี ารจัดการศึกษาท่ีเปดกวา งในเรอ่ื งของเวลา สถานที่ เนน การเรยี นรดู ว ยตนเองจากส่อื ประสมทห่ี ลากหลาย มีการจัดกิจกรรมเสริมความรู ทักษะ ประสบการณ ทจี่ าํ เปน เหมาะสม กับเน้ือหา ตามหลักสูตร รวมทง้ั มกี ารศึกษาคนควา เพิ่มเตมิ หรือปฏิบัติการจากแหลงการเรียนรูตา ง ๆ เปนการเรียนรแู บบ พง่ึ พาตนเอง ผูเ รยี นจงึ ตอ งวางแผนและสรางวนิ ยั ในการเรียนรูด วยตนเอง การสรรหาและแตงต้ังวิทยากร การสรรหาวิทยากร ใหสถานศกึ ษาสรรหาวทิ ยากรโดยพิจารณาจากคุณสมบัตดิ งั นี้ 1. เปน ผทู ี่มีคุณวุฒหิ รอื เกียรติบตั รรบั รอง หรอื หลักฐานอ่นื ๆ ทีแ่ สดงวา เปนผูมคี วามรู ความสามารถ ทักษะ ในสาขาวชิ าหรือหลกั สตู รนั้น ๆ 2. เปน ผูมคี วามรู ความชาํ นาญ ประสบการณในการประกอบอาชีพสาขาวชิ าหรอื หลักสตู รนนั้ ๆ หรือ 3. เปนผูที่มีความสามารถและประสบการณในการถายทอดความรใู หแกผ เู รยี น การแตง ต้ังวิทยากร ใหผูอาํ นวยการสถานศึกษาในสังกัด สํานักงาน กศน. เปนผอู นุมัตแิ ตงต้ัง โดยจดั ทําเปน คําส่งั

20 ขั้นตอนการดําเนนิ งาน 1. สถานศึกษาและภาคเี ครอื ขาย เตรยี มความพรอมในเรื่องหลักสูตร วิทยากร สถานที่ วัสดอุ ุปกรณที่เอื้อตอ การจัดการศกึ ษา 2. ผูเรียนสมคั รและลงทะเบียนเรียนตอสถานศกึ ษาหรือภาคีเครือขา ย 3. สถานศึกษาพิจารณาอนญุ าตและจดั สงผูเรียนไดเรยี นกับวทิ ยากรในแหลงการเรียนรู สถานประกอบการ ทีเ่ หมาะสมตามหลักสูตร 4. วิทยากรประเมนิ พ้นื ฐานความรขู องผเู รียนกอนจัดกระบวนการเรยี นรู 5. ผูเรียนกบั วทิ ยากรรวมกนั จัดทาํ แผนการเรยี นรู 6. ดําเนนิ การจดั การเรยี นการสอน 7. วทิ ยากรประเมนิ ผลการเรียนระหวางเรียนและหลังจบหลกั สตู ร รวมทง้ั ประเมนิ ความ พึงพอใจของผูเ รยี น การวัดผลประเมินผลและรายงานผลการเรยี น การวดั ผลประเมนิ ผลใหดาํ เนินการตามทีห่ ลักสูตรกําหนด ดว ยวิธกี ารหลากหลาย เชน 1. ประเมินความรู ความสามารถ ทักษะ ดวยการซักถาม ทดสอบและปฏบิ ัติ 2. ประเมินดา นคุณธรรม ดวยแบบประเมินคุณธรรม 3. ประเมินชิน้ งาน ดวยผลงานที่ปฏิบัติ 4. ประเมนิ ความพงึ พอใจของผูเรียนดว ยแบบสอบถาม การออกหลักฐานการศึกษา ใหผูอ าํ นวยการสถานศึกษาเปนผลู งนามในหลักฐานการศึกษา ตามหลักสูตรกาํ หนด โดยระบุชื่อวชิ า/ กจิ กรรม ระยะเวลา ในกรณีภาคเี ครือขา ยที่ไมใชส ถานศกึ ษาเปนผจู ัดใหสงหลักฐานการจบการศึกษาใหกับผูอํานวยการ กศน. อาํ เภอเปน ผูออกวฒุ บิ ัตร แหลง เรียนร/ู สถานประกอบการ แหลง เรยี นรู/สถานประกอบการ ควรมลี ักษณะ ดงั นี้ 1. อยใู นทาํ เลที่ตั้งท่ีผูเรยี นสามารถเดนิ ทางไดสะดวก ปลอดภัย

21 2. มสี ง่ิ แวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยตอการเรยี นรู และฝกปฏบิ ตั ิ 3. เปน แหลง การเรยี นร/ู สถานประกอบการ ที่มีการดําเนนิ งานม่นั คง นา เชื่อถือเปน ท่ียอมรับในสงั คม 4. มคี วามพรอม มวี ทิ ยากร หรอื ผใู หความรูประจํา สามารถจดั การเรียนรู หรอื จัดการ เรียนการสอนจนจบหลกั สตู รหรอื จบกระบวนการได รวมท้ังสามารถใหการฝก ปฏิบัติแกผูเรยี นจนสามารถปฏิบัติในเร่ืองนัน้ ๆ ได 5. สามารถจัดบคุ ลากรเขา รว มประชุม อบรม พัฒนากับสถานศึกษาได 6. มที ศั นคติ เจตคตทิ ี่ดีตอการถา ยทอดความรู ประสบการณใ หกบั ผูอน่ื 7. สามารถดแู ล ใหคาํ ปรึกษา แนะนํา และรบั ผดิ ชอบผเู รยี นจนจบหลักสตู ร หลักเกณฑก ารจายเงินงบประมาณ 1. อาชีพ ในแตล ะ กศน. ตาํ บล ใหเ ปดสอนอาชีพ 40 ชัว่ โมงข้นึ ไป จาํ นวน 1 หอง ผเู รยี นไมนอยกวา 15 คน โดยใหเบิกคา ใชจ ายดังนี้ 1.1 คาตอบแทน จา ยคา ตอบแทนวิทยากรชวั่ โมงละไมเกนิ 200 บาท ตาม จํานวนผเู รยี น 3 ระดับ ดังน้ี (1) ผเู รยี นทม่ี ีตํา่ กวา 6 คน ชั่วโมงละไมเ กนิ 50 บาท (2) ผูเรยี นทม่ี ตี งั้ แต 6 – 10 คน ชว่ั โมงละไมเ กนิ 100 บาท (3) ผเู รยี นที่มตี ัง้ แต 11 คนขน้ึ ไป ช่ัวโมงละไมเกิน 200 บาท 1.2 คาใชส อย จายเปนคาเชาสถานที่ เครื่องมอื อุปกรณ และคาใชจ า ยในการ เดินทางไปราชการของวิทยากรท่ีเปนบุคคลภายนอก (จายเปนคาพาหนะ และคา เชาท่ีพัก ในอัตราตํ่าสดุ กรณีเปน ขา ราชการบาํ นาญเบิกจา ยตามยศ ตําแหนง ครัง้ สดุ ทา ย) 1.3 คาวัสดุ จายเปน คา วสั ดุฝก เทาทีจ่ ายจรงิ ตามความจําเปน และเหมาะสม ประหยัด และเพ่ือ ประโยชนข องทางราชการ ภายในวงเงนิ งบประมาณทไ่ี ดร ับจดั สรร หลักสตู รละไมเ กิน 2000 บาทตอผูเรียน 1 คน 1.4 คาสาธารณูปโภค จา ยใหแกหนว ยงานภาครฐั หรือเอกชน จา ยไดเ ทาทีจ่ า ยจริง ถัวจา ยจากวงเงนิ ท่ีไดร ับในแตละหลกั สูตร (ใชใบเสร็จรับเงินหรอื ใบสําคญั รับเงนิ )

22 3.1 ความหมายของหลักสูตรและการพัฒนาหลักสตู ร ความหมายของหลกั สูตร ททททททททวิชยั วงษใ หญ (2525:2-3) กลาววา หลกั สูตร หมายถึง ประสบการณท ้ังหลายทสี่ ถานศกึ ษาจดั ใหแกผูเรียน เพ่ือใหเ กดิ การเรียนรูและการพฒั นาตนเอง และหลักสตู รท่ีดีนนั้ ตอ งเปนหลกั สตู รทตี่ อบสนองความตองการ ความสนใจ ของผูเรียน และสอดคลองกับความตอ งการของชีวติ ท่เี หมาะสมที่สดุ ไดแก สภาพทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทาง วฒั นธรรมดา นการศกึ ษา การเปล่ยี นแปลงทางสังคม สภาพแวดลอมทางจติ วทิ ยาทีเ่ อื้ออาํ นวยตอ การเรยี นรู สภาพทาง การเมืองการปกครอง สภาพดา นขนบธรรมเนียมประเพณีวฒั นธรรม คานิยม และคุณธรรม สาํ นักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน (2549:2) กลาววา หลกั สูตรระยะส้ัน หมายถงึ หลกั สูตรทส่ี ถานศึกษาจัด การศกึ ษาใหกับผเู รียนนอกเหนอื จาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน เพื่อมุงพัฒนาคุณภาพชวี ติ โดยใหมีความยดื หยุน เน้ือหา ระยะเวลาเรยี น และสถานที่ตามความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน หรือตามนโยบายของทางราชการ สรปุ ไดว า หลกั สูตรคือประสบการณท ผี่ เู รยี นไดรับ จะเปนประสบการณใดๆ ก็ไดเม่ือผานเขาไปในการรบั รขู อง ผเู รียนแลว ทาํ ใหผ ูเรยี นเกิดการเรยี นรู และเกิดการพัฒนาตนเองใหมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดีขึ้น ความหมายของการพฒั นาหลักสตู ร สํานกั บรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรยี น (2547:17) กลา ววา การพัฒนาหลักสูตรนน้ั สถาบนั หรือสถานศกึ ษา จะตองสาํ รวจศึกษาวเิ คราะหความตอ งการของกลุมเปาหมายโดยตรง จงึ จะสามารถพฒั นาหลกั สตู รไดส อดคลองกับความ ตองการของกลมุ เปาหมาย บรรพต สวุ รรณประเสริฐ (2544:12) กลาววา การพัฒนาหลักสตู รตางๆ ในสถานศกึ ษาใหม ปี ระสิทธภิ าพและ เปน ไปในทิศทางที่ชาติตองการ 3.2 ข้ันตอนในการพัฒนาหลกั สตู ร Taba (อา งถึงใน วิชัย วงษใ หญ ,2525:10) ไดก ลา วถึงขนั้ ตอนของการพฒั นาหลักสูตรและการสอนทเ่ี ต็มรูปแบบ และสมบรู ณไว 7 ประการ ดังนี้ 1. การศึกษาวิเคราะหความตองการของผเู รยี น ของสังคมและวัฒนธรรม 2. การกาํ หนดจดุ มุงหมาย 3. การเลือกเนื้อหาสาระ 4. การจดั รวบรวมพนิ ิจเน้อื หาสาระ

23 5. การเลือกประสบการณเรียน 6. การจัดประสบการณเ รียน 7. การประเมินผล เพ่ือตรวจสอบดูวากิจกรรมและประสบการณเรียนที่จัดข้นึ นน้ั ไดบรรลจุ ุดมงุ หมายที่ กาํ หนดไวห รอื ไม สาํ นกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน (2549:5) กลา ววาในการจดั ทาํ หลักสตู รจะตองมีองคประกอบ อยา งนอย 5 ขน้ั ตอน คือ 1. สาํ รวจ / รวบรวมความตองการของกลุมเปาหมาย 2. วเิ คราะห / จัดลําดบั ขอ มูลความตองการของกลุมเปาหมาย 3. กําหนดหลกั สูตรระยะสน้ั 4. การอนมุ ตั หิ ลกั สูตร 5. คลังหลกั สตู รระยะสนั้ ททททททททและตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 (กรมการศึกษานอกโรงเรียนม.ป.ป.:9) ยงั ไดก ลา ว การศกึ ษานอกระบบเปน การศกึ ษาทม่ี ีความยดื หยุนในการกาํ หนดจุดมุง หมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของ การศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปน เง่ือนไขสาํ คัญของการสาํ เร็จการศกึ ษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความ เหมาะสม สอดคลองกบั สภาพปญหาและความตองการของบคุ คลแตละกลุม ทททททททททสรปุ ไดวา การพฒั นาหลักสตู รจะตองมกี ารสาํ รวจ ศกึ ษา วเิ คราะหความตองการของกลมุ เปาหมายกอน แลวจึงนําขอมลู ทีส่ าํ รวจ ศกึ ษา วเิ คราะห มากําหนดทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองความตองการความสนใจ ความถนดั และความแตกตางของกลมุ เปาหมาย 3.3 หลกั สูตรระยะสน้ั ททททททททหหมายถึง หลักสูตรทสี่ ถานศึกษาจดั การศกึ ษาใหกบั ผูเ รยี นนอกเหนอื จากการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน เพื่อพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ โดยใหม คี วามยืดหยุนดานเน้ือหา ระยะเวลาเรียน และสถานทีต่ ามความตองการของกลุม เปาหมายและชุมชน หรอื ตามนโยบายของทางราชการ หมายถงึ บคุ คลทส่ี ถานศึกษาหรอื หนวยงานทค่ี ัดเลือกใหทาํ หนาทจี่ ดั การศึกษาหลักสูตร ระยะส้นั ซงึ่ ไดร ับความไวว างใจจากสถานศึกษาใหเปน ผแู ทนในการถายทอดความรใู หกับผเู รยี นโดยจะตองเปนผทู ี่มคี วามรู ทกั ษะและประสบการณมีความเขาใจในปรชั ญาการศึกษาผูใหญและจิตวิทยาการศึกษาผูใหญเปน ตน 3.4 วทิ ยากรผสู อน

24 ททททททททวิทยากรหรือผูสอน จะตองโนมนา วและสามารถควบคุมผเู รยี นในการดําเนินกจิ กรรมการเรียนรใู หบรรลุตาม เปาหมาย โดยวทิ ยากร/ผสู อน จะตองมศี ลิ ปะเทคนิคตา งๆ ทจ่ี ะตอ งสรางทัศนคตทิ ี่ดีใหแ กผ ูเ รียน เพื่อมุงไปสคู วามรว มมือ ในการเรียนรู เพื่อใหบรรลุเปา หมายของกิจกรรมน้ัน พรอมท้ังจะตองใหคําปรกึ ษาแกผูเรียนได และ วทิ ยากร/ผูส อน จะตองมคี วามรูเชิงวชิ าการและทกั ษะในกิจกรรมตางๆ เปนอยางดี พรอมท่จี ะรว มลงมือปฏบิ ตั ิ สาธิต และแกปญหาใหกับ ผูเรียนไดอยา งมีประสิทธภิ าพ เพื่อสรา งความศรทั ธาเช่ือม่นั ใหก ับผเู รียน ททททททททวทิ ยากร หรือผสู อน จะตอ งดําเนนิ การ ดังนี้ 1) ศกึ ษารายละเอียดและวตั ถุประสงคของหลกั สตู รนัน้ ใหเ ขาใจ 2) จดั ทําหรอื เตรียมแผนการสอนของหลกั สตู รระยะส้ัน 3) คิดกจิ กรรมใหสอดคลองกับหลักสูตรระยะส้นั และเตรยี มอุปกรณ วสั ดุสือ่ การเรียนการสอนที่เก่ียวของ 4) จัดทําบัญชลี งเวลา 5) ดาํ เนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หผ ูเรยี น 6) ทําการวดั ผล ประเมินผล การเรียนของผเู รยี นแตละคน และรายวชิ า 7) รับผิดชอบและควบคุม ดูแลวสั ดุอุปกรณใหใชอยางคุมคาและประหยดั 8) เปนผูใ หค าํ แนะนํา และเปนทีป่ รึกษาเกยี่ วกบั หลกั สตู รและการเรียนรใู หกบั ผูเรยี น 9) รายงานผล 10) จดั ทาํ อกสาร/หลักฐานการจบ 3.5 สถานศึกษา ททททททททหมายถึง สถานศกึ ษาที่สังกัดสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศกึ ษาธิการ หรอื หนว ยงานอน่ื ท่ีสถานศึกษาเหน็ ชอบใหจดั การศกึ ษาหลกั สตู รระยะสนั้ ได สถานศึกษามบี ทบาท หนาที่ คอื 1) จัดการศึกษาหลักสตู รระยะส้ัน ดงั น้ี ททท 1.1 สํารวจและสืบคน ขอมูล ความตอ งการของกลุมเปา หมายผรู บั การอบรม โดยคํานึงถึงความ แตกตางระหวางบุคคล

25 1.2 จัดหา/รวบรวมหลักสูตรระยะสั้น หรือจัดทํา/พฒั นาข้นึ ใหม จากหลกั สูตรที่มีอยูแลว จาก หนวยงานอ่นื ทัง้ ภาครฐั และเอกชน โดยคํานงึ ถึงรปู แบบ วิธีการ และมาตรฐาน ทงั้ นีใ้ หเ ปนไปตามคาํ สง่ั และหลักเกณฑท่ี เก่ยี วขอ ง 1.3 ออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู หบ รรลจุ ุดประสงคของหลกั สตู ร 1.4 ฝก อบรมและพฒั นาและพฒั นาวทิ ยากรผสู อน ใหจ ดั การเรยี นการสอนได 1.5 กําหนดแผนงาน/โครงการ 1.6 ดาํ เนินกจิ กรรมตามแผนงาน/โครงการ 1.7 สง เสรมิ สนับสนนุ หนวยงานอ่ืนจดั 1.8 วดั ผลประเมนิ ผล สรุปรายงาน 1.9 ออกหลกั ฐานวุฒบิ ตั ร / ใบสาํ คัญการจบหลักสูตร 2) ผอู ํานวยการสถานศึกษา มีอาํ นาจหนาที่ ททท2.1 อนมุ ตั ิหลักสูตร 2.2 แตงต้ังคณะกรรมการการพิจารณาหลักสูตร 3.3 อนมุ ัติเกณฑการพจิ ารณาหลักสูตร 2.4 อนุญาตใหจัดการศึกษาหลักสตู รระยะสนั้ 2.5 บรหิ าร ประสานงาน สถานศกึ ษา เครือขา ยอนื่ 2.6 กาํ กบั ตรวจสอบ ตดิ ตาม สนับสนนุ กจิ กรรม 2.7 จดั ตัง้ ขยาย เปลย่ี นแปลง ยบุ หยุดทําการสอนชว่ั คราว ชนั้ เรยี น/กลุม 3.6 ผูเ รยี น ททททททททหมายถงึ ผทู ี่สมัครเขารับการศกึ ษา และไดข ึ้นทะเบยี นเปน นักศึกษาของสถานศึกษา หรอื หนวยงานน้ัน โดยมี พื้นฐานความรู ประสบการณ และอายุของผเู รยี นใหเปน ไปตามหลักสตู รนั้นๆ กําหนด

25 4. กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี นใหม ปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี 15 ป อยางมีคณุ ภาพ ของสถานศึกษา สงั กัดสํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 1. หลกั การ ททททททททตามที่รัฐบาลไดกาํ หนดนโยบายเรียนฟรี เรียนดี 15 ปอยา งมีคณุ ภาพ และใหค วามสําคญั กบั นโยบายน้ีเปน อยางมาก โดยมอบหมายใหกระทรวงศึกษาธิการดาํ เนินงานและรฐั บาลใหก ารสนับสนุนงบประมาณเปน คา จัดการเรยี นการสอน คาหนังสอื เรยี น คา อปุ กรณการเรียน คาเคร่อื งแบบนกั เรียน และ คา จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี น เพือ่ พัฒนาคุณภาพผูเรยี นใหมีประสิทธภิ าพมากขึ้น โดยพัฒนาพื้นฐาน การเรียนรใู หผ เู รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึน้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และสามารถใชชวี ิตแบบพอเพยี ง ไดอยางมคี วามสุขน้นั ทททททททททสํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ไดกาํ หนดกรอบการจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนาคุณภาพผเู รียนใหม ีประสทิ ธิภาพ สาํ หรับนกั ศึกษา กศน. ในหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบขั้นพื้นฐาน เพ่ือสนอง นโยบายดังกลา ว จํานวน 8 กิจกรรม โดยเปนกจิ กรรมท่ใี หส ถานศึกษาจดั เพ่ิมเตมิ จากการเรยี นปกติ ดงั นี้ 1.1กิจกรรมเรียนปรบั พืน้ ฐาน เพ่ือพฒั นาผเู รียนใหมคี วามรคู วามสามารถข้ันพืน้ ฐานโดยเฉพาะวชิ าหลักให เพียงพอทีจ่ ะเรยี นตอไปไดและเรยี นทันกบั ผูเรยี นคนอ่ืนๆ 1.2กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เปนการจัดกิจกรรมเพื่อใหผูเ รียนไดเพ่ิมพูนความรคู วามสามารถ ตอยอดจากการเรียนปรับพ้นื ฐาน และในวชิ าหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร การ พัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปองกันยาเสพติด (Drug-Free) และการพัฒนาอาชีพ 1.3กจิ กรรมพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่อื ใหผ ูเ รยี น มคี วามสามารถดาน ICT อยางทั่วถงึ 1.4 กจิ กรรมท่แี สดงความจงรกั ภกั ดตี อ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ  เปน การจดั กจิ กรรมเพื่อพฒั นาผเู รียนให มคี วามรักชาติ ศาสนา ปกปองและเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ  1.5 กิจกรรมสงเสริมประชาธิปไตย (Democracy) เปนการจดั กจิ กรรมเพอื่ สรางความเปนพลเมืองและ ประชาธปิ ไตยใหกบั ผูเรยี น เพื่อใหสอดคลอ งกบั การปฎิรูปการศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง(พ.ศ.2552-2561) ของ กระทรวงศึกษาธิการ

26 1.6 กิจกรรมการเรียนรูดานเศรษฐกจิ พอเพียง เปน การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรยี นใหส ามารถนาํ ความรจู ากหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกตใ ชในชีวิตประจําวัน 1.7 กิจกรรมกีฬา เปน การจดั กิจกรรมเพ่ือพัฒนาผเู รยี นใหมคี วามสามัคคี มนี าํ้ ใจนกั กีฬา มสี ุขภาพพลานามยั ทีด่ ี และการสรางสัมพนั ธอันดรี ะหวางนกั ศึกษา กศน. ครู บุคลากรทางการศึกษาและผบู รหิ ารหนวยงาน/สถานศกึ ษา 1.8 กิจกรรมจดั หาสื่ออุปกรณการสอนของครหู รอื หนงั สือท่ีนอกเหนือจากแบบเรียน เพื่อใหบ รกิ ารในหองสมุดและ กศน.ตําบล/แขวง 2. เงอื่ นไขของการดําเนนิ งาน ทททททททท2.1ผรู บั บริการตองเปนบุคคลทขี่ ้นึ ทะเบยี นเปนนกั ศกึ ษา กศน. ในหลักสตู รการศึกษา นอกระบบขั้นพ้ืนฐาน 2.2ใหสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งาน กศน. จัดทาํ แผนการจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเรยี น เปนรายภาคเรยี น โดยมงุ ใหเ กดิ ประโยชนสงู สดุ ในการพฒั นาคณุ ภาพผูเรียนอยางมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพเพ่อื ขอความ เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ผแู ทนองคกรนักศึกษา กศน. ผแู ทนครูและผบู ริหารสถานศกึ ษา 2.3ใหส ถานศกึ ษา สงั กัดสาํ นกั งาน กศน. เสนอแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี น เปน รายภาคเรียน ตอสาํ นกั งาน กศน. จงั หวัด กอ นเปดภาคเรยี น 2.4ใหก ารเบกิ จายในการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รยี น เปนไปตามคําส่งั สํานกั งานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ ที่ 895/2551 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2551 เร่ือง หลักเกณฑการเบิกจา ยเงนิ อุดหนนุ ของสาํ นักงาน กศน. และระเบียบตางๆ ทเ่ี กี่ยวขอ ง โดยยดึ หลกั ประหยัด โปรงใส ถูกตอ ง และซื่อสตั ยพรอมรบั การตรวจสอบ และไมใ ห สถานศึกษาเรยี กเก็บเงินคาใชจายเพมิ่ เติมจากผูเรยี น 3. งบประมาณ ททททททททงบประมาณในแผนงานสนบั สนุนการจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 15 ป โครงการสนับสนุน การจดั การศกึ ษาโดยไมเสยี คาใชจาย 15 ป หมวดเงนิ อดุ หนนุ เปน คาใชจ า ยในการจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียนใหมี คุณภาพและประสทิ ธภิ าพ มีรายละเอียด ดังนี้ ระดบั ประถมศึกษา คนละ 140 บาทตอภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน คนละ 290 บาทตอ ภาคเรียน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย คนละ 290 บาทตอภาคเรียน

27 ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ คนละ 530 บาทตอภาคเรยี น 4. วธิ กี ารดําเนินงาน ททททททททเพื่อใหการดาํ เนินงานจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนใหมีประสิทธภิ าพ เปนไปตามเปาหมาย จงึ ได กําหนดวธิ กี ารดาํ เนินงานการจดั กิจกรรมตา งๆ ไวด ังน้ี ทททททททททททท4.1กจิ กรรมการเรียนปรบั พ้ืนฐาน เปน กิจกรรมทีจ่ ดั ใหกบั ผเู รียนทมี่ ีพนื้ ฐานความรู โดยเฉพาะรายวิชาหลัก ท่ียังไมเพยี งพอกับการศึกษาตอในแตละระดับ โดยมแี นวทางการดําเนนิ งานดงั น้ี 4.1.1 ใหส ถานศกึ ษาทดสอบความรูพ้ืนฐานของผเู รียน โดยเฉพาะรายวชิ าหลัก ไดแก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และแบง กลุมผูเ รยี นทีม่ ีความรูพ้นื ฐานต่าํ ในวชิ าหลัก ใหไดร ับการเรียนปรับพื้นฐาน ใหผ ูบริหารสถานศกึ ษา และ ครู กศน. รวมประชมุ วางแผนการจดั กิจกรรมการ ปรบั พ้นื ฐานในแตละรายวชิ าใหส อดคลอ งกับความตอ งการกลุมผูเรียน 4.1.3 วทิ ยากรหรือผสู อน ตองเปน ผูทมี่ ีความรแู ละประสบการณในสาขาวชิ านนั้ ๆ กรณี ครู กศน. เปนผูสอนเอง จะตองไมสง ผลกระทบตอ การทํางาน 4.1.4 จํานวนนักศกึ ษา กศน. ทร่ี ว มกิจกรรม ใหอ ยูในดลุ ยพินิจของผบู รหิ ารสถานศึกษา 4.1.5 การเบิกจา ยงบประมาณ ใหเปนไปตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกําหนด ททททททททททท4.2กจิ กรรมพฒั นาวชิ าการ เปนการจดั กจิ กรรมเพอ่ื ใหผเู รียนไดเ พิ่มพูนความรูค วามสามารถทางดานวชิ าการ เพ่ือตอยอดจากการเรยี นปรับพืน้ ฐานใน 4 วชิ าหลัก ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร การ พฒั นาทักษะชวี ติ และการพฒั นาอาชีพ โดยแบงประเภทและรูปแบบการดําเนินงาน ดังนี้ 4.2.1 ประเภทของกิจกรรม 1)วิชาการ เปน รายวชิ าการที่ตอยอดจากการเรยี นปรบั พ้ืนฐานใน 4 วิชาหลกั ไดแ ก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร ใหมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ 2) ทักษะชวี ิต เพือ่ เสริมสรา งคุณธรรมจรยิ ธรรม (Decency) การปอ งกนั ยาเสพตดิ (Drug-Free) เพศศกึ ษา ส่งิ แวดลอม และกิจกรรมอน่ื ๆ เชน ลูกเสือ อาสายวุ กาชาด 3) อาชีพ เนน การพัฒนาอาชีพอยา งครบวงจร

28 4.2.2 รปู แบบของกจิ กรรม 1) แบบการจดั คายวชิ าการ ท้ังคายไป – กลับ และคายคางคนื 2) แบบชนั้ เรยี น โดยครู กศน. เปนผจู ัดกิจกรรมหรือรว มกบั เครือขาย 3) แบบศึกษาดูงาน ในพื้นท่ีใกลเคียงหรือภายในจงั หวดั /ภาคเดียวกัน กรณี ออกนอกพื้นท่ี ใหข อความเห็นชอบจากผอู าํ นวยการสํานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. 4) กิจกรรมท่จี ดั โดยองคกรนักศึกษา กศน. 5) อ่นื ๆ โดยใหพจิ ารณารูปแบบของกิจกรรมขอที1่ – 4 กอน แลวจึงดําเนินการในขอ 5 4.2.3 วิทยากรหรือผสู อน ควรเปนผูทมี่ คี วามรหู รอื ประสบการณในการสอนวชิ านนั้ ๆ ซึ่งอาจจะเปนบคุ คลภายนอก หรือ ครู กศน. ตามความเหมาะสม 4.2.4 ระยะเวลาการจัดกจิ กรรม ใหดําเนินการนอกเวลาการพบกลุมปกติ 4.2.5 การเบกิ จา ยงบประมาณ ใหเปน ไปตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ทททททททท4.3 กจิ กรรมเพื่อพัฒนาความรูความสามารถดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปนกจิ กรรมเพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรคู วามสามารถและทักษะในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) ในการเรียนรหู รือ แสวงหาขา วสารขอมลู ตางๆ ไดต ลอดไป โดยกาํ หนดแนวทางการดําเนินงาน ดังน้ี จัดการเรยี นการสอนใหก ับกลุมเปา หมายท่ีจะจบหลกั สูตร กศน. ขนั้ พื้นฐาน ทุกระดับ ที่ยงั ไมม คี วามรูตามหลักสตู รคอมพิวเตอรพ ื้นฐาน 4.3.2 จดั การเรียนการสอนโดยใชห ลกั สตู รคอมพิวเตอรพื้นฐาน 4.3.3 การจดั การเรียนการสอนสามารถดําเนนิ การได ดังน้ี 1) สถานศกึ ษา กศน. จดั ทดสอบเพ่อื ประเมนิ และเทียบโอนความรู สาํ หรบั ผูที่มีความรูต ามหลกั สตู รคอมพวิ เตอรพื้นฐานอยแู ลว 2) สถานศกึ ษา กศน.จดั การเรียนการสอนเอง 3) สถานศกึ ษา กศน.จัดการเรียนการสอนรว มกับเครือขาย 4.3.4 ระยะเวลาจดั การเรียนการสอน ไมนอยกวา 40 ชวั่ โมง หรือเทยี บเทา 4.3.5 การเบกิ จา ยงบประมาณ คาตอบแทน คาวัสดแุ ละคาบํารุงรักษา ใหเ ปน ไป ตามระเบียบทกี่ ระทรวงการคลังกําหนด (วาดว ยการจัดวิชาชีพหลกั สตู รระยะสน้ั )

29 ทททททททท4.4 กจิ กรรมสง เสรมิ ประชาธิปไตย (Democracy) เพอื่ สรา งความเปน พลเมอื งและประชาธปิ ไตยในชมุ ชน ท่ีสอดคลองกบั การปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษท่สี อง (พ.ศ. 2552 – 2561) เปน กจิ กรรมเพือ่ ใหผูเ รียนไดมีความรใู นเรื่องรฐั ธรรมนูญ นิตริ ัฐ สิทธิและเสรภี าพของประชาชน การเมอื งภาคพลเมอื ง ระบบการเลือกต้ัง เพอ่ื ฝกฝนการเปน พลเมืองที่เคารพผูอื่น เคารพกติกา สามารถรว มวิเคราะหแ ละแกปญหาของทองถิ่น และชมุ ชนดวยวถิ ที างประชาธปิ ไตย เพ่อื สรา งความเปนพลเมอื ง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ตามแนวทางปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษทส่ี อง (พ.ศ. 2552 - 2561) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 4.5 กิจกรรมการจัดหาสือ่ อปุ กรณก ารสอนของครูหรือหนังสอื ทีน่ อกเหนอื จากแบบเรยี น เพ่ือใหบรกิ ารในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เปน การจัดหาส่ืออุปกรณการเรียนการสอนหรอื หนังสือทีน่ อกเหนือจากแบบเรียน เพื่อใหบรกิ ารในหองสมุดประชาชน และ กศน.ตําบล/แขวง เพ่อื ใหครูและนักศึกษามสี ่ืออุปกรณห รือหนงั สือ เพือ่ ใชป ระกอบการเรียนรูหรือศึกษาคนควาเพิ่มเตมิ โดยใหดาํ เนินการไดในกรณีท่ีมเี งนิ เหลอื จากการจดั กจิ กรรมพฒั นา คุณภาพผูเรียน ขอ 4.1 - 4.4 แลว 5. ข้ันตอนการดําเนินงานของสถานศึกษา 5.1 ใหส ถานศึกษา จัดทาํ แผนการจัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหมีประสทิ ธิภาพ เปน รายภาคเรยี นทกุ ภาคเรยี น ตามกรอบการจดั กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผเู รียนใหมีประสิทธิภาพ ของสถานศึกษาสังกดั สํานักงาน กศน. และตามนโยบายเรยี นฟรี เรียนดี 15 ป อยางมคี ุณภาพของรัฐบาล เพอ่ื ขอความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผแู ทนครูและผูบรหิ ารสถานศึกษา (ในขอ 5.2) 5.2 ใหส ถานศึกษา จดั ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผแู ทนองคก รนักศึกษา กศน. ผแู ทนครูและ ผบู ริหารสถานศกึ ษา เพ่ือพิจารณาและเห็นชอบแผนการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน (ตามขอ 5.1) 5.3 ใหส ถานศกึ ษา จัดสงแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนทีไ่ ดร บั ความเห็นชอบจากการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนองคกรนักศึกษา กศน. ผูแทนครูและผบู รหิ ารสถานศึกษา (จากขอ 5.2) ใหส ํานักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. กอนเปดภาคเรยี นของทุกภาคเรยี น 5.4 ใหสถานศึกษา ดาํ เนนิ การตามแผนการจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน ท่ไี ดร ับความเห็นชอบแลว พรอ มเบิกจายเงินตามระเบียบท่ีกาํ หนด ใหแลวเสรจ็ ภายในแตละภาคเรียน

30 5.5 ใหสาํ นักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. แตง ตง้ั คณะกรรมการประสานงาน ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการ จัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน และรายงานใหส ํานักงาน กศน. ภายใน 30 วัน หลงั ปดภาคเรยี น ทกุ ภาคเรียน 5.6 ใหสาํ นกั งาน กศน. แตงต้ังคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผล การจดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนจากสวนกลาง และสรุปรายงานผลทกุ สนิ้ ปงบประมาณ 4. อาชพี ชั้นเรียนและอาชีพระยะสั้น การจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ เปนการจดั การศึกษาที่มุงเนนใหผ ูเรียนมีความรู เจตคติ และมที ักษะ ใน อาชีพ ตามวตั ถปุ ระสงคของหลกั สูตร ประกอบดวย ทกั ษะเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิงาน การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศพน้ื ฐาน การ คิดแกป ญหา การส่ือสาร และทกั ษะเก่ียวกับความปลอดภัยในอาชีพ มีคณุ ลักษณะที่ สาํ คญั ในเร่อื งความซ่ือสัตยส ุจริต ความคิดเชงิ บวก ความมุงม่นั ในการทํางาน การทํางานรวมกบั ผูอ ื่น การรักษาสิ่งแวดลอม และการคาํ นงึ ถึงประโยชนส ว นรวม มากกวา สวนตน การจัดกระบวนการเรียนรเู นน การปฏบิ ตั ิจรงิ และการเรียนรจู าก วิทยากรหรือผูรทู ปี่ ระกอบอาชีพน้ัน ๆ กรอบแนวคิดการจดั การศึกษาตอเนื่อง จะเห็นวา การเตรียมความพรอมกอนดําเนนิ การจดั กิจกรรมการศึกษา ตอเนอื่ งใหแ กผ ูเรียน จะตองคํานงึ ถึงความตองการ ความจาํ เปน และความแตกตา งของผูเรยี นแตละคน สถานศึกษา จงึ ควร ตองศึกษาขอมลู และดําเนนิ การตามกระบวนการ โดยฝก กระบวนการคดิ วเิ คราะหต นเองใหแกผูเรยี น เพ่ือใหผ เู รยี น สามารถคน หาสภาพปญหาและความตองการที่แทจรงิ ของตนเอง อันจะนาํ ไปสกู ารเลือกเรียนกจิ กรรม กศน. ไดอยาง เหมาะสมเปน ประโยชนตอตนเองมากทส่ี ดุ ในการฝก กระบวนการคดิ วิเคราะหตนเอง เปนการบรู ณาการ “หลักปรัชญา คิดเปน ” และ “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในกระบวนการเลือกและการตดั สินใจของผเู รยี น ซึง่ สามารถประมวลได เปน 2 ดา น คือ 1. ปญหาดา นเศรษฐกจิ ผูเรยี นทมี่ ีปญหาดานเศรษฐกิจ สามารถท่ีจะหาทางชว ยตนเองเปน เบื้องตน โดยการ จัดทาํ บญั ชีครวั เรือน เพื่อนาํ ไปสูการจัดการชวี ติ ดานการลดรายจาย และการเพ่ิมรายได 2. ปญหาทว่ั ไปในชวี ิตประจําวัน ผูเรยี นสามารถนําผลจากการวเิ คราะหสูกจิ กรรมการศึกษาท่เี หมาะสม กบั ผเู รียนแตละคน เปนรายบุคคล ซึง่ สถานศกึ ษา กศน. จะไดจดั เปนกิจกรรมการศึกษาใน 2 รูปแบบ คือ 1. รปู แบบช้ันเรยี น เปน การจดั การศึกษาหลักสตู รท่สี ถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อมงุ พัฒนาคุณภาพชวี ิต และสง เสรมิ การเรยี นรู ของประชาชน โดยหลกั สตู รมีความยดื หยนุ ดานเน้ือหา สาระ ระยะเวลาเรียน และสถานที่ ตามความตองการและความ จาํ เปนของกลุมเปา หมาย หรอื ชุมชน หรอื นโยบายของทางราชการ 2. รูปแบบช้ันเรยี นวิชาชพี เปน การจัดการศกึ ษาหลกั สูตรวชิ าชพี ทสี่ ถานศึกษาจดั ข้ึน เพื่อมุง พฒั นา ใหผเู รียนสามารถนาํ ความรดู งั กลา วไปประยุกตใชใ นการประกอบอาชีพ และพฒั นาตอ ยอด อันจะนาํ ไปสูการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ แกป ญ หาของ ผูเรยี นไดอยางเปนรูปธรรม การพ่งึ พาตนเองอยา งยัง่ ยนื และชุมชนเขม แขง็ ตอไปตอไป การศึกษาตอเนอื่ งรูปแบบชั้นเรยี นวชิ าชพี การสานตะรา ไหมฟาง การจัดการศึกษาอาชีพในปจจบุ นั มีความสาํ คญั มาก เพราะจะเปนการพัฒนาประชากรของประเทศใหมีความรู ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เปนการแกป ญหาการวางงานและสง เสรมิ ความเขม แขง็ ใหแกเ ศรษฐกจิ ซงึ่ กระทรวงศึกษาธิการไดกาํ หนดยทุ ธศาตร ท่จี ะพฒั นา 5 ศักกยภาพของพน้ื ทใี่ น 5 กลมุ อาชพี ใหม คือ กลมุ อุตสาหกรรม กลมุ พาณชิ กรรมกลมุ เกษตรกรรม กลุมความคดิ สรางสรรค กลมุ อํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ใหสามารถแขงขนั ไดใน 5 ภูมภิ าคหลักของโลก “รเู ขา รูเรา เทาทนั เพ่ือแขง ขันไดในเวทีโลก” ตลอดจนกําหนดภารกิจท่ีจะยกระดบั การจัดการศกึ ษา

31 เพ่ือเพมิ่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถใหกับประชาชนไดมีอาชีพทสี่ รางรายไดทมี่ ่ันคง โดยเนนการบูรณาการใหส อดคลอง กับศักยภาพดานตา งๆ มงุ พฒั นาคนไทยใหไดรับการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพและการมีงานทําอยางมีคุณภาพท่วั ถึงและเทา เทยี มกัน ประชาชนมรี ายไดมั่นคง และมีงานทาํ ท่ยี ั่งยนื มีความสามารถเชิงการแขงนั ท้งั ในระดับภมู ภิ าคอาเซยี นและระดบั สากล ซ่ึงจะเปน การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตในรูปแบบใหมท่ีสรางความมนั่ คงใหแกป ระชชนและประเทศชาติ การเลือกประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกจิ ยุคปจ จบุ นั จาํ เปนตองมีขอมูลพืน้ ฐานในหลกั สูตรในหลายๆดา นทั้งดาน การผลติ ลความตอ งการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพตางๆกลุมอาชพี หลกั สูตร การสานตะกรา ไหมฟาง ก็เปน ทางเลือก หนึง่ ในการเลือกประกบอาชีพ เพือ่ ใหประชาชนผทู ่ีสนใจในการฝก ปฏิบติและนําไปประกอบอาชีพสรา งรายไดม ี ความมมมมมมน่ั ใจในการนําความรแู ละทักษะไปประกอบอาชีพ การกําหนดเน้ือหาและชั่วโมงการเรยี นหลักสูตรจะ ประกอบไปดว ยจํานวนช่วั โมงของเน้ือหาความรูและการปฏิบัติเม่ือผูเรียนๆจบหลักสตู รแลวสามารถนาํ ความรูและทักษะไป ประกอบอาชีพสรา งรายไดหรอื เปนรายไดเสรมิ อนื่ ทีอ่ กเหนือจากการประกอบอาชพี ของตนเองมาสนบั สนนุ ครอบครัวเปน ระบบกระบวนการพฒั นาความคิดสรา งสรรคประยกุ ตพฒั นางานตลอดจนนําภูมิปญญาทองถนิ่ แหลง เรียนรูผ เู กีย่ วขอ งมี สวนรวมจัดเน้อื หาประสบการณใ หเ กดิ ผลกับผเู รียนเปนคนดมี ีปญญามีรายไดเ สริมแกค รอบครัวเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ และ ความเปอยูทีด่ ขี น้ึ รวมถึงเพ่ือเปน การสนับสนุนการรวมกลมุ กอใหเกิดรายไดในชุมชนเกิดความเขม แข็งตอไปซึ่งเปน การศกึ ษาตอเนื่องเพ่ือการพัฒนายงั่ ยืนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

บทที่ 3 วธิ ดี าํ เนนิ งาน โครงการฝก อาชพี และสง เสริมการเรียนรู วชิ าการการสานตะกราไหมฟาง (หลักสูตร 40 ชวั่ โมง) มขี ้ันตอนดงั นี้ 1. สํารวจความตองการของกลุม เปา หมาย 2. ดาํ เนินการจัดกจิ กรรมโครงการรว มกบั กลมุ ประชาชนทั่วไปของตําบลหนองปรือ (โดยการอบรมใหความรูและฝกทักษะอาชีพ) 3. การวเิ คราะหขอ มูล 1. สํารวจความตอ งการของกลุม เปา หมาย กลมุ ภารกิจการจัดการศึกษานอกโรงเรียน มอบหมายให ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี สาํ รวจความตองการของผเู รียนของกลุม เปาหมายและแจงใหกลุมเปา หมายฯ ทราบถึงกําหนดการจดั กจิ กรรม 2. ดําเนินการจัดกจิ กรรม โครงการฝกอาชีพและสง เสริมการเรยี นรู วชิ าการการสานตะกราไหมฟาง (หลักสูตร 40 ช่วั โมง) ระหวา งวนั ท่ี 27 มกราคม – 4 กมุ ภาพนั ธ 2563จดั อบรมใหความรูแ ละฝกทักษะอาชีพ ณ อาคารอเนกประสงค หมู 8 ตําบลหนองปรอื อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี มผี เู ขา รวมกิจกรรม 12 คน 3. การวเิ คราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล ใชคาสถิติรอยละในการประมวลผลขอมูลสวนตัวและตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการตาม แบบสอบถามคดิ เปนรายขอ โดยแปลความหมายคา สถิติรอ ยละออกมา ไดดังนี้ คา สถิติรอยละ 90 ขน้ึ ไป ดีมาก คาสถติ ิรอยละ 75 – 89.99 ดี คา สถิตริ อ ยละ 60 – 74.99 พอใช คาสถติ ิรอยละ 50 – 59.99 ปรับปรงุ คาสถิติรอยละ 0 – 49.99 ปรบั ปรงุ เรง ดว น สวนการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอซ่ึงมีลักษณะเปนคานํ้าหนักคะแนน และนํามา เปรยี บเทยี บ ไดร ะดับคุณภาพตามเกณฑการประเมนิ ดังน้ี เกณฑก ารประเมนิ คา นํา้ หนักคะแนน 4.50 – 5.00 ระดบั คุณภาพ คอื ดีมาก คา นาํ้ หนักคะแนน 3.75 – 4.49 ระดับคุณภาพ คอื ดี คานาํ้ หนักคะแนน 3.00 – 3.74 ระดบั คณุ ภาพ คือ พอใช คา นาํ้ หนักคะแนน 2.50 – 2.99 ระดบั คณุ ภาพ คือ ตองปรับปรุง คาน้าํ หนกั คะแนน 0.00 – 2.49 ระดับคณุ ภาพ คอื ตองปรบั ปรุงเรงดว น

บทท่ี 4 สรปุ ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหข อมูล การจัดกิจกรรมการศกึ ษาอาชีพชน้ั เรียน วิชาการการสานตะกราไหมฟาง (หลักสูตร 40 ชว่ั โมง) ซ่ึงไดส รุปรายงาน ผลจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ขอมูลที่ไดส ามารถวเิ คราะหแ ละแสดงคาสถิติ ดังน้ี ตอนท่ี 1 ขอมูลสว นตัวของผตู อบแบบสอบถามของผูเขา รวมกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบชั้นเรียน วิชาการ การสานตะกราไหมฟาง (หลกั สตู ร 40 ช่วั โมง) ตารางที่ 1 ผูเ ขา รว มโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ เพศ รายละเอยี ด ชาย หญิง จาํ นวน (คน) 0 12 รอยละ 0.00 100.00 จากตารางที่ 1 พบวา ผูต อบแบบสอบถามทีเ่ ขา รวมกจิ กรรมวิชาชีพรูปแบบชั้นเรยี น วชิ าการการสานตะกรา ไหม ฟาง (หลักสตู ร 60 ช่วั โมง) เปน หญงิ จาํ นวน 12 คน คดิ เปนรอ ยละ 100.00 ตารางท่ี 2 ผูเ ขารวมโครงการที่ตอบแบบสอบถามไดน าํ มาจาํ แนกตามอายุ รายละเอยี ด อายุ (ป) อายุ ตา่ํ กวา 15 ป 16 - 39 40 - 49 50-59 60 ข้นึ ไป จํานวน (คน) 0 14 2 5 รอยละ 0.00 8.33 33.33 16.67 41.67 จากตารางท่ี 2 พบวาผูตอบแบบสอบถามที่เขา รว มกจิ กรรมวิชาชพี รูปแบบช้นั เรียนวิชาชีพ วชิ าการการสานตะกรา ไหมฟาง (หลกั สูตร 40 ชัว่ โมง) พบวาผเู ขารว มโครงการฯ มี อายุ 16 – 39 ป จาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 8.33 อายุ 40 – 49 ป จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 33.33 อายุ 50 – 59 ป จาํ นวน 2 คน คิดเปนรอยละ 16.67 และอายุ 60 ปข นึ้ ไป จํานวน 5 คน คิดเปนรอ ยละ 41.67 ตารางที่ 3 ผเู ขา รวมโครงการท่ตี อบแบบสอบถามไดนํามาจาํ แนกตามอาชพี อาชพี รายละเอยี ด เกษตรกรรม รับจา ง รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ คา ขาย อ่นื ๆ จํานวน (คน) 3 5 0 0 4 รอยละ 25.00 41.67 0.00 0.00 33.33 จากตารางท่ี 3 พบวาผูตอบแบบสอบถามที่เขารวมกิจกรรมวิชาชพี รูปแบบชน้ั เรียน วชิ าการการสานตะกราไหม ฟาง (หลกั สูตร 40 ช่วั โมง) มีอาชพี เกษตรกรรม จาํ นวน 3 คน คิดเปนรอ ยละ 25.00 อาชีพรับจา ง จํานวน 5 คน คดิ เปนรอ ยละ 41.67 และอืน่ ๆ จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 33.33

34 ตารางที่ 4 ผเู ขารวมโครงการทต่ี อบแบบสอบถามไดน ํามาจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา รายละเอียด ระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา ประถม ม.ตน ม.ปลาย/ปวช. ปวส.ขนึ้ ไป จาํ นวน (คน) 8 2 2 0 รอ ยละ 66.67 16.67 16.67 0.00 จากตารางท่ี 4 พบวา ผูต อบแบบสอบถามท่ีเขา รวมกิจกรรมวชิ าชพี รปู แบบชั้นเรียน วิชาการการสานตะกราไหม ฟาง (หลกั สูตร 60 ชัว่ โมง) ระดบั ประถมศึกษา จํานวน 16 คน คดิ เปน รอ ยละ 88.89 และระดบั ม.ตน จํานวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 5.56 ระดับม.ปลาย จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอยละ 5.56 ตารางที่ 5 แสดงคารอยละเฉลย่ี ความสาํ เร็จของตัวชี้วัด ผลผลิต ประชาชนท่ัวไปตาํ บลหนองปรือ เขา รวมโครงการจาํ นวน 18 คน ผลสาํ เร็จของโครงการ เปา หมาย ผูเ ขารว มโครงการ คดิ เปน รอ ยละ 12 12 100 จากตารางที่ 5 พบวาผลสาํ เรจ็ ของตวั ชว้ี ัดผลผลิตกิจกรรมวิชาชีพรูปแบบชัน้ เรยี น วชิ าการการสานตะกรา ไหมฟาง (หลักสูตร 40 ชั่วโมง) มีผูเขา รวมโครงการ จํานวน 12 คน คิดเปน รอยละ 100 ซึ่งบรรลุเปาหมายดานตัวชว้ี ดั ผลผลิต ประชาชนทัว่ ไปตําบลหนองปรือ เขา รว มโครงการจํานวน 12 คน

35 ตอนท่ี 2 ขอมูลเกยี่ วกับความคิดเห็นของผเู ขารบั อบรมวิชาชีพรูปแบบช้นั เรียน วชิ าการการสานตะกรา ไหมฟาง ความคิดเหน็ ของผเู ขา รบั รวมกจิ กรรม จํานวน 18 คน จากแบบสอบถามทั้งหมดทม่ี ีตอ การอบรมวิชาชพี รูปแบบชัน้ เรียน ตารางท่ี 6 ผลการประเมนิ การอบรมวชิ าชีพรปู แบบชนั้ เรียน รายการท่ีประเมิน n = 12 ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา นเนอื้ หา 1. เนือ้ หาตรงตามความตองการ µ σ อันดับ ระดบั ผล 2. เน้อื หาเพยี งพอตอความตองการ ที่ การประเมิน 3. เนอ้ื หาปจ จบุ นั ทันสมยั 4.77 4. เน้อื หามีประโยชนตอ การนําไปใชในการพัฒนา 4.73 0.43 2 ดีมาก 4.73 4.46 8 ดีมาก คุณภาพชีวิต 4.68 0.46 8 ดีมาก ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดานกระบวนการจดั กจิ กรรม 0.57 12 ดมี าก 5 การเตรียมความพรอมกอ นจดั กจิ กรรม 4.77 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค 4.59 0.43 2 ดมี าก 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 4.73 0.59 15 ดมี าก 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุมเปา หมาย 4.68 0.55 8 ดีมาก 9 วิธีวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค 4.77 048 12 ดีมาก ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ วิทยากร 4.68 0.53 2 10 วทิ ยากรมีความรูความสามารถในเร่อื งทีถ่ ายทอด 4.77 0.57 12 ดี 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถายทอดใชส่ือเหมาะสม 4.73 0.43 2 ดีมาก 12 วิทยากรเปดโอกาสใหมีสวนรว มและซักถาม 4.77 0.55 8 ดีมาก ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา นการอาํ นวยความสะดวก 4.86 0.43 2 ดมี าก 13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและส่งิ อาํ นวยความสะดวก 4.77 0.35 1 ดีมาก 14 การสื่อสาร การสรา งบรรยากาศเพื่อใหเกดิ การ 4.74 0.43 2 0.48 ดี เรยี นรู ดีมาก 15 การบริการ การชวยเหลอื และการแกปญหา ดมี าก คา เฉลีย่ ททททททททจากตารางท่ี 4 แสดงใหเ ห็นวา ผเู ขารวมการอบรมวชิ าชีพรปู แบบช้นั เรยี น และวิชาชพี รูปแบบชัน้ เรียน วชิ าการการสานตะกรา ไหมฟาง พบวา อยูใ นระดับ ดมี าก เมอื่ วิเคราะหเปนรายขอพบวาอนั ดับที่ 1 คือการสอ่ื สาร การ สรา งบรรยากาศเพ่อื ใหเ กิดการเรียนรู(µ= 4.86) รองลงมาคือ เนือ้ หาตรงตามความตองการ,การเตรียมความพรอมกอนจัด กิจกรรม,วิธีวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค,วทิ ยากรมีเทคนิคการถายทอดใชสื่อเหมาะสม,สถานที่ วสั ดุ อุปกรณและส่งิ อํานวยความสะดวก,การบริการ การชว ยเหลอื และการแกป ญหา(µ= 4.77) เนื้อหาเพยี งพอตอความตองการ

36 ,เนอ้ื หาปจ จุบนั ทนั สมยั ,การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา,วทิ ยากรเปด โอกาสใหมีสว นรว มและซักถาม,(µ= 4.73) เน้ือหามี ประโยชนตอการนําไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ,การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม เปาหมาย,วทิ ยากรมคี วามรู ความสามารถในเรื่องท่ถี า ยทอด,(µ= 4.68) การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค(µ= 4.59 )ตามลําดับ ตารางท่ี 7 ผลการประเมินผูเ ขารวมกจิ กรรมการอบรมวิชาชพี รปู แบบชัน้ เรยี น วิชา การการสานตะกราไหมฟาง เนือ้ หาผูเขารวมกจิ กรรมการอบรมวชิ าชีพรปู แบบ N = 12 ช้นั เรยี น การการสานตะกราไหมฟาง µ σ อันดับท่ี ระดับผลการประเมนิ 1. การมสี ว นรว มในกิจกรรมกลมุ 050 1 ดมี าก 2. ความพงึ พอใจในการเขารวมโครงการ 4.53 0.50 1 ดมี าก 3. การคิดอยา งมีเหตุผล 4.53 4. การเขาใจ และรับฟงความคดิ เห็นจากผูอ่นื 4.52 0.50 3 ดมี าก 5. การรูจัก และเขาใจตนเอง 4.48 0.50 5 ดี คาเฉลย่ี 4.50 0.50 4 ดี 4.51 0.50 ดมี าก รรรรรรรรจากตารางท่ี 5 พบวา โดยเฉล่ยี แลวผูเ ขา รว มผเู ขา รว มกจิ กรรมการอบรมวชิ าชพี รูปแบบชั้นเรยี น วชิ าการสาน ตะกราไหมฟาง อยูในระดับ ดีมาก เมื่อวเิ คราะหเปน รายขอพบวา การมสี วนรว มในกิจกรรมกลุม และ. ความพึงพอใจใน การเขารว มโครงการมีคาทา กัน คือ (µ=4.53) เปน อนั ดบั ที่ 1 และรองลงมาคือ การมีการคดิ อยางมีเหตผุ ล (µ= 4.52) และการรจู ักและเขา ใจตนเอง (µ= 4.50) การเขาใจและรับฟงความคดิ เห็นจากผอู ่ืน (µ= 4.48) ตามลําดบั

บทท่ี 5 สรุป อภิปราย ขอ เสนอแนะ การจัดกจิ กรรมโครงการฝกอาชีพและสง เสรมิ การเรยี นรู วชิ าการการสานตะกราไหมฟาง (หลกั สูตร 40 ช่วั โมง) มี วตั ถุประสงคเ พ่ือไดรับความรูและฝก ทักษะเกี่ยวกับการการสานตะกราไหมฟางและสามารถนําความรูไปใชใ นการประกอบ อาชพี ไดจ ริงและเปนการเพมิ่ รายไดใ หกบั ครอบครัว วิธีดําเนนิ การกลมุ ภารกจิ การจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น มอบหมายให ครู กศน.ตําบลหนองปรอื สาํ รวจความตองการเรยี นรขู องกลุมเปา หมาย กลุมประชาชนท่ัวไปในตําบลหนองปรอื และแจง ใหก ลมุ เปาหมายฯ ทราบถึงกําหนดการจัดกจิ กรรมวชิ าชพี รูปแบบชนั้ เรียน วิชาการการสานตะกรา ไหมฟาง (หลกั สตู ร 40 ช่วั โมง) เปนการอบรมใหค วามรูและฝก ทักษะอาชีพ และปฏบิ ตั จิ รงิ ในหองเรียน จดั ขึ้นในวนั ท่ี 27 มกราคม -4 กุมภาพันธ 2563 โดยเปนการจัดอบรมใหความรฝู กทกั ษะอาชีพ ณ อาคารอเนกประสงค หมู 8 ตําบลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี งบประมาณดาํ เนนิ การโดย กศน.อําเภอพนสั นคิ ม มีผูเ ขา รวมโครงการ จาํ นวน 12 คน สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน สรุปไดว า กลมุ ประชาชนทัว่ ไปในตาํ บลหนองปรือ เขารว มโครงการฝก อาชพี และสง เสริมการเรียนรู วชิ าการสาน ตะกราไหมฟาง (หลักสตู ร 40 ชัว่ โมง) ที่จัดข้นึ ในวันที่ 27 มกราคม -4 กมุ ภาพันธ 2563 โดยเปน การจดั อบรมใหค วามรูฝก ทักษะอาชพี คอื ความรคู วามเขาใจเก่ียวกบั การการการสานตะกรา ไหมฟาง ณ อาคารอเนกประสงค หมู 8 ตาํ บลหนอง ปรอื อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี งบประมาณดาํ เนินการโดย กศน.อาํ เภอพนสั นิคม มีผูเขา รว มโครงการ จํานวน 18 คน (รอ ยละ 100 ของเปาหมายโครงการ) โครงการฝก อาชีพอาชีพชมุ ชนรปู แบบช้ันเรยี น วชิ าการสานตะกราไหมฟาง (หลักสูตร 60 ชั่วโมง) ผูเขารวมมีระดบั ความคิดเหน็ / ความพึงพอใจ ตอโครงการ อยใู นระดับ 4.74 “ดีมาก” อภิปรายผล จากการจดั โครงการฝกอาชีพและสงเสรมิ การเรยี นรู วชิ าการการสานตะกราไหมฟาง (หลกั สูตร 40 ชวั่ โมง) เนอ่ื งจากกลุม ประชาชนทั่วไปในตําบลหนองปรือสว นใหญมีระดบั ความคดิ เห็น/ความพงึ พอใจตอโครงการอยูในระดบั “ดี มาก” และบรรลุความสําเร็จตามเปา หมายตัวชวี้ ัดผลลัพธทตี่ งั้ ไว ขอ เสนอแนะ อยากใหมีการจดั กจิ กรรมอีก จะไดน ําความรไู ปปฏิบตั ิ

บรรณานกุ รม กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2546) บุญชม ศรีสะอาด และ บุญสง นลิ แกว (2535 หนา 22-25)



รายงานผลการจัดกจิ กรรม วชิ า........การสานตะกรา ไหมฟาง........จํานวน..........40.......ช่วั โมง ระหวางวนั ที่ 27 มกราคม – 4 กุมภาพนั ธ 2563 ณ อาคารอเนกประสงค ม.8 ต.หนองปรือ อ.พนัสนิคม จ.ชลบรุ ี วิทยากร คือ...........นางสาวเสาวลกั ษณ ปลนี อย.................. ………………………………………..ผูรายงาน ( นางสาวสรุ ภา เชาวนั ดี)

ใบสมัครผเู รยี นหลักสูตรการจัดการศึกษาตอ เน่อื ง สถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอ/เขต....พนัสนิคม........ สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กระทรวงศึกษาธกิ าร หลกั สูตร/กิจกรรม……………………………………………………………………….....จํานวน...........ชว่ั โมง  ๑. ขอ มลู สว นตัว (กรุณากรอกขอ มลู ดว ยตวั บรรจง) ชอื่ -นามสกุล นาย/นาง/นางสาว....................................................เลขบัตรประจาํ ตวั ประชาชน.......................... เกดิ วันท่/ี เดอื น/พ.ศ............................อาย.ุ .........ป สญั ชาติ..................ศาสนา.....................อาชีพ..................... ความรสู ูงสุดจบระดับ.................................จากสถานศึกษา.......................................จงั หวดั .............................. ท่อี ยตู ามทะเบียนบา นเลขท.่ี ...........หมทู ่ี..............ถนน/หมบู า น.........................................ตาํ บล/แขวง.............. อําเภอ.............................จงั หวัด...............................รหัสไปรษณีย.........................โทรศัพท............................... ๒. สนใจเขา รวมกิจกรรม เนื่องจาก...........................................................................................................................  เปน พื้นฐานในการศกึ ษาตอในระดบั /สาขา………………………………………………………………………………..  ตอ งการเปลย่ี นอาชีพ  ตอ งการใชเวลาวางใหเปนประโยชน  ตอ งการมีอาชีพเสริม/อาชีพหลัก  อื่นๆ ระบุ.................................................................... ๓. สถานภาพของผูสมัคร  เปน ผูวา งงาน  สมาชกิ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี  สมาชกิ กองทุนสตรีเทศบาล  ผถู ือบัตรสวัสดกิ ารของรัฐ  อสม./อสส. รับจาง  เกษตรกร  สมาชิกกองทนุ หมบู าน  อ่นื ๆ.................................. ๔. ทา นไดร บั ขาวสารการรับสมคั รจาก...................................................................................................................... สาํ หรับเจาหนา ที่ ลงชอื่ .............................................ผสู มัคร ตรวจสอบรายละเอยี ด/ความเหน็ (.......................................................) .................................................... ลงชื่อ............................................ผูรับสมคั ร วนั ที่/เดอื น/ป............................................... (..............................................) วนั ท่ี/เดือน/ป............................................... หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรับเปล่ียนไดตามความเหมาะสม แบบ กศ.ตน. 10 ในกรณีตา งดาว ตองมี Work Permit จงึ จะสามารถสมัครเรยี นได แบบประเมนิ ความพึงพอใจ หลักสูตร..................................................................ระหวางวันที่....................เดือน….....................พ.ศ…............... สถานทจี่ ัด........................................................................................อาํ เภอ………...............................จงั หวัดชลบรุ ี ขอมลู พ้ืนฐานของผปู ระเมินความพงึ พอใจ เพศ ชาย หญิง อายุ...........ป วฒุ กิ ารศึกษา.............................อาชีพ..........................................

คําช้ีแจง 1. แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ตอน 2. โปรดแสดงเครอื่ งหมาย √ ในชองวางระดับความพงึ พอใจตามความคดิ เห็นของทาน ระดับความพึงพอใจ หมาย ขอ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน นอย นอย เหตุ ท่สี ุด กลาง ทีส่ ุด ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจดา นเนอื้ หา 1 เนื้อหาตรงตามความตอ งการ 2 เนือ้ หาเพยี งพอตอความตอ งการ 3 เนอื้ หาปจจุบันทันสมัย 4 เนอ้ื หามีประโยชนตอการนาํ ไปใชใ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจดา นกระบวนการจัดกิจกรรม 5 การเตรยี มความพรอมกอนจดั กจิ กรรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ เปา หมาย 9 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ วิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรูความสามารถในเรอื่ งท่ีถายทอด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถายทอดใชส อ่ื เหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดโอกาสใหม สี วนรวมและซักถาม ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจดา นการอํานวยความสะดวก 13 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณแ ละสิ่งอํานวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสรางบรรยากาศเพอื่ ใหเกดิ การเรยี นรู 15 การบริการ การชวยเหลือและการแกป ญ หา ผูผ านการฝกอบรมไดน ําความรไู ปใชจริง เพม่ิ รายได ลดรายจา ย นาํ ไปประกอบอาชีพ พฒั นาคณุ ภาพชีวิต ใชเวลาวางใหเกดิ ประโยชน อ่ืนๆ ระบ…ุ ……………………. ความคิดเหน็ และขอเสนอแนะอ่ืนๆ ............................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................................

ทปี่ รกึ ษา ผจู ัดทํา นางณัชธกญั หม่ืนสา นางสาวมทุ ิกา การงานดี ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอพนัสนคิ ม ครู ผูจ ดั ทํา ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ นางสาวสุรภา เชาวันดี ครู กศน.ตาํ บลหนองปรือ ผูร วบรวม เรยี บเรยี ง และจัดพมิ พ นางสาวสรุ ภา เชาวนั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook